The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อศึกษาเรื่องระบบสุริยะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NWXXD, 2020-02-19 20:12:47

โครงงานคอมพิวเตอร์

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อศึกษาเรื่องระบบสุริยะ

Keywords: โครงงานคอม,การวิจัย

โครงงานคอมพวิ เตอร์
เรอื่ ง การพัฒนาเว็บไซต์เพือ่ ศกึ ษาเรอื่ งระบบสรุ ยิ ะ

จัดทาโดย

นางสาว สุพิชชา จนี หลักร้อย ม.5/5 เลขที่ 27
นางสาว นฏกร เอยี่ มทรพั ย์ ม.5/5 เลขท่ี 30
นางสาว ศตพร สนทิ ม.5/5 เลขท่ี 31
นางสาว วิชดุ า มพี วงผล ม.5/5 เลขที่ 35

เสนอ
คณุ ครปู รีชา กจิ จาการ

รายงานฉบบั นี้เปน็ สว่ นหนง่ึ ของรายวชิ าคอมพิวเตอร์
และเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ว32121)
ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2562

กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานและเทคโนโลยี
โรงเรยี นราชวินติ บางแก้ว อาเภอบางพลี จงั หวดั สมุทรปราการ

สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 6



กิตติกรรมประกาศ

โครงงานนี้สาเร็จสมบูรณ์ไดโ้ ดยความกรุณาเปน็ อยา่ งยิ่งจาก คุณครูปรีชา กิจจาการ อาจารย์ผู้ควบคุม
โครงงานท่ีได้ให้คาแนะนา ข้อเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ มาโดยตลอด จนโครงงา น
เล่มนเ้ี สรจ็ สมบรู ณ์

ขอขอบพระคุณผู้ท่ีได้กรุณาแนะนาแนวคิดต่าง ๆ และข้อเสนอแนะหลายประการ และขอขอบใจ
นักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาชนั้ ปที ี่5หอ้ ง5 ปกี ารศึกษา 2562 ทุกคนท่ีให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม ทา
ใหง้ านศึกษาคน้ ควา้ วจิ ัยฉบบั นีส้ มบรู ณม์ ากยงิ่ ขึ้น

ผู้ศึกษาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าโครงงานวิจัยฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อบุคคลท่ัวไปและสถานศึกษา เพื่อ
เป็นส่วนหนึ่งของแนวทางในการศึกษาเก่ียวกับเรื่องระบบสุริยะต่อไป ถ้าหากโครงงานวิจัยฉบับน้ีมีข้อขาดตก
บกพรอ่ งประการใด ผู้ศึกษาก็ขออภยั มา ณ ท่ีนีด้ ว้ ย

สพุ ชิ ชา จีนหลกั รอ้ ย
นฏกร เอี่ยมทรพั ย์
ศตพร สนทิ
วิชดุ า มีพวงผล

ผศู้ ึกษา



ชือ่ เรอ่ื ง การพัฒนาเวบ็ ไซต์เพื่อศกึ ษาเรื่องระบบสุริยะ
ประเภทโครงงาน โครงงานพฒั นาสอ่ื การศึกษา
ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ผศู้ ึกษาค้นควา้ 1. นางสาว สพุ ชิ ชา จีนหลักรอ้ ย
2. นางสาว นฏกร เอ่ยี มทรัพย์
เลขประจาตวั 3. นางสาว ศตพร สนทิ
อาจารย์ผูค้ วบคมุ การค้นคว้าอสริ ะ 4. นางสาว วิชุดา มีพวงผล
รายวิชา 33447,33455,33456,33490
ปีการศกึ ษา คุณครูปรชี า กิจจาการ
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (ว32121)
2562

บทคัดยอ่

โครงงานคอมพวิ เตอร์ การพฒั นาเว็บไซต์เพ่อื การศึกษา เร่ือง การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อศึกษาเร่ืองระบบ
สรุ ยิ ะ จัดขึ้นโดยมีจดุ ประสงค์ 1. เพ่อื ศกึ ษาและพฒั นาเว็บไซต์ เรื่อง ระบบสุริยะ 2. เพ่ือเป็นสื่อเผยแพร่ข้อมูล
สื่อการเรียนการสอนวิชาดาราศาสตร์เรื่องระบบสุริยะ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 3. เพ่ือเป็นประโยชน์กับ
นกั เรยี น นกั ศึกษา และบคุ คลทีส่ นใจศกึ ษาหาความรเู้ ก่ยี วกับระบบสุริยะ การพัฒนาเว็บไซต์คร้ังนี้ใช้โปรแกรม
ในการดาเนินงาน คอื โปรแกรม Google site

ผลการศึกษาพบว่า ผลการศึกษาวิจัยเรื่อง ความพึงพอใจของผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อสื่อการสอนเรื่อง
ระบบสุรยิ ะ สามารถสรปุ ผลได้ดังนี้

1.ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของแบบสอบถาม ผู้ตอบแบบสอบถาบ พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง
จานวน 20 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 57.1 และเพศชายจานวน 15 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 42.9

2.ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจในการเข้าชมเว็บไซต์เพ่ือสื่อการสอนเร่ืองระบบสุริยะ จากนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาช้ันปีท่ี5ห้อง5 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว จานวน 35 คน ซ่ึงมี 3 ด้าน คือ
ด้านเน้ือหา ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบเว็บไซต์และด้านประโยชน์และการนาไปใช้ จากการเข้าชม
เวบ็ ไซต์โดยภาพรวมความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มาก

สารบญั ค

กิตติกรรมประกาศ หน้า
บทคัดย่อ ก
สารบัญ ข
บทท่ี 1 บทนา ค
1
ทม่ี าและความสาคัญ 1
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1
ขอบเขตของการศกึ ษาคน้ ควา้ 2
นิยามศัพท์เฉพาะ 3
ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะได้รบั จากการวจิ ัย 3
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วข้อง 4
เว็บไซต์ 4
การสรา้ งเว็บไซตผ์ า่ น Google 4
ข้ันตอนการทางานของเวบ็ ไซต์ 13
ความหมายของระบบสรุ ิยะจักรวาล 13
งานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วขอ้ ง 14
บทท่ี 3 วิธีดาเนินการวจิ ัย 16
ประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง 16
เครอ่ื งมือทีใ่ ชใ้ นการวิจัย 16
การสร้างและหาประสิทธภิ าพของเครอ่ื งมือ 16
ลักษณะของเคร่ืองมอื 17
การเก็บรวบรวมข้อมูล 18
การวเิ คราะหข์ อ้ มลู 18
สถิตทิ ่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู 19

บทที่ 4 ผลการดาเนนิ โครงงาน ง
ขัน้ ตอนนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู หน้า
20
บทที่ 5 สรุปผลการดาเนนิ งาน และขอ้ เสนอแนะ 20
วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นควา้ 20
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 24
เครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นของการศึกษาคน้ ควา้ 24
สรุปผลการศึกษา 24
อภปิ รายผลการศกึ ษา 25
ขอ้ เสนอแนะ 25
26
บรรณานกุ รม 26
ภาคผนวก 27
ประวตั ขิ องผดู้ าเนนิ การวจิ ัย 28
31

1

บทท่ี 1
บทนา

ที่มาและความสาคญั

ในปัจจุบันโลกของเราพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เทคโนโลยีทางการสื่อสาร เทคโนโลยีทางด้าน
คอมพวิ เตอร์ เริ่มมีบทบาทในการดาเนนิ ชวี ิตของมนุษย์ และมีส่วนช่วยสนับสนุนส่ือทางด้านการศึกษา โดยสื่อ
สมัยใหม่นิยมเป็นสื่อการเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพราะสะดวกรวดเร็วและเข้าถึงได้ง่าย อีกทั้งใน
ปัจจุบันนี้เว็บไซต์เข้ามามีบทบาทและมีความสาคัญต่อชีวิตประจาวันของเราเป็นอย่างมากโดยเฉพาพกลุ่มคน
รุน่ ใหม่ซึ่งเป็นกลมุ่ คนทโี่ ตมาพร้อมกับคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยีไอที ทาให้วิถีชีวิตต้องการความ
ทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ เว็บไซต์จึงเป็นแหล่งสารสนเทศที่สาคัญสาหรับทุกคน เพราะสามารถ
เข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อสื่อสาร การประชาสัมพันธ์ข่าว การโฆษณาสื่อต่าง ๆ ผ่าน
ทางเว็บไซต์ หรือแมก้ ระทง่ั สอื่ สงั คมออนไลน์ รวมถงึ สามารถช่วยใหผ้ ู้คนเขา้ ถึงการศึกษาเรียนรู้ไดอ้ ย่างอิสระ

การศึกษาเล่าเรียนบนเว็บไซต์ช่วยทลายกาแพงของห้องเรียนและเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึง
แหล่งข้อมูลต่าง ๆได้อย่างสะดวกและมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเว็บไซต์เป็นแหล่งค้นคว้าข้อมูลที่ครอบคลุม
สารสนเทศทั่วโลกโดยไม่จากัดภาษา การศึกษาบนเว็บไซต์จึงช่วยแก้ปัญหาของข้อจากัดของแหล่งค้นคว้า
แบบเดิมจากห้องสมดุ ท่มี อี ยู่จากัดและเวลาที่ต้องใช้ในการค้นหาข้อมูล เนื่องจากเว็บไซต์มีข้อมูลท่ีหลากหลาย
เป็นจานวนมาก และสามารถศกึ ษาคน้ ควา้ ได้อย่างรวดเรว็

สมัยก่อนเราคิดว่าโลกมนุษย์เป็นศูนย์กลางของเอกภพ ต่อมาได้มีข้อพิสูจน์ให้เห็นว่า โลกของเราและ
ดาวเคราะห์ต่าง ๆ ท่ีเราเห็นล้วนแล้วแต่โคจรรอบ ๆ ดวงอาทิตย์ ภายหลังก็พบอีกว่าดวงอาทิตย์เป็นแค่ดาว
ฤกษห์ นึ่งในแสนลา้ นดวงของดาราจักรทางช้างเผือก และดาราจักรทางช้างเผือกก็มิได้เป็นที่ที่พิเศษแต่อย่างใด
ในเอกภพ ดงั น้นั เราจึงเป็นเพียงสว่ นเลก็ ๆของเอกภพเท่านั้น การศึกษาเอกภพของเราจะต้องเร่ิมต้นท่ีส่ิงใกล้
ตัวก่อน ซ่ึงก็คือ ระบบสุริยะ ซึ่งการศึกษาเรื่องระบบสุริยะก็ได้ถูกบรรจุในรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลายอีกด้วย

ดังน้ันกลุ่มของข้าพเจ้าจึงคิดทาโครงงานเก่ียวกับการพัฒนาส่ือทางการศึกษาเร่ือง ''ระบบสุริยะ'' โดย
ได้รวบรวมข้อมูล เน้ือหาความรู้เก่ียวกับระบบสุริยะ ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ และจัดทาเป็นเว็บไซต์ เพ่ือ
เป็นประโยชน์แก่ผ้ทู ี่ต้องการศกึ ษาคน้ คว้าส่ือการเรยี นการสอนเรื่องระบบสรุ ิยะ

วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย

1. เพ่อื ศกึ ษาและพฒั นาเวบ็ ไซต์ เร่อื ง ระบบสรุ ิยะ

2. เพื่อเป็นส่ือเผยแพร่ข้อมูลสื่อการเรียนการสอนวิชาดาราศาสตร์เร่ืองระบบสุริยะ ผ่านเครือข่าย
อนิ เทอรเ์ น็ต

3. เพ่ือเปน็ ประโยชน์กับนกั เรยี น นักศึกษา และบุคคลทีส่ นใจศึกษาหาความรู้เกย่ี วกับระบบสรุ ิยะ

2

ขอบเขตของการศกึ ษาคน้ ควา้
1. ขอบเขตด้านเน้อื หา
การศึกษาคร้ังนี้มุ่งหมายศึกษาความพึงพอใจในการเข้าชมเว็บไซต์เพื่อส่ือการสอนเรื่องระบบสุริยะ ของ

นักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 หอ้ ง 5 ปีการศึกษา 2562 จาแนกเป็น 3 ด้านไดแ้ ก่
1) ด้านเนือ้ หา
1.1 มีความชัดเจน ถกู ต้อง และนา่ เช่อื ถอื
1.2 ปรมิ าณเนอื้ หามีเพียงพอกบั ความต้องการ
1.3 มกี ารจัดหมวดหมู่ใหง้ า่ ยตอ่ การ ค้นหาและทาความเขา้ ใจ
1.4 ข้อความในเว็บไซต์ถกู ตอ้ งตามหลกั ภาษา และไวยากรณ์
1.5 เนอ้ื หากบั ภาพมคี วามสอดคลอ้ งกนั
2) ดา้ นการออกแบบและการจัดรูปแบบเวบ็ ไซต์
2.1 การจัดรปู แบบในเวบ็ ไซต์ง่ายตอ่ การอา่ นและการใชง้ าน
2.2 สสี นั ในการออกแบบเวบ็ ไซต์มีความเหมาะสม
2.3 สพี ้ืนหลงั กบั สีตัวอักษรมีความเหมาะสมตอ่ การอา่ น
2.4 ขนาดตัวอกั ษร และรูปแบบตัวอักษร มีความสวยงามและอา่ นไดง้ ่าย
2.5 ความถูกต้องในการเชอ่ื มโยงภายในเวบ็ ไซต์
3) ด้านประโยชน์และการนาไปใช้
3.1 เน้ือหามปี ระโยชนต์ อ่ ผู้ใชง้ าน และสามารถนาไปประยุกต์ใชไ้ ด้
3.2 เป็นส่อื ในการเผยแพร่ข่าวประชาสัมพนั ธ์ และงานวจิ ัย
3.3 สามารถเป็นแหลง่ ความรูไ้ ด้
3.4 เป็นแหลง่ ขอ้ มูลทีต่ รงกบั ความตอ้ งการของผ้ใู ชง้ าน
2. ขอบเขตดา้ นประชาการและกลมุ่ ตวั อยา่ ง
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ีเป็นนักเรียนเป็นชั้นมัธยมศึกษาช้ันปีท่ี 5 ห้อง 5 ปีการศึกษา 2562

โรงเรยี นราชวินิตบางแกว้ จานวนกลุ่มตัวอยา่ ง 35 คน

3

นยิ ามศัพท์เฉพาะ

1. เว็บไซต์(Web site) คือ ส่ือนาเสนอข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือคือการรวบรวม หน้าเว็บเพจ
หลายหน้า ซ่ึงเชื่อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ลิงก์ ซึ่งต้องเปิดด้วยโปรแกรมเฉพาะทางที่เรียกว่า Web
Browser โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ และเว็บไซต์น้ันถูกสร้างขึ้นด้วยภาษาทางคอมพิวเตอร์ที่
เรียกว่า HTML (Hyper Text Markup Language) และได้มีการพัฒนาและนาภาษาอ่ืน ๆเข้ามาร่วม
ด้วย เพอื่ ใหม้ คี วามสามารถมากขึน้ เชน่ PHP , SQL , Java ฯลฯ

2. อินเทอร์เน็ต (Internet) คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีมีขนาดใหญ่ มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่าย
หลาย ๆ เครือข่ายท่ัวโลก โดยใช้ภาษาท่ีใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล
(protocol) ผใู้ ช้เครอื ขา่ ยนีส้ ามารถสือ่ สารถึงกนั ไดใ้ นหลาย ๆ

3. การศึกษา (Education) คือ กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคมโดยการ
ถา่ ยทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัด
สภาพแวดล้อม สังคม ให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต เพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่
สมบูรณท์ ัง้ รา่ งกาย จติ ใจ สติปญั ญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต
สามารถอยรู่ ว่ มกับผู้อน่ื ไดอ้ ย่างมคี วามสขุ

4. สื่อ (Media) คือ สิ่งที่ใช้ติดต่อเชื่อมโยงถึงกัน หรือเป็นการถ่ายทอดข้อเท็จจริง ความรู้สึก และ
ทัศนคติ หรือทักษะความรู้ของผู้ที่ต้องการถ่ายทอดไปยังผู้รับข่าวสาร โดยผ่านเทคโนโลยีหรือ
เคร่ืองมือท่ีทันสมัย ส่ือจึงเป็นสิ่งท่ีมีความสาคัญและจาเป็น ซึ่งต้องมีความน่าเชื่อถือทั้งเนื้อหาสาระ
และความถกู ต้อง

5. ดาราศาสตร์(Astronomy) คือ วิชาวทิ ยาศาสตร์ที่ศึกษาวัตถุท้องฟ้า (อาทิ ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ดาว
หาง และดาราจักร) รวมทงั้ ปรากฏการณท์ างธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขนึ้ จากนอกชั้นบรรยากาศของโลก
โดยศึกษาเกย่ี วกับววิ ัฒนาการ ลกั ษณะทางกายภาพ ทางเคมี ทางอุตุนิยมวิทยา และการเคล่ือนท่ีของ
วตั ถทุ ้องฟา้ ตลอดจนถงึ การกาเนดิ และววิ ัฒนาการของเอกภพ

6. ระบบสุริยะ (Solar system) คือ ระบบดาวที่มีดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ (Planet)
เป็นบรวิ ารโคจรอยู่โดยรอบเน่อื งจากแรงโน้มถ่วง

ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รับจากการวจิ ยั

1. ทาให้ทราบและเข้าใจวธิ กี ารจดั ทาเวบ็ ไซตส์ ่ือการสอน
2. ผูท้ ส่ี นใจในเรอ่ื งระบบสรุ ิยะสามารถนาข้อมลู ทีจ่ ัดทาไปใชศ้ ึกษาเพ่ิมเติมได้
3. ผู้ที่สนใจจดั ทาเวบ็ ไซตส์ ามารถนาการวจิ ัยไปใชเ้ ป็นแนวทางในการจดั ทาเว็บไซต์ของตนเองได้
4. ผทู้ ี่สนใจจัดทาสื่อการสอนในเวบ็ ไซตส์ ามารถนาผลการวิจัยไปใช้เปน็ แนวทางในการวางแผนปรับปรงุ

สอ่ื การสอนของตนเองได้

4

บทที่ 2

เอกสารและงานวจิ ัยที่เกี่ยวขอ้ ง

1. เว็บไซต์
1.1 ความหมายของเวบ็ ไซต์ (Website)
เว็บไซต์ (Website) คือ แหล่งที่เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่อประสมต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง
ข้อความ คาท่ีใช้เรียกกลุ่มของเว็บเพจ ดังน้ันภายในเว็บไซต์จะประกอบไปด้วยโฮมเพจและเว็บ
เพจ โดยเว็บไซต์ต้องมีการจดทะเบียนชื่อเว็บไซต์น้ัน ๆไว้แล้ว เช่น http://www.google.com,
http://www.mkp.ac.th เป็นตน้
เว็บไซต์ นั้นมีคาศัพท์เฉพาะทางหลายคา เช่น เว็บเพจ (web page) และ โฮมเพจ (home
page) เป็นต้น ปัจจุบันการออกแบบ เว็บไซต์ไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป เน่ืองจากมีเครื่องมือในการ
ออกแบบ เว็บไซต์ ให้เลือกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นโปรแกรมสาเร็จรูป หรือแม้กระทั่ง CMS
(Content Management System) อยา่ ง joomla, wordpress, drupal เปน็ ต้น
1.2 ประเภทของเวบ็ ไซต์
1.2.1 เวบ็ จาหนา่ ยสินคา้ (Online Store) เปน็ เวบ็ ไซตข์ ายสนิ คา้ ออนไลน์ใหญ่
1.2.2 เว็บบริการออนไลน์ (Online Service Provider) ใหบ้ ริการด้านการท่องเท่ียวและอานวย
ความสะดวกดา้ นการจองที่พักออนไลน์
1.2.3 เว็บให้ขอ้ มูลองค์กรสินค้าบรษิ ัท (Online Brochure & Catalog) เวบ็ สานกั งานคณะ
กรรมการอาชีวศึกษาโดยใหข้ ้อมูลและข่าวสารตา่ งๆ องค์กร
1.2.4 เว็บทา่ รวมบรกิ ารต่าง ๆ สาระบนั เทงิ (Portal Website) เวบ็ ไซต์รวมบริการและความ
บันเทงิ
1.2.5 เวบ็ ขอ้ มลู ท่ีเปน็ ประโยชน์ (Online Publisher/Content) เปน็ เวบ็ ใหบ้ ริการดา้ นข้อมูล
ทอ่ งเทีย่ วให้แก่ผู้ท่สี นใจ
1.2.6 แหล่งซือ้ ขายสินคา้ (Online Mall) รายไดข้ องเวบ็ มาจากคอมมชิ ชนั่ ค่าประกาศโฆษณา
และโฆษณาของสมาชิก
1.2.7 เวบ็ ชุมชนออนไลน์ (Online Community) ชุมชนทีม่ ีการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ในเรอ่ื ง
ต่างๆ ตามทสี่ นใจ
1.2.8 เว็บสร้างรายได้จากการเป็นนายหนา้ ออนไลน์ (Afflilate Marketer) จาหนา่ ย Web
Hosting
1.2.9 เวบ็ สังคมออนไลน์ (Social Media Website)

2. การสรา้ งเวบ็ ไซต์ผา่ น google
1. สมัครเขา้ ใช้งาน โดยเขา้ ไปที่ URL: www.google.com/sites แลว้ ลงชือ่ เขา้ ใช้ Gmail โดยกรอก
Email และ Password คลิกป่มุ “ลงช่อื เข้าใชง้ าน”

5

2. เลอื กปุ่ม “สร้าง”

3. เลอื กเทมเพลตที่จะใช้ หากต้องการเลือกดูเทมเพลตอน่ื ๆ ใหค้ ลกิ ท่ี “เลือกดูเพิม่ เติมในแกลเลอรี่”
ซ่ึงในทน่ี ้ีจะเลือกเป็นแบบ
4. แมแ่ บบวา่ งเปลา่
5. ตงั้ ชื่อไซต(์ title) ของคุณ สา หรับส่วนของตา แหนง่ ไซต์google sites จะทาการต้ังใหโ้ ดยอตั โิ นมตั ิ
6. เลอื กธมี แสดงในเวบ็ ไซต์ ซึ่งสามารถปรับเปลีย่ นในภายหลังได้
7. ตวั เลอื กเพ่ิมเติม สว่ นน้จี ะให้ใส่คา อธิบายเวบ็ ไซตแ์ ละมใี ห้เลือกว่า เนอ้ื หาภายในเว็บไซตเ์ หมาะ
สาหรับผใู้ หญเ่ ท่าน้นั
8. พิมพร์ หสั ตามท่ีปรากฏเพื่อยืนยันวา่ เปน็ มนุษย์ไม่ใช่ Bot ของ Google หรอื Spam จากเว็บ
ต่างๆ
9. คลิกปุ่ม “สร้าง”

6

10. เมื่อสร้างไซตเ์ สร็จแล้วจะปรากฏหนา้ ตาเว็บไซต์ดังภาพ จากน้ัน เริ่มตกแต่งเวบ็ ไซต์

7

การใชง้ าน Theme
1. ตกแตง่ เว็บไซต์โดยการเปลี่ยน Theme เพือ่ ใหเ้ ว็บไซต์มีรูปแบบแสดงที่สวยงาม โดยคลิกเลอื ก
“เพมิ่ เตมิ ”

2. เลอื กจดั การไซต์
3. สังเกตเมนูดา้ นซ้าย เลือก “ธีม”
4. เลือกธีมไดต้ ามทตี่ ้องการ หากตอ้ งการเลอื กตวั อย่างให้คลิก“ดูตวั อยา่ ง” หรือหากไม่ตอ้ งการดู
ตวั อย่างคลิก“บันทึก”

5. คลิกทช่ี ่ือไซต์ เพื่อกลับไปยังหน้าเว็บไซต์

8

การแก้ไขหนา้ เพจ
1. แถบเมนแู ละฟงั ก์ชนั่ ทใ่ี ช้เพม่ิ ลกู เลน่ ให้กับเว็บไซต์รวมไปถึง Gadget ต่างๆและเคร่ืองมือในการ
จดั การหนา้ เว็บ
2. เมนู “แทรก” เปน็ เมนูที่ควบคุมเกี่ยวกบั การใช้มเี ดยี เช่น การใสร่ ูปภาพ ลิงกว์ ิดโี อและgadget
ต่างๆ จงึ ทา ใหเ้ มนูถกู ใช้ งานบอ่ ยท่ีสุด

3. เมนู “รูปแบบ” เปน็ เมนูทใี่ ชก้ าหนดรูปแบบของตวั อักษร ซ่งึ เป็นรูปแบบคาส่งั เดยี วกนั กับแถบเมนู

9

4. เมนตู าราง เปน็ เมนทู ่ีใชส้ ร้าง หรือจดั การขอ้ มลู ในรปู แบบตาราง

5. เมนู “การจัดวาง” เป็นเมนทู ี่ใช้สาหรบั กาหนดรปู แบบการจดั วางคอลมั น์ในหน้าเพจ
การเพ่ิม Text Generator
1. เข้าไปท่ีเวบ็ สร้าง Text generator เลอื กตกแต่งตามแบบทต่ี อ้ งการแลว้ Get Code (เฉพาะ
HTML) เสรจ็ แลว้ นามาเพ่มิ ในเพจ หน้าแรก เลอื กคลิกป่มุ “แกไ้ ขหน้าเวบ็ ”

2. หน้าเพจทใ่ี ห้แกไ้ ขรายละเอยี ดจะมีToolbar ในการจดั รูปแบบข้อความตา่ งๆ ใหเ้ ลือกtag
“HTML”

3. วาง Code Html ที่ Get มาจากเวบ็ Text Generator ในช่อง Text box

10

4. หากตอ้ งการดตู ัวอย่างก่อนบันทกึ ให้เลือกแท็บแสดงตัวอย่าง
5. เรยี บรอ้ ยแลว้ เลือกป่มุ “อัปเดต”
6. เลือกปุม่ “บันทกึ ” เพ่ือบันทกึ หน้าเพจ
การเพ่ิมรูปภาพ
1. คลกิ ป่มุ “แก้ไขหนา้ เว็บ ” แล้วเลอื กปุ่ม “แทรก”
2. เลอื กเมนู “รูปภาพ”
3.จะปรากฏ Dialog box เพิม่ ภาพ จากนน้ั ให้อพั โหลดภาพโดยเลือก “เลือกไฟล์” แล้วคลกิ ท่ีไฟล์
ภาพทตี่ ้องการ

4. สามารถจัดรูปแบบของภาพได้ โดยเลือกรูปแบบทีต่ ้องการจาก popup ทีข่ ึ้นภายใต้รูปภาพ

การเพมิ่ ลงิ ก์
1. การเช่อื มโยงลงิ กภ์ ายในเว็บไซต์ให้คลิกปุม่ “แก้ไขหนา้ เวบ็ ” เลือกปมุ่ “แทรก”แลว้ เลือกเมนู
“ลิงก”์

2. จะปรากฏ Dialog box สร้างลงิ ก์เลือกหน้าเว็บไซต์ทตี่ ้องการจะเช่ือมโยง ซ่ึงสามารถดูไดจ้ าก
แผนผงั ไซต์ และ การ เปล่ยี นแปลงข้อมูลล่าสดุ บนเว็บไซตเ์ สร็จแลว้ เลือกปุม่ “ตกลง”

11

3. การเชื่อมโยงลงิ กจ์ ากภายนอกให้ทาตามข้อ 1 แล้วจะปรากฏ Dialog box สรา้ งลงิ ก์ซึง่ ในที่น้จี ะ
เลือกใช้ “ท่ีอยู่หน้าเวบ็ ”
4. โดยใส่ขอ้ ความทชี่ ่อง “ข้อความท่จี ะแสดง” และใส่URL ทีช่ อ่ งลิง้ ก์ไปท่ี URL นี้
5. หากตอ้ งการให้ลิงกเ์ ปดิ ในหนา้ ต่างใหม่ให้ต๊ิกท่ีcheckbox “เปิดลิงก์นใ้ี นต่างใหม่”
6. เสรจ็ แลว้ คลิกปมุ่ “ตกลง”

การเพม่ิ หนา้ เพจเว็บไซต์
1. เรม่ิ ตน้ สร้างหนา้ เพจโดยคลกิ ที่ปมุ่ ด้านบนขวาของหน้าจอ
2. เมอื่ เปิดหน้าสรา้ งเพจใหม่ขึน้ มาแล้ว กรอกช่ือ ตัง้ หน้าชื่อเว็บของคุณ

3.เลอื กเทมเพลตที่จะใชซ้ ึ่งในส่วนนี้มใี ห้ลอื กอยู่ 4 รปู แบบ คือ
- หน้าเวบ็ เปน็ หนา้ หลกั ของเวบ็ ไซต์ในการให้ข้อมลู และประกาศตา่ ง ๆ ของเว็บไซต์
- ตู้เก็บเอกสาร ใชส้ าหรบั อัปโหลดไฟล์ต่าง ๆ เชน่ รปู ภาพ , เพลง และอื่น ๆซ่ึงสามารถแชรใ์ หค้ นอืน่
ดาวน์โหลดได้
- ประกาศ ใชใ้ นการประกาศข้อความ หรอื แสดงบทความต่าง ๆ

12

- รายการ ใชแ้ สดงรายการตา่ ง ๆรวมถึงรายละเอยี ดของแต่ละรายการด้วย
4. เลอื กตาแหน่งเมนูทีต่ ้องการ
5. คลกิ ปุ่ม “สรา้ ง”

การสร้างเอกสาร
1. คลกิ ปุ่ม “แก้ไขหนา้ เว็บ” เลือกปุม่ “แทรก” แลว้ เลอื กเมนู “เอกสาร” ในกรณที ม่ี เี อกสารใน
Google Document ให้ เลือกเอกสารทีต่ ้องการนามาแสดงแลว้ กดปุ่ม “เลือก”

2. จากน้นั ใหต้ ้งั คา่ การแสดงผลของเอกสารแลว้ คลกิ ปุ่ม “บันทกึ ”

3. คลกิ ปมุ่ “บันทึก” ตรงมมุ บนขวาของหน้าจอเพ่ือบนั ทึกหน้าเพจที่ได้สร้างข้นึ

13

3. ข้นั ตอนการทางานของเวบ็ ไซต์
1. ผู้ใชท้ าการป้อนลิงก์ของเว็บไซต์ (url, home page, web ฯลฯ) ใสเ่ ขา้ ไปที่เว็บบราวเซอร์ท่ีใชง้ าน
เชน่ Chrome, Safari, Firefox หรือ Opera เปน็ ต้น
2. เวบ็ บราวเซอรจ์ ะนาลงิ ก์ท่ีป้อนเข้าไป คน้ หาข้อมลู จากเครื่องคอมพวิ เตอร์ในอินเทอร์เน็ต ทม่ี ีชอ่ื
เรียกว่า Domain Name Service (DNS) เพอ่ื ทาการเปลีย่ นชอ่ื เว็บท่เี ราป้อนเขา้ ไปใหเ้ ป็นตวั เลขที่
คอมพวิ เตอร์เข้าใจ (เรยี กว่า ทีอ่ ยู่ไอพี หรอื IP Address) เพือ่ ใหส้ ามารถส่งข้อมูลไปถูกทีไ่ ด้
3. จากนั้นข้อมลู กจ็ ะถูกร้องขอไปยังไอพีน้นั ซงึ่ กจ็ ะเปน็ ไอพีของเครื่องคอมพวิ เตอร์ทีเ่ ก็บเว็บไซต์น้นั ๆ
ทเ่ี รามกั จะเรียกวา่ Web Hosting เพ่ือทาการอา่ นข้อมลู จาก Web Hosting แลว้ ทาการส่งกลบั มาให้
บราวเซอร์ของเราแสดงผล
4. เมอื่ มกี ารคลกิ ลิงก์หรอื กดป่มุ สง่ ขอ้ มลู ต่าง ๆบนหน้าเวบ็ กจ็ ะมีกระบวนการข้างบนทาซ้าอยู่
ตลอดเวลา

4. ความหมายของระบบสรุ ิยะจักรวาล
ระบบสรุ ยิ ะ คือระบบดาวที่มดี าวฤกษเ์ ป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์ (Planet) เป็นบริวาร

โคจรอยโู่ ดยรอบ เมอ่ื สภาพแวดลอ้ มเออ้ื อานวย ต่อการดารงชีวิต ส่ิงมีชีวิตก็จะเกิดข้ึนบนดาวเคราะห์
เหล่าน้ัน หรือ บริวารของดาวเคราะห์เองที่เรียกว่าดวงจันทร์ (Satellite) นักดาราศาสตร์เช่ือว่า ใน
บรรดาดาวฤกษท์ ง้ั หมดกว่าแสนล้านดวงในกาแลกซ่ีทางช้างเผือก ต้องมีระบบสุริยะท่ีเอื้ออานวยชีวิต
อย่าง ระบบสุริยะท่ีโลกของเราเป็นบริวารอยู่อย่างแน่นอน เพียงแต่ว่าระยะทางไกลมากเกินกว่า
ความสามารถในการติดต่อจะทาได้ถึงที่โลกของเราอยู่เป็นระบบท่ีประกอบด้วย ดวงอาทิตย์ (The
sun) เป็นศูนย์กลาง มีดาวเคราะห์ (Planets) 9 ดวง ท่ีเราเรียกกันว่า ดาวนพเคราะห์ ( นพ แปลว่า
เกา้ ) เรียงตามลาดับ จากในสุดคือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส
ดาวเนปจูน ดาวพลูโต ( ตอนนี้ไม่มีพลูโตแร้ว เหลือแค่ 8 ดวง ) และยังมีดวงจันทร์บริวารของ ดวง
เคราะห์แต่ละดวง (Moon of sattelites) ยกเว้นเพียง สองดวงคือ ดาวพุธ และ ดาวศุกร์ ท่ีไม่มี
บริวาร ดาวเคราะห์น้อย (Minor planets) ดาวหาง (Comets) อุกกาบาต (Meteorites) ตลอดจน
กลมุ่ ฝนุ่ และก๊าซ ซ่ึงเคล่ือนที่อยู่ในวงโคจร ภายใต้อิทธิพลแรงดึงดูด จากดวงอาทิตย์ ขนาดของระบบ
สุริยะ กว้างใหญ่ไพศาลมาก เม่ือเทียบระยะทาง ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ซึ่งมีระยะทางประมาณ
150 ล้านกิโลเมตร หรือ 1au.(astronomy unit) หน่วยดาราศาสตร์ กล่าวคือ ระบบสุริยะมีระยะ
ทางไกลไปจนถึงวงโคจร ของดาวพลโู ต ดาว เคราะห์ที่มีขนาดเล็กท่ีสุด ในระบบสุริยะ ซ่ึงอยู่ไกล เป็น
ระยะทาง 40 เทา่ ของ 1 หน่วยดาราศาสตร์ และยังไกลห่างออก ไปอีกจนถึงดงดาวหางอ๊อต (Oort"s
Cloud) ซึ่งอาจอยู่ไกลถึง 500,000 เท่า ของระยะทางจากโลกถึงดวงอาทิตย์ด้วย ดวงอาทิตย์มีมวล
มากกวา่ รอ้ ยละ 99 ของ มวลทง้ั หมดในระบบสุริยะ ทเ่ี หลือนอกน้ันจะเป็นมวลของ เทหวัตถุต่างๆ ซ่ึง
ประกอบดว้ ยดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง และอุกกาบาต รวมไปถึงฝุ่นและก๊าซ ที่ล่องลอย
ระหวา่ ง ดาวเคราะห์ แตล่ ะดวง โดยมีแรงดึงดูด (Gravity) เป็นแรงควบคมุ ระบบสุริยะ ให้เทหวัตถุบน
ฟ้าทั้งหมด เคลื่อนที่เป็นไปตามกฏแรง แรงโน้มถ่วงของนิวตัน ดวงอาทิตย์แพร่พลังงาน ออกมา ด้วย
อัตราประมาณ 90,000,000,000,000,000,000,000,000 แคลอรีต่อวินาที เป็นพลังงานที่เกิดจาก
ปฏิกริยาเทอรโ์ มนวิ เคลยี ร์ โดยการเปลย่ี นไฮโดรเจนเป็นฮเี ลียม ซึ่งเปน็ แหล่งความร้อนให้กับดาว ดาว

14

เคราะห์ต่างๆ ถึงแม้ว่าดวงอาทิตย์ จะเสียไฮโดรเจนไปถึง 4,000,000 ตันต่อวินาทีก็ตาม แต่
นักวิทยาศาสตร์ก็ยังมีความเช่ือว่าดวงอาทิตย์ จะยังคงแพร่พลังงานออกมา ในอัตรา ท่ีเท่ากันน้ีได้อีก
นานหลายพันลา้ นปี
5. งานวจิ ัยทเี่ กี่ยวขอ้ ง
5.1 โครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บไซตเ์ พ่ือการศึกษา เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (Hardware)

โครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บไซตเ์ พ่ือการศกึ ษา เร่ือง อปุ กรณ์คอมพิวเตอร์
(Hardware) จดั ทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือพัฒนาเว็บไซต์เพ่อื การศึกษา เร่ือง อปุ กรณ์
คอมพิวเตอร์ (Hardware) 2) เพ่ือใชเ้ ป็นส่ือในการศึกษาใหกับผู้ทส่ี นใจ เรอ่ื ง อปุ กรณ์
คอมพวิ เตอร์ (Hardware) การพฒั นา เว็บไซตใ์ นครง้ั นใี้ ชโ้ ปรแกรมในการดาเนินงาน คือ
โปรแกรม Adobe Dreamweaver , Adobe Flash , Adobe Photoshop , Sothink Glanda
, Microsoft Word , Captivate ผลการพัฒนาเว็บไซต์ เพื่อการศึกษา เร่อื ง อปุ กรณ์
คอมพิวเตอร์ (Hardware) ในเว็บไซต์ ประกอบด้วย แบบทดสอบก่อนเรียน เน้ือหาบทเรียน
แบบทดสอบหลังเรยี น ใบความรู้ ใบงาน และผล การประเมินของการพัฒนาเว็บไซต์เพ่ือ
การศึกษา เรอื่ ง อปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ (Hardware) มีคา่ เฉลยี่ รวม อยู่ในระดับดี (X=3.92)
5.2 การพัฒนาเวบ็ เพจเพ่ือการศึกษารายวิชาคอมพวิ เตอร์เรื่องการใช้คอมพิวเตอร์ในการคน้ หาข้อมูล
สาหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6

การวิจัยครัง้ น้ีมีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือ 1. พฒั นารปู แบบเว็บเพจเพ่อื การศึกษารายวชิ า
คอมพวิ เตอรเ์ ร่ืองการใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูลสาหรบั นักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ให้
มีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวชิ าคอมพิวเตอร์
ก่อนและหลงั เรียนด้วยเวบ็ เพจเพอ่ื การศึกษาเร่ืองการใชค้ อมพวิ เตอร์ในการค้นหาข้อมูลสาหรบั
นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 3. วดั ระดบั เจตคตขิ องนักเรียนทีม่ ีต่อการเรยี นด้วยเว็บเพจเพ่ือ
การศึกษารายวชิ าคอมพิวเตอรเ์ รอ่ื งการใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการคน้ หาข้อมูลสาหรบั นักเรยี นชั้น
ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 รปู แบบการวจิ ัยนี้เปน็ การวิจยั เชิงพฒั นา (Research and Development)
โดยตวั อยา่ งท่ีใช้ในการวจิ ยั คร้ังนีเ้ ป็นนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรยี นประชาอปุ ถัมภ์ อ.
เมอื ง จ.นนทบรุ ใี ช้วธิ ีการเลอื กตวั อยา่ งแบบเจาะจง (Purposive Sampling) มา 1 ห้องเรยี นจาก
ทง้ั หมด 4 หอ้ งเรยี นโดยเลอื กนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6/1 มนี ักเรยี น 30 คนมาเปน็ ตัวอย่าง
ที่ใช้สาหรบั การวจิ ยั
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
1. วิเคราะหห์ าประสทิ ธภิ าพของเวบ็ เพจเพื่อการศึกษารายวชิ าคอมพิวเตอรเ์ ร่ืองการใช้
คอมพวิ เตอร์ในการค้นหาข้อมูลสาหรับนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 ตามเกณฑ์ 80/80 ใช้สตู ร
80/80
2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นรายวิชาคอมพวิ เตอร์เร่ืองการใชค้ อมพวิ เตอร์ในการคน้ หา
ขอ้ มลู สาหรับนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรยี นด้วยเว็บเพจเพ่ือการศึกษาก่อนและหลังเรยี น
ใชส้ ตู ร Dependent Samples t-test

15

3. วดั ระดบั เจตคติของนักเรยี นทีม่ ีต่อการเรียนดว้ ยเวบ็ เพจเพือ่ การศึกษารายวชิ าคอมพวิ เตอร์
เร่อื งการใช้คอมพิวเตอร์ในการคน้ หาข้อมูลสาหรับนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ใชม้ าตราส่วน
ประมาณคา่ (IRating-Scale) ของลิเคอร์ท (Likert) โดยการหาค่าเฉล่ยี
ผลการศกึ ษาพบว่า
1. เว็บเพจเพือ่ การศึกษารายวิชาคอมพิวเตอร์เรื่องการใช้คอมพวิ เตอร์ในการค้นหาข้อมลู สาหรับ
นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 มปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 8080 โดยมีค่าเฉลีย่ 85. 55/3033
2. ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นรายวิชาคอมพวิ เตอร์ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 หลงั เรียนด้วย
เวบ็ เพจเพื่อการศกึ ษาเรือ่ งการใชค้ อมพวิ เตอร์ในการค้นหาข้อมลู สูงกวา่ กอ่ นเรยี นอยา่ งมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
3. ผลการวดั ระดับเจตคติหลังเรียนด้วยเวบ็ เพจเพื่อการศึกษารายวิชาคอมพิวเตอรเ์ รือ่ งการใช้
คอมพวิ เตอร์ในการค้นหาข้อมูลของนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 มรี ะดบั เจตคติท่ี“ ชอบมาก”
โดยมีคา่ เฉลย่ี 4.08

16

บทที่ 3

วธิ ีดาเนินการวจิ ัย

การจดั ทาครั้งนี้เป็นการประเมินระดับความพึงพอใจในการเข้าชมเวบ็ ไซต์สื่อการสอน เรอื่ ง ระบบ
สุรยิ ะ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่ือเผยแพร่ข้อมลู ส่ือการเรยี นการสอน ผ่านเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ตและเพ่ือให้
ประโยชน์แกน่ กั เรยี น นกั ศกึ ษา และบุคคลท่สี นใจศึกษาหาความรูเ้ กี่ยวกบั ระบบสรุ ยิ ะ

ผูจ้ ดั ทาได้ดาเนนิ การศึกษาตามขัน้ ตอน ดังนี้

ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง

1. ประชากร

ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ในปี
การศึกษา 2562 รวมท้ังหมดประมาณ 100 คน และบุคคลทั่วไปที่ใช้งานเว็บไซต์ รวมท้ังหมด
ประมาณ 100 คน

2. กลมุ่ ตวั อย่าง

กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี5ห้อง5 โรงเรียนราชวินิตบางแก้วปี
การศึกษา 2562 จานวน 35 คน

เครอ่ื งมือที่ใช้ในการวิจัย

เครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้เป็นแบบสอบถาม แบบตรวจรายการ (Check List) แบบมาตรา
สว่ นประมาณค่า (Rating Scale) 6 ระดับ จานวน 2 ตอนมีรายละเอยี ดดังนี้

ตอนที่ 1 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบตรวจรายการ
(Check List)

ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจของผู้ใช้งานเว็บไซต์เพื่อสื่อการสอนเร่ืองระบบสุริยะ ลักษณะ
แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ระดับ คือ พอใจมากที่สุด พอใจมาก
ปานกลาง ไม่พอใจมาก และไม่พอใจมากที่สุด

การสร้างและหาประสิทธิภาพของเคร่อื งมือ

1. การสรา้ งเครื่องมือ

1) ศึกษาขอ้ มูลเบ้ืองต้นโดยศึกษาหลักการทฤษฎเี ก่ยี วกับเวบ็ ไซต์ระบบสรุ ิยะ และ

เอกสารที่เกย่ี วข้อง เพ่อื เป็นแนวคดิ และเปน็ แนวทางในการสร้างเครือ่ งมือ

2) สรา้ งเครื่องมือ โดยการศึกษาหลกั การสร้างแบบสอบถาม แลว้ กาหนดประเด็นและ

17

ขอบเขตคาถามด้วยการจัดเก็บหมวดหมใู่ หส้ อดคล้องกับวัตถุประสงคข์ องการวิจยั

3) นาแบบสอบถามท่ีได้ เสนอให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ เพื่อตรวจสอบด้านความเที่ยงตรง
(Validity) คือ ความเที่ยงตรงตามเน้ือหา (Content) ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง (Construct
Validity) และความเหมาะสมในดา้ นภาษา (Wording)

4) ปรับปรุงแบบสอบถามตามขอ้ เสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ แล้วนาไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างท่ี
มีคุณลักษณะเดียวกันกับกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยจานวนทั้งส้ิน 30 คน แล้วหาค่าสัมประสิทธิ์
แอลฟาของ Cronbach

5) ปรับปรุงเครอื่ งมือจากผลการทดลองแล้วนาไปใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู

ลกั ษณะของเคร่ืองมือ

เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการวิจัยในครงั้ น้ี เป็นแบบสอบถามผา่ น GOOGLE FORM

ตอนท่ี 1 เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) เพื่อสอบถามขอ้ มลู ทั่วไปของผู้ตอบ

แบบสอบถาม คอื เพศ และสถานภาพผูต้ อบ

ตอนที่ 2 เปน็ แบบสอบถามเกย่ี วกบั ความพึงพอใจของผูเ้ ขา้ ชมเวบ็ ไซต์ ในด้านตา่ งๆ ดังนี้

1) ด้านเนื้อหา ซึ่งแบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5
ระดับ โดยมีข้อคาถาม 5 ข้อ ดังนี้ 1.มีความชัดเจน ถูกต้อง และน่าเชื่อถือ 2.ปริมาณเนื้อหามี
เพียงพอกับความต้องการ 3.มีการจัดหมวดหมู่ให้ง่ายต่อการ ค้นหาและทาความเข้าใจ 4.ข้อความใน
เว็บไซต์ถูกตอ้ งตามหลักภาษา และไวยากรณ์ 5.เนื้อหากบั ภาพมีความสอดคล้องกนั

5 หมายถงึ ผเู้ ขา้ ชมเว็บไซต์มีความพงึ พอใจในระดับมากทสี่ ดุ

4 หมายถงึ ผู้เข้าชมเวบ็ ไซตม์ คี วามพึงพอใจในระดับมาก

3 หมายถงึ ผเู้ ข้าชมเวบ็ ไซตม์ ีความพึงพอใจในระดบั ปานกลาง

2 หมายถึง ผู้เข้าชมเว็บไซตม์ ีความพึงพอใจในระดบั น้อย

1 หมายถงึ ผู้เขา้ ชมเว็บไซตม์ ีความพึงพอใจในระดบั น้อยท่สี ุด

2) ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบเว็บไซต์ ซึ่งแบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วน
ประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ โดยมีข้อคาถาม 5 ข้อ ดังน้ี 1.การจัดรูปแบบในเว็บไซต์ง่ายต่อ
การอ่านและการใช้งาน 2.สีสันในการออกแบบเว็บไซต์มีความเหมาะสม 3.สีพื้นหลังกับสีตัวอักษรมี
ความเหมาะสมตอ่ การอ่าน 4.ขนาดตวั อักษร และรูปแบบตัวอักษร มีความสวยงามและอ่านได้ง่าย 5.
ความถูกตอ้ งในการเช่ือมโยงภายในเว็บไซต์

5 หมายถึง ผเู้ ข้าชมเวบ็ ไซต์มคี วามพึงพอใจในระดับมากทีส่ ดุ

18

4 หมายถึง ผเู้ ขา้ ชมเว็บไซตม์ ีความพึงพอใจในระดับมาก
3 หมายถึง ผเู้ ขา้ ชมเวบ็ ไซต์มคี วามพงึ พอใจในระดับปานกลาง
2 หมายถงึ ผเู้ ข้าชมเว็บไซตม์ คี วามพึงพอใจในระดับน้อย
1 หมายถงึ ผู้เขา้ ชมเวบ็ ไซต์มีความพึงพอใจในระดับน้อยทส่ี ุด
3) ด้านประโยชน์และการนาไปใช้ ซึ่งแบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า
(Rating Scale) 5 ระดับ โดยมีข้อคาถาม 4 ข้อ ดังน้ี 1.เนื้อหามีประโยชน์ต่อผู้ใช้งาน และสามารถ
นาไปประยุกต์ใช้ได้ 2.เป็นส่ือในการเผยแพร่ข่าวประชาสัมพันธ์ และงานวิจัย 3.สามารถเป็นแหล่ง
ความรไู้ ด้ 4.เป็นแหล่งขอ้ มลู ท่ตี รงกบั ความตอ้ งการของผใู้ ชง้ าน
5 หมายถงึ ผเู้ ข้าชมเวบ็ ไซตม์ คี วามพึงพอใจในระดับมากท่สี ุด
4 หมายถึง ผเู้ ขา้ ชมเว็บไซตม์ คี วามพงึ พอใจในระดบั มาก
3 หมายถึง ผู้เข้าชมเว็บไซตม์ คี วามพึงพอใจในระดบั ปานกลาง
2 หมายถึง ผู้เขา้ ชมเว็บไซต์มคี วามพงึ พอใจในระดบั น้อย
1 หมายถึง ผเู้ ขา้ ชมเวบ็ ไซต์มคี วามพงึ พอใจในระดับน้อยท่สี ุด
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
ผู้ศกึ ษาไดด้ าเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ตามลาดับขั้นตอน ดงั น้ี
1. ดาเนินการแจกแบบสอบถามระหว่างวันที่ 13 กุมภาพันธ์ – 19 กุมภาพนั ธ์ 2563
2. เก็บรวบรวมแบบสอบถาม แล้วคัดเลือกแบบสอบถามที่สมบูรณ์ เพ่ือนาข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์
ผลและแปรผล

การวิเคราะหข์ ้อมูล
วิเคราะห์ข้อมลู โดยใช้โปรแกรม SPSS ดังมีรายละเอียดตอ่ ไปน้ี
1. ขอ้ มูลที่ได้จากแบบตรวจรายการ (Checklist) วเิ คราะห์โดยการแจกแจงความถี่และคานวณหา
คา่ ร้อยละ ของผู้ตอบ
2. ข้อมูลท่ีได้จากแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) วิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ยเลข
คณิต ( X ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) แล้วอภิปรายผลในรูปความเรียงประกอบตาราง
สาหรับเกณฑ์การตัดสินผลการวิเคราะห์ข้อมูล พิจารณาจากค่าเฉลี่ยเลขคณิตตามเกณฑ์จุดกลาง
(Midpoint) ของชว่ งระดับคะแนน (Class interval) ดังน้ี
ค่าเฉลีย่ 4.51-5.00 หมายความว่า ระดับความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มากทีส่ ุด

19

ค่าเฉลีย่ 3.51-4.50 หมายความวา่ ระดบั ความพึงพอใจอย่ใู นระดับมาก
ค่าเฉลี่ย 2.51-3.50 หมายความวา่ ระดบั ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั ปานกลาง
ค่าเฉลยี่ 1.51-2.50 หมายความว่า ระดับความพงึ พอใจอยู่ในระดับน้อย
คา่ เฉลี่ย 1.00-1.50 หมายความวา่ ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยทส่ี ดุ
สถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู
1. คา่ รอ้ ยละ (Percentage) เพอื่ วเิ คราะห์ข้อมูลท่ีรวบรวมได้จากแบบสอบถามตอนที1่
2. คา่ เฉล่ีย (Mean) เขียนแทนดว้ ยสัญลักษณ์ ̅ ใช้สูตรดังนี้

̅∑

เม่อื ̅ คอื ค่าเฉลี่ย
∑x คือ ผลรวมท้ังหมดของขอ้ มลู
n คอื จานวนกล่มุ ตวั อย่าง

3. ส่วนเบี่ยงมาตรฐาน (Standard Deviation) เขยี นแทนดว้ ยสญั ลกั ษณ์ S.D. ใชส้ ตู รดงั น้ี

√∑ x x̅

เมือ่ S.D. คอื คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่าง
x คือ ค่าของข้อมลู แต่ละตัว
x̅ คอื คา่ เฉล่ียของกลมุ่ ตัวอยา่ ง
n คือ จานวนข้อมลู ทั้งหมดของกลมุ่ ตัวอย่าง

20

บทท่ี 4
ผลการดาเนินโครงงาน

การนาเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู การศกึ ษาค้นคว้าเร่อื ง การพฒั นาเว็บไซตเ์ พ่ือการศึกษา เรอ่ื ง
ระบบสุรยิ ะ ผ้ศู ึกษาไดน้ าเสนอการวิเคราะห์ข้อมูลและการแปลผลข้อมูลตามลาดับดงั นี้

1. ขน้ั ตอนนาเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมลู
2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ข้ันตอนนาเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
ตอนท่ี 1 เป็นผลการวเิ คราะหเ์ ก่ียวกับข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตวั อยา่ ง วา่ เปน็ เพศชายหรือ เพศหญงิ
ตอนท่ี 2 เปน็ ผลการวิเคราะห์เก่ียวกบั คา่ ความพึงพอใจการใชเ้ ว็บไซตเ์ พ่ือการศกึ ษา เรอื่ ง ระบบ
สุรยิ ะ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ตอนที่ 1 เปน็ ผลการวิเคราะห์เกย่ี วกบั ข้อมูลทวั่ ไปของกลุ่มตวั อยา่ ง แสดงไวใ้ นตารางท่ี 1 ดังนี้
ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของกล่มุ ตวั อยา่ ง จาแนกตามเพศ

สภาพของกลุ่มตวั อย่าง จานวน (คน) รอ้ ยละ
1. เพศ
1.1เพศชาย 15 42.9
1.2เพศหญิง 20 57.1
35 100
รวม

จากตารางที่ 1 แสดงวา่ ในกลุ่มตัวอย่าง 35 คน เป็นเพศชาย จานวน 15 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 42.9
และเปน็ เพศหญงิ จานวน 20 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 57.1

ตอนท่ี 2 เปน็ ผลการวิเคราะหเ์ กยี่ วกับคา่ ความพึงพอใจการใช้เว็บไซตเ์ พ่ือการศกึ ษา เรอื่ ง ระบบ
สรุ ยิ ะ ซ่งึ แสดงไว้ในตารางท่ี 2 ดงั นี้

ตารางที่ 2 ตารางแสดงความพงึ พอใจโดยหาค่าความถี่และค่าร้อยละ

21

ระดับความพึงพอใจ

ท่ี ดา้ น พอใจมาก พอใจมาก ปานกลาง ไมพ่ อใจมาก ไมพ่ อใจมาก
ที่สดุ ที่สุด

1 มีความชัดเจน

ถูกต้อง 13 17 5 0 0

และนา่ เชื่อถอื

คิดเป็นรอ้ ยละ 37.14 48.57 14.29 0 0

2 ปรมิ าณเนื้อหามี

เพยี งพอกบั 11 20 4 0 0
ความตอ้ งการ

คดิ เปน็ ร้อยละ 31.43 57.14 11.43 0 0

3 มีการจัด

หมวดหมใู่ ห้ง่าย

ต่อการ ค้นหา

และทาความ

เข้าใจ 17 16 2 0 0

คิดเป็นร้อยละ 48.57 45.71 5.71 0 0

4 ขอ้ ความใน

เว็บไซต์ถูกตอ้ ง

ตามหลกั ภาษา
และไวยากรณ์ 15 18 2 0 0

คดิ เปน็ รอ้ ยละ 42.86 51.43 5.71 0 0

5 เนอื้ หากบั ภาพมี 1 0 0
2.86 0 0
ความสอดคล้อง 16 18
กนั

คิดเป็นร้อยละ 45.71 51.43

22

จากตารางความพึงพอใจโดยหาคา่ ความถี่และคา่ ร้อยละ พบว่าระดับความพงึ พอใจของกลุ่มตวั อยา่ ง
อยูใ่ นเกณฑ์พอใจมากทสี่ ดุ ถึงพอใจมาก

ตารางท่ี 3 คา่ เฉล่ยี และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของความพงึ พอใจโดยรวม

รายการประเมิน x S.D. ระดับ

1.ด้านเน้ือหา

1.1 มีความชัดเจน ถูกต้อง 4.23 0.69 มาก
และน่าเช่ือถอื 4.2 0.63 มาก
4.43 0.61 มากสดุ
1.2 ปรมิ าณเนอ้ื หามีเพยี งพอ 4.29 0.60 มาก
กบั ความต้องการ

1.3 มกี ารจดั หมวดหมู่ให้ง่าย
ตอ่ การ ค้นหาและทาความ
เข้าใจ

1.4 ขอ้ ความในเวบ็ ไซต์ถกู ต้อง
ตามหลกั ภาษา และไวยากรณ์

1.5 เนอื้ หากบั ภาพมีความ 4.43 0.56 มาก
สอดคลอ้ งกนั
4.23 0.77 มากสุด
2. ด้านการออกแบบและการ 4.17 0.74 มาก
จัดรปู แบบเว็บไซต์

2.1 การจัดรูปแบบในเว็บไซต์
ง่ายต่อการอ่านและการใชง้ าน

2.2 สสี ันในการออกแบบ
เวบ็ ไซต์มคี วามเหมาะสม

2.3 สพี ื้นหลงั กับสีตวั อักษรมี 4.14 0.81 23
ความเหมาะสมต่อการอา่ น 4.23 0.77
4.17 0.66 มากสดุ
2.4 ขนาดตวั อกั ษร และ มากสดุ
รูปแบบตวั อกั ษร มคี วาม 4.26 0.66 มาก
สวยงามและอ่านไดง้ ่าย 4.2 0.68
3.71 0.78 มาก
2.5 ความถกู ต้องในการ 4.14 0.73 มาก
เชื่อมโยงภายในเว็บไซต์ มากสดุ
มาก
3 ด้านประโยชนแ์ ละการ
นาไปใช้
3.1 เนือ้ หามปี ระโยชน์ตอ่
ผู้ใช้งาน และสามารถนาไป
ประยุกต์ใช้ได้

3.2 เป็นสอื่ ในการเผยแพรข่ ่าว
ประชาสมั พันธ์ และงานวจิ ยั

3.3 สามารถเปน็ แหล่งความรู้
ได้

3.4 เป็นแหล่งข้อมูลท่ตี รงกับ
ความต้องการของผู้ใช้งาน

จากตารางที่ 3 แสดงวา่ กลุ่มตัวอยา่ งมีระดับความพงึ พอใจอยใู่ นเกณฑม์ ากสุด 5 รายการ คือ 1.มีการ
จดั หมวดหมใู่ ห้ง่ายตอ่ การ คน้ หาและทาความเขา้ ใจ 2.การจดั รปู แบบในเว็บไซต์ง่ายต่อการอ่านและการใช้งาน
3.สีพืน้ หลังกบั สตี วั อกั ษรมีความเหมาะสมต่อการอ่าน 4.ขนาดตัวอักษร และรูปแบบตัวอักษร มีความสวยงาม
และอ่านได้ง่าย 5.สามารถเป็นแหล่งความรู้ได้ และมีระดับความพึงพอใจอยู่ในเกณฑ์มาก 9 รายการ คือ 1.มี
ความชัดเจน ถูกต้อง และน่าเชอื่ ถอื 2.ปริมาณเนื้อหามีเพียงพอกับความต้องการ 3.ข้อความในเว็บไซต์ถูกต้อง
ตามหลักภาษา และไวยากรณ์ 4.เน้ือหากับภาพมีความสอดคล้องกัน 5.สีสันในการออกแบบเว็บไซต์มีความ
เหมาะสม 6.ความถูกต้องในการเชื่อมโยงภายในเว็บไซต์ 7.เน้ือหามีประโยชน์ต่อผู้ใช้งาน และสามารถนาไป
ประยุกต์ใช้ได้ 8.เป็นส่ือในการเผยแพร่ข่าวประชาสัมพันธ์ และงานวิจัย 9.เป็นแหล่งข้อมูลท่ีตรงกับความ
ตอ้ งการของผู้ใชง้ าน

24

บทที่ 5
สรุปผลการดาเนนิ งาน และข้อเสนอแนะ

การศึกษาค้นควา้ ครงั้ นเี้ ป็นการศึกษาเร่อื งความพึงพอใจของผู้ใช้งานเว็บไซต์เพ่ือส่ือการเรียนการสอน
เรื่องระบบสุริยะ โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ห้อง 5 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ปี
การศึกษา 2562 จานวน 35 คน
วัตถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษาคน้ คว้า

เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการเข้าชมเว็บไซต์เพื่อสื่อการสอนเรื่องระบบสุริยะ ของนักเรียนช้ัน
มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 หอ้ ง 5 ปีการศกึ ษา 2562 โรงเรยี นราชวินติ บางแกว้
ขอบเขตของการศึกษาคน้ คว้า
1. ขอบเขตด้านเนือ้ หา

การศึกษาคร้ังนี้มุ่งหมายศึกษาความพึงพอใจในการเข้าชมเว็บไซต์เพื่อสื่อการสอนเรื่ องระบบ
สรุ ิยะ ของนกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 หอ้ ง 5 ปีการศกึ ษา 2562 จาแนกเป็น 3 ดา้ นไดแ้ ก่

1) ดา้ นเน้ือหา
1.1 มคี วามชัดเจน ถกู ต้อง และน่าเชอื่ ถอื
1.2 ปริมาณเนือ้ หามีเพียงพอกบั ความตอ้ งการ
1.3 มกี ารจดั หมวดหมูใ่ ห้ง่ายตอ่ การ ค้นหาและทาความเข้าใจ
1.4 ขอ้ ความในเว็บไซต์ถกู ต้องตามหลักภาษา และไวยากรณ์
1.5 เน้อื หากับภาพมคี วามสอดคล้องกนั
2) ด้านการออกแบบและการจดั รปู แบบเว็บไซต์
2.1 การจดั รูปแบบในเว็บไซตง์ า่ ยตอ่ การอา่ นและการใช้งาน
2.2 สีสันในการออกแบบเว็บไซตม์ ีความเหมาะสม
2.3 สีพน้ื หลงั กบั สตี วั อกั ษรมคี วามเหมาะสมตอ่ การอ่าน
2.4 ขนาดตวั อกั ษร และรปู แบบตวั อักษร มีความสวยงามและอ่านได้ง่าย
2.5 ความถกู ต้องในการเชอ่ื มโยงภายในเวบ็ ไซต์

25

3) ดา้ นประโยชน์และการนาไปใช้

3.1 เนื้อหามีประโยชนต์ ่อผู้ใชง้ าน และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชไ้ ด้

3.2 เปน็ สื่อในการเผยแพรข่ า่ วประชาสมั พันธ์ และงานวิจัย

3.3 สามารถเป็นแหลง่ ความรู้ได้

3.4 เป็นแหล่งขอ้ มูลที่ตรงกับความต้องการของผ้ใู ช้งาน

2. ขอบเขตด้านประชาการและกลมุ่ ตวั อยา่ ง

ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักเรียนเป็นช้ันมัธยมศึกษาช้ันปีที่ 5 ห้อง 5 ปีการศึกษา
2562 โรงเรยี นราชวนิ ิตบางแก้ว จานวนกลุม่ ตัวอย่าง 35 คน

เครอ่ื งมือทใี่ ช้ในของการศกึ ษาค้นคว้า

แบบสารวจความพึงพอใจต่อการเข้าชมเว็บไซต์ “ระบบสุริยะ” ของนักเรียนราชวินิตบางแก้ว
จานวน 14 ข้อ ซึง่ ผทู้ าการศึกษาคน้ ควา้ สร้างขึน้

สรุปผลการศึกษา

ผลการศึกษาวิจัยเรื่อง ความพึงพอใจในการเข้าชมเว็บไซต์เพื่อสื่อการสอนเรื่องระบบสุริยะ จาก
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ห้อง 5 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว จานวน 35 คน
สามารถสรุปผลได้ดังน้ี

1. ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 57.1 และเพศชาย
จานวน 15 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 42.9

2. ผลการวเิ คราะห์ความพงึ พอใจในการเข้าชมเวบ็ ไซต์ “ระบบสรุ ยิ ะ”

จากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 5 โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ปีการศึกษา 2562 โรงเรียน
ราชวินิตบางแก้ว จานวน 3 ด้าน คือ ด้านเน้ือหา ด้านการออกแบบและการจัดรูปแบบเว็บไซต์และ
ด้านประโยชน์และการนาไปใช้ จากการเข้าชมเว็บไซต์โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X= 4.177857)
และมีปรากฏผล ดงั นี้ ท้ังเพศหญงิ และชายตา่ งกม็ คี วามพึงพอใจที่อยใู่ นระดับมาก 14 รายการ คือ

1. มีความชัดเจน ถกู ต้อง และน่าเชอ่ื ถือ

2. ปริมาณเนือ้ หามเี พียงพอกบั ความตอ้ งการ

3. มกี ารจดั หมวดหมใู่ ห้ง่ายตอ่ การ คน้ หาและทาความเข้าใจ

4. ข้อความในเว็บไซต์ถูกต้องตามหลกั ภาษา และไวยากรณ์

5. เนือ้ หากบั ภาพมีความสอดคล้องกนั

26

6. การจัดรูปแบบในเว็บไซตง์ า่ ยต่อการอ่านและการใชง้ าน
7. สีสันในการออกแบบเวบ็ ไซต์มีความเหมาะสม
8. สีพ้นื หลังกบั สตี ัวอักษรมีความเหมาะสมต่อการอ่าน
9. ขนาดตัวอกั ษร และรปู แบบตัวอกั ษร มคี วามสวยงามและอ่านไดง้ า่ ย
10. ความถกู ต้องในการเชื่อมโยงภายในเว็บไซต์
11. เน้ือหามปี ระโยชนต์ ่อผูใ้ ช้งาน และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชไ้ ด้
12. เปน็ สอ่ื ในการเผยแพรข่ า่ วประชาสัมพนั ธ์ และงานวจิ ัย
13. สามารถเป็นแหลง่ ความรไู้ ด้
14. เป็นแหลง่ ข้อมูลท่ีตรงกบั ความตอ้ งการของผใู้ ชง้ าน
อภิปรายผลการศึกษา
การศกึ ษาครัง้ นผ้ี ู้ศึกษาไดค้ ้นพบประเดน็ ท่ีควรนามาอภปิ รายดงั น้ี
1. ในการศึกษาข้อมูลพบวา่ กล่มุ ตัวอยา่ งทต่ี อบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญงิ
2. จากการศึกษาข้อมูลความพึงพอใจในการเข้าชมเว็บไซต์เพื่อส่ือการสอนเรื่องระบบสุริยะ จาก
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ห้อง 5 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียน จานวน 35 คน ซ่ึง
โดยภาพรวมแลว้ มคี วามพงึ พอใจมากสาหรับการเขา้ ชมเว็บไซต์เพือ่ สอ่ื การสอนเรื่องระบบสุริยะ ซ่ึงผล
การศึกษาครั้งนจ้ี ะเป็นประโยชนเ์ พ่อื ใชใ้ นการพฒั นาและปรบั ปรุงเว็บไซต์ต่อไป
ขอ้ เสนอแนะ
ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยจะนาผลการวิจัยท่ีได้รับความพึงพอใจระดับม ากน้ีไว้เป็นระดับ
มาตรฐานสาหรบั ในการสรา้ งเวบ็ ไซต์เพื่อส่อื การสอนในเร่อื งอื่น ๆ ให้ดยี ่งิ ข้นึ ตอ่ ไป

27

บรรณานกุ รม

ร ะ บ บ สุ ริ ย ะ . 2 5 6 2 . ร ะ บ บ สุ ริ ย ะ . [ ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ] . แ ห ล่ ง ท่ี ม า
ttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%
B8 % AA%E0 % B8 % B8 % E0 % B8 % A3 % E0 % B8 % B4 % E0 % B8 % A2 % E0 % B8 % B0 /
(19 กมุ ภาพนั ธ์ 2563)

SUNFLOWERCOSMOS.2550.ศัพท์ดาราศาสตร์ศาสตร์ระบบสุริยะ.[ระบบออนไลน์].
แ ห ล่ ง ท่ี ม า http://www.sunflowercosmos.org/A0 0 -0 1 -solar_system.html/
(19 กุมภาพันธ์ 2563)

28

ภาคผนวก

29

ฟอร์มแบบสอบถามผ่าน Google form

30

ตวั อย่างหนา้ เว็บไซต์สอ่ื การศึกษา เรอื่ ง ระบบสุรยิ ะ

31

ประวตั ขิ องผดู้ าเนินการวจิ ัย

1. นางสาว สพุ ชิ ชา จีนหลักรอ้ ย
อายุ : 17 ปี
เพศ : หญิง
การศกึ ษา : - จบการศึกษามธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนราชวนิ ิตบางแก้ว
- ขณะนีก้ าลงั ศึกษาชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนราชวนิ ิตบางแกว้

2. นางสาว นฏกร เอ่ียมทรัพย์
อายุ : 16 ปี
เพศ : หญงิ
การศกึ ษา : - จบการศกึ ษามัธยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแกว้
- ขณะนี้กาลงั ศึกษาช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 โรงเรยี นราชวินิตบางแกว้

3. นางสาว ศตพร สนิท
อายุ : 16 ปี
เพศ : หญิง
การศึกษา : - จบการศกึ ษามัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนราชวินิตบางแกว้
- ขณะน้ีกาลงั ศกึ ษาชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรยี นราชวนิ ติ บางแก้ว

4. นางสาว วชิ ดุ า มีพวงผล
อายุ : 16 ปี
เพศ : หญงิ
การศึกษา : - จบการศึกษามธั ยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนราชวนิ ติ บางแกว้
- ขณะนีก้ าลังศึกษาช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรยี นราชวินติ บางแก้ว


Click to View FlipBook Version