คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 ข้อมูลวิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี 2.1 ประวัติของสถานศึกษา วิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี จัดตั้งขึ้นโดยกระทรวงศึกษาธิการ ตามนโยบายขยายการศึกษาด้าน วิชาชีพ ให้แก่ประชาชนและผู้ด้อยโอกาส ตามแผนพัฒนาระยะที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๓๙) โดยได้มอบให้กรม อาชีวศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบด าเนินการจัดตั้งวิทยาลัยสารพัดช่าง และวิทยาลัยการอาชีพขึ้นในจังหวัดต่าง ๆ ทั่ว ประเทศ จังหวัดปราจีนบุรีเป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในเปูาหมายของการจัดตั้ง วิทยาลัยสารพัดช่าง วันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๓๓ กองการศึกษาอาชีพ กรมอาชีวศึกษา ได้ประสานงานกับจังหวัดปราจีนบุรี ในการจัดตั้งวิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรีโดยประสานงานกับวิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรี พิจารณาใช้ที่ดิน บางส่วนของวิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรีด้านที่ติดกับศาลากลางจังหวัดปราจีนบุรี(หลังเก่า) เป็นสถานที่ก่อสร้าง โดยมีนางนงเยาว์ แก้วกังวาล ผู้ช่วยผู้อ านวยการวิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรีเป็นผู้ประสานงานกับจังหวัด ปราจีนบุรีกรมอาชีวศึกษาพิจารณาแล้วให้ความเห็นชอบ ต่อมาเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๓๔ จังหวัดปราจีนบุรี แจ้งความประสงค์ ที่จะใช้ที่ดินดังกล่าวเป็นที่ก่อสร้างหอพระประจ าจังหวัด โดยได้จัดหาที่ดินทดแทนให้ใหม่ใน บริเวณด้านตะวันออกของสนามกีฬาจังหวัด ซึ่งเป็นที่ดินราชพัสดุ หมายเลขทะเบียน ปจ.๒๒๑ เนื้อที่เดิม ๑๙-๒-๖๗ ไร่ ซึ่งอยู่ในความครอบครองดูแลของส านักงานศึกษาธิการจังหวัดปราจีนบุรี ขณะนั้น นายเกษม หน่ายคอน เป็นศึกษาธิการจังหวัดปราจีนบุรีกรมอาชีวศึกษาพิจารณาแล้วให้ความเห็นชอบ จึงแต่งตั้ง นายสุดใจ ดวงสว่าง เป็นผู้ประสานงานในการจัดตั้งวิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี ต่อม าภ ายหลัง จ ากก า รต ร ว จสอบพื้นที่ดังกล่ า วกับ ร าชพั สดุ จังห วัดป ร าจีนบุ รี พบ ว่ า ตามกฎกระทรวง ซึ่งออกตามพระราชบัญญัติผังเมือง พ.ศ.๒๕๑๘ ได้ก าหนดให้ที่ดินบริเวณนั้น เป็นพื้นที่สีเขียว อ่อน ประเภทที่โล่งแจ้ง เพื่อนันทนาการและรักษาสภาพแวดล้อม ดังนั้นจึงไม่อนุญาตให้ใช้ก่อสร้างวิทยาลัย สารพัดช่างปราจีนบุรี ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการส านักผังเมือง เมื่อวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๓๕ กรม อาชีวศึกษา จึงได้ยื่นหนังสือขอให้ส านักผังเมืองทบทวนมติคณะกรรมการผังเมืองใหม่ วันที่ ๖ กันยายน ๒๕๓๕ ในการประชุมคณะกรรมการผังเมือง ครั้งที่ ๒ ก็ยังคงยืนยันมติเดิมพร้อมทั้ง เสนอให้กรมอาชีวศึกษาใช้ที่ดินพื้นที่แปลงเดียวกัน ที่อยู่ทางทิศเหนือของที่ดินแปลงเดิมซึ่งผังเมืองก าหนดพื้นที่ไว้ เป็นสีเขียวมะกอกประเภทสถาบันการศึกษา เพื่อสับเปลี่ยนกับที่ดินดังกล่าว ในที่สุดกรมพลศึกษาได้เห็นชอบ สับเปลี่ยนให้กรมอาชีวศึกษาใช้พื้นที่ด้านเหนือของแปลง ปจ.๒๒๑ เนื้อที่ ๑๓-๐-๗๐ ไร่ เมื่อทุกอย่างพร้อม วันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๓๖ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ประกาศจัดตั้ง วิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรีโดยตั้งอยู่เลขที่ ๓๐๖/๑ ถนนราษฎรด าริ ต าบลหน้าเมือง อ าเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรีโดยมีนายสุดใจ ดวงสว่าง เป็นผู้อ านวยการ พร้อมด้วย นายสมหมาย สว่างศรีและ นายโชติ ปรีชา แก้วกังวาลเป็นผู้ช่วยผู้อ านวยการ ซึ่งได้รับการจัดสรรงบประมาณเพื่อด าเนินการปี ๒๕๓๖ จ านวน ๓๕,๐๕๒,๒๐๐.- บาท มีอาคารต่าง ๆ รวม ๕ รายการ ดังต่อไปนี้ ๑. อาคารเรียนและปฏิบัติการ ๔ ชั้น (๓๔๑๙) จ านวน ๒ หลัง ๒. อาคารส านักงานหอประชุม (๓๕๖๔๐) จ านวน ๑ หลัง ๓. บ้านพักอาศัย ๗ – ๘ (๓๕๔๑๐) จ านวน ๑ หลัง ๔. บ้านพักครู ๖ หน่วย (๓๐๐๓) จ านวน ๓ หลัง 5. บ้านพักภารโรง ๒ หน่วย (๓๖๐๐๑) จ านวน ๓ หลัง ปีการศึกษา ๒๕๓๘ วิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี ได้เริ่มด าเนินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร วิชาชีพระยะสั้น มีดังนี้ ช่างซ่อมช่างยนต์ ช่างซ่อมวิทยุโทรทัศน์ อาหาร ขนม บัญชีร้านค้า ช่างตัดผมชาย ช่าง เสริมสวยสตรี ตัดเย็บเสื้อผ้าสตรี ศิลปะประดิษฐ์ โดยตระหนักถึงภาระหน้าที่ในการฝึกอบรมและให้บริการทาง
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 วิชาชีพแก่ประชาชนที่ด้อยโอกาส ได้รับการศึกษาหาความรู้ และผลิตบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถ ขยัน อดทน ซื่อสัตย์มีความรับผิดชอบต่ออาชีพการงาน โดยให้สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจและตลาดแรงงานของ ประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๐ เปิดท าการเรียนการสอนในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาช่าง อุตสาหกรรมคือ ช่างยนต์ ช่างไฟฟูา ช่างอิเล็กทรอนิกส์และประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชา พณิชยการ ได้ มีการพัฒนาหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น เป็นหลักสูตรเสริมวิชาชีพมัธยมศึกษา เพื่อส่งเสริมนโยบายการใช้ ทรัพยากรร่วมกับหน่วยงานภายนอกสถานศึกษา พ.ศ . ๒๕๔๖ เปิดก า รเ รียนก า รสอนในหลักสูต รป ระก าศนียบัต ร วิช าชีพชั้นสูง (ปวส .) ภาคสมทบ ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขางานเทคโนโลยีส านักงาน พ.ศ. ๒๕๔๗ ได้ผ่านรับรองมาตรฐานการศึกษาจากส านักรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (สมศ.) ด้านการอาชีวศึกษา รอบแรก พ.ศ. ๒๕๔๙ เปิดการเรียนการสอน ประเภทวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว สาขางานการท่องเที่ยว ระดับ ปวช. และ ระดับ ปวส. เปิดการเรียนการสอนประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขางานคอมพิวเตอร์กราฟิกส์ ภาคปกติ พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้ผ่านรับรองมาตรฐานการศึกษาจากส านักรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (สมศ.) ด้านการอาชีวศึกษา รอบสอง และ เปิดการเรียนการสอน ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขา งานเทคโนโลยีส านักงาน ระดับ ปวส. (ภาคปกติ) พ.ศ. ๒๕๕๒ เปิดการเรียนการสอนประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขางานติดตั้งไฟฟูา ระดับ ปวส. ระบบ ท วิ ภ า คี ป ร ะ เ ภ ท วิ ช า บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ส า ข าง า น ก า ร บั ญ ชี ภ า ค ป ก ติ แ ล ะ เ ที ย บ โ อ น ค ว า ม รู้ และประสบการณ์ ระดับ ปวส. ทุกสาขาวิชา และสาขางานบริหารทรัพยากรมนุษย์ พ.ศ.๒๕๕๓ เปิดการเรียนการสอนประเภทวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว สาขางานมัคคุเทศก์ทั่วไป ระดับ ปวส. ระบบทวิภาคี พ.ศ. ๒๕๕๔ เปิดการเรียนการสอนประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขางานเทคนิคยานยนต์ ระดับ ปวส. ระบบทวิภาคี พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้ผ่านรับรองมาตรฐานการศึกษาจากส านักรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (สมศ.) ด้านการอาชีวศึกษา รอบสาม พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้รับรางวัลศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาแบบครบวงจร สถานศึกษา สู่ความเป็นเลิศ ระดับ ๕ ดาว ประจ าปีการศึกษา ๒๕๕๖ พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารวิทยบริการ จ านวน ๑ หลัง และเปิดการเรียนการสอน ประเภท วิชาบริหารธุรกิจ สาขางานการบัญชี ระบบทวิภาคี ได้รับคัดเลือกเป็น สถานศึกษาต้นแบบการจัดการอาชีวศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประจ าปี๒๕๕๗ และโล่ห์ประกาศเกียรติคุณ “สถาบันอาชีวศึกษาดีเด่นโครงการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานท า” ประจ าปี ๒๕๕๗ พ.ศ. ๒๕๕๘ กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศให้ วิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี ได้รับรางวัลสถานศึกษา รางวัลพระราชทาน ระดับอาชีวศึกษา ประเภทสถานศึกษาขนาดเล็ก ประจ าปีการศึกษา ๒๕๕๗ วิทยาลัยฯได้สร้าง เหรียญหลวงพ่อเพชร ด้านหลังเป็นพระวิษณุกรรม เป็นที่ระลึกจ านวน ๒๕๓๙ เหรียญ จัดการศึกษาระบบทวิศึกษา ร่วมกับโรงเรียนมัธยมศึกษา
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 ทีมหุ่นยนต์ “มหาโพธิ์” ได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับ ๑ การแข่งขันหุ่นยนต์ ABU ชิงชนะเลิศ ประเทศไทย ประจ าปี ๒๕๕๘ และรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ การแข่งขันหุ่นยนต์อาชีวศึกษา งานมหกรรม หุ่นยนต์อาชีวศึกษาเฉลิมพระเกียรติ ระดับชาติ ประจ าปี ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ วิทยาลัยฯ ได้รับโล่รางวัลส าหรับสถานศึกษาที่มีผลการประเมินประสิทธิภาพการบริหาร จัดการศูนย์ก าลังคนอาชีวศึกษา ในระดับดีมาก (Star) และมีคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน ประจ าปีการศึกษา ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๙ วิทยาลัยฯ ให้การสนับสนุนการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการทางวิชาการ การพัฒนาระบบ นิเทศ โดยระบบนิเทศภายในสถานศึกษา ภาคตะวันออก และกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา ๒๕๕๙ โดยศูนย์ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ เปิดการเรียนการสอนประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขางานยานยนต์ ระดับ ปวส. (ภาคสมทบ) ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขางานการบัญชี (ภาคสมทบ) วิทยาลัยฯ ผ่านการประเมินให้เป็นสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา ประจ าปีการศึกษา 2560 วิทยาลัยฯ ได้รับรางวัลศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา ระดับชาติ (5 ดาว) ประจ าปีการศึกษา 2560 วิทยาลัยฯ ได้รับรางวัลชนะเลิศระดับเหรียญทอง สิ่งประดิษฐ์ ประเภทที่ 11 สิ่งประดิษฐ์ประเภท ก าหนดโจทย์ กลุ่มที่ 11.2 ด้าน Smart Farm ชื่อผลงาน Green House พ.ศ. 2561 วิทยาลัยฯ ได้รับรางวัลสถานศึกษารางวัลพระราชทาน ประจ าปีการศึกษา 2561 วิทยาลัยฯ ได้รับรางวัลหน่วยมาตรฐานดีเด่น สถานศึกษาขนาดเล็กระดับ เหรียญทอง ประจ าการศึกษา 2561 วิทยาลัยฯ ได้ผ่านการประเมินให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา ประจ าปีการศึกษา 2561 วิทยาลัยฯ ได้รับรางวัลชนะเลิศระดับ เหรียญทอง ประเภทที่ 9 สิ่งประดิษฐ์ ประเภทก าหนดโจทย์ ชุดควบคุมด้วยเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อชุมชน Internet of things ชื่อผลงาน Smart Home พ.ศ. 2562 วิทยาลัยฯ ได้รับรางวัลสถานศึกษาคุณธรรมอาชีวศึกษาต้นแบบ ประจ าปีการศึกษา 2562 พ.ศ. 2563 วิทยาลัยฯ ได้รับรางวัลการแข่งขันทักษะวิชาชีพ ทักษะพื้นฐาน และหลักสูตรวิชาชีพระยะ สั้น ระดับภาค ได้แก่ รองชนะเลิศอันดับ 1 ในการตัดแต่งทรงผมสุภาพบุรุษ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การ แข่งขันตอบปัญหาวิชาหน้าที่พลเมือง และประวัติศาสตร์ชาติไทย และรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การน าเสนอ รายการน าเที่ยวในฐานะมัคคุเทศก์ท้องถิ่น วิทยาลัยฯ ผ่านการประเมินคุณภาพภายนอก รอบ 4 ด้านการอาชีวศึกษา ประจ าปีการศึกษา 2563 วิทยาลัยฯ ผ่านการประเมินศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา (3 ดาว) ประจ าปีการศึกษา 2563 วิทยาลัยฯ ได้รับรางวัลชนะเลิศ การประกวด “สุดยอดนวัตกรรมอาชีวศึกษาสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่น ใหม่” ระดับอาชีวศึกษา จังหวัดปราจีนบุรี ประจ าปีการศึกษา 2563 ทั้งสิ้น 5 ประเภท ดังนี้ 1) ประเภทที่ 3 สิ่งประดิษฐ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ชื่อผลงาน เครื่องวัดอุณหภูมิพลังงานแสงอาทิตย์ 2) ประเภทที่ 4 สิ่งประดิษฐ์ด้านผลิตภัณฑ์อาหาร ชื่อผลงาน Banana Jelly 3) ประเภทที่ 5 สิ่งประดิษฐ์ด้านหัตถศิลป์ชื่อผลงาน อินทรานาคราช 4) ประเภทที่ 7 สิ่งประดิษฐ์ด้านการแพทย์ (ด้านการปูองกันโรคติดต่อ) ชื่อผลงาน อ่างล้างมือแบบ เซ็นเซอร์ปูองกัน Covid – 19 เคลื่อนที่ได้
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 5) ประเภทที่ 9 สิ่งประดิษฐ์ก าหนดโจทย์ Mini Smart Farms ชื่อผลงาน Future Smart Farms พ.ศ.2564 วิทยาลัยฯ ได้รับรางวัล สถานศึกษาคุณธรรมต้นแบบ ตามโครงการส่งเสริมชุมชน องค์กร อ าเภอ และจังหวัดคุณธรรม ภายใต้แผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2559 – 2564) วิทยาลัยฯ ได้รับรางวัลองค์การมาตรฐาน ระดับเหรียญเงิน สถานศึกษาขนาดเล็ก ในงานประชุมวิชาการ องค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) ระดับภาค ภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 33 ประจ าปีการศึกษา 2564 รางวัลระดับชาติ การประกวดสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ “นวัตกรรมอาชีวศึกษาเพื่อแก้ปัญหาความ ยากจน” ระดับชาติ ประจ าปีการศึกษา 2564 ระดับเหรียญทองแดง ประเภทที่ 3 สิ่งประดิษฐ์ด้านผลิตภัณฑ์ อาหารไทย ชื่อผลงาน วุ้นกระชายน้ าผึ้งมะนาว รางวัลระดับชาติ การประกวดสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ “นวัตกรรมอาชีวศึกษาเพื่อแก้ปัญหาความ ยากจน” ระดับชาติ ประจ าปีการศึกษา 2564 ระดับเหรียญทองแดง ประเภทที่ 4 ด้านพลังงานทดแทนเพื่อ การเกษตร ชื่อผลงาน ชุดผลิตไฟฟูาพลังงานร่วมเพื่อการเกษตร รางวัลชนะเลิศ ระดับเหรียญทอง การตัดผมบ๊อบเท-ทุยสไตล์แฟชั่น (ผมหญิง) การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ทักษะพื้นฐาน และหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ระดับภาค ภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร ประจ าปีการศึกษา 2564 รางวัลรองชนะเลิศ ระดับ 1 ระดับเหรียญทอง ทักษะการแต่งหน้าและเกล้าผมเจ้าสาว การแข่งขันทักษะ วิชาชีพ ทักษะพื้นฐาน และหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ระดับภาค ภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร ประจ าปี การศึกษา 2564 รางวัลรองชนะเลิศ ระดับ 2 ระดับเหรียญทอง ทักษะการตัดผมสุภาพบุรุษ (ทรงรองทรงสูงมาตรฐาน) การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ทักษะพื้นฐาน และหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ระดับภาค ภาคตะวันออกและ กรุงเทพมหานคร ประจ าปีการศึกษา 2564 รางวัลระดับเหรียญเงิน ทักษะการน าเสนอรายการน าเที่ยวในฐานะมัคคุเทศท้องถิ่น การแข่งขันทักษะ วิชาชีพ ทักษะพื้นฐาน และหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ระดับภาค ภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร ประจ าปี การศึกษา 2564 รางวัลระดับเหรียญทองแดง ทักษะการจัดท ารายการน าเที่ยว การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ทักษะพื้นฐาน และหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ระดับภาค ภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร ประจ าปีการศึกษา 2564 รางวัลระดับเหรียญทองแดง ทักษะการออกแบบพัฒนาโปรแกรมควบคุม การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ทักษะ พื้นฐาน และหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ระดับภาค ภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร ประจ าปีการศึกษา 2564 รางวัลระดับเหรียญทองแดง การประกวดร้องเพลงไทยสากล หญิง การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ทักษะ พื้นฐาน และหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ระดับภาค ภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร ประจ าปีการศึกษา 2564 รางวัลรองชนะเลิศ ระดับเหรียญทอง การตัดผมบ๊อบเท-ทุยสไตล์แฟชั่น (ผมหญิง) การแข่งขันทักษะ วิชาชีพ ทักษะพื้นฐาน และหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ระดับภาค ภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร ประจ าปี การศึกษา 2564 รางวัลชนะเลิศ ระดับเหรียญทอง ทักษะการแต่งหน้าและเกล้าผมเจ้าสาว วิชาชีพระยะสั้น ประเภท เดี่ยว ระดับภาค ภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร ประจ าปีการศึกษา 2565 รางวัลชนะเลิศ ระดับเหรียญทอง ทักษะการตัดผลบ๊อบเท-ทุยสไตล์แฟชั่น ระดับวิชาชีพระยะสั้น ประเภทเดี่ยว ระดับภาค ภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร ประจ าปีการศึกษา 2565 รางวัลชนะเลิศ ระดับเหรียญทอง ทักษะน าเที่ยวในฐานะมัคคุเทศก์ท้องถิ่น ระดับ ปวช. ประเภทเดี่ยว ระดับภาค ภาคตะวันออกและกรุงงเทพมหานคร ประจ าปีการศึกษา 2565
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 ได้รับการคัดเลือกเป็นศูนย์บ่มเพาะระดับภาค ภาคตะวันออกและกรุงเทพมหานคร ระดับ 3 ดาว คณะกรรมการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ มอบเกียรติบัตรโครงการส่งเสริมชุมชน องค์กร และจังหวัด คุณธรรมภายใต้แผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 สถานศึกษา คุณธรรมต้นแบบ ประจ าปี การศึกษา 2565 สิ่งประดิษฐ์คนรุ่นใหม่ ระดับอาชีวศึกษาจังหวัด จังหวัดปราจีนบุรี ประจ าปีการศึกษา 2565 ประเภทที่ 3 สิ่งประดิษฐ์ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีพลังงาน สิ่งแวดล้อม อ่างล้างมือพลังงาน หมุนเวียน รางวัลชนะเลิศ ประเภทที่ 5 สิ่งประดิษฐ์ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพ (Health Care) เครื่องช่วยยืดเส้น เอ็น รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ประเภทที่ 5 สิ่งประดิษฐ์ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพ (Health Care) ไม้เท้าอัจฉริยะ รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 ประเภทที่ 4 สิ่งประดิษฐ์ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีอาหาร กัมมี่กระชายขาว รสน้ าผึ้งมะนาว รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งวิทยาลัยฯ จนถึงปัจจุบัน มีผู้บริหารสถานศึกษาจ านวน 11 คน ดังนี้ 1. นายสุดใจ ดวงสว่าง ด ารงต าแหน่ง ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ – ๒๕๔๐ 2. นายโกศล ศรีขวัญ ด ารงต าแหน่ง ปี พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๔๑ 3. นายสุธี เข็มทอง ด ารงต าแหน่ง ปี พ.ศ. ๒๕๔๑ – ๒๕๔๓ 4. นายสมหมาย สว่างศรี ด ารงต าแหน่ง ปี พ.ศ. ๒๕๔๓ – ๒๕๕๑ 5. นายบุญลือ ทองเกตุแก้ว ด ารงต าแหน่ง ปี พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๓ 6. นายจ าลอง กล่อมอยู่ ด ารงต าแหน่ง ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๔ 7. นายโสภา มะเครือสี ด ารงต าแหน่ง ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๖ 8. นางสาววินฑฎา วิเศษศิริกุล ด ารงต าแหน่ง ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๙ 9. นายสมเกียรติ ต้องทรัพย์อนันต์ ด ารงต าแหน่ง ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – 2562 10. นางอุบล สารากิจ ด ารงต าแหน่ง ปี พ.ศ. 2562 – 2563 11. นางอารีย์ เลิศกิจเจริญผล ด ารงต าแหน่ง ปี พ.ศ. 2563 – ปัจจุบัน 2.2 วิสัยทัศน์พันธกิจ นโยบายและยุทธศาสตร์ของสถานศึกษา วิสัยทัศน์ มุ่งพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษา และฝึกอบรมวิชาชีพอย่างมีคุณภาพได้มาตรฐาน โดดเด่นด้านคุณธรรม น้อมน าศาสตร์พระราชาและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเคียงคู่การจัดการ บริหารร่วม สร้างสรรค์ สัมพันธ์ชุมชน ประสิทธิภาพ
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 พันธกิจ ๑. จัดการเรียนการสอนด้านวิชาชีพ ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานอาชีวศึกษา สอดคล้องกับความ ต้องการของพื้นที่ ๒. ขยายโอกาสทางการศึกษาด้านวิชาชีพและให้บริการแก่ชุมชนและสังคม 3. พัฒนางานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม เทคโนโลยี และสร้างองค์ความรู้เพื่อจัดการศึกษาและพัฒนาวิชาชีพ 4. เสริมสร้างให้บุคลากร ผู้เรียน มีคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา 6. บริหารปัจจัยพื้นฐานทางการศึกษาของสถานศึกษาที่สามารถจัดการเรียนการสอนและพัฒนาผู้เรียนให้ เป็นไปตามมาตรฐานของการจัดการศึกษา เป้าประสงค์(Goal) 1. ผลิตและพัฒนาผู้เรียนอาชีวศึกษาอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพรองรับเขตพัฒนาพิเศษ ภาค ตะวันออก โดยความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน 2. บริการวิชาชีพ และจัดการฝึกอบรมอาชีพให้ผู้เรียนอย่างมีคุณภาพ และเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน มี การจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย 3. ครู ผู้เรียน มีผลงานวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ที่เป็นประโยชน์ 4. ผู้ส าเร็จการศึกษา มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีจิตสาธารณะ 5. สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ 6. สถานศึกษามีปัจจัยพื้นฐานทางการศึกษาที่มีคุณภาพ และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการศึกษา นโยบายของวิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี ๑. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ ๒. ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาบุคลากร ๓. จัดการเรียนการสอนเพื่อให้สถานศึกษาเป็นแหล่งเรียนรู้ ๔. มีการบริหารจัดการโดยเน้นการมีส่วนร่วมทั้งภายในและภายนอก ยุทธศาสตร์ (Strategic) 1. เพิ่มปริมาณผู้เรียนและยกระดับคุณภาพผู้เรียน กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและสรรถนะผู้เรียน กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล กลยุทธ์ที่ 3 จัดหลักสูตรการสอนตรงตามความต้องการของชุมชน ท้องถิ่นและสถานประกอบการ กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมให้น าเทคโนโลยีสารสนเทศ สื่อ นวัตกรรมมาใช้ในการจัดการเรียน การสอน 2. สร้างสิ่งแวดล้อมให้เอื้ออ านวยต่อการเรียนรู้วิชาชีพ กลยุทธ์ที่ 5 จัดการศึกษาและวิชาชีพแก่ประชาชนทั่วไป ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ ผู้สูงอายุ กลยุทธ์ที่ 6 ส่งเสริมและสนับสนุนความร่วมมือในการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ 3. บริการวิชาชีพสู่ชมชนและส่งเสริมอาชีพแก่ผู้เรียน กลยุทธ์ที่ 7 บริการวิชาชีพและส่งเสริมอาชีพให้แก่ผู้เรียนประชาชนในการสร้างงาน สร้างอาชีพสร้างรายได้ 4. สร้างศักยภาพด้านการวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และงานสร้างสรรค์ กลยุทธ์ที่ 8 ส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลกรและผู้เรียนมีการจัดท าวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์งานสร้างสรรค์ กลยุทธ์ที่ 9 ส่งเสริมการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ด้านวิชาการ วิชาชีพและการฝึกอบรมวิชาชีพต่าง ๆ
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 5. ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ กลยุทธ์ที่ 10 เสริมสร้างคุณธรรม และขับเคลื่อนการด าเนินงานสถานศึกษาคุณธรรม อาชีวศึกษา สู่การปฏิบัติ น้อมน าศาสตร์พระราชาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธ์ที่ 11 พัฒนาระบบดูแลให้ค าปรึกษา ช่วยเหลือผู้เรียน กลยุทธ์ที่ 12 ส่งเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอย่างหลากหลาย กลยุทธ์ที่ 13 ส่งเสริมการจัดกิจกรรมชมรมวิชาชีพ 6. ยกระดับสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษาสู่มาตรฐาน กลยุทธ์ที่ 14 พัฒนาครูและบุคลากรของสถานศึกษา กลยุทธ์ที่ 15 เสริมสร้างสวัสดิการ และขวัญก าลังใจ 7. สร้างศักยภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา กลยุทธ์ที่ 16 ส่งเสริมการประกันคุณภาพสถานศึกษาอย่างมีมาตรฐาน กลยุทธ์ที่ 17 พัฒนาระบบบริหารจัดการตามหลักเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการของภาครัฐ และยึดหลักธรรมาภิบาล กลยุทธ์ที่ 18 ส่งเสริมการน าเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ และการให้บริการ 8. จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออ านวยต่อการเรียนรู้ กลยุทธ์ที่ 19 ก ากับดูแลและพัฒนาอาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการให้มีความพร้อมและ เพียงพอต่อการใช้งานของผู้เรียน กลยุทธ์ที่ 20 พัฒนาระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานให้มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์ที่ 21 จัดให้มีแหล่งเรียนรู้และศูนย์วิทยบริการที่มีความพร้อมและเพียงพอส าหรับครูและ บุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน หรือผู้สนใจใช้บริการ กลยุทธ์ที่ 22 จัดให้มีระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงให้บริการจัดการระบบสารสนเทศ กลยุทธ์ที่ 23 จัดให้ครูและผู้เรียนเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงของสถานศึกษา จุดเน้น : มีคุณธรรม มีคุณภาพและมีสุขอย่างพอเพียง ปรัชญา : วินัยดี มีคุณธรรม ก้าวน าวิชาชีพ พุทธศาสนสุภาษิต : “โยคา เว ชายเต ภูริ” “ปัญญา ย่อมเกิดขึ้น เพราะการฝึกฝน” คุณธรรมอัตลักษณ์ : รับผิดชอบ มีวินัย ใจอาสา อัตลักษณ์ : “จิตสาธารณะ ทักษะเยี่ยม” จิตสาธารณะ หมายถึง การเป็นผู้มีความตระหนักและอาสาช่วยเหลืองานที่ เป็นประโยชน์แก่องค์กร สังคม และประเทศชาติ ทักษะเยี่ยม หมายถึง การเป็นผู้มีความสามารถและช านาญทางด้านวิชาชีพปฏิบัติจริงมีผลงานเป็นที่ ยอมรับ เอกลักษณ์ : บริการวิชาชีพสู่ชุมชน วัฒนธรรม : ยิ้ม ไหว้ ทักทาย สวัสดี
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 คุณธรรม เป้าหมาย พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก ผู้บริหาร ครูเจ้าหน้าที่/ นักเรียน นักศึกษา ความรับผิดชอบ เข้าประชุมตรงเวลา - ส่งงานตามเวลาที่ - ก าหนด ส่งงานที่ได้รับมอบหมายครบถ้วน - รับผิดชอบต่อหน้าที่ รับผิดชอบต่อหน้าที่ มสะอาดบริเวณที่ตนเองรับผิดชอบท าควา - -ร่วมกันอนุรักษ์พลังงาน มีวินัย เป็นแบบอย่างที่ดี- เป็นแบบอย่างที่ดี- มีวินัยในการใช้ทรัพยากรของโรงเรียน - ปฏิบัติตามระเบียบ - ข้อตกลงของสถานศึกษา เคารพสิทธิของตนเอง - และผู้อื่น ทยาลัยฯไม่เสียบสายชาร์จโทรศัพท์ภายในวิ- -ไม่ใช้โทรศัพท์ระหว่างเรียน ตรงต่อเวลาในการเข้าแถวหน้าเสาธง - ปฏิบัติตามระเบียบ ข้อตกลงของสถานศึกษา - ใจอาสา เป็นผู้ให้- เป็นผู้ให้- เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อวิทยาลัย - ฯ ชุมชน และสังคม ค านึงถึงประโยชน์ส่วนรวม - ตนมากกว่าประโยชน์ส่วน อุทิศเวลา - เพื่อวิทยาลัย ฯ สังคม และชุมชน มีใจอาสาช่วยงานโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน - เอื้อเฟื้อ เมตตา มีน้ าใจ ต่อ - ผู้ใต้บังคับบัญชา ช่วยเหลือน้อง พี่ และเพื่อน - สัญลักษณ์ประจ าวิทยาลัย สีประจ าวิทยาลัย : น้ าเงิน เหลือง ดอกไม้ประจ าวิทยาลัย : ดอกอินทนิล
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 2.๓ ข้อมูลด้านอาคารสถานที่ แผนที่วิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี ข้อมูลด้านอาคารสถานที่ วิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี ๓๐๖/๑ ถ.ราษฎรด าริ ต.หน้าเมือง อ.เมืองปราจีนบุรีจ.ปราจีนบุรีรหัสไปรษณีย์25000 โทรศัพท์: ๐๓๗-๒๑๒๒๒๐ E-mail : ppc๓๖๕๙@gmail.com เนื้อที่ ๑๓-๐-๗๐ ไร่
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 แผนผังวิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี 1. อาคารเรียน 1 2. อาคารเรียน 2 3. อาคารเรียน 3 4. หอประชุม 5. โรงฝึกแผนกไฟฟูาก าลัง 6. โรงฝึกงานแผนกเทคนิคพื้นฐาน 7. ปูอมยาม 8. ห้องตัดผมชาย ศูนย์บ่มเพาะฯ 9. ธนาคารโรงเรียน 10. ห้อง อวท. 11. Fix it Center 12. อาคารเรียน แผนกวิชาคหกรรม 13. อาคารปฏิบัติการ แผนกวิชาคหกรรม 14. เรือนไม้ 15. ห้องเกียรติภูมิ 16. ห้องพยาบาล 17. ห้องเก็บเอกสาร 18. ห้องงานอาคาร 19. ห้องพัสดุ 20. ห้อง อวท. 21. ห้องประชุม อวท. 22. ห้องสหการวิทยาลัยฯ 23. ส านักงานศูนย์บ่มเพาะฯ 24. บ้านพักครู 25. บ้านพักผู้อ านวยการ 26. โรงอาหาร 27. โรงจอดรถวิทยาลัยฯ 28. โรงจอดรถจักรยานยนต์ 29. อาคารห้องน้ า 30. ห้องอนุรักษ์พันธุกรรมพืช 31. ร้านกาแฟ ศูนย์บ่มเพาะฯ 32. จุดทิ้งขยะ 33. โดมอเนกประสงค์ 34. สวนเศรษฐกิจพอเพียง 35. องค์พระวิษณุกรรม 36. องค์พระพุทธรูปประจ าวิทยาลัยฯ 37. เสาธง 38. อาคาร 4 วิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 ตารางอาคารเรียน/สิ่งก่อสร้าง ชื่ออาคาร/สิ่งก่อสร้าง อื่น จ านวน พื้นที่ใช้ สอย (ตร.ม.) ลักษณะการใช้งาน สภาพ ปัจจุบัน จ านวน ชั้น ห้อง ใช้ได้ ใช้ ไม่ได้ อาคารเรียนและ ปฏิบัติการ 1 1 ห้องผู้อ านวยการ 160 ส านักงาน อาคาร 1 จ านวน 4 ชั้น ห้องรองผู้อ านวยการ 40 ส านักงาน ห้องส านักงาน 4 ฝุาย 120 ส านักงาน 2 1201 53 ห้องเรียนทฤษฎีวิชาภาษาอังกฤษ 1202 53 ห้องเรียนทฤษฎีวิชาภาษาไทย/ สังคม 1203 80 ห้องเรียนทฤษฎีวิชาวิทยาศาสตร์ 1204 64 ห้องเรียนทฤษฎีวิชาสุขศึกษา 1205 64 ห้องเรียนทฤษฎีวิชาคณิตศาสตร์ 3 1206 53 ห้องเรียนทฤษฎี 1301 80 ห้องเรียนทฤษฎี/ปฏิบัติวิชาคอมฯ 1302 80 ห้องเรียนทฤษฎี/ปฏิบัติวิชาคอมฯ 1303 80 ห้องเรียนทฤษฎี/ปฏิบัติวิชาคอมฯ 1304 60 ห้องเรียนทฤษฎี/ปฏิบัติวิชาคอมฯ 4 1305 60 ห้องเรียนทฤษฎี/ปฏิบัติวิชาคอมฯ 1401 80 ห้องเรียนปฏิบัติการเครื่องใช้ ส านักงาน 1402 40 ห้องเรียนทฤษฎี/ปฏิบัติวิชาคอมฯ 1403 80 ห้องเรียนทฤษฎี/ปฏิบัติวิชาการ บัญชี 1404 56 ห้องเรียนทฤษฎี/ปฏิบัติวิชาการ บัญชี 1405 56 ห้องพิมพ์ดีดไทย 1406 40 ห้องพิมพ์ดีดอังกฤษ
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 ตารางอาคารเรียน/สิ่งก่อสร้าง ชื่ออาคาร/สิ่งก่อสร้าง อื่น จ านวน พื้นที่ ใช้ สอย (ตร. ม.) ลักษณะการใช้งาน สภาพ ปัจจุบัน จ านวน ชั้น ห้อง ใช้ได้ ใช้ ไม่ได้ อาคารเรียนและ ปฏิบัติการ 1 1 2101 80 ห้องเรียนทฤษฎีแผนกช่าง ยนต์ อาคาร 2 จ านวน 4 ชั้น ห้องเครื่องมือช่างยนต์ 20 ห้องเก็บเครื่องมือช่าง ห้องเก็บอุปกรณ์ช่างยนต์ 40 ห้องเก็บอุปกรณ์การเรียน การสอน พื้นที่ฝึกฝีมือช่างยนต์ 31 ห้องเรียนภาคปฏิบัติแผนก ช่างยนต์ 2 2201 60 ห้องเรียนปฏิบัติการแผนก การท่องเที่ยว 2202 60 ห้องเรียนทฤษฎีวิชาเทคนิค พื้นฐาน ห้องเรียนปฏิบัติการแผนกการ ท่องเที่ยว 60 ห้องเรียนปฏิบัติการแผนก การท่องเที่ยว ห้องพักครูท่องเที่ยว 30 ห้องพักครูท่องเที่ยว ห้องเรียนปฏิบัติการแผนกการ ท่องเที่ยว 80 ห้องเรียนปฏิบัติการแผนก การท่องเที่ยว ห้องเรียนเขียนแผนเทคนิค พื้นฐาน 80 ห้องเรียนเขียนแผนเทคนิค พื้นฐาน 3 2301 80 ห้องปฏิบัติการมอเตอร์ 2302 40 ห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ 2303 40 ห้องปฏิบัติการทฤษฎีไฟฟูา 2304 80 ห้องปฏิบัติการควบคุม มอเตอร์ไฟฟูา 2305 80 ห้องปฏิบัติการซ่อม เครื่องใช้ไฟฟูาทั่วไป 2306 25 ห้องปฏิบัติการนิวแมติกส์/ PLC 4 2401 80 ห้องปฏิบัติการขยายเสียง 2402 80 ห้องปฏิบัติการ ไมโครโปรเซสเซอร์ 2403 80 ห้องปฏิบัติการเครื่องรับ โทรทัศน์ 2404 60 ห้องปฏิบัติการเครื่องรับ วิทยุ 2405 60 ห้องปฏิบัติการ อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 ตารางอาคารเรียน /สิ่งก่อสร้าง ชื่ออาคาร/สิ่งก่อสร้างอื่น จ านวน พื้นที่ใช้ สอย (ตร.ม.) ลักษณะการใช้งาน สภาพ ปัจจุบัน จ านวน ชั้น ห้อง ใช้ได้ ใช้ ไม่ได้ อาคาร 3 1 1 ห้องแผนกวิชาเสริม สวย ตัดผม 48 ห้องเรียน/ห้องปฏิบัติการ จ านวน 4 ชั้น 2 ห้องวิทยบริการ 16 ห้องอินเตอร์เน็ต สืบค้นข้อมูล ห้องสมุด 32 ห้องสมุด 3 ห้องปฏิบัติการทาง ภาษา 32 เพื่อการเรียนการสอนทาง ภาษา ห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ 16 ห้องเรียน 4 ห้องประชุมอินทนิล 200 ห้องประชุม อาคาร 4 จ านวน 2 ชั้น 1 1 ห้องอาคาร 4 ชั้น 1 160 ห้องประชุม / รับรอง 2 ห้องเจริญผล 1 32 ห้องประชุม / รับรอง ห้องเจริญผล 2 200 ห้องประชุม / รับรอง ห้องตัดผมชาย 1 1 ห้องตัดผมชาย 53 ห้องเรียนทฤษฎี/ปฏิบัติวิชา ตัดผมชาย ห้องเก็บพัสดุกลาง 1 1 ห้องเก็บพัสดุ 10.34 ห้องเก็บของพัสดุกลาง ห้องคหกรรม/งานประดิษฐ์ 1 1 ห้องคหกรรม/งาน ประดิษฐ์ 112 ห้องปฏิบัติการคหกรรม อาหาร/งานประดิษฐ์ บัญชีฝึกงานแผนกไฟฟูา 1 1 พื้นที่ปฏิบัติงานไฟฟูา 90 ห้องเรียนภาคปฏิบัติแผนก ช่างไฟฟูา ห้องปฏิบัติงานเครื่องล่าง รถยนต์ 1 1 พื้นที่ปฏิบัติงานช่าง ยนต์ 82.5 ห้องเรียนภาคปฏิบัติงาน เครื่องล่างรถยนต์ ห้องซิลสกรีน 1 1 พื้นที่ปฏิบัติงานซิลสก รีน 12.25 ห้องเรียนภาคปฏิบัติงานซิ ลสกรีน โครงเหล็กพร้อมหลังคา (ข้างอาคาร 2) 1 1 โรงจอดรถ 65 ใช้จอดพักรถยนต์ของ วิทยาลัยฯ โครงเหล็กพร้อมหลังคา (หลังอาคาร 2) 1 1 พื้นที่จัดการเรียนการ สอน 195 ห้องปฏิบัติการแผนกช่างยนต์ หอประชุมดวง 1 1 ฝุายวิชาการ 960 ห้องปฏิบัติงานฝุายวิชาการ 1 1 หอประชุมดวงสว่าง 195 ประชุมนักศึกษา,ผู้ปกครอง เรียนพละศึกษา บ้านพักผู้บริหาร 1 2 - 115.5 1026 บ้านพักผู้อ านวยการ บ้านพักครู/อาจารย์ 18 2 - บ้านพักครู/เจ้าหน้าที่ บ้านพักภารโรง 6 1 - 130.8 บ้านพักนักการภารโรง
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 ตารางอาคารเรียน/สิ่งก่อสร้าง ชื่ออาคาร/สิ่งก่อสร้างอื่น จ านวน พื้นที่ใช้ สอย (ตร.ม.) ลักษณะการใช้งาน สภาพปัจจุบัน จ านวน ชั้น ห้อง ใช้ได้ ใช้ ไม่ได้ รั้ว คอนกรีตพร้อมปูายชื่อ วิทยาลัย 1 - - 442 รั้วกั้นบริเวณรอบวิทยาลัยฯ เสาธง 1 - - 9 ลานกิจกรรม ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 1 - - 2,000 ถนนภายในวิทยาลัยฯ ถนนลาดยางแอสฟัลท์ติก 1 - - 3,300 ถนนภายในวิทยาลัยฯ แท่นประดิษฐ์ฐานพระพุทธรูป 1 - - 16.0 ประดิษฐ์ฐานพระพุทธรูป แท่นประดิษฐ์ฐานพระ วิษณุกรรม 1 - - 16.0 ประดิษฐ์ฐานพระวิษณุกรรม ศาลาพักผ่อน 7 1 - 74 ศาลาพักผ่อนหน้าอาคารเรียน ห้องน้ า-ห้องส้วมชาย-หญิง 2 1 12 135 ห้องน้ า-ห้องส้วมชายหญิง ด้านข้างโรง อาหาร โรงอาหาร 1 1 - 410 แหล่งจ าหน่ายอาหารให้นักศึกษา ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ 1 1 - 24 ห้องศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ ห้องสหการ 1 1 - 21.6 สหการวิทยาลัยฯ ปูอมยาม 1 1 - 12.25 ห้องยามรักษาการ ห้องครูเวร 1 1 - 12.95 ห้องเวร-ยามกลางคืน ห้องธนาคารโรงเรียน 1 1 - 17.5 ห้องปฏิบัติการงานธนาคารโรงเรียน ห้องพยาบาลหญิง 1 1 - 17.5 ห้องพยาบาลหญิง ห้องพยาบาลชาย 1 1 - 8.75 ห้องพยาบาลชาย ห้องส่งเสริมผลิตผลและงาน การค้าฯ 1 1 - 35.7 ห้องปฏิบัติงานส่งเสริมผลิตผลและงาน การค้าฯ ห้องกิจกรรมองค์การวิชาชีพ 1 1 - 24.5 ห้องปฏิบัติงานกิจกรรม ห้องรับรอง 1 1 - 24 ห้องรับรอง ห้องฝึกปฏิบัติการ P.P. Coffee 1 1 - 24 ห้องฝึกปฏิบัติการ P.P. Coffee อาคารอเนกประสงค์(โดม) 1 - - จัดประชุมกลางแจ้ง
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 นางสุภาพร ศรีถัน หัวหน้างานแนะแนวฯ นางสาววาสิฏฐี เปี่ยมอ่อน หัวหน้างานสวัสดิการฯ นางสาววราภรณ์โอภาโส หัวหน้างานโครงการพิเศษฯ นาภาคภูมินาคทิพย์ หัวหน้าศูนย์ประสาน สถานศึกษาคุณธรรม แผนภูมิโครงสร้างการบริหารสถานศึกษา นางอารีย์ เลิศกิจเจริญผล ผู้อ านวยการสถานศึกษา คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา นางสาวสุรีพร แก้วโพธิ์ รองผู้อ านวยการ ฝ่ายบริหารทรัพยากร นายสุทธิพงษ์ ศรีถัน รองผู้อ านวยการ ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา นางนรีรัตน์สมใจ หัวหน้างานบุคลากร นางสาวชนิกานต์ สุขขจรกุล หัวหน้างานการเงิน นายชัยยศ มีสวัสดิ์ หัวหน้างานทะเบียน นายเสรี เสนชู หัวหน้างานพัสดุ นางศรัญญา สุขปลั่ง รองผู้อ านวยการ ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ นางศรัญญา สุขปลั่ง รองผู้อ านวยการ ฝ่ายวิชาการ คณะกรรมการวิทยาลัยฯ นางนุชอนงค์ คงเทศ หัวหน้างานวางแผนฯ นายภูมิพัฒน์ช้างสิงห์ หัวหน้างานบัญชี นางสาวทัตพิชา ทับทิมอ่อน หัวหน้างานประชาสัมพันธ์ นางนิภา งามแสง หัวหน้างานบริหารงานทั่วไป นายสมเกียรติ สุขปลั่ง หัวหน้างานอาคารสถานที่ นายยุทธนา ทรัพย์ประเสริฐ หัวหน้างานประกันคุณภาพฯ นายอานนท์เอื้อเฟื้อ หัวหน้างานศูนย์ข้อมูลฯ นายปวีณ แก้วใส หัวหน้างานวิจัยฯ นางสาวชวิดา ดีรัมย์ หัวหน้างานส่งเสริมฯ นายวันชัย พันธุมงคล หัวหน้างานความร่วมมือ นางสาวชวิดา ดีรัมย์ หัวหน้างานศูนย์บ่มเพาะฯ นางสาวจุฑารัตน์ คงประสิทธิ์ หัวหน้างานพัฒนาหลักสูตรฯ นางพิไลวรรณ ตุ่นทอง หัวหน้างานวัดผลฯ นายศิริพงษ์ พานทอง หัวหน้างานสื่อการเรียนการสอน นางสาวสุภาพร ดางาม หัวหน้างานวิทยบริการฯ นายสมเกียรติ สุขปลั่ง หัวหน้างานศูนย์การเรียนรู้ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นายหาญประชา พรหมมา หัวหน้างานทวิภาคีฯ นายภาคภูมินาคทิพย์ หัวหน้างานศูนย์ขับเคลื่อน โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ นายภาคภูมิ นาคทิพย์ หัวหน้างานกิจกรรมฯ นางสาวภานุชนาถ ไพรเถื่อน หัวหน้างานครูที่ปรึกษา นายอภิรมณ์ สรรพาณิชย์ หัวหน้างานปกครอง
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พ.ศ. ๒๕๕๑ -------------------------- โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกรอบมาตรฐานหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ให้มี ความเหมาะสมยิ่งขึ้น เพื่อประโยชน์ในการรักษามาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของเกณฑ์การ รับรองวิทยฐานะและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อให้การบริหารงานด้านวิชาการด าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ฉะนั้น อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๘ มาตรา ๑๒ และมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในการประชุม ครั้งที่ ๒/๒๕๔๙ เมื่อวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ และเพื่อให้การด าเนินการสอดคล้องกับมาตรา ๙ แห่ง พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการจึงอนุมัติกรอบมาตรฐาน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พ.ศ. ๒๕๕๑ ดังต่อไปนี้ ๑. ให้ยกเลิกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ เรื่อง “กรอบ มาตรฐานหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)” ๒. ให้ใช้กรอบมาตรฐานหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการฉบับนี้ส าหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพทุกประเภทวิชา โดยก าหนดสมรรถนะตามกรอบ คุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพในแต่ละระดับ และเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพในแต่ละสาขาวิชา ๓. กรอบคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ก าหนดให้มีสมรรถนะที่ได้จาก มาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะในสาขาอาชีพระดับฝีมือ ตรงตามความต้องการของสาขาอาชีพ สถาน ประกอบการและชุมชน มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา วางแผน ด าเนินการ ตรวจสอบ และ บูรณาการความรู้อย่างเป็นระบบในระดับผู้ปฏิบัติงาน รวมทั้งเป็นผู้ที่มีคุณธรรมจริยธรรม และกิจนิสัย ที่ เหมาะสมในการท างาน โดยก าหนดสมรรถนะและผลลัพธ์การเรียนรู้เป็น ๓ ระดับ ดังนี้ ๓.๑ ระดับ ปวช. ๑ มีความรู้ความเข้าใจในวิชาการที่สัมพันธ์กับวิชาชีพ สามารถปฏิบัติงาน ในขอบเขตของงานที่ก าหนด ซึ่งส่วนใหญ่เป็นงานประจ าและคาดการณ์ได้ โดยใช้ทักษะพื้นฐานและหรือ ทักษะ เฉพาะ รวมถึงทักษะที่สัมพันธ์กับการปฏิบัติงานและการมีส่วนร่วมในคณะท างาน ๓.๒ ระดับ ปวช. ๒ มีความรู้ความเข้าใจในวิชาการที่สัมพันธ์กับวิชาชีพ สามารถปฏิบัติงาน ในขอบเขตของงานที่ก าหนด ซึ่งส่วนใหญ่เป็นงานประจ าและมีความพร้อมในการปฏิบัติงานในขอบเขตงาน หลากหลายและบริบทต่าง ๆ รวมทั้งสามารถรับผิดชอบงานด้วยตนเองและหรือการมีส่วนร่วมในคณะท างาน
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 ๓.๓ ระดับ ปวช. ๓ มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการและวิธีด าเนินการ สามารถ ปฏิบัติงานโดย ใช้ทักษะในขอบเขตส าคัญและบริบทต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กัน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นงานประจ า สามารถ ประยุกต์ทักษะ และความรู้ไปสู่บริบทใหม่ ๆ สามารถให้ค าแนะน าและแก้ปัญหาเฉพาะด้าน อาจต้องรับผิดชอบ ต่อผู้อื่น รวมทั้งมีส่วนร่วมและหรือมีการประสานงานกลุ่มหรือหมู่คณะ ๔. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร มุ่งให้มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับแผนการศึกษา แห่งชาติ ปรัชญาการอาชีวศึกษา และมาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะของสาขาวิชานั้น ๆ ในการจัด การศึกษาทั้ง ในระบบและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผลิตผู้มีความรู้ความเข้าใจและทักษะในระดับ ฝีมือ มีสมรรถนะที่ สามารถปฏิบัติงานอาชีพได้จริง มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ รวมทั้งคุณธรรม จริยธรรม และกิจนิสัยที่เหมาะสม ในการท างาน สอดคล้องกับความต้องการของเศรษฐกิจและสังคม สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีความสุข และ พัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ ๕. ระบบการจัดการศึกษา เป็นการจัดศึกษาแบบเปิดหรือยืดหยุ่น สามารถเทียบโอนหน่วยสมรรถนะ เข้าสู่ระบบหน่วยกิตตามโครงสร้างหลักสูตร โดยใช้ระบบทวิภาค ก าหนดให้ ๑ ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น ๒ ภาค การศึกษา และ ๑ ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๘ สัปดาห์ ส าหรับการศึกษา ภาคฤดูร้อน ให้ก าหนดระยะเวลาและจ านวนหน่วยกิตโดยมีสัดส่วนเทียบเคียงกันได้กับการศึกษาภาคปกติ สถานศึกษาที่จัด การศึกษาระบบอื่น ให้แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับระบบการศึกษานั้น รวมทั้งรายละเอียดการเทียบเคียงหน่วยกิต กับระบบทวิภาคไว้ในหลักสูตรให้ชัดเจนด้วย 6. การคิดหน่วยกิต 6.1 รายวิชาทฤษฎีที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปราย ไม่น้อยกว่า 18 ชั่วโมง เท่ากับ 1 หน่วยกิต 6.2 รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาในการทดลองหรือฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ ไม่น้อยกว่า 36 ชั่วโมง เท่ากับ 1 หน่วยกิต 6.3 รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาในการฝึกปฏิบัติในโรงฝึกงานหรือภาคสนาม 54 ชั่วโมง เท่ากับ 1 หน่วยกิต เท่ากับ 1 หน่วยกิต ไม่น้อยกว่า 6.4 การฝึกงาน ฝึกอาชีพในสถานประกอบการหรือแหล่งวิทยาการ ไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมง 6.5 การท าโครงการตามที่ได้รับมอบหมาย ไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมง เท่ากับ 1 หน่วยกิต 7. จ านวนหน่วยกิตรวม มีจ านวนหน่วยกิตรวมระหว่าง 100-120 หน่วยกิต 8. โครงสร้างหลักสูตร 8.1 หมวดวิชาพื้นฐานประยุกต์ ประกอบด้วยสมรรถนะทั่วไปเพื่อเป็นพื้นฐานในการ ด ารงชีวิต และสมรรถนะหลักเพื่อเป็นพื้นฐานที่สัมพันธ์กับวิชาชีพ ในด้านการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 การปรับปรุงการเรียนรู้และการปฏิบัติงานของตนเอง การท างานร่วมกับผู้อื่น การแก้ปัญหา พื้นฐาน การวิจัยเบื้องต้น การประยุกต์ใช้ตัวเลขและการจัดการธุรกิจเบื้องต้น โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจในตนเอง ผู้อื่นและสังคม ตระหนักในคุณค่าของศิลปวัฒนธรรม สามารถบูรณาการความรู้ได้ อย่างเป็นระบบและน าไปใช้ในชีวิตและการประกอบอาชีพได้อย่างมีความสุข รวมไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต สถานศึกษาอาจจัดวิชาพื้นฐานประยุกต์ในลักษณะจ าแนกเป็นรายวิชา หรือลักษณะ บูรณา การใด ๆ ก็ได้ โดยผสมผสานเนื้อหาวิชาที่ครอบคลุมสาระของกลุ่มวิชาภาษาไทย กลุ่มวิชาภาษา ต่างประเทศ กลุ่มวิชาสังคมศึกษา กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพล ศึกษา กลุ่มวิชาบริหารและจัดการวิชาชีพ และกลุ่มวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ในสัดส่วนที่เหมาะสม เพื่อให้บรรลุ จุดประสงค์ของหมวดวิชาพื้นฐานประยุกต์ 8.2 หมวดวิชาชีพ ประกอบด้วยสมรรถนะวิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้สามารถคิด วิเคราะห์ วางแผน จัดการและประเมินผล โดยบูรณาการสู่การปฏิบัติจริง รวมทั้งประยุกต์สู่อาชีพ รวม ไม่น้อยกว่า 64 หน่วยกิต ดังนี้ 8.2.1 วิชาชีพสาขาวิชา ประกอบด้วยสมรรถนะวิชาชีพแกนที่เป็นสมรรถนะร่วมของ ทุกสาขางานในสาขาวิชา นั้นๆ ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต 8.2.2 วิชาชีพสาขางาน ประกอบด้วยสมรรถนะวิชาชีพที่เป็นสมรรถนะเฉพาะของ สาขางานนั้นๆ ไม่น้อยกว่า 35 หน่วยกิต 8.2.3 ฝึกงาน ประกอบด้วยสมรรถนะวิชาชีพที่เกิดจากการฝึกทักษะเพิ่มพูน ประสบการณ์งานอาชีพในสถาน ประกอบการ แหล่งวิทยาการต่าง ๆ จ านวน 4 หน่วยกิต 8.2.4 โครงการ ประกอบด้วยสมรรถนะในการท างานร่วมกับผู้อื่น การแก้ปัญหา การปรับปรุงการเรียนรู้และ การปฏิบัติงานของตนเอง โดยใช้ลักษณะของการวิจัยเบื้องต้น เพื่อบูรณาการ สู่การปฏิบัติจริงและประยุกต์สู่ อาชีพในสาขาวิชาชีพนั้นๆ จ านวน 4 หน่วยกิต 8.3 หมวดวิชาเลือกเสรี ประกอบด้วยสมรรถนะซึ่งสนับสนุนวิชาชีพและหรือการศึกษาต่อ สามารถเลือกเรียน จากหลักสูตรประเภทวิชาใด ๆ รวมไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 8.4 กิจกรรมเสริมหลักสูตร เป็นส่วนที่ส่งเสริมพัฒนาทักษะวิชาการ ทักษะประสบการณ์ ผู้เรียนทุกคนต้องเข้า ร่วมกิจกรรมอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง ทุกภาคเรียน ยกเว้น ภาคเรียนที่มีการฝึกงาน กิจกรรมเสริม หลักสูตรนี้ไม่นับเป็นหน่วยกิต และทักษะชีวิต สถานศึกษาอาจยกเว้นหรือเทียบโอนหน่วยกิตรายวิชาในหมวด วิชาพื้นฐานประยุกต์ หมวดวิชาชีพ และหมวดวิชาเลือกเสรีให้กับผู้เรียนที่มีความรู้ความสามารถที่สามารถวัด มาตรฐานได้ ทั้งนี้ ผู้เรียน ต้องศึกษาให้ครบตามจ านวนหน่วยกิตที่ก าหนดไว้ในกรอบมาตรฐานหลักสูตร และ เป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการเทียบโอนผลการเรียน และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ เข้าสู่หน่วยกิตในหลักสูตรของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 9. เงื่อนไขการจัดการเรียนรู้ 9.1 สถานศึกษาสามารถจัดการเรียนการสอนตามความถนัด ความสนใจและศักยภาพของ ผู้เรียน เพื่อให้ สามารถผลิตผู้เรียนในลักษณะที่ 1 เป็นผู้ปฏิบัติการที่มีความช านาญ ลักษณะที่ 2 เป็น ผู้ปฏิบัติการที่มีความ
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 ช านาญ สามารถแก้ปัญหาได้ และหรือลักษณะที่ 3 เป็นผู้ปฏิบัติการที่มีความช านาญ สามารถแก้ปัญหาและ ประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ โดยใช้กระบวนการวิจัยอย่างง่าย ทั้งนี้ ผู้ส าเร็จการศึกษาต้อง มีสมรรถนะตรงตาม มาตรฐานวิชาชีพที่ก าหนด 9.2 สถานศึกษาต้องจัดเตรียมความพร้อมในด้านอาคารสถานที่ ครุภัณฑ์ และบุคลากร ทางการศึกษาให้ เหมาะสมสอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนแต่ละลักษณะของการผลิตผู้เรียน 9.3 การจัดอัตราส่วนของเวลาการเรียนรู้ภาคทฤษฎีต่อภาคปฏิบัติในหมวดวิชาชีพ ประมาณ 20 ต่อ 80 9.4 สถานศึกษาสามารถพัฒนาวิชาชีพสาขางานได้ตามความต้องการของท้องถิ่น 9.5 สถานศึกษาสามารถจัดการเรียนการสอนได้ทั้งแบบในระบบ นอกระบบ และทวิภาคี โดยวิธีการจัดแบบ ปกติ สะสมหน่วยกิต เทียบโอนผลการเรียน และเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ โดย ก าหนดวิธีการจัดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณลักษณะทั้งด้านสมรรถนะทั่วไป สมรรถนะหลัก สมรรถนะวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่พึง ประสงค์ ให้ตรงตามศักยภาพของผู้เรียนและระดับของคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพของแต่ละประเภทวิชา 9.6 สถานศึกษาควรจัดให้มีการเรียนการสอนแบบบูรณาการในแต่ละภาคเรียน เพื่อให้ ผู้เรียนมีสมรรถนะหลัก ในการท างานร่วมกับผู้อื่น การแก้ปัญหา การปรับปรุงการเรียนรู้และการปฏิบัติงาน ของตนเอง และสมรรถนะ วิชาชีพเพื่อบูรณาการสู่การปฏิบัติจริงและประยุกต์สู่อาชีพ โดยจัดท าเป็นโครงการ หรืองานหรือชิ้นงานที่ เกี่ยวกับการผลิตหรือบริการ อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 โครงการหรืองานหรือชิ้นงาน 9.7 สถานศึกษาต้องจัดให้มีการฝึกงานในสถานประกอบการหรือแหล่งวิทยาการที่สอดคล้อง กับสาขาวิชาที่ เรียน นอกจากนี้ สถานศึกษาอาจน ารายวิชาในหมวดวิชาชีพไปจัดการเรียนการสอน/จัดการฝึก ในสถาน ประกอบการหรือแหล่งวิทยาการได้ โดยอยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาและสถานประกอบการ 9.8 สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนจัดท าโครงการที่สอดคล้องกับสาขาวิชาที่เรียนน าสู่การปฏิบัติในอาชีพได้อย่าง เป็นรูปธรรมตามโครงสร้างหลักสูตร โดยปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบตามลักษณะการวิจัยเบื้องต้น 9.9 สถานศึกษาต้องจัดให้มีกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ระเบียบของตนเอง การนันทนาการและการส่งเสริมการท างาน โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการ ท าประโยชน์ต่อชุมชน ท านุบ ารุง ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามทุกภาคเรียน 9.10 สถานศึกษาต้องจัดให้มีการประเมินมาตรฐานวิชาชีพในแต่ละสาขาวิชา เพื่อเป็นการ ประกันคุณภาพ ผู้เรียน 10. คุณสมบัติผู้เรียน เป็นผู้ส าเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หรือเทียบเท่า 11. คุณสมบัติผู้สอน เป็นผู้ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี มีคุณสมบัติตรงตามมาตรฐาน วิชาชีพครูที่ก าหนด และหรือเป็นผู้มีสมรรถนะในวิชาชีพนั้น ๆ
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 12. ชื่อคุณวุฒิการศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (เรียกโดยย่อว่า ปวช.) 13. การลงทะเบียน ให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 22 หน่วยกิต ในแต่ละภาคการศึกษาปกติ ส าหรับการ ลงทะเบียนเต็มเวลา และให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 12 หน่วยกิต ในแต่ละภาคการศึกษาปกติ ส าหรับการ ลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลา ส าหรับการลงทะเบียนเรียนในภาคฤดูร้อนให้ลงทะเบียนเรียนได้ ไม่เกิน 12 หน่วย กิต หากสถานศึกษาใดมีเหตุผลและความจ าเป็น การลงทะเบียนเรียนที่แตกต่างไปจากเกณฑ์ ข้างต้นก็อาจท าได้ แต่ต้องไม่กระทบต่อมาตรฐานและคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้ให้ขึ้นอยู่ในดุลยพินิจของ สถานศึกษา สถานศึกษา สามารถรับเทียบโอนผลการเรียน และหรือเทียบโอนความรู้ประสบการณ์เข้าสู่ หน่วยกิตให้กับผู้เรียนที่มีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์อาชีพ ทั้งนี้ ต้องลงทะเบียนให้ครบ ตามจ านวนหน่วยกิต และเป็นไปตาม หลักเกณฑ์ที่ก าหนด 14. เกณฑ์การวัดผลและการส าเร็จการศึกษา 14.1 การวัดผลการศึกษา ให้เป็นไปตามระเบียบว่าด้วยการประเมินผลการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพ 14.2 การส าเร็จการศึกษา ให้มีสมรรถนะตรงตามที่ก าหนด ได้จ านวนหน่วยกิตสะสมครบถ้วน ตามโครงสร้างที่ ก าหนดไว้ในหลักสูตร และได้คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ ากว่า 2.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนน 15. การประกันคุณภาพหลักสูตร ให้ทุกหลักสูตรก าหนดระบบประกันคุณภาพไว้ให้ชัดเจน ซึ่ง อย่างน้อย ประกอบด้วย 4 ประเด็น คือ 15.1 ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ได้จากมาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสมรรถนะที่เกี่ยวข้อง 15.2 การบริหารหลักสูตร 15.3 ทรัพยากรประกอบการเรียน 15.4 ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคมและชุมชน 16. การก าหนดหลักสูตรและอนุมัติ 16.1 การอนุมัติกรอบมาตรฐานหลักสูตร ให้เป็นหน้าที่ของกระทรวงศึกษาธิการ 16.2 การก าหนดและเปลี่ยนแปลงกรอบมาตรฐานหลักสูตร ให้เป็นหน้าที่ของส านักงาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษา 16.3 การอนุมัติหลักสูตร ให้เป็นหน้าที่ของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 17. การพัฒนาหลักสูตร ให้สถานศึกษามีหน้าที่ในการพัฒนาหลักสูตร ประเมินหลักสูตร และ ปรับปรุง มาตรฐานวิชาชีพสาขาวิชาและคุณภาพการศึกษาเป็นระยะๆ อย่างน้อยทุก 5 ปี หรือมีความจ าเป็นต้องปฏิบัติ นอกเหนือ 18. ในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวได้ จากที่ก าหนดไว้ในประกาศนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของ คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประกาศ ณ วันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2551 (นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๖๒ --------------------------------- โดยที่พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๖ และมาตรา ๙ ก าหนดให้ การจัดการ อาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพต้องจัดตามหลักสูตรที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษาก าหนด โดยให้ สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔ แผนการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง มาตรฐาน การศึกษาของชาติ พ.ศ.๒๕๖๑ กรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ และเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาในแต่ละระดับเพื่อผลิต และพัฒนาก าลังคนให้สอดคล้องกับความต้องการของ ตลาดแรงงานและการประกอบอาชีพอิสระ เพื่อให้มี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล จึงสมควร ออกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการ ประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๘ และมาตรา ๑๗ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงวางระเบียบไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและ การประเมินผล การเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๖๒” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผล การเรียนตาม หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖ ลงวันที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ข้อ ๔ ให้ใช้ระเบียบนี้บังคับแก่สถานศึกษาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ข้อ ๕ ในระเบียบนี้ “หลักสูตร” หมายความว่า หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ก าหนด “ประกาศนียบัตรวิชาชีพ” หมายความว่า การศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ หลังจากจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หรือเทียบเท่า ใช้อักษรย่อว่า “ปวช.” “สถานศึกษา” หมายความว่า วิทยาลัยหรือสถานศึกษาที่เรียกชื่ออย่างอื่นของรัฐและเอกชน ที่ จัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ รวมถึงสถานศึกษาในสถาบันการอาชีวศึกษา “หัวหน้าสถานศึกษา” หมายความว่า ผู้อ านวยการวิทยาลัยหรือหัวหน้าสถานศึกษาที่เรียกชื่อ อย่างอื่นของรัฐและเอกชนที่จัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ “หน่วยงานต้นสังกัด” หมายความว่า หน่วยงานที่มีสถานศึกษาที่จัดการศึกษาตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพอยู่ในสังกัดหรือในความควบคุมดูแล “ผู้เข้าเรียน” หมายความว่า ผู้มาสมัครเข้าเรียนในสถานศึกษา หรือสมัครฝึกอาชีพกับ สถาน ประกอบการที่ยังไม่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นนักเรียน “นักเรียน” หมายความว่า ผู้ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นนักเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ “ภาคเรียน” หมายความว่า ช่วงเวลาที่สถานศึกษาเปิดท าการสอน โดยก าหนดให้ ๑ ปี
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 การศึกษา แบ่งออกเป็น ๒ ภาคเรียน และใน ๑ ภาคเรียน มีระยะเวลาจัดการศึกษารวมการวัดผล ๑๘ สัปดาห์ “ภาคเรียนฤดูร้อน” หมายความว่า ช่วงเวลาที่สถานศึกษาเปิดท าการสอนในช่วงปิดภาคเรียน ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการเปิดภาคเรียนฤดูร้อนในสถานศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ “การเรียนแบบเต็มเวลา (full-time)” หมายความว่า การจัดการเรียนการสอนในภาคเรียน ปกติ หรือภาคฤดูร้อนที่ใช้เวลาในช่วงของวันท าการ โดยนักเรียนจะต้องลงทะเบียนเรียนในแต่ละภาคเรียน ตาม เกณฑ์จ านวนหน่วยกิตมาตรฐานของการลงทะเบียนที่ก าหนดส าหรับการเรียนแบบเต็มเวลา “การเรียนแบบไม่เต็มเวลา (part-time)” หมายความว่า การจัดการเรียนการสอน นอกเหนือจาก การเรียนการสอนภาคเรียนปกติที่ใช้เวลานอกเวลาของวันท าการ โดยนักเรียนจะต้องลงทะเบียน เรียน ในแต่ละภาคเรียนตามเกณฑ์จ านวนหน่วยกิตมาตรฐานของการลงทะเบียนที่ก าหนดส าหรับการเรียน แบบ ไม่เต็มเวลา “สถานประกอบการ” หมายความว่า บริษัท ห้างหุ้นส่วน ร้าน รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐ และเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศที่ร่วมมือกับสถานศึกษาเพื่อจัดการอาชีวศึกษา “ผู้ปกครอง” หมายความว่า บิดา มารดา และบุคคลอื่นที่ท าหน้าที่ปกครองดูแลและให้ความ อุปการะแก่นักเรียน และให้ค ารับรองแก่สถานศึกษาหรือสถานประกอบการว่าจะปกครองดูแล ความประพฤติ ของนักเรียนในระหว่างที่เรียนอยู่ในสถานศึกษา และฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ ในสถานประกอบการ หรือฝึกอาชีพในการศึกษาระบบทวิภาคี “การศึกษาในระบบ” หมายความว่า การจัดการศึกษาวิชาชีพที่เน้นการศึกษาในสถานศึกษา เป็นหลัก โดยมีการก าหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลา การวัดและการประเมินผล ที่เป็น เงื่อนไขของการส าเร็จการศึกษาที่แน่นอน “การศึกษานอกระบบ” หมายความว่า การจัดการศึกษาวิชาชีพที่มีความยืดหยุ่นในการ ก าหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการศึกษา ระยะเวลา การวัดและการประเมินผลที่เป็นเงื่อนไขของ การส าเร็จ การศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพปัญหาและ ความต้องการ ของบุคคลแต่ละกลุ่ม “การศึกษาระบบทวิภาคี” หมายความว่า การจัดการศึกษาวิชาชีพที่เกิดจากข้อตกลงระหว่าง สถานศึกษากับสถานประกอบการ ในเรื่องการจัดหลักสูตร การเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล โดย นักเรียนใช้เวลาส่วนหนึ่งในสถานศึกษา และเรียนภาคปฏิบัติในสถานประกอบการ “ผู้ควบคุมการฝึก” หมายความว่า ผู้ที่สถานประกอบการมอบหมายให้ท าหน้าที่ประสานงาน กับสถานศึกษาในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี และรับผิดชอบดูแลการฝึกอาชีพของนักเรียน ในสถาน ประกอบการ “ครูฝึก” หมายความว่า ผู้ท าหน้าที่สอน ฝึก อบรมนักเรียนในสถานประกอบการ ตาม หลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษาก าหนด “ครูนิเทศก์” หมายความว่า ครูที่สถานศึกษามอบหมายให้ท าหน้าที่นิเทศ ให้ค าปรึกษา แนะน าแก่นักเรียนที่ฝึกอาชีพและฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ “ครูที่ปรึกษา” หมายความว่า ครูที่สถานศึกษามอบหมายให้ท าหน้าที่ให้ค าแนะน า ให้
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 ค าปรึกษา ติดตามผลการเรียน และตักเตือนดูแลความประพฤติของนักเรียน “มาตรฐานวิชาชีพ” หมายความว่า ข้อก าหนดด้านสมรรถนะวิชาชีพ เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ ในการ ก ากับดูแล ตรวจสอบและประกันคุณภาพผู้ส าเร็จการศึกษา “การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ” หมายความว่า การทดสอบความรู้ ความสามารถ ตลอดจน ลักษณะนิสัยในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ โดยใช้เครื่องมือที่เหมาะสมซึ่งก าหนดเกณฑ์ การตัดสินไว้ ชัดเจน พร้อมทั้งจัดด าเนินการประเมินภายใต้เงื่อนไขที่เป็นมาตรฐาน “คณะกรรมการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ” หมายความว่า คณะกรรมการผู้ท าหน้าที่ รับผิดชอบในการอ านวยการ ติดตามและก ากับดูแลการประเมินมาตรฐานวิชาชีพของนักเรียนในสถานศึกษา ข้อ ๖ ให้เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษารักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ และให้ มีอ านาจตีความและ วินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ หมวด ๑ ผู้เข้าเรียนและสภาพนักเรียน ------------------------- ส่วนที่ ๑ พื้นความรู้และคุณสมบัติของผู้เข้าเรียน ------------------------- ข้อ ๗ ผู้เข้าเรียน ต้องมีพื้นความรู้ ส าเร็จการศึกษาไม่ต่ ากว่าระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หรือเทียบเท่า ความใน ข้อนี้ ไม่ใช้บังคับส าหรับผู้ที่เรียนเป็นบางเวลา บางรายวิชา หรือบางส่วนของรายวิชา โดยไม่นับจ านวนหน่วยกิต มารวมเพื่อตัดสินการส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตรและรับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ข้อ ๘ ผู้เข้าเรียน ต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ (๑) มีความประพฤติเรียบร้อย (๒) มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่เป็นอุปสรรคต่อการเรียน (๓) มีภูมิล าเนาเป็นหลักแหล่ง โดยมีบัตรประจ าตัวประชาชน หรือมีหลักฐานของทางราชการ ในลักษณะ เดียวกันมาแสดง (๔) มีความเคารพ เลื่อมใส ศรัทธาต่อสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ (๕) มีเจตคติที่ดีต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (๖) ส าหรับผู้เข้าเรียนการศึกษาระบบทวิภาคี ในวันท าสัญญาการฝึกอาชีพต้องมีอายุ ไม่ต่ ากว่า ๑๕ ปีบริบูรณ์ และมีความตั้งใจที่จะรับการฝึกอาชีพในสาขาวิชาที่สมัคร ผู้เข้าเรียนตามโครงการต่าง ๆ ของสถานศึกษา ให้ สถานศึกษาก าหนดคุณสมบัติเพิ่มเติม ได้ตามความเหมาะสมของโครงการนั้น
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 ส่วนที่ ๒ การรับผู้เข้าเรียน ------------------------- ข้อ ๙ การรับผู้เข้าเรียน ให้ท าการสอบคัดเลือกหรือคัดเลือกตามที่สถานศึกษาก าหนด ในกรณีที่มีการสอบ คัดเลือก ให้ปฏิบัติดังนี้ (๑) ท าการสอบข้อเขียนในหมวดวิชาใด ๆ ตามความต้องการของสถานศึกษาหรือสถาน ประกอบการ หาก สถานศึกษาหรือสถานประกอบการจะท าการสอบความถนัดทางการเรียนวิชาชีพและ สอบสัมภาษณ์ด้วยก็ได้ (๒) สถานศึกษาประกาศรับสมัคร ด าเนินการสอบและประกาศผลสอบ ตามวันและเวลา ที่หน่วยงานต้นสังกัด ก าหนด (๓) ถ้าเหตุการณ์เกี่ยวกับการสอบเป็นไปโดยปกติ ให้สถานศึกษาเก็บรักษาเอกสารเกี่ยวกับ การสอบคัดเลือกไว้ เป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๑ ปีนับแต่วันประกาศผลการสอบ การรับผู้เข้าเรียนการศึกษาระบบทวิภาคี สถานประกอบการจะเป็นผู้สอบคัดเลือกหรือคัดเลือก ผู้เข้าเรียนเอง ตามคุณสมบัติที่ก าหนดและตามจ านวนที่ได้ตกลงร่วมกับสถานศึกษา หรือจะมอบให้ สถานศึกษาเป็น ผู้ด าเนินการ หรือด าเนินการร่วมกันก็ได้ การรับผู้เข้าเรียนตามโครงการต่าง ๆ ของสถานศึกษา ให้สถานศึกษาคัดเลือกผู้เข้าเรียน ตามคุณสมบัติที่ ก าหนดตามความเหมาะสมของโครงการนั้น ข้อ ๑๐ ให้มีการตรวจร่างกายโดยแพทย์ปริญญา เฉพาะผู้ที่ผ่านการสอบคัดเลือก หรือได้รับ การคัดเลือก ส่วนที่ ๓ การเป็นนักเรียน ------------------------- ข้อ ๑๑ ผู้เข้าเรียนจะมีสภาพเป็นนักเรียน เมื่อได้ขึ้นทะเบียนเป็นนักเรียนของสถานศึกษา ส าหรับการศึกษาระบบทวิภาคี ผู้เข้าเรียนต้องท าสัญญาการฝึกอาชีพกับสถานประกอบการ การขึ้นทะเบียนเป็นนักเรียนและการท าสัญญาการฝึกอาชีพต้องกระท าด้วยตนเอง พร้อมทั้ง แสดงหลักฐานการ ส าเร็จการศึกษาตามวัน เวลา ที่สถานศึกษาและสถานประกอบการก าหนด โดยช าระเงินค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ตามที่สถานศึกษาก าหนด ทั้งนี้ ให้เสร็จสิ้นก่อนวันเปิดภาคเรียน โดยมีผู้ปกครองซึ่งสถานศึกษาเชื่อถือมาให้ค า รับรองและท าหนังสือมอบตัว ในกรณีผู้เข้าเรียนที่บรรลุนิติภาวะ สถานศึกษาอาจให้ผู้ปกครองมาท าหนังสือมอบตัว หรือด าเนินการในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับระเบียบนี้หรือไม่ก็ได้ ให้สถานศึกษาจัดการประชุมชี้แจงผู้ปกครอง และปฐมนิเทศนักเรียน เพื่อให้ทราบแนวทาง การเรียนและกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ข้อ ๑๒ ให้สถานศึกษาออกบัตรประจ าตัวให้แก่นักเรียน โดยให้เป็นไปตามระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย บัตรประจ าตัวนักเรียนและนักศึกษา
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 บัตรประจ าตัวนี้ให้มีอายุเท่ากับระยะเวลาที่มีสภาพนักเรียนในสถานศึกษาแห่งนั้น แต่ต้อง ไม่เกิน ๓ ปี นับแต่วัน ออกบัตร ถ้าบัตรประจ าตัวหมดอายุในระหว่างที่ยังมีสภาพเป็นนักเรียน ก็ให้สถานศึกษาต่ออายุบัตรเป็นปีๆ ไป และให้ส่งคืนบัตรประจ าตัวต่อสถานศึกษาเมื่อพ้นสภาพ การเป็นนักเรียน สถานประกอบการจะใช้บัตรประจ าตัวที่สถานศึกษาออกให้ หรือจะออกให้ใหม่ตามความ ต้องการของสถาน ประกอบการก็ได้ ข้อ ๑๓ ให้สถานศึกษาแต่งตั้งครูที่ปรึกษา เพื่อท าหน้าที่ให้ค าแนะน าเกี่ยวกับการเรียน ให้ค าปรึกษา ติดตามผล การเรียน และตักเตือนดูแลความประพฤติของนักเรียน และให้สถาน ประกอบการจัดให้มีผู้ควบคุมการฝึกของ นักเรียนในสถานประกอบการ ส่วนที่ ๔ การพ้นสภาพและคืนสภาพนักเรียน ------------------------- ข้อ ๑๔ การพ้นสภาพนักเรียน เป็นไปตามกรณีใดกรณีหนึ่งต่อไปนี้ (๑) ส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร (๒) ลาออก (๓) ถึงแก่กรรม (๔) สถานศึกษาสั่งให้พ้นสภาพนักเรียนในกรณีใดกรณีหนึ่ง ต่อไปนี้ ก. ขาดเรียน ขาดการฝึกอาชีพ ขาดการฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ หรือ ขาดการติดต่อกับสถานศึกษา หรือสถานประกอบการเกินกว่า ๑๕ วันติดต่อกัน ซึ่งสถานศึกษา หรือสถานประกอบการพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่ มีเหตุผลอันสมควร หรือมีพฤติกรรมอย่างอื่นที่แสดงว่า ไม่มีความตั้งใจที่จะศึกษาเล่าเรียนหรือรับการฝึกอาชีพ หรือรับการฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ ข. ไม่ยื่นค าร้องขอกลับเข้าเรียนภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันถัดจากวันครบก าหนด ลาพักการเรียนหรือการฝึก อาชีพตามข้อ ๒๐ ค. ไม่มาติดต่อเพื่อรักษาสภาพนักเรียน ตามข้อ ๒๗ ง. ได้รับโทษจ าคุก โดยค าพิพากษาถึงที่สุดให้จ าคุก เว้นแต่เป็นโทษส าหรับความผิด ที่ได้กระท าโดยประมาทหรือ ความผิดลหุโทษ จ. ขาดพื้นความรู้ ตามข้อ ๗ ฉ. ขาดคุณสมบัติของผู้เข้าเรียน ตามข้อ ๘ ช. พ้นสภาพนักเรียนตามข้อ ๕๗ ซ. พ้นสภาพนักเรียนตามข้อ ๕๘ ข้อ ๑๕ ผู้ที่พ้นสภาพนักเรียน ตามข้อ ๑๔ (๒) (๔) ก. ข. และ ค. ถ้าประสงค์จะขอคืน สภาพการเป็นนักเรียน จะต้องยื่นค าร้องขอต่อสถานศึกษาภายใน ๑ ปี นับแต่วันถัดจากวันพ้นสภาพ นักเรียน เมื่อสถานศึกษาพิจารณา เห็นสมควรก็ให้รับเข้าเรียนได้ ข้อ ๑๖ การขอคืนสภาพการเป็นนักเรียนตามข้อ ๑๕ ให้ปฏิบัติ ดังนี้ (๑) ต้องเข้าเรียนภายในสัปดาห์แรกของภาคเรียน เว้นแต่กลับเข้าเรียนในภาคเรียนเดียวกัน
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 (๒) ให้น ารายวิชาและจ านวนหน่วยกิตที่ได้ลงทะเบียนรายวิชาไว้ มานับรวมเพื่อพิจารณา ตัดสินการส าเร็จ การศึกษาด้วย ส่วนที่ ๕ การพักการเรียน ------------------------- ข้อ ๑๗ สถานศึกษาและสถานประกอบการอาจพิจารณาอนุญาตให้นักเรียนลาพักการเรียน หรือการฝึกอาชีพได้ ตามที่เห็นสมควร เมื่อมีเหตุจ าเป็นกรณีใดกรณีหนึ่ง ต่อไปนี้ (๑) ได้รับทุนการศึกษาให้ไปศึกษา หรือดูงาน หรือเป็นตัวแทนของสถานศึกษาหรือ สถานประกอบการในการ เข้าร่วมประชุม หรือกรณีอื่น ๆ อันควรแก่การส่งเสริม (๒) เจ็บปุวยต้องพักรักษาตัวเป็นเวลานาน โดยมีค ารับรองของแพทย์ปริญญา (๓) กรณีลาพักเพื่อรับราชการทหารกองประจ าการให้ลาพักได้จนกว่าจะได้รับการน าปลด (๔) เหตุจ าเป็นอย่างอื่นตามที่สถานศึกษาและสถานประกอบการจะพิจารณาเห็นสมควร ในกรณีที่มีนักเรียนลาพักการเรียนหรือการฝึกอาชีพตั้งแต่ต้นปีเป็นระยะเวลานานเกินกว่า ๑ ปี สถานศึกษาและ สถานประกอบการอาจพิจารณารับนักเรียนอื่นเข้าเรียนหรือฝึกอาชีพแทนที่ได้ตามที่ เห็นสมควร นักเรียนที่ลาพักการเรียนหรือการฝึกอาชีพต้องช าระเงินค่ารักษาสภาพนักเรียนและค่าธรรมเนียม ต่าง ๆ ตามที่ สถานศึกษาก าหนด แต่ถ้านักเรียนได้ช าระเงินค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ครบถ้วนส าหรับ ภาคเรียนนั้นแล้วไม่ต้อง ช าระเงินค่ารักษาสภาพนักเรียนส าหรับภาคเรียนนั้นอีก ข้อ ๑๘ นักเรียนที่ขออนุญาตลาพักการเรียน หรือการฝึกอาชีพ ต้องยื่นค าร้องเป็น ลายลักษณ์อักษรต่อ สถานศึกษา โดยมีผู้ปกครองเป็นผู้รับรอง ส าหรับผู้ที่บรรลุนิติภาวะจะมีผู้รับรอง หรือไม่ก็ได้ เมื่อได้รับอนุญาต แล้วจึงพักการเรียนหรือการฝึกอาชีพได้ มิฉะนั้นจะถือว่าขาดเรียน เว้นแต่มีเหตุผลสมควร ข้อ ๑๙ การอนุญาตให้นักเรียนลาพักการเรียนหรือการฝึกอาชีพ ให้สถานศึกษาท าหลักฐาน เป็นลายลักษณ์ อักษรแจ้งให้ผู้ปกครองทราบ เว้นแต่ผู้ที่บรรลุนิติภาวะที่ไม่มีผู้ปกครองมอบตัว ให้แจ้ง นักเรียนโดยตรง ข้อ ๒๐ นักเรียนที่ลาพักการเรียนหรือการฝึกอาชีพ เมื่อครบก าหนดเวลาที่ลาพักการเรียน หรือการฝึกอาชีพแล้ว ให้ยื่นค าร้องขอกลับเข้าเรียนพร้อมด้วยหลักฐานการอนุญาตให้ลาพักการเรียน หรือการฝึกอาชีพต่อสถานศึกษา ภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันถัดจากวันครบก าหนด หากพ้นก าหนดนี้ ให้ถือว่าพ้นสภาพนักเรียน เว้นแต่มีเหตุผล สมควร ส่วนที่ ๖ การลาออก -------------------- ข้อ ๒๑ นักเรียนที่ประสงค์จะลาออกจากการเป็นนักเรียน ต้องให้ผู้ปกครองเป็นผู้รับรอง การลาออก เว้นแต่ผู้ที่ บรรลุนิติภาวะ ข้อ ๒๒ นักเรียนที่ลาออกแล้วได้รับอนุญาตให้กลับเข้าเรียนในภาคเรียนเดียวกัน ให้ถือว่า นักเรียน ผู้นั้นมีสภาพ นักเรียนมาตั้งแต่ต้นภาคเรียนนั้นทุกประการ หมวด ๒
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 การจัดการเรียน -------------------- ส่วนที่ ๑ การเปิดเรียน -------------------- ข้อ ๒๓ ให้สถานศึกษาก าหนดวันเปิดและปิดภาคเรียนตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยปีการศึกษา การ เปิดและปิดสถานศึกษา หากสถานศึกษาใดจะก าหนดวันเปิดและปิดภาคเรียน แตกต่างไปจากระเบียบดังกล่าว ให้ขออนุญาตต่อหน่วยงานต้นสังกัด ข้อ ๒๔ สถานศึกษาที่เปิดภาคเรียนฤดูร้อน ให้ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการเปิดภาคเรียน ฤดูร้อนในสถานศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ส่วนที่ ๒ การลงทะเบียนรายวิชา -------------------- ข้อ ๒๕ สถานศึกษาต้องก าหนดวันและเวลาให้นักเรียนลงทะเบียนรายวิชาต่าง ๆ ให้เสร็จ ก่อนวันเปิดภาคเรียน ข้อ ๒๖ สถานศึกษาอาจให้นักเรียนลงทะเบียนรายวิชาภายหลังก าหนดตามข้อ ๒๕ ก็ได้ โดยให้สถานศึกษา ก าหนดวันสิ้นสุดการลงทะเบียนตามที่เห็นสมควร แต่ต้องไม่เกิน ๑๕ วัน นับแต่ วันเปิดภาคเรียน หรือไม่เกิน ๕ วัน นับแต่วันเปิดภาคเรียนฤดูร้อน การลงทะเบียนรายวิชาตามวรรคหนึ่ง นักเรียนต้องช าระค่าปรับตามที่สถานศึกษาก าหนด ข้อ ๒๗ นักเรียนที่มิได้ลงทะเบียนรายวิชาภายในวันและเวลาที่สถานศึกษาก าหนดตามข้อ ๒๖ ถ้าประสงค์จะ รักษาสภาพนักเรียน ต้องติดต่อรักษาสภาพนักเรียนภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันถัดจาก วันสิ้นสุดการลงทะเบียน หากพ้นก าหนดนี้ให้ถือว่าพ้นสภาพนักเรียน เว้นแต่มีเหตุผลสมควร ข้อ ๒๘ การลงทะเบียนรายวิชาต้องได้รับความเห็นชอบจากครูที่ปรึกษา ข้อ ๒๙ นักเรียนต้องลงทะเบียนรายวิชาด้วยตนเอง ตามวันและเวลาที่สถานศึกษาก าหนด ในกรณีที่นักเรียนไม่ สามารถมาลงทะเบียนรายวิชาด้วยตนเองได้ จะมอบหมายให้ผู้อื่น มาลงทะเบียนแทนให้หัวหน้าสถานศึกษา พิจารณาเป็นราย ๆ ไป ข้อ ๓๐ นักเรียนลงทะเบียนรายวิชาได้ไม่เกินภาคเรียนละ ๒๒ หน่วยกิต ส าหรับการเรียน แบบเต็มเวลา และได้ ไม่เกินภาคเรียนละ ๑๒ หน่วยกิต ส าหรับการเรียนแบบไม่เต็มเวลา ส่วนการ ลงทะเบียนรายวิชาในภาคเรียนฤดู ร้อน ให้ลงทะเบียนได้ไม่เกิน ๑๒ หน่วยกิต เว้นแต่ได้รับอนุญาต จากหัวหน้าสถานศึกษา หากสถานศึกษามีเหตุผลและความจ าเป็นในการให้นักเรียนลงทะเบียนรายวิชาที่แตกต่างไปจาก เกณฑ์ข้างต้น อาจท าได้แต่ต้องไม่กระทบต่อมาตรฐานและคุณภาพการศึกษา ข้อ ๓๑ นักเรียนที่ขอโอนผลการเรียนรายวิชาตามข้อ ๕๙ และข้อ ๖๐ ต้องลงทะเบียน เรียนรายวิชาใน สถานศึกษาที่ขอส าเร็จการศึกษา ไม่น้อยกว่า ๑ ภาคเรียน
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 นักเรียนที่ขอเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ตามข้อ ๖๖ ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา ในสถานศึกษาที่ขอ ส าเร็จการศึกษาไม่น้อยกว่า ๑ ใน ๓ ของจ านวนหน่วยกิตที่ระบุไว้ในหลักสูตร แต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา และตามแผนการเรียนที่สถานศึกษาก าหนด ส่วนที่ ๓ การเปลี่ยน การเพิ่ม และการถอนรายวิชา -------------------- ข้อ ๓๒ นักเรียนจะขอเปลี่ยนรายวิชาที่ได้ลงทะเบียนไว้แล้ว หรือขอเพิ่มรายวิชาต้องกระท า ภายใน ๑๕ วัน นับ แต่วันเปิดภาคเรียน หรือภายใน ๕ วัน นับแต่วันเปิดภาคเรียนฤดูร้อน ส่วนการขอถอนรายวิชาต้องกระท า ภายใน ๓๐ วัน นับแต่วันเปิดภาคเรียน หรือภายใน ๑๐ วัน นับแต่วันเปิดภาคเรียนฤดูร้อน การถอนรายวิชาภายหลังก าหนดตามวรรคหนึ่งอาจกระท าได้ ถ้าหัวหน้าสถานศึกษาพิจารณา เห็นว่ามีเหตุผล สมควร การขอเปลี่ยน ขอเพิ่ม หรือขอถอนรายวิชา ต้องได้รับความเห็นชอบจากครูที่ปรึกษาและ ครูผู้สอนประจ า รายวิชา ข้อ ๓๓ การถอนรายวิชาภายในก าหนด ตามข้อ ๓๒ ให้ลงอักษร “ถ.น.” ในระเบียน แสดงผลการเรียนช่อง “ผล การเรียน” การถอนรายวิชาภายหลังก าหนดตามข้อ ๓๒ และหัวหน้าสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่ามีเหตุผล สมควร ให้ลง อักษร “ถ.น.” ในระเบียนแสดงผลการเรียนช่อง “ผลการเรียน” แต่ถ้าหัวหน้าสถานศึกษา พิจารณาเห็นว่าไม่มี เหตุผลอันสมควร ให้ลงอักษร “ถ.ล.” ลงในระเบียนแสดงผลการเรียนช่อง “ผลการเรียน” ส่วนที่ ๔ การเรียนโดยไม่นับจ านวนหน่วยกิตมารวมเพื่อการส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร -------------------- ข้อ ๓๔ สถานศึกษาอาจอนุญาตให้นักเรียนลงทะเบียนเรียนรายวิชาใดวิชาหนึ่งเพื่อเป็นการ เสริมความรู้ โดยไม่ นับจ านวนหน่วยกิตของรายวิชานั้นมารวมเพื่อการส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตรได้ ข้อ ๓๕ เมื่อได้ท าการวัดและประเมินผลการเรียนแล้วผ่าน ให้บันทึก “ม.ก.” ลงในระเบียน แสดงผลการเรียน ช่อง “ผลการเรียน” ถ้าผลการประเมินไม่ผ่านไม่ต้องบันทึกรายวิชานั้น และให้ถือ เป็นการสิ้นสุดส าหรับการ เรียนรายวิชานั้นโดยไม่นับจ านวนหน่วยกิตมารวมเพื่อการส าเร็จการศึกษา ตามหลักสูตร ส่วนที่ ๕ การนับเวลาเรียนเพื่อสิทธิในการเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน -------------------- ข้อ ๓๖ นักเรียนต้องมีเวลาเรียนในแต่ละรายวิชาไม่ต่ ากว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนส าหรับ รายวิชานั้น จึงจะมี สิทธิ์เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน ในกรณีที่มีความจ าเป็นอย่างแท้จริง หัวหน้าสถานศึกษาอาจพิจารณาผ่อนผันให้เป็นราย ๆ ไป นักเรียนที่ไม่มีสิทธิ์เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียนตามวรรคหนึ่ง จะขอประเมินเทียบโอน ความรู้และ ประสบการณ์ ตามข้อ ๖๖ มิได้
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 ข้อ ๓๗ การนับเวลาเรียนให้ปฏิบัติ ดังนี้ (๑) เวลาเปิดเรียนเต็มภาคเรียนละ ๑๘ สัปดาห์ (๒) นักเรียนที่ย้ายสถานศึกษาระหว่างภาคเรียน ให้น าเวลาเรียนจากสถานศึกษาทั้งสองแห่ง มารวมกัน (๓) นักเรียนที่ลาออกแล้ว ได้รับอนุญาตให้กลับเข้าเรียนในภาคเรียนเดียวกันให้นับเวลาเรียน ที่เรียนแล้วมา รวมกัน (๔) นักเรียนที่ลาพักการเรียน หรือการฝึกอาชีพในภาคเรียนใด ได้รับอนุญาตให้กลับเข้าเรียน หรือฝึกอาชีพใน ภาคเรียนเดียวกัน ให้นับเวลาเรียนหรือฝึกอาชีพก่อนและหลังการลาพักการเรียน หรือ การฝึกอาชีพในภาคเรียน นั้นมารวมกัน (๕) รายวิชาที่มีครูผู้สอน หรือครูฝึกตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป และแยกกันสอน ให้น าเวลาเรียน ที่เรียนกับครูผู้สอนหรือ ครูฝึกทุกคนมารวมกัน (๖) ถ้ามีการเปลี่ยนรายวิชา หรือเพิ่มรายวิชา ให้นับเวลาเรียนตั้งแต่เริ่มเรียนรายวิชาใหม่ ส่วนที่ ๖ การขออนุญาตเลื่อนการเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน -------------------- ข้อ ๓๘ นักเรียนที่ไม่สามารถเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียนตามวันและเวลาที่สถานศึกษา ก าหนด หัวหน้า สถานศึกษาอาจอนุญาตให้เลื่อนการเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียนได้ในกรณีต่อไปนี้ (๑) ประสบอุบัติเหตุ หรือเจ็บปุวยก่อนหรือระหว่างการเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน (๒) ถูกควบคุมตัวโดยพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมาย (๓) เป็นตัวแทนของสถานศึกษา หรือสถานประกอบการ ในการเข้าร่วมประชุม หรือ กิจกรรมพิเศษอย่างอื่น โดย ได้รับความยินยอมจากสถานศึกษา (๔) มีความจ าเป็นอย่างอื่น โดยสถานศึกษา หรือสถานศึกษาและสถานประกอบการ พิจารณาแล้วเห็นว่าเป็น ความจ าเป็นอย่างแท้จริง ข้อ ๓๙ นักเรียนที่ขออนุญาตเลื่อนการเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน ต้องยื่นค าร้อง พร้อมทั้งหลักฐาน ประกอบต่อสถานศึกษาก่อนการวัดผลปลายภาคเรียนไม่น้อยกว่า ๓ วัน หากไม่สามารถ กระท าได้ให้หัวหน้า สถานศึกษาพิจารณาเป็นราย ๆ ไป กรณีที่หัวหน้าสถานศึกษาอนุญาตให้เลื่อนได้ ให้บันทึก “ม.ส.” ลงในระเบียนแสดงผลการเรียน ในช่อง “ผลการ เรียน” และให้นักเรียนเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียนทดแทนภายใน ๑๐ วัน นับแต่ วันประกาศผลการเรียน หากไม่สามารถด าเนินการได้ ให้หัวหน้าสถานศึกษาพิจารณาจัดการวัดผล ปลายภาคเรียนทดแทนภายใน ก าหนดการวัดผลปลายภาคเรียนของภาคเรียนถัดไป การอนุญาตให้เลื่อนการเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน ให้สถานศึกษาท าเป็นลายลักษณ์อักษร มอบให้นักเรียน หมวด ๓ การประเมินผลการเรียน -------------------- ส่วนที่ ๑
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 หลักการในการประเมินผลการเรียน -------------------- ข้อ ๔๐ ให้สถานศึกษามีหน้าที่และรับผิดชอบในการประเมินผลการเรียนรายวิชาที่เรียน และฝึกปฏิบัติใน สถานศึกษา และให้สถานศึกษาและสถานประกอบการมีหน้าที่และรับผิดชอบร่วมกัน ในการประเมินผลการ เรียนรายวิชาที่เรียนและฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ ข้อ ๔๑ ให้ประเมินผลการเรียนเป็นรายวิชาตามระบบหน่วยกิต ตามสภาพจริงต่อเนื่องตลอด ภาคเรียน ทั้งด้าน ความรู้ ความสามารถและคุณลักษณะที่พึงประสงค์จากกิจกรรมการเรียนการสอน การฝึกปฏิบัติและงานที่ มอบหมาย รวมทั้งการวัดผลปลายภาคเรียน ซึ่งครอบคลุมจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชาและ เนื้อหาวิชา โดยใช้เครื่องมือและวิธีการหลากหลายตามความเหมาะสม ทั้งนี้ จ านวนหน่วยกิตของแต่ละรายวิชา ให้ถือตามที่ก าหนดไว้ในหลักสูตร ส่วนที่ ๒ วิธีการประเมินผลการเรียน -------------------- ข้อ ๔๒ ให้สถานศึกษา พิจารณาท าการประเมินผลการเรียนรายวิชาเมื่อสิ้นภาคเรียน หรือเมื่อสิ้นสุดการเรียน หรือการฝึกปฏิบัติงานในทุกรายวิชา ส าหรับรายวิชาที่เรียนและฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ ให้สถานศึกษาและสถาน ประกอบการ โดยครูนิเทศก์ และครูฝึกร่วมกันประเมินผลการเรียน เมื่อสิ้นสุดการเรียนและฝึกปฏิบัติ ในแต่ละรายวิชา ข้อ ๔๓ ให้หน่วยงานต้นสังกัดร่วมกับสถานศึกษา ด าเนินการส่งเสริมคุณภาพและควบคุม มาตรฐานการจัดการ เรียนการสอน การวัดผลและการประเมินผลการเรียน ข้อ ๔๔ ให้ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนในแต่ละรายวิชา คิดเป็นร้อยละตามเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป ระดับผลการเรียน ๔.๐ หมายถึง ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดีเยี่ยม ร้อยละ ๗๕-๗๙ ระดับผลการเรียน ๓.๕ หมายถึง ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดีมาก ร้อยละ ๗๐-๗๔ ระดับผลการเรียน ๓.๐ หมายถึง ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดี ร้อยละ ๖๕-๖๙ ระดับผลการเรียน ๒.๕ หมายถึง ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดี ร้อยละ ๖๐-๖๔ ระดับผลการเรียน ๒.๐ หมายถึง ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์พอใช้ ร้อยละ ๕๕-๕๙ ระดับผลการเรียน ๑.๕ หมายถึง ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์อ่อน ร้อยละ ๕๐-๕๔ ระดับผลการเรียน ๑.๐ หมายถึง ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์อ่อนมาก ต่ ากว่า ร้อยละ ๕๐ ระดับผลการเรียน ๐ หมายถึง ผลการเรียนต่ ากว่าเกณฑ์ (ตก) ข้อ ๔๕ รายวิชาใดที่แสดงระดับผลการเรียนตามข้อ ๔๔ ไม่ได้ ให้ใช้ตัวอักษรต่อไปนี้ ข.ร. หมายถึง ขาดเรียน ไม่มีสิทธิ์เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน เนื่องจากมีเวลาเรียนต่ ากว่า ร้อยละ ๘๐ โดย สถานศึกษาพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่มีเหตุผลสมควร ข.ป. หมายถึง ขาดการปฏิบัติงาน หรือปฏิบัติงานไม่ครบ โดยสถานศึกษาพิจารณาแล้วเห็นว่า ไม่มีเหตุผลสมควร ส าหรับรายวิชาที่เรียนหรือฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ ข.ส. หมายถึง ขาดการวัดผลปลายภาคเรียน โดยสถานศึกษาพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่มี เหตุผลสมควร
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 ถ.ล. หมายถึง ถอนรายวิชาภายหลังก าหนด โดยสถานศึกษาพิจารณาแล้วเห็นว่าไม่มีเหตุผล สมควร ถ.น. หมายถึง ถอนรายวิชาภายในก าหนด ท. หมายถึง ทุจริตในการสอบ หรืองานที่มอบหมายให้ท า ม.ส. หมายถึง ไม่สมบูรณ์ เนื่องจากไม่สามารถเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียน โดยได้รับ อนุญาตจากหัวหน้า สถานศึกษา หรือไม่ส่งงานอันเป็นส่วนประกอบของการเรียนรายวิชาตามก าหนด ม.ท. หมายถึง ไม่สามารถเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียนทดแทนภายในเวลาที่สถานศึกษา ก าหนด ผ. หมายถึง ได้เข้าร่วมกิจกรรมตามก าหนด หรือผลการประเมินผ่าน ม.ผ. หมายถึง ไม่เข้าร่วมกิจกรรม หรือผลการประเมินไม่ผ่าน ม.ก. หมายถึง การเรียนโดยไม่นับจ านวนหน่วยกิตมารวมเพื่อการส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร และผลการ ประเมินผ่าน ข้อ ๔๖ ในกรณีต่อไปนี้ให้ระดับผลการเรียนเป็น ๐ (ศูนย์) เฉพาะรายวิชา (๑) ได้ ข.ร. (๒) ได้ ข.ป. (๓) ได้ ข.ส. (๔) ได้ ถ.ล. (๕) ได้ ท. (๖) ได้ ม.ท. ข้อ ๔๗ นักเรียนที่ท าการทุจริต หรือส่อเจตนาทุจริตในการสอบ หรืองานที่มอบหมายให้ท า ในรายวิชาใด ให้ สถานศึกษาพิจารณาด าเนินการ ดังนี้ (๑) ให้ได้คะแนน ๐ (ศูนย์) เฉพาะครั้งนั้น หรือ (๒) ให้ระดับผลการเรียนเป็น ๐ (ศูนย์) โดยบันทึก “ท.” ลงในระเบียนแสดงผลการเรียน ช่อง “ผลการเรียน” ในรายวิชานั้น หรือ (๓) ด าเนินการตาม (๒) และตัดคะแนนความประพฤติตามระเบียบว่าด้วยการตัดคะแนน ความประพฤติที่ สถานศึกษาก าหนดตามความร้ายแรงแล้วแต่กรณี ข้อ ๔๘ การค านวณค่าระดับคะแนนเฉลี่ย ให้ปฏิบัติ ดังนี้ (๑) ให้น าผลบวกของผลคูณระหว่างจ านวนหน่วยกิตของแต่ละรายวิชากับระดับผลการเรียน หารด้วยผลบวก ของจ านวนหน่วยกิตของแต่ละรายวิชา คิดทศนิยมสองต าแหน่งไม่ปัดเศษ (๒) ให้ค านวณค่าระดับคะแนนเฉลี่ย จากรายวิชาที่ได้ระดับผลการเรียนตามข้อ ๔๔ และ ข้อ ๔๖ ส าหรับ รายวิชาที่นักเรียนเรียนซ้ า เรียนแทน ให้ใช้ระดับผลการเรียนและนับจ านวนหน่วยกิต ตามข้อ ๔๙ (๓) ให้ค านวณค่าระดับคะแนนเฉลี่ย ดังนี้ ก. ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยประจ าภาคเรียน ค านวณจากรายวิชาที่ได้ระดับผลการเรียน เฉพาะในภาคเรียนหนึ่ง ๆ ข. ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ค านวณจากรายวิชาที่เรียนมาทั้งหมดและได้ระดับผล การเรียน ตั้งแต่สองภาค เรียนขึ้นไป
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 ข้อ ๔๙ นักเรียนผู้ใดประสงค์จะเรียนซ้ ารายวิชาที่ได้ระดับผลการเรียนต่ ากว่า ๒.๐ หรือ เลือกเรียนรายวิชาอื่น แทนถ้าเป็นรายวิชาเลือก เพื่อประเมินปรับค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมให้สูงขึ้น ให้สถานศึกษาหรือสถาน ประกอบการด าเนินการให้เรียนซ้ าหรือเรียนแทน ภายในเวลา ก่อนส าเร็จการศึกษา การเรียนซ้ ารายวิชา ให้นับจ านวนหน่วยกิตสะสมเพียงครั้งเดียว ส่วนการเรียนแทนให้นับเฉพาะ จ านวนหน่วยกิ ตของรายวิชาที่เรียนแทนเป็นจ านวนหน่วยกิตสะสม การนับจ านวนหน่วยกิตสะสมในกรณีนี้ จะกระท าเมื่อนักเรียนได้ระดับผลการเรียน ตั้งแต่ ๒.๐ ขึ้นไป รายวิชาที่เรียนซ้ า หรือเรียนแทนแล้วได้ระดับผลการเรียน ๐ (ศูนย์) ให้ถือระดับผลการเรียน ต่ ากว่า ๒.๐ ตามเดิม ยกเว้นการได้ระดับผลการเรียน ๐ (ศูนย์) ตามข้อ ๔๗ (๒) หรือ (๓) ข้อ ๕๐ กรณีตามข้อ ๔๙ การคิดค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ถ้าเป็นรายวิชาที่เรียนซ้ า ให้นับจ านวนหน่วยกิต เป็นตัวหารเพียงครั้งเดียว ส่วนการเรียนรายวิชาอื่นแทนให้นับเฉพาะจ านวนหน่วยกิต ของรายวิชาที่เรียนแทนมา เป็นตัวหาร ข้อ ๕๑ ผู้ที่ได้ ม.ส. ตามข้อ ๓๙ และไม่สามารถเข้ารับการวัดผลปลายภาคเรียนทดแทน ภายในเวลาที่ สถานศึกษาก าหนด ให้สถานศึกษาบันทึก “ม.ท.” ลงในระเบียนแสดงผลการเรียน ช่อง “ผลการเรียน” เว้นแต่ ได้ ม.ส. ตามข้อ ๓๘ (๓) ให้หัวหน้าสถานศึกษาพิจารณาเป็นราย ๆ ไป กรณีผู้ที่ได้ ม.ส. เนื่องจากไม่สามารถส่งงานอันเป็นส่วนประกอบของการเรียนรายวิชาได้ ตามก าหนดให้นักเรียน ส่งงานนั้นภายใน ๑๐ วัน นับแต่วันประกาศผลการเรียนรายวิชา หากไม่สามารถ ด าเนินการได้ให้สถานศึกษา ประเมินผลการเรียนจากคะแนนที่มีอยู่ เว้นแต่มีเหตุจ าเป็นที่หัวหน้า สถานศึกษาพิจารณาเห็นสมควร ทั้งนี้ ให้ ด าเนินการให้เสร็จสิ้นภายในก าหนดการวัดผลปลายภาคเรียน ของภาคเรียนถัดไป ข้อ ๕๒ นักเรียนต้องเข้ารับการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ เมื่อนักเรียนได้ลงทะเบียนรายวิชา ครบทุกรายวิชาตาม หลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา หรือตามระยะเวลาที่คณะกรรมการ ประเมินมาตรฐานวิชาชีพก าหนด ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาก าหนด นักเรียนจะส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตรได้ จะต้องเข้ารับการประเมินมาตรฐานวิชาชีพและ ผลการประเมินผ่าน เกณฑ์ที่ก าหนด ข้อ ๕๓ นักเรียนต้องเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่สถานศึกษาจัดไม่น้อยกว่า ๒ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ครบ ทุกภาคเรียนตามแผนการเรียนที่สถานศึกษาก าหนด โดยมีเวลาเข้าร่วมปฏิบัติ กิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของเวลาที่จัดกิจกรรมในแต่ละภาคเรียน เมื่อนักเรียนได้เข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมครบถ้วนตามเกณฑ์ในภาคเรียนใด ถือว่าประเมินผ่าน ในภาคเรียนนั้น ให้ บันทึกชื่อกิจกรรมและตัวอักษร “ผ.” ในระเบียนแสดงผลการเรียน ช่อง “ผลการเรียน” หากนักเรียนเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมไม่ครบตามเกณฑ์ในภาคเรียนใด ให้สถานศึกษาพิจารณา มอบงานหรือ กิจกรรมในส่วนที่นักเรียนผู้นั้นไม่ได้เข้าร่วมปฏิบัติ ให้ปฏิบัติให้ครบถ้วนภายในเวลา ที่สถานศึกษาก าหนด เมื่อ นักเรียนด าเนินการครบถ้วนแล้วถือว่าประเมินผ่าน แล้วจึงบันทึกชื่อกิจกรรม และตัวอักษร “ผ.” ในระเบียน แสดงผลการเรียนของภาคเรียนนั้น ถ้านักเรียนด าเนินการไม่ครบถ้วน ถือว่าประเมินไม่ผ่าน ให้บันทึกชื่อกิจกรรมและตัวอักษร “ม.ผ.”
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 ให้นักเรียนที่เข้าฝึกอาชีพ หรือฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพในสถานประกอบการ เข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมที่ สถานประกอบการจัด ตามเกณฑ์และข้อตกลงร่วมกันระหว่างสถานศึกษา กับสถานประกอบการ ส่วนที่ ๓ การตัดสินผลการเรียน ---------------------- ข้อ ๕๔ การตัดสินผลการเรียนให้ด าเนินการ ดังนี้ (๑) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา (๒) รายวิชาที่มีระดับผลการเรียนตั้งแต่ ๑.๐ ขึ้นไป ถือว่าประเมินผ่านและให้นับจ านวน หน่วยกิต ของรายวิชา นั้นเป็นจ านวนหน่วยกิตสะสม (๓) เมื่อได้ประเมินผลการเรียนแล้ว นักเรียนที่มีระดับผลการเรียน ๐ (ศูนย์) ตามข้อ ๔๔ ให้นักเรียนรับการ ประเมินใหม่ได้อีก ๑ ครั้ง ภายในเวลาที่สถานศึกษาหรือสถานประกอบการก าหนด ไม่เกิน ๑๐ วัน นับแต่วัน ประกาศผลการเรียนรายวิชา เว้นแต่มีเหตุจ าเป็นที่หัวหน้าสถานศึกษา พิจารณาเห็นสมควร หากผลการประเมิน ใหม่ไม่ผ่าน ถ้าเป็นรายวิชาบังคับให้เรียนซ้ ารายวิชานั้น ถ้าเป็นรายวิชาเลือกจะเรียนซ้ า หรือเรียนรายวิชาอื่น แทนก็ได้ โดยจ านวนหน่วยกิตต้องไม่น้อยกว่า รายวิชาที่เรียนแทน และให้ลงหมายเหตุในระเบียนแสดงผลการ เรียนว่าให้เรียนแทนรายวิชาใด (๔) การประเมินใหม่ตาม (๓) ให้ระดับผลการเรียนได้ไม่เกิน ๑.๐ ข้อ ๕๕ การตัดสินผลการเรียนเพื่อส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ให้ถือตามเกณฑ์ต่อไปนี้ (๑) ได้รายวิชาและจ านวนหน่วยกิตสะสมในทุกหมวดวิชา ครบถ้วนตามที่ก าหนดไว้ใน หลักสูตรแต่ละประเภท วิชาและสาขาวิชา และตามแผนการเรียนที่สถานศึกษาก าหนด (๒) ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ ากว่า ๒.๐๐ (๓) ผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ (๔) ได้เข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามแผนการเรียนที่สถานศึกษาก าหนด และ “ผ่าน” ทุกภาคเรียน ข้อ ๕๖ ให้หัวหน้าสถานศึกษา เป็นผู้อนุมัติผลการเรียนและการส าเร็จการศึกษา ตามหลักสูตร ข้อ ๕๗ เมื่อนักเรียนได้ลงทะเบียนรายวิชาครบ ๒ ภาคเรียน และได้รับการประเมินใหม่แล้ว หากได้ค่าระดับ คะแนนเฉลี่ยสะสมต่ ากว่า ๑.๕๐ ให้สถานศึกษาพิจารณาว่าควรให้เรียนต่อไปหรือ ให้พ้นสภาพนักเรียน เมื่อได้ลงทะเบียนรายวิชาครบ ๔ ภาคเรียน และได้รับการประเมินใหม่แล้ว หากได้ค่าระดับ คะแนนเฉลี่ยสะสม ต่ ากว่า ๑.๗๕ ให้สถานศึกษาพิจารณาว่าควรให้เรียนต่อไป หรือให้พ้นสภาพนักเรียน เมื่อได้ลงทะเบียนรายวิชาครบ ๖ ภาคเรียน และได้รับการประเมินใหม่แล้ว หากได้ค่าระดับ คะแนนเฉลี่ยสะสม ต่ ากว่า ๑.๙๐ ให้สถานศึกษาพิจารณาว่าควรให้เรียนต่อไป หรือให้พ้นสภาพนักเรียน ข้อ ๕๘ นักเรียนที่เรียนแบบเต็มเวลาและได้ลงทะเบียนรายวิชารวม ๖ ภาคเรียนแล้ว แต่ยังไม่เข้าเกณฑ์การ ส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ตามข้อ ๕๕ ให้สถานศึกษาพิจารณาว่าควรให้เรียน ต่อไปหรือให้พ้นสภาพ นักเรียน ทั้งนี้ ให้เรียนได้ไม่เกิน ๑๒ ภาคเรียน นับตั้งแต่วันขึ้นทะเบียน เป็นนักเรียนโดยไม่นับภาคเรียนที่ลาพัก การเรียน
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 นักเรียนที่เรียนแบบไม่เต็มเวลาและได้ลงทะเบียนรายวิชาครบทุกภาคเรียนตามแผนการเรียน ที่สถานศึกษา ก าหนดแล้ว แต่ยังไม่เข้าเกณฑ์การส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ตามข้อ ๕๕ ให้สถานศึกษาพิจารณาว่าควรให้ เรียนต่อไป หรือให้พ้นสภาพนักเรียน ทั้งนี้ ให้เรียนได้ไม่เกิน ๑๖ ภาคเรียน นับตั้งแต่วันขึ้นทะเบียนเป็นนักเรียน โดยไม่นับภาคเรียนที่ลาพักการเรียน ส่วนที่ ๔ การเทียบโอนผลการเรียนรู้ ----------------------- ข้อ ๕๙ การโอนผลการเรียนส าหรับนักเรียนจากสถานศึกษาซึ่งใช้หลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพ พุทธศักราช เดียวกัน ให้สถานศึกษาที่รับนักเรียนเข้าเรียนรับโอนผลการเรียนทุกรายวิชา นอกจากรายวิชาที่ได้ระดับผลการ เรียนต่ ากว่า ๒.๐ สถานศึกษาจะรับโอนหรือจะท าการประเมินใหม่ จนเห็นว่าได้ผลการเรียนถึงเกณฑ์มาตรฐาน ของสถานศึกษาแล้วจึงรับโอนผลการเรียนรายวิชานั้นก็ได้ ข้อ ๖๐ สถานศึกษาจะรับโอนผลการเรียนรายวิชาจากหลักสูตรอื่นซึ่งไม่ต่ ากว่าระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ได้ ตามเงื่อนไขต่อไปนี้ (๑) เป็นรายวิชาหรือกลุ่มวิชาที่มีจุดประสงค์และเนื้อหาใกล้เคียงกันไม่ต่ ากว่าร้อยละ ๖๐ และมีจ านวนหน่วยกิต ไม่น้อยกว่าหน่วยกิตของรายวิชาที่ระบุไว้ในหลักสูตร (๒) รายวิชาที่ได้ระดับผลการเรียนตั้งแต่ ๒.๐ ขึ้นไป โดยสถานศึกษาจะรับโอนผลการเรียน หรือจะท าการ ประเมินใหม่แล้ว จึงรับโอนรายวิชานั้นก็ได้ ข้อ ๖๑ เมื่อนักเรียนขอโอนผลการเรียนรายวิชา ให้สถานศึกษาด าเนินการให้แล้วเสร็จก่อน การวัดผลปลายภาค เรียน ภาคเรียนแรกที่นักเรียนเข้าเรียน ข้อ ๖๒ การบันทึกผลการเรียนตามข้อ ๕๙ และข้อ ๖๐ ลงในระเบียนแสดงผลการเรียน ให้ใช้รหัสวิชาและชื่อ รายวิชาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราชที่ใช้ในปัจจุบัน โดยแสดง หมายเหตุว่าเป็นรายวิชาที่ รับโอนผลการเรียน ข้อ ๖๓ สถานศึกษาจะอนุญาตให้นักเรียนไปเรียนรายวิชาบางรายวิชาจากสถานศึกษาแห่งอื่น ในกรณีที่ สถานศึกษาไม่สามารถเปิดท าการสอนในรายวิชานั้นได้ โดยสถานศึกษาพิจารณารายละเอียด เกี่ยวกับเนื้อหา ของหลักสูตรตามที่เห็นสมควร และให้สถานศึกษาทั้งสองแห่งท าความตกลงร่วมกัน ในการจัดสอนและรับโอน ผลการเรียน ข้อ ๖๔ ในกรณีสถานศึกษาอนุญาตให้นักเรียนไปเรียนจากสถานศึกษาแห่งอื่นตามข้อ ๖๓ ให้สถานศึกษา พิจารณารับโอนผลการเรียน ดังนี้ (๑) รับโอนรายวิชาที่มีผลการเรียนตั้งแต่ ๒.๐ ขึ้นไป หรือ (๒) รายวิชาที่ได้ระดับผลการเรียนต่ ากว่า ๒.๐ สถานศึกษาอาจรับโอนผลการเรียนหรือไม่ก็ได้ ให้อยู่ในดุลพินิจ ของสถานศึกษา ทั้งนี้ ให้สถานศึกษาแจ้งให้นักเรียนทราบก่อนที่จะอนุญาตให้ไปเรียน การบันทึกผลการเรียนลงในระเบียนแสดงผลการเรียน ให้ใช้รหัสวิชาและชื่อรายวิชาของ หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราชที่ใช้ในปัจจุบัน โดยระบุว่ารับโอนผลการเรียน
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 ข้อ ๖๕ กรณีที่มีการประเมินใหม่ตามข้อ ๕๙ และข้อ ๖๐ ระดับผลการเรียนให้เป็นไป ตามที่ได้จากการประเมิน ใหม่ แต่ต้องไม่สูงไปกว่าเดิม ข้อ ๖๖ นักเรียนที่มีความรู้และประสบการณ์ในงานอาชีพ หรือฝึกงานในสถานประกอบการ หรือท างานใน อาชีพนั้นอยู่แล้ว หรือมีความรู้ในรายวิชาตรงตามหลักสูตรมาก่อนเข้าเรียน หรือเข้าเรียนแล้ว แต่ได้เรียนหรือ ฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ จะขอประเมินเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เพื่อนับ จ านวนหน่วยกิตสะสม ส าหรับรายวิชานั้นก็ได้ โดยเทียบโอนได้ไม่เกิน ๒ ใน ๓ ของจ านวนหน่วยกิต ตามหลักสูตรแต่ละประเภทวิชา และสาขาวิชาและตามแผนการเรียนที่สถานศึกษาก าหนด การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ ที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ก าหนด ถ้าผลการประเมินไม่ผ่าน นักเรียนสามารถลงทะเบียนเรียนปกติในภาคเรียนนั้น หรือ ขอประเมินเทียบโอน ความรู้และประสบการณ์ในภาคเรียนต่อไปก็ได้ ข้อ ๖๗ นักเรียนที่สถานศึกษาให้พ้นสภาพนักเรียนตามข้อ ๕๗ หรือข้อ ๕๘ แล้วสอบ เข้าเรียนใหม่ใน สถานศึกษาเดิม หรือสถานศึกษาแห่งใหม่ได้ ให้สถานศึกษารับโอนผลการเรียน เฉพาะรายวิชาที่ยังปรากฏอยู่ใน หลักสูตรที่ใช้ในปัจจุบัน และได้ระดับผลการเรียนตั้งแต่ ๒.๐ ขึ้นไป หมวด ๔ เอกสารการศึกษา ------------------------ ข้อ ๖๘ สถานศึกษาต้องจัดให้มีเอกสารการศึกษา ดังต่อไปนี้ (๑) ระเบียนแสดงผลการเรียนตามแบบที่ก าหนดท้ายระเบียบนี้ใช้ชื่อย่อว่า “รบ. ๑ ปวช.” และต้องเก็บรักษาไว้ ตลอดไป การจัดท าระเบียนแสดงผลการเรียน ให้หัวหน้างานทะเบียนเป็นผู้จัดท า ลงลายมือชื่อ พร้อมทั้ง วัน เดือน ปี และให้หัวหน้าสถานศึกษาเป็นผู้ลงนามรับรองผลการเรียนและการส าเร็จ การศึกษาตามหลักสูตร (๒) ระเบียนแสดงผลการเรียนฉบับภาษาอังกฤษ ตามแบบที่ก าหนดท้ายระเบียบนี้และต้อง เก็บรักษาไว้ตลอดไป การจัดท าระเบียนแสดงผลการเรียนฉบับภาษาอังกฤษ ให้หัวหน้างานทะเบียนเป็นผู้จัดท า ลงลายมือชื่อ พร้อม ทั้ง วัน เดือน ปี และให้หัวหน้าสถานศึกษาเป็นผู้ลงนามรับรองผลการเรียนและ การส าเร็จการศึกษาตาม หลักสูตร (๓) แบบรายงานผลการเรียนของผู้ที่ส าเร็จการศึกษาตามแบบที่ก าหนดท้ายระเบียบนี้ ใช้ชื่อย่อว่า “รบ.๒ ปวช.” และต้องเก็บรักษาไว้ตลอดไป (๔) ประกาศนียบัตรและวุฒิบัตร ตามแบบที่ก าหนดท้ายระเบียบนี้ (๕) สมุดประเมินผลการเรียนรายวิชาและหลักฐานเกี่ยวกับการประเมินผลการเรียนในแบบอื่น สมุดบันทึกการ ฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ หรือสมุดบันทึกการปฏิบัติงานหรือสมุดรายงาน ของนักเรียน (๖) ใบรับรองสภาพการเป็นนักเรียนและใบรับรองผลการเรียนตามแบบที่ก าหนดท้ายระเบียบนี้ ข้อ ๖๙ ให้สถานศึกษาเก็บรักษากระดาษค าตอบ และหลักฐานการประเมินผลการเรียนไว้ เป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๑ ปีการศึกษา
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 ข้อ ๗๐ ให้สถานศึกษาแจ้งผลการเรียนของนักเรียนให้นักเรียนและผู้ปกครองทราบทุกภาคเรียน ข้อ ๗๑ ให้ใช้ส าเนาคู่ฉบับระเบียนแสดงผลการเรียน และส าเนาคู่ฉบับระเบียนแสดง ผลการเรียนฉบับ ภาษาอังกฤษ เป็นเอกสารรับรองผลการเรียน ข้อ ๗๒ ให้สถานศึกษาออกส าเนาคู่ฉบับระเบียนแสดงผลการเรียน ส าเนาคู่ฉบับระเบียน แสดงผลการเรียนฉบับ ภาษาอังกฤษ ประกาศนียบัตรและวุฒิบัตร แก่ผู้ส าเร็จการศึกษา ข้อ ๗๓ การท าส าเนาระเบียนแสดงผลการเรียน จะใช้วิธีพิมพ์ใหม่ หรือส าเนาเอกสาร ตามต้นฉบับก็ได้ แล้วให้ เขียนหรือประทับตรา “ส าเนาถูกต้อง” ส่วนการท าส าเนาระเบียนแสดง ผลการเรียนฉบับภาษาอังกฤษจะใช้วิธี พิมพ์ใหม่หรือส าเนาเอกสารตามต้นฉบับก็ได้ แล้วให้เขียน หรือประทับตรา “CERTIFIED TRUE COPY” ให้หัวหน้างานทะเบียน หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ท าการแทนลงลายมือชื่อรับรองส าเนา พร้อมทั้ง วัน เดือน ปี ที่ออกส าเนา และหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ได้รับมอบหมายลงลายมือชื่อก ากับ ที่รูปถ่าย ข้อ ๗๔ นักเรียนที่ต้องการใบรับรองสภาพการเป็นนักเรียน หรือใบรับรองผลการเรียน จากสถานศึกษาให้ สถานศึกษาออกใบรับรองสภาพการเป็นนักเรียน หรือใบรับรองผลการเรียน แล้วแต่กรณี ใบรับรองนี้มีอายุ ๖๐ วัน โดยให้สถานศึกษาก าหนดวันหมดอายุไว้ด้วย หมวด ๕ บทเฉพาะกาล ------------------- ข้อ ๗๕ สถานศึกษาใดที่มีนักเรียนอยู่ระหว่างศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖ ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดการศึกษาและ การประเมินผลการเรียนตาม หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖ ที่ใช้บังคับอยู่เดิม จนกว่านักเรียนจะส าเร็จการศึกษา ข้อ ๗๖ ในระหว่างที่ยังมิได้ก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ แนวปฏิบัติ หรือข้อบังคับกรณีใด เพื่อปฏิบัติตามระเบียบ นี้ ให้น าหลักเกณฑ์ วิธีการ แนวปฏิบัติ หรือข้อบังคับที่ก าหนดไว้แล้วซึ่งใช้อยู่เดิม มาใช้บังคับไปพลางก่อน เท่าที่ ไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ ทั้งนี้ จนกว่าจะมีการก าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ แนวปฏิบัติหรือข้อบังคับตาม ระเบียบนี้ ในกรณีที่ไม่อาจน าหลักเกณฑ์ วิธีการ หรือแนวปฏิบัติที่ก าหนดไว้แล้วมาใช้บังคับ การจะด าเนินการประการใด ให้เป็นอ านาจของผู้รักษาการตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ 24 กันยายน พ.ศ. ๒๕๖2 ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 โครงสร้าง หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชา อุตสาหกรรม สาขาวิชา ข่างยนต์ สาขางานยานยนต์ ผู้ส าเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชา อุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างยนต์ ต่างๆ จะต้องศึกษารายวิชาหมวดวิชาต่างๆ รวมไม่น้อยกว่า 103 หน่วยกิต และเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ดังโครงสร้าง ดังต่อไปนี้ 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต 22 หน่วยกิต 1.1 กลุ่มวิชาภาษาไทย (ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต) 3 หน่วยกิต 1.2 กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ (ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต) 6 หน่วยกิต 1.3 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ (ไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกิต) 4 หน่วยกิต 1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ (ไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกิต) 4 หน่วยกิต 1.5 กลุ่มวิชาสังคมศึกษา (ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต) 3 หน่วยกิต 1.6 กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพละศึกษา (ไม่น้อยกว่า 2 หน่วยกิต) 2 หน่วยกิต 2. หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 71 หน่วยกิต 71 หน่วยกิต 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน (ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต) 21 หน่วยกิต 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ (ไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต) 24 หน่วยกิต 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก (ไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต) 18 หน่วยกิต 2.4 ฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ (ไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกิต) 4 หน่วยกิต 2.5 โครงการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ (ไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกิต) 4 หน่วยกิต 3. หมวดวิชาเลือกเสรี (ไม่น้อยกว่า 10 หน่วยกิต) 10 หน่วยกิต 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ รวม ไม่น้อยกว่า 103 หน่วยกิต 103 หน่วยกิต ตารางสรุปจ านวนหน่วยกิต จ านวนชั่วโมง แต่ละภาคเรียน หมวดวิชา ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 3 ภาคเรียนที่ 4 ภาคเรียนที่5 ภาคเรียนที่ 6 รวม 1 หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. 1.1 กลุ่มวิชาภาษาไทย 2 2 1 2 3 4 1.2 กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 6 12 1.3 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ 2 3 2 3 4 6 1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ 2 2 2 2 4 4 1.5 กลุ่มวิชาสังคมศึกษา 1 1 2 2 3 3 1.6 กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพละศึกษา 1 2 1 1 2 3 2. หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน 2 6 6 12 4 6 6 7 3 4 21 35 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 4 6 6 14 8 18 4 8 2 2 24 48 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 6 14 2 4 5 11 2 4 3 7 15 40 2.4 ฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ 4 20 4 20 2.5 โครงการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ 4 12 4 12 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 4 7 6 12 10 19 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 2 2 2 2 2 0 12 รวม 18 35 16 35 17 35 20 35 11 35 21 43 103 218
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 โครงสร้าง หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชา อุตสาหกรรม สาขาวิชา ไฟฟ้าก าลัง. สาขางาน ช่างไฟฟ้าก าลัง ผู้ส าเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชา อุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างไฟฟ้าก าลัง ต่างๆ จะต้องศึกษารายวิชาหมวดวิชาต่างๆ รวมไม่น้อยกว่า 103 หน่วยกิต และเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ดังโครงสร้าง ดังต่อไปนี้ 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต 22 หน่วยกิต 1.1 กลุ่มวิชาภาษาไทย (ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต) 3 หน่วยกิต 1.2 กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ (ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต) 6 หน่วยกิต 1.3 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ (ไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกิต) 4 หน่วยกิต 1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ (ไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกิต) 4 หน่วยกิต 1.5 กลุ่มวิชาสังคมศึกษา (ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต) 3 หน่วยกิต 1.6 กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพละศึกษา (ไม่น้อยกว่า 2 หน่วยกิต) 2 หน่วยกิต 2. หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 71 หน่วยกิต 71 หน่วยกิต 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน (ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต) 21 หน่วยกิต 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ (ไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต) 24 หน่วยกิต 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก (ไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต) 18 หน่วยกิต 2.4 ฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ (ไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกิต) 4 หน่วยกิต 2.5 โครงการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ (ไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกิต) 4 หน่วยกิต 3. หมวดวิชาเลือกเสรี (ไม่น้อยกว่า 10 หน่วยกิต) 10 หน่วยกิต 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ รวม ไม่น้อยกว่า 103 หน่วยกิต 103 หน่วยกิต ตารางสรุปจ านวนหน่วยกิต จ านวนชั่วโมง แต่ละภาคเรียน หมวดวิชา ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 3 ภาคเรียนที่ 4 ภาคเรียนที่ 5 ภาคเรียนที่ 6 รวม 1 หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. 1.1 กลุ่มวิชาภาษาไทย 2 2 1 2 3 4 1.2 กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 6 12 1.3 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ 2 3 2 3 4 6 1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ 2 2 2 2 4 4 1.5 กลุ่มวิชาสังคมศึกษา 2 2 1 1 3 3 1.6 กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพละศึกษา 2 3 2 3 2. หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ 0 0 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน 6 10 4 8 2 3 2 4 2 3 5 7 21 35 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 7 15 6 12 5 11 6 14 24 52 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 2 2 3 7 2 4 4 8 2 4 5 11 18 36 2.4 ฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ 4 20 4 20 2.5 โครงการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ 2 6 2 6 4 12 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 2 2 4 8 2 4 2 3 10 17 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 2 2 2 2 2 0 12 รวม 20 35 17 35 18 35 17 35 13 41 18 35 103 216
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4 โครงสร้าง หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชา อุตสาหกรรม สาขาวิชา ช่างอิเล็กทรอนิกส์ สาขางาน อิเล็กทรอนิกส์ ผู้ส าเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชา อุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ ต่างๆ จะต้องศึกษารายวิชาหมวดวิชาต่างๆ รวมไม่น้อยกว่า 103 หน่วยกิต และเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ดังโครงสร้าง ดังต่อไปนี้ 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ไม่น้อยกว่า 22 หน่วยกิต 22 หน่วยกิต 1.1 กลุ่มวิชาภาษาไทย (ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต) 3 หน่วยกิต 1.2 กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ (ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต) 6 หน่วยกิต 1.3 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ (ไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกิต) 4 หน่วยกิต 1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ (ไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกิต) 4 หน่วยกิต 1.5 กลุ่มวิชาสังคมศึกษา (ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต) 3 หน่วยกิต 1.6 กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพละศึกษา (ไม่น้อยกว่า 2 หน่วยกิต) 2 หน่วยกิต 2. หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 71 หน่วยกิต 72 หน่วยกิต 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน (ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต) 21 หน่วยกิต 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ (ไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต) 24 หน่วยกิต 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก (ไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต) 19 หน่วยกิต 2.4 ฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ (ไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกิต) 4 หน่วยกิต 2.5 โครงการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ (ไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกิต) 4 หน่วยกิต 3. หมวดวิชาเลือกเสรี (ไม่น้อยกว่า 10 หน่วยกิต) 10 หน่วยกิต 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ รวม ไม่น้อยกว่า 103 หน่วยกิต 104 หน่วยกิต ตารางสรุปจ านวนหน่วยกิต จ านวนชั่วโมง แต่ละภาคเรียน หมวดวิชา ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 3 ภาคเรียนที่ 4 ภาคเรียนที่ 5 ภาคเรียนที่ 6 รวม 1 หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. 1.1 กลุ่มวิชาภาษาไทย 2 2 1 2 3 4 1.2 กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 6 12 1.3 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ 2 3 2 3 4 6 1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ 2 2 2 2 4 4 1.5 กลุ่มวิชาสังคมศึกษา 2 2 1 1 3 3 1.6 กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพละศึกษา 1 1 1 2 2 3 2. หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ 0 0 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน 8 13 5 9 2 4 2 2 4 7 21 34 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 4 8 5 9 11 21 4 8 24 46 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 2 2 9 17 6 12 2 4 19 35 2.4 ฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ 4 20 4 20 2.5 โครงการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ 4 12 4 12 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 2 4 2 4 2 4 4 8 10 20 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 2 2 2 2 2 0 12 รวม 21 34 20 35 18 35 17 35 13 38 15 35 104 212
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4
คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖4