The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ArtExhibition_2021_E-book

ArtExhibition_2021_E-book

"ระลึกศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี"


3 คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์เป็นสถาบันการศึกษาด้านทัศนศิลป์และการออกแบบ เปิดสอนหลักสูตรศิลปบัณฑิตสาขาวิชาทัศนศิลป์ทั้งในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท และหลักสูตรศิลปบัณฑิตสาขาวิชาออกแบบตกแต่งภายใน มีความพร้อมและทันสมัยทังทางด้านกายภาพ ้สิ่ งสนับสนุนการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการศึกษา ทำ การสอนโดยคณาจารย์ และผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญและมีชื่อเสียงในระดับชาติและนานาชาติมีสภาพแวดล้อมที่เป็นบรรยากาศทางศิลปะที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดจนมีความร่วมมือทางวิชาการกับหน่วยงาน และองค์กรต่างๆในการพัฒนานักศึกษาให้มีคุณภาพ คณะศิลปวิจิตรมุ่งให้ความสำ คัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนาคุณภาพเชิงวิชาการและทักษะเฉพาะด้านวิชาชีพที่เหมาะสมและตรงตามความต้องการ เพื่อสร้างความพร้อม แก่ผู้สำ เร็จการศึกษาในการประกอบอาชีพและดำ รงชีวิตในสังคมได้สามารถนำ ความรู้ความสามารถทางศิลปะไปประยุกต์ใช้ให้เกิดคุณค่าต่อตนเอง สังคมและประเทศชาติโดยเฉพาะอย่างยิ่ ง ในด้านการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะและการนำ ศิลปะสู่การดำ รงชีวิต การแสดงผลงานศิลปกรรมของคณาจารย์เป็นการเผยแพร่ผลงานการสร้างสรรค์ศิลปะที่สร้างความเชื่อมโยงระหว่างศิลปะกับสังคม ที่จะทำ ให้นักศึกษาและสาธารณชนเกิดความเข้าใจ ในคุณค่าของศิลปะต่อการดำ รงชีวิตในทุกๆด้านที่จะนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีสุนทรีย์และมีความสุขอย่างแท้จริง ซึ่งคณะศิ ลปวิจิตรได้มีการดำ เนินการจัดแสดงผลงานศิ ลปกรรม ของคณาจารย์มาอย ่างต ่อเนื่องเป็นประจำ ทุกปี ในปี 2564 นี้ คณะศิลปวิจิตรได้นำ เสนอผลงานของคณาจารย์ที่มีแนวคิดและแรงบันดาลใจจากความรำ ลึกถึงคุณความดีของท่านศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ผู้วางรากฐานการศึกษา และการสร้างสรรค์ศิลปะร่วมสมัยในประเทศไทยและพัฒนาจนมีความเจริญก้าวหน้ามาจนถึงปัจจุบัน โดยจัดแสดงผลงานในช่วงเดือนกันยายน 2564 นี้ณ หอศิลป์วังหน้า สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นการรำ ลึกถึงในโอกาสคล้ายวันเกิดท่านศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี โดยมีวัตถุประสงค์สำ คัญในการเผยแพร่คุณความดีของปูชนียบุคคลและแสดงให้เห็น คุณค่าแห่งศิลปะที่มีต่อมวลมนุษย์ให้ประชาชนได้รับรู้และเรียนรู้ควบคู่กันไปด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชยากร เรืองจำ รูญ สารจากคณบดีคณะศิลปวิจิตร


4 อาจารย์กมล สุ วุฒโฑ Mr. Kamol Suwuttho ทีปรึกษาสถาบันบัณฑิตพ่ฒนศิลป์ ั การศกษาึ : ศิลปมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร 2522 ชื่อผลงาน : แสมสาร ชลบุรี เทคนิค : สีน้ำ ขนาด : 50 x 70 cm. ศิลปินรับเชิญ


5 การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต (จิตรกรรม) คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2522 อาจารย์สมศักดิ์เชาวน์ธาดาพงศ์ Mr. Somsak Chowtadapong [email protected] Somsak Chowtadapong ชื่อผลงาน : colourscape เทคนิค : สีpastel บนกระดาษ ขนาด : 76 x 56 cm.


6 ชื่อผลงาน : ตรงนี้ต้องระวัง Point of Concern เทคนิค : สีอะคริลิค ทองคำ เปลวบนผ้าใบ acrylic and goldleaf on canvas ขนาด : 90 x 70 cm. การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต (จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร แนวความคิด "ศิลปะไม่ได้สอนให้วาดรูปเป็น แต่สอนให้รู้จักการใช้ชีวิต” “ตรงนี้ต้องระวัง” เป็นชื่อจิตรกรรมชิ้ นนี้การทำ งานศิลปะทำให้เกิดการพิจารณา เกี่ยวกับชีวิตว่าเป็นเช่นใด งานชิ้ นนี้นำ เสนอการใช้ชีวิตหรือการดำ เนินชีวิตที่พึงระวัง ศาสตราจารย์เกียรติคุณปริญญา ตันติสุข Prof. Em. Parinya Tantisuk [email protected] parinya


7 ชื่อผลงาน : ท่วงท่า เทคนิค : เครื่องปั้ นดินเผาเนื้อดินผสมกระดาษ ขนาด : 26 x 27 x 27 cm. การศึกษา : เทคโนโลยีเซรามิกส์มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร แนวความคิด “ท่วงท่า” เป็นการถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกผ่อนคลาย โล่งเบาสบาย มีความสุข ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำนวย นวลอนงค์ Asst. Prof. Amnuay Nualanong [email protected]


8 ชื่อผลงาน : “ศาสตราจารย์ศิลป์พีระศรีแสงแห่งศิลปะของไทย” เทคนิค : สีน้ำมัน (Impasto) ขนาด : 60 x 50 ซม. การศึกษา : ศิลปกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต (ทัศนศิลป์และการออกแบบ) มหาวิทยาลัยบูรพา ศิลปบัณฑิต (จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร แนวความคิด ภาพการทำ งานของศาสตราจารย์ศิลป์พีระศรีในบรรยากาศห้องทำ งาน เครื่องพิมพ์ดีด และ แสงที่ส่องมาชัดเจนจากด้านหลัง สร้างความรู้สึกประทับใจกับผมเป็นอย่างมาก อาจารย์ศิลป์ เป็นผู้บุกเบิกงานศิลปะสมัยใหม่ของไทย ทังมีความเข้าใจรากเหง้าศิลปะของไทยอย่างดี ้ ท่านแนะนำ ให้ลูกศิษย์ลูกหาสมัยนันได้ต่อยอดจากความเป็นไทย ้มาสู่งานศิลปะสมัยใหม่ และก่อให้เกิดคุณูปการ อย่างมากมายแก่วงการศิลปะไทยมาจนทุกวันนี้ท่านจึงถือเป็น “แสงสว่าง” ที่ส่องทางให้กับศิลปะร่วม สมัยของไทยเรา อาจารย์วิศิษฐ พิมพิมล Mr. Wisit Pimpimon [email protected] Wisit Pimpimon


9 ชื่อผลงาน : ต่างแดน เทคนิค : เครื่องเคลือบดินเผา (เตาฟืน) ขนาด : 65 x 35 cm. , 75 x 45 cm. การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต (ทัศนศิลป์และการออกแบบ) มหาวิทยาลัยบูรพา 2556 แนวความคิด ตัวตนของเราเป็นสิ่งที่เกิดจากความรุนแรง และขัดแย้งที่เข้ามาในชีวิต ซึ่งหล่อหลอมให้เราเป็นเราอย่างทุกวันนี้“ระลึกถึงศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี” ผู้ช่วยศาสตราจารย์โกเมศ คันธิก Asst. Prof. Komes Kuntig [email protected] Komes Kuntig


10 ชื่อผลงาน : Echo from Within เทคนิค : mixed media ขนาด : 60 x 80 cm. การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ศิลปบัณฑิต วิชาเอกศิลปะไทย คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร แนวความคิด อาจารย์ศิลป์พีระศรีเป็นแรงบันดาลใจทางด้านความงาม ความจริง ความดี อาจารย์ชูเกียรติสุทิน Mr. Chukiat Sutin [email protected] Chukiat Sutin


11 ชื่อผลงาน : ศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี เทคนิค : วาดเส้นบนกระดาษ ขนาด : 36 x 26 cm. การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต คณะศิลปวิจิตร สาขาทัศนศิลป์สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ศิลปบัณฑิต คณะจิตรกรรม เพาะช่าง แนวความคิด ข้าพเจ้ารู้สึกชื่นชมและศรัทธาท่านศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี ผู้วางรากฐานหลักวิชาการให้กับ วงการศิลปะเมืองไทย จึงถ่ายทอดความรู้สึกศรัทธาดังกล่าวออกมาในรูปแบบของผลงานศิลปะ ที่ข้าพเจ้าถนัด อาจารย์ลาภ อำไพรัตน์ Mr. Larp Ampairat [email protected] ลัด อัมภัยราบ


12 ผู้บริหาร ชื่อผลงาน : ศาสตราจารย์ศิลป์พีระศรี เทคนิค : ปากกาเคมี ขนาด : 60 x 40 cm. การศึกษา : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต การจัดการออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยกรุงเทพ แนวความคิด เป็ นงานศิ ลปะแบบลายเส้ น โดยใช ้เส้ นปากกาเข ียนล ักษณะ โครงร ่าง (OUTLINE) ศาสตราจารย์ศิ ลป์พีระศรีเพื่ อเป็นการรำ ลึกถึงอาจารย์ผู้ที่เป็นบุคคลสำ คัญในการสร้าง คุณูปการทางด้านศิ ลปะให้กับประเทศไทย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชยากร เรืองจำ รูญ Asst. Prof. Chayakorn Ruengchamroon [email protected] ชยากร เรืองจำ รูญ


13 ชื่อผลงาน : อาจารย์ศิลป์ผู้วางรากฐานศิลปะ เทคนิค : โปรแกรม Autocad2007 ปริ้ นท์บนกระดาษ 100 ปอนด์ ขนาด : 64 x 56 cm. การศึกษา : สถาปัตยกรรมมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร แนวความคิด “ศาสตราจารย์ศิลป์ พระศรี” ี ผู้เปรียบเสมือนบิดาของวงการศิลปะและการออกแบบของมหาวิทยาลัย ศิลปากรรวมถึงสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ทังในด้านการสอน ้การวิจัย การเผยแพร่และทำนุบำ รุงศิลป วัฒนธรรมรวมถึงเป็นผู้วางรากฐานการศึกษาศิลปะของไทยมาจนถึงทุกวันนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์นรินทร์อ้วนดำ Asst. Prof. Narin Ouandam [email protected] Narin Ouandam


14 ชื่อผลงาน : ศาสตราจารย์ศิลป์พีระศรี เทคนิค : เทคนิคผสม ขนาด : 25 X 15 ซม. การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต ประติมากรรม คณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร แนวความคิด “Ars Longa Vita Brevis” อาจารย์วิสุทธิ์ยิมประเสริฐ้ Mr.Wisut Yimprasert [email protected] WISUT YIMPRASERT


15 phattaraporn Leanpanit Phattaraa การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต ทัศนศิลป์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง แนวความคิด "ถ้านายรักฉัน ขอให้นายทำ งาน" เป็นประโยคที่ข้าพเจ้าจดจำ และนำมาปฏิบัติสร้างสรรค์งานตลอดเวลา ในการสร้างสรรค์งานที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งทางเทคนิค และความรู้สึกที่ถ่ายทอดออกมา ซึ่งที่ไม่มีถูกไม่มีผิด ถ้าหากเราเข้าใจและนำ มาปฏิบัติตามความรู้สึกในการสร้างสรรค์ไม่ลองผิด ก็ไม่รู้ถูกเป็นเช่นไร ดังภาชนะที่ตังอยู่หรือล้มลง ้ ไม่รู้สิงที่มา ่ ไม่รู้สิงที่อยู่ข้างใน ่ หากเราไม่เพ่งพิจารณา จะไม่เห็นความจริง ที่เป็นนิรันดร์ อาจารย์ภัทรพร เลี่ยนพานิช Mr.Phattaraporn Leanpanit [email protected] ชื่อผลงาน : Stillife not true not wrong 2021 เทคนิค : watercolor ขนาด : 38 X 56 ซม.


16 อาจารย์ประจำ หลักสูตรปริญญาโท ชื่อผลงาน : "คอร์ราโด เฟโรชี(Corrado Feroci)" เทคนิค : สีน้ำบนกระดาษ ขนาด : 54 x 39 cm. การศกษาึ: ศิลปมหาบัณฑิต (จิตรกรรม) คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร แนวความคิด "คอร์ราโด เฟโรชี(Corrado Feroci)" “พวกเธอต้องเรียนรู้ความเป็นมนุษย์ก่อน...แล้วจึงเรียนศิลปะ” อาจารย์ศิลป์ได้กล่าวกับนักเรียนศิลปะ เข้าเรียนที่ศิลปากรในวันแรก แม้ท่านมิได้อธิบายความเป็นมนุษย์หากแต่พวกเราสามารถเรียนรู้ได้จาก แนวทางการดำเนินชีวิต และการปฏิบัติตนของท่านที่เป็นไปอย่างสมถะเรียบง่าย อนันต์ปาณินท์ผู้เล่า รองศาสตราจารย์ศุภชัย สุกขีโชติ Assoc. Prof. Supachai Sukkeechote [email protected] Supachai Sukkeechote


17 ชื่อผลงาน : หมีของดาเต้ เทคนิค : ประติมากรรมนุ่มสื่อผสมการปะติดผ้าด้วยเทคนิค Appliqué ขนาด : 50 X 60 cm. การศกษาึ: ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาทัศนศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร แนวความคิด สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมนุ่มสื่อผสมด้วยเทคนิคการปะติดผ้า Appliqué ที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจาก ผลงานวาดภาพของเด็กออทิสติก คือการผสานผลงานศิลปะของเด็กออทิสติกกับงานหัตถกรรมการปะติดผ้า ด้วยเทคนิค Appliqué เกิดเป็นผลงานสร้างสรรค์ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตนและสามารถแสดงออกให้สังคมเห็น ความสามารถของเด็กออทิสติกด้านศิลปะได้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.เมตตา สุวรรณศร Asst. Prof. Dr. Metta Suwanasorn [email protected] Metta Da te Glumglin


18 การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต บัณฑิตวิททยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร แนวความคิด แนวคิดในการผสมผสานกันระหว่างศิลปกรรมแบบประเพณีของซีกโลกตะวันออกและตะวัน ตกในประเทศไทย ได้ถือกำ เนิดขึ้นโดยอาจารย์ฝรั่งชาวอิตาลี บิดาแห่งวงการศิลปะสมัยใหม่ของ ประเทศไทย.. “ด้วยความเคารพ” อาจารย์หนึ่งฤทัย ยิ้ มประเสริฐ Ms. Neungruthai Yimprasert [email protected] ชื่อผลงาน : “Reverential” เทคนิค : mixed technique ขนาด : 80 x 53 cm. คณาจารย์วิชาเอกศิลปไทย Neungruthai Puekpean neungruthai_sagoontala


19 การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต (ศิลปไทย) คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากรมหาวิทยาลัยศิลปากร แนวความคิด ในอดีตนั้นการสร้างสรรค์ศิ ลปกรรมของไทย มีลักษณะรูปแบบศิ ลปะประเพณี ที่วิวัฒนาการจากศิ ลปะแบบอุดมคตินิยม และปฏิบัติสื บทอดกันมาหลายยุคหลายสมัย ในปีพ.ศ.2466 รัฐบาลไทยได้มีความประสงค์จะหาช ่างปั้นจากประเทศตะวันตก ศาสตราจารย์ศิ ลป์พีระศรีประติมากรชาวอิตาลี่ ได้เข้ามารับราชการและฝึกฝนให้คนไทย ได้มีความสามารถทางด้านศิ ลปะแบบตะวันตก เมื่อวันที่ 14 มกราคม พ.ศ.2466 ต ่อมารัฐบาลได้เห็นความสำ คัญในการสร้างความเจริญก้าวหน้าจึงได้จัดตั้ง โรงเรียนประณีตศิ ลปกรรมขึ้น ในปี พ.ศ. 2476 และภายหลังต่อมายกระดับการจัดการ ศึกษาเป็นมหาวิทยาลัยศิ ลปากร ศาสตราจารย์ศิ ลป์ พีระศรี ได้นำ วิธีการศึกษาศิ ลปะแบบอะเคเดมี จากประเทศ ตะวันตก ได้แก ่การสอนให้ศึกษาจากธรรมชาติ และศึกษาทฤษฏีพื้ นฐานศิลปะ การสอนให้ รู้ถึงคุณค ่าของศิลปะ ท ่านได้วางหลักสูตรการสอนในลักษณะการผสานศิลปะแบบตะวันตก กับการศึกษาคุณค ่าความงาม เอกลักษณะเฉพาะจากศิลปะไทยแบบประเพณี จนทำ ให้เกิด การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะสมัยใหม ่ที่มีลักษณะไทย ขึ้นในประเทศไทยและต ่อมาได้พัฒนา เป็นศิลปะร ่วมสมัยในปั จจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์เด่น หวานจริง Asst. Prof. Den Warnjing [email protected] ชื่อผลงาน : Prof. Corrado Feroci เทคนิค : สีน้ำมันบนผ้าใบ ขนาด : 80 x 60 cm. Den Warnjing


20 การศกษาึ: ศิลปมหาบัณฑิต (ทัศนศิลป์) คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2558 แนวความคิด ศาสตราจารย์ศิลป์พีระศรีเดิมชื่อ คอร์ราโด เฟโรชี(Corrado Feroci) ได้รับการยกย่องว่าเป็น บิดาแห่งศิลปะสมัยใหม่ของไทย และเป็นผู้วางรากฐานมหาวิทยาลัยศิลปากร โดยได้สร้างสรรค์ ผลงานประติมากรรมไว้อย่างมากมาย รวมถึงการผลิตศิ ลปิ น ครู อาจารย์ บุคลากรต่างๆ สร้างสรรค์ให้กับวงการศิ ลปะร ่วมสมัยใหม ่ของประเทศไทย อาจารย์บุญฤทธิ ์พูนพนิช Mr. Boonyarit Poonpanit [email protected] ชื่อผลงาน : ศาสตราจารย์ศิลป์พีระศรี2564 เทคนิค : สีอะครีลิกบนผ้าใบ ขนาด : 40 x 30 cm. บุญฤทธิ์พูนพนิช (Boonyarit Poonpanit) Herqry คณาจารย์วิชาเอกจิตรกรรม


21 Dounghatai Pongprasit การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต (จิตรกรรม) มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดวงหทัย พงศ์ประสิทธิ์ Asst. Prof. Dounghatai Pongprasit [email protected] ชื่อผลงาน : ME & WE เทคนิค : สื่อผสม ขนาด : 200 x 200 x 150 cm. แนวความคิด ผู้สร้างสรรค์ต้องการสะท้อนมุมมองผ ่านบรรยากาศของสังคม วิถีชีวิต ของสังคมออนไลน์ โลกที่ผสมผสานความจริง ความไม่จริงโดยการสร้างสรรค์ผลงานโดยใช้แสง สีเสียง และวีดีทัศน์ เข้ามาประกอบการนำ เสนอผลงานรูปแบบ ศิลปะการจัดวางและสื่อผสม โดยใช้สุนทรียภาพในการ แสดงออกของศิลปะ ให้ผู้คนเกิดประสบการณ์สุนทรีที่ให้ตั้งคำ ถามหรือฉุกคิดต่อการตกอยู่ภายใต้ อิทธิพลของสังคมออนไลน์ย้อนทวนถึงการดำเนินชีวิตที่มีคุณค่า และเห็นถึงความสุขที่แท้จริง


22 การศกษาึ: ศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตรกรรม คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร แนวความคิด งานสร้างสรรค์ชิ้ นนี้เกิดจากการนำ เอาภาพวาดของลูกชายวัย 6 ขวบ มาวาดภาพต่อเติมจินตนาการ และเรื่องราวที่สะท้อนสภาวะความสุข ความรัก ความห่วงใย และผูกพันของข้าพเจ้าที่มีต่อลูก ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุทธาสินีย์สุวุฒโฑ Asst. Prof. Sutthasinee Suwuttho [email protected] ชื่อผลงาน : Love in a Box เทคนิค : ผสม ขนาด : 90 x 70 cm. Sutthasinee Suwuttho Sutthasinee_Suwuttho


23 การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต สาขาจิตรกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารย์กิตติบุญมี Mr. Kitti Boonmee [email protected] ชื่อผลงาน : อาจารย์ศิลป์พีระศรี เทคนิค : Drawing-watercolor on Arches paper 300g ขนาด : 76 x 56 cm. กิตติบุญมี แนวความคิด ผลงานวาดเส้นภาพเหมือนสร้างสรรค์แรงบันดาลใจจากศาสตราจารย์ศิลป์พีระศรี


24 Nunta Sodchuen การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต สาขาทัศนศิลป์(จิตรกรรม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า คุณทหารลาดกระบัง อาจารย์ณันธา สดชื่น Ms. Nunta Sodchuen [email protected] ชื่อผลงาน : นกกินปลี เทคนิค : สีน้ำบนกระดาษ ขนาด : 29 x 42 cm.


25 การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ อาจารย์วิสูตร แสงศิริ Mr. Wisud Sangsiri [email protected] ชื่อผลงาน : Silpa Bhirasri เทคนิค : Custom paint ขนาด : 50 x 30 cm. Wisud sangsiri Got_WS


26 คณาจารย์วิชาเอกประติมากรรม การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะจิตรกรรม สาขาวิชาประติมากรรม ปี2547 แนวความคิด ความงามของรูปทรงที่เกิดจากระนาบของเงา ผู้ช่วยศาสตราจารย์จีระชน บุญมาก Asst. Prof. Jerachon Boonmak [email protected] ชื่อผลงาน : space in the shadows 2563 เทคนิค : Crayon ขนาด : 60 x 80 cm. จีระชน บุญมาก


27 การศกษาึ: Diploma (Sculpture) Shinshu University, Nagano, Japan : ปี2545 ศิลปมหาบัณฑิต (ประติมากรรม) คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร : ปี2543 ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุญพาด ฆังคะมะโน Asst. Prof. Boonpard Cangkamano [email protected] ชื่อผลงาน : ศาสตราจารย์ศิลป์พีระศรี เทคนิค : Stiacciato Bas Relief หล่อปูนปลาสเตอร์ ขนาด : เส้นผ่าศูนย์กลาง 50 เซนติเมตร


28 การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะจิตรกรรม สาขาวิชา ประติมากรรม ปี2544 แนวความคิด ระลึกถึงอาจารย์ผู้ประสิทธิ์ ประสาทวิชาความรู้มากมายรวมถึง อาจารย์สนั่น ศิลากร ผู้ปั้นต้นแบบ รูป ศาสตราจารย์ศิลป พีระศรีจนนำ มาซึ่งเป็นต้นแบบสำ หรับแกะสลักหินอ่อนชิ้ นนี้เพื่อศึกษาและ ถ่ายทอดวิชาแด่นักศึกษาและผู้สนใจ อาจารย์ไพยันต์บรรจงเกลี้ยง Mr. Paiyan Banjongklieng ชื่อผลงาน : ศิลป พีระศรี เทคนิค : หินอ่อน White Carrara, Italy ขนาด : 29 x 27 x 53 cm. Paiyan Banjongklieng


29 คณาจารย์วิชาเอกภาพพิมพ์ แนวความคิด รำ ลึก129 ปีอาจารย์ศิลป์ Pran Ch pran_chanloha การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต ภาพพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร ศิลปบัณฑิต ภาพพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารย์ปรานต์ ชาญโลหะ Mr. Pran Chanloha [email protected] ชื่อผลงาน : “Thinking” เทคนิค : Photocopy Transfer, Collage ขนาด : 40 x 50 cm.


30 การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร แนวความคิด สร้างสรรค์ผลงานศิลปะถ่ายทอดความประทับใจในความงดงามขององค์พระมหาเจดีย์สี่รัชกาล ประดิษฐาน ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ที่เป็นสัญลักษณ์ของความเชื่อ ความศรัทธา และ เป็นศูนย์รวมแห่งคุณความดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์มินทร์ลดา จักรชัยอนันท์ Asst. Prof. Mintlada Jakchaianan ชื่อผลงาน : Impression of Phra Maha Chedi No.8 เทคนิค : Screen print ขนาด : 76 x 58 cm. [email protected]


31 การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต (ทัศนศิลป์) คณะวิจิตรศิลป์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แนวความคิด “พรุ่งนี้ก็สายเสียแล้ว” คำ ว่าพรุ่งนี้คือสิ่งที่ไม่สามารถมองเห็น จับต้องได้จงทำ ตั้งแต่วันนี้เสียเวลา ให้กับวันเวลา อาจารย์พิทวัล สุวภาพ Ms. Pittawan Suwapab [email protected] ชื่อผลงาน : พรุ่งนี้ก็สายเสียแล้ว เทคนิค : ภาพพิมพ์บนกระดาษสา ขนาด : 60 x 40 cm. pittawan.su


32 การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารย์ธีรานนท์จักรชัยอนันท์ Mr. Thiranon Jakchaianan [email protected] ชื่อผลงาน : Visible sound No.2 เทคนิค : Screen print ขนาด : 90 x 70 cm. Jak chaianan


33 คณาจารย์วิชาเอกเครื่องเคลือบดินเผา การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต (การออกแบบเครื่องประดับ) คณะมัณฑนศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพรรณิการ์ติรณปริญญ์ Asst. Prof. Supannikar Tiranaparin [email protected] ชื่อผลงาน : 129 Silpa Bhirasri เทคนิค : Ceramics, Wheel throwing, Underglaze painting, 1200 oC ขนาด : 26 x 26 x 2 cm. แนวความคิด การเดินทาง...ของเหล่าชาวศิลป์...ที่จิตมุ่งหมาย...มอบมวลดอกไม้...แด่ท่านอาจารย์...ด้วยความระลึกถึง... ศาสตราจารย์ศิลป์พระศรี...ครบรอบ ี 129 ปี


34 Chanut Khonghiran การศึกษา : สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ อาจารย์ชนัส คงหิรัญ Mr. Chanut Khonghiran [email protected] ชื่อผลงาน : RENDER 2 เทคนิค : คอมพิวเตอร์กราฟฟิก ขนาด : 60 x 80 cm. แนวความคิด การสร้างสรรค์ผลงานบนพื้นฐานความต้องการของผู้ใช้งาน ผสมผสานกับองค์ความรู้ทางด้านทัศนศิลป์ กายรยศาสตร์ วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ เพื่อสร้างผลงานออกแบบที่ตอบสนองต่อ สุนทรียศาสตร์และความต้องการในการใช้งาน โดยนำ เสนอภาพการออกแบบห้องพั กผู้ป่ วย ในโรงพยาบาลเกษมราษฎร์ศรีบุรินทร์จังหวัดเชียงราย ที่ผู้สร้างสรรค์เป็นผู้ออกแบบและ ก่อสร้างจริง เพื่อแสดงภาพรวมในการสร้างสรรค์การออกแบบภายในห้องพักผู้ป่วยทังหมดของโครงการ้ คณาจารย์วิชาเอกออกแบบตกแต่งภายใน


35 การศึกษา : ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร อาจารย์ปฏิการ เล็กอุทัย Mr. Patikarn Lek-utait ชื่อผลงาน : พระที่นั่งเวหาศจำ รูญ, แบบทางสถาปัตยกรรมประกอบ บทความ เทคนิค : พู ่กันและหมึกจีน บนกระดาษ ขนาด : 50 x 70 cm. แนวความคิด สถาปั ตยกรรมแบบจีนที่ปรากฏในพระที่นั่งเวหาศจำ รูญ เป็นรูปแบบพิเศษที่ได้รับการยกย่อง จากผู้ที่ได้เคยพบเห็นว่ามีความพิเศษ แต่รูปแบบที่ได้ถูกอธิบายมานั้น เป็นการขยายความจาก องค์ประกอบทางสถาปั ตยกรรม ซึ่งในบทความชิ้นนี้จะอธิบายบนขอบเขตของระเบียบวิจัยทาง ประวัติศาสตร์ทางสถาปั ตยกรรม [email protected] Chez Ptaklek ptaklek


36 บุคลากรคณะศิลปวิจิตร การศึกษา : ศิลปบัณฑิต (สาขาจิตรกรรม) คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ แนวความคิด เป็นผลงานที่รำ ลึกถึงศาสตราจารย์ศิลป์พีระศรีผู้ให้ความรู้วางรากฐานที่เข้มแข็งให้กับวงการ ศิลปะของไทยอย่างแท้จริง ทำ ให้ผู้สร้างสรรค์ได้รับแรงบันดาลใจในการสร้างผลงานศิลปะจาก แนวคิดของศาสตราจารย์ศิลป์พีระศรีโดยนำ ต้นไม้(ต้นบอน) ที่มารดาของผู้สร้างสรรค์ปลูก ด้วยความรัก ความเอาใจใส่ ของผู้เป็นแม่ นำ มาสร้างสรรค์ผลงานร่วมกัน อาจารย์กมลรส ชัยศรี Ms. Kamonros Chaisri [email protected] ชื่อผลงาน : รำ ลึกถึงศาสตราจารย์ศิลป์พีระศรี เทคนิค : สีน้ำบนกระดาษ ภาพถ่ายปริ้ นเตอร์(watercolor on paper photo printer) ขนาด : 29.7 x 21 cm. Giveme Kamonros givemetofly


37 การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต (ทัศนศิลปศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร แนวความคิด ผลงานสร้างสรรค์ระหว่างลูกชายของข้าพเจ้า และตัวข้าพเจ้าเอง ผ่านวิธีการวาดเส้นของลูกตาม จินตนาการของเด็กชายวัย 2 ขวบครึ่ง ผสมผสานกับลายเส้นของแม่ให้เกิดการทับซ้อนตามรูปทรง Portrait ของอาจารย์ศิลป์ พีระศรีตามแบบเฉพาะของข้าพเจ้า อาจารย์ศศิธร หัตถกิจ Ms. Sasithorn Hattakit [email protected] ชื่อผลงาน : Silpa Bhirasri เทคนิค : Drawing by my son and me. ขนาด : 29.7 x 21 cm. Sasi Hattakit


38 การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต (ทัศนศิลปศึกษา) มหาวิทยาลัยศิลปากร แนวความคิด ผู้สร้างสรรค์ต้องการสื่ออารมณ์ความรู้สึกที่เกิดจากการสูญเสีย ที่ซ่อนอยู่ภายใต้จิตใจ โดยการใช้ สัญลักษณ์ของดอกไม้กับโทนสีขาวดำ ซึ่งแทนค่าความรู้สึกของการโหยหาสิ่งที่จากไป อาจารย์ธนาภรณ์โพธิเพชร์ Ms. Thanaporn Phophet [email protected] ชื่อผลงาน : รอคอย 2021 (await 2021) เทคนิค : Photo media ขนาด : 45 x 22 cm. Thanaporn Phophet


39 การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ แนวความคิด ผลงานอันแสดงถึงซึ่งความจริงแท้แห่งชีวิต ว่าชีวิตนั้นไม่จีรัง แต่สิ่งต่างๆอันเป็นความดีงาม สร้างสรรค์นั้นจะคงอยู่ได้ยืนยาว ดังคำ สอนของศาสตราจารย์ศิลป์พีระศรีที่ว่า"ศิลปะยืนยาว ชีวิตสั้น" อาจารย์กิตติพงษ์ทุมกิง่ Mr. Kittipong Toomking [email protected] ชื่อผลงาน : สัจจะ สังขาร เทคนิค : แกะสลัก อิฐมวลเบา ขนาด : 60 x 40 cm. โก๋พู่กันไม้


40 การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ แนวความคิด “สัมมาสติ สัมมาสมาธิ” หลักแนวคิดทัศนวลีของ ศาสตราจารย์ศิลป์พีระศรี“พวกเธอต้องเรียนรู้ความเป็นมนุษย์ ก่อน...แล้วจึงเรียนศิลปะ” ที่เป็นแรงดาลใจในการสร้างสรรค์ สะท้อนนัยยะแห่งการดำ เนินชีวิตวิถี ไม่ใช่เพียงการสร้างศิลปะวาดรูปให้เป็น (แต่เป็นการเรียนรู้ธรรมชาติที่อยู่ภายในตัวมนุษย์นัน)้ อาจารย์สักชาติศรีสุข Mr. Sakachart Srisuk [email protected] ชื่อผลงาน : “สัมมาสติ สัมมาสมาธิ” เทคนิค : สีน้ำและเส้นปากกา บนกระดาษ ขนาด : 39 X 27 cm.


41 การศึกษา : ศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ศิลปบัณฑิต สาขาวิชาจิตรกรรม สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ อาจารย์ณัฐวุฒิแต่งวัฒนไพบูลย์ Mr. Nutthawoot Tangwattanaphaiboon ชื่อผลงาน : จุดเริมต้น ่ เทคนิค : สีน้ำมันบนผ้าใบ ขนาด : 100 x 120 cm. แนวความคิด การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะจะต้องผ่านการฝึกฝนอย่างสม่ำ เสมอ การเรียนรู้จากรูปทรงขั้นพื้นฐาน จึงเป็นส่วนสำ คัญของการเรียนรู้และการทำ ความเข้าใจในเบื้องต้น เพื่ อใช้ต ่อยอดพัฒนาทักษะ ต่อไป ข้าพเจ้าเชื่อว ่า "พื้ นฐานสำ คัญเสมอ" [email protected] Nutthawoot Tangwattanaphiboon


42 นางนิภา โสภาสัมฤทธิ์ นายพิชัย นิรันต์ ศาสตราจารย์กิดติคุณกำ จร สุนพงษ์ศรี ศาสตราจารย์วิบูลย์ลี้สุวรรณ ศาสตราจารย์กิตติคุณเสริมศักดิ์นาคบัว นายกมล สุวุฒโท นายสมศักดิ์เชาวน์ธาดาพงศ์ ศาสตราจารย์เกียรติคุณปริญญา ตันติสุข พลตำ รวจตรีสุรศักดิ์สุทธารมณ์ รองศาสตราจารย์ประเสริฐ พิชยะสุนทร นายจรูญ นราคร รองศาสตราจารย์สรรณรงค์สิงหเสนี รองศาสตราจารย์ศุภชัย สุกขีโชติ นายจิรพจน์จึงบรรเจิดศักดิ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำ นวย นวลอนงค์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุลชาติอรัณยะนาค ผู้ช่วยศาสตราจารย์พหลยุทธ กนิษฐบุตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประวีนา เอี่ยมยี่สุ่น ดร.สุรัตน์จงดา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภูริวงศ์วิเชียร นางสาวสาริศา ประทีปวง ผู้ช่วยศาสตราจารย์เด่น หวานจริง นายวัชรินทร์อ่าวสินธุ์ศิริ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชยากร เรืองจำ รูญ รองศาสตราจารย์จินตนา สายทองคำ นางสาวศิริลักษณ์ฉลองธรรม นายจรัญ หนองบัว นางขวัญใจ พิมพิมล นางอารีย์ลีลาพันธุ์ ผู้อำ นวยการวิทยาลัยนาฏศิลป และผู้อำ นวยการวิทยาลัยนาฏศิลปส่วนภูมิภาคทุกแห่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย ดร.เมตตา สุวรรณศร ผู้ช่วยศาสตราจารย์นรินทร์อ้วนดำ นายวิสุทธิ์ยิ้ มประเสริฐ นายภัทรพร เลี่ยนพานิช กระทรวงวัฒนธรรม สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ หัวหน้าสาขาวิชา, คณาจารย์และบุคลากร ศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบันจากคณะศิลปวิจิตรและเจ้าหน้าที่จากสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ผู้ประสานงานและประชาสัมพันธ์โครงการ : นายภัทรพร เลี่ยนพานิช และนางสาวธนาภรณ์โพธิ์ เพชร ออกแบบและจัดรูปเล่ม : นางสาวลาภลัคน์บุณยาคม อธิการบดีสถาบันบัณฑิดพัฒนศิลป์ ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านทัศนศิลป์ ราชบัณฑิต ผู้ทรงคุณวุฒิด้านทัศนศิลป์ ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ ที่ปรึกษาอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์, ผู้ทรงคุณวุฒิด้านทัศนศิลป์ ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านทัศนศิลป์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านทัศนศิลป์ ผู้เชี่ยวชาญด้านทัศนศิลป์ อดีดผู้ตรวจราชการกระทรวงวัฒนธรรม ผู้เชี่ยวชาญด้านทัศนศิลป์ ผู้เชี่ยวชาญด้านทัศนศิลป์ รองอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ รองอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ รองอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ รองอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ รองอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ผู้ช่วยอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ผู้ช่วยอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ผู้ช่วยอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ผู้ช่วยอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ผู้อำ นวยการกองนโยบายและแผน สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ คณบดีคณะศิลปวิจิตร คณบดีคณะศิลปนาฏดุริยางค์ คณบดีคณะศิลปศึกษา ผู้อำ นวยการวิทยาลัยช่างศิลป ผู้อำ นวยการวิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี ผู้อำ นวยการวิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช อาจารย์ประจำ หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาทัศนศิลป์ รองคณบดีคณะศิลปวิจิตร รองคณบดีคณะศิลปวิจิตร รองคณบดีคณะศิลปวิจิตร ขอขอบคุณ


43 พิมพ์ครังที่ ้2 ปีที่พิมพ์2564 ห้ามจำ หน่าย บรรณาธิการ นายภัทรพร เลี่ยนพานิช กองบรรณาธิการ นางสาวธนาภรณ์โพธิเพชร์ พิสูจน์อักษร ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุญพาด ฆังคะมะโน ปกและรูปเล่ม นางสาวลาภลัคน์บุณยาคม โครงการแสดงนิทรรศการศิลปกรรมของคณาจารย์ คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


44 ffa-bpi.com E-Book


Click to View FlipBook Version