The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียน2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ต้อม ปราจีน, 2023-02-14 07:13:48

คู่มือนักเรียน2563

คู่มือนักเรียน2563

99 คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา 256๓


100 คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา 256๓


101 คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา 256๓


102 คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา 256๓ โครงสร้าง หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ สาขาวิชา เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล. สาขางาน ดิจิทัลมิเดีย (จบ.ม.6) ผู้ส าเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ สาขาวิชาดิจิทัลมีเดีย ต่างๆ จะต้องศึกษารายวิชาหมวดวิชาต่างๆ รวมไม่น้อยกว่า 96 หน่วยกิต และเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ดังโครงสร้าง ดังต่อไปนี้ 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต 21 หน่วยกิต 1.1 กลุ่มวิชาภาษาไทย (ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต) 3 หน่วยกิต 1.2 กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ (ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต) 6 หน่วยกิต 1.3 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ (ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต) 3 หน่วยกิต 1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ (ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต) 3 หน่วยกิต 1.5 กลุ่มวิชาสังคมศึกษา (ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต) 3 หน่วยกิต 1.6 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ (ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต) 3 หน่วยกิต 2. หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 56 หน่วยกิต 56 หน่วยกิต 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน (ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต) 15 หน่วยกิต 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ (ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต) 21 หน่วยกิต 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก (ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต) 12 หน่วยกิต 2.4 ฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ (ไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกิต) 4 หน่วยกิต 2.5 โครงการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ (ไม่น้อยกว่า 4 หน่วยกิต) 4 หน่วยกิต 3. หมวดวิชาเลือกเสรี (ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต) 6 หน่วยกิต 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ 5. รายวิชาปรับพื้นฐาน ไม่น้อยกว่า 16 หน่วยกิต 16 หน่วยกิต รวม ไม่น้อยกว่า 96 หน่วยกิต 96 หน่วยกิต ตารางสรุปจ านวนหน่วยกิต จ านวนชั่วโมง แต่ละภาคเรียน หมวดวิชา ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 3 ภาคเรียนที่ 4 ภาคเรียนที่ 5 ภาคเรียนที่ 6 รวม 1 หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. 1.1 กลุ่มวิชาภาษาไทย 3 3 3 3 1.2 กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ 3 4 2 3 1 2 6 9 1.3 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ 3 4 3 4 1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ 3 3 3 3 1.5 กลุ่มวิชาสังคมศึกษา 3 3 3 3 1.6 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 1 2 2 2 3 4 2. หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ 0 0 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน 3 3 6 8 3 4 3 3 15 18 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ 12 16 9 12 21 28 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลือก 9 12 3 4 12 16 2.4 ฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ 4 20 4 20 2.5 โครงการพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ 4 12 4 12 3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 8 6 8 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 2 2 2 0 8 5. ปรับพื้นฐานวิชาชีพ 3 4 10 14 13 18 รวม 21 28 21 30 22 46 22 36 10 14 0 0 96 154


103 คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา 256๓


104 คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา 256๓


105 คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา 256๓


106 คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา 256๓ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) --------------------------------------------------------------------- 1. การพิจารณาคัดเลือกผู้กู้ยืมเงิน 1.1 คุณสมบัติทั่วไปและลักษณะต้องห้ามของนักเรียนหรือนักศึกษาที่จะขอกู้ยืมเงินเพื่อการศึกษาจะต้องมี คุณสมบัติทั่วไปและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังนี้ ก. คุณสมบัติทั่วไป ดังนี้ (1) มีสัญชาติไทย (2) ศึกษาหรือได้รับการตอบรับให้เข้าศึกษาอยู่ในสถานศึกษาที่ร่วมด าเนินงานกับกองทุน (3) เป็นผู้ขอกู้ยืมเงินเพื่อการศึกษาในการเข้าศึกษาที่สถานศึกษาเพียงแห่งเดียวในคราวภาค การศึกษาเดียวกัน (4) มีผลการเรียนดีหรือผ่านเกณฑ์การวัดและประเมินผลของสถานศึกษา (5) มีความประพฤติดี ไม่ฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับของสถานศึกษาขั้นร้ายแรงหรือไม่เป็นผู้ที่มี ความประพฤติเสื่อมเสีย เช่น หมกมุ่นในการพนัน เสพยาเสพติดให้โทษ ดื่มสุราเป็นอาจิณหรือเที่ยวเตร่ในสถาน บันเทิงเริงรมย์เป็นอาจิณ เป็นต้น ข. ลักษณะต้องห้าม ดังนี้ (1) เป็นผู้ส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาใดสาขาหนึ่งมาก่อน เว้นแต่จะได้ก าหนด เป็นอย่างอื่นในคุณสมบัติเฉพาะส าหรับการให้เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาลักษณะหนึ่งลักษณะใด (2) เป็นผู้ปฏิบัติงานและรับเงินเดือนหรือค่าจ้างประจ าในหน่วยงานของรัฐหรือเอกชนใน ลักษณะเต็มเวลา เว้นแต่จะได้ก าหนดเป็นอย่างอื่นในคุณสมบัติเฉพาะส าหรับการให้เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาลักษณะ หนึ่งลักษณะใด (3) เป็นบุคคลล้มละลาย (4) เป็นหรือเคยเป็นผู้ได้รับโทษจ าคุกโดยค าพิพากษาถึงที่สุดให้จ าคุก เว้นแต่เป็นโทษส าหรับ ความผิดที่ได้กระท าโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (5) เป็นหรือเคยเป็นผู้ที่ผิดนัดช าระหนี้กับกองทุน เว้นแต่ได้ช าระหนี้ดังกล่าวครบถ้วนแล้ว นอกจากที่ก าหนดในข้อ ก. และ ข. นักเรียนหรือนักศึกษาผู้จะขอกู้ยืมเงินเพื่อการศึกษาในลักษณะ ใดลักษณะหนึ่ง ต้องมีคุณสมบัติเฉพาะและไม่มีลักษณะต้องห้ามเฉพาะอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศก าหนด ส าหรับการให้กู้ยืมเงินเพื่อการศึกษาในลักษณะนั้นๆ ด้วย 1.2 คุณสมบัติเฉพาะของนักเรียนหรือนักศึกษาผู้กู้ยืมเงินกองทุน ในลักษณะที่ 1 ให้การสนับสนุน และ ส่งเสริมการศึกษาแก่นักเรียนหรือนักศึกษาที่แคลนทุนทรัพย์ นักเรียนหรือนักศึกษาผู้จะขอกู้ยืมเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา ในลักษณะที่ 1 นอกจากจะต้องมี คุณสมบัติทั่วไปและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ของระเบียบคณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อ การศึกษาว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการให้เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาและการช าระเงินคืนกองทุน พ.ศ. 2561 แล้ว จะต้องมีคุณสมบัติเฉพาะดังต่อไปนี้ (1) เป็นผู้ที่มีรายได้ต่อครอบครัว ไม่เกินสามแสนหกหมื่นบาทต่อปี ทั้งนี้ รายได้ต่อครอบครัวให้ พิจารณาจากหลักเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ (ก) รายได้รวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผู้ขอกู้ยืมเงิน รวมกับรายได้ของบิดามารดา ในกรณี ที่บิดามารดาเป็นผู้ใช้อ านาจปกครอง (ข) รายได้รวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผู้ขอกู้ยืมเงิน รวมกับรายได้ของผู้ปกครอง ในกรณี ที่ผู้ใช้อ านาจปกครอง มิใช่บิดามารดา


107 คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา 256๓ (ค) รายได้รวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผู้ขอกู้ยืมเงิน รวมกับรายได้ของคู่สมรส ในกรณีผู้ ขอกู้ยืมเงินได้ท าการสมรสแล้ว ให้นักเรียนหรือนักศึกษาผู้ขอกู้ยืมเงินแนบหลักฐานใบสรุปยอดเงินเดือนที่ได้รับทั้งเดือน (สลิปเงินเดือน) หรือส าเนาบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ เว้นแต่ครอบครัวที่ไม่มีรายได้ประจ าหรือไม่มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ให้จัดหา เจ้าหน้าที่ของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับบ าเหน็จบ านาญ สมาชิกสภาเขต สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร หรือหัวหน้าสถานศึกษาที่นักเรียนหรือนักศึกษาผู้ขอกู้ยืมเงินศึกษาอยู่ เป็นผู้รับรองรายได้เพื่อให้ กองทุนใช้ประกอบการพิจารณารายได้ต่อครอบครัวดังกล่าวด้วย (2) เป็นผู้ที่มีอายุในขณะที่ขอกู้ยืมเงินกองทุน โดยเมื่อนับรวมกับระยะเวลาปลอดหนี้สองปี และ ระยะเวลาผ่อนช าระอีกสิบห้าปี รวมกันแล้วต้องไม่เกินหกสิบปี (3) เป็นผู้ที่เข้าศึกษาในระดับการศึกษามัธยมปลาย (สายสามัญ/สายอาชีพ) ระดับอาชีวศึกษา (ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง อนุปริญญา/ปริญญาตรี) หรือระดับอุดมศึกษา (อนุปริญญา/ปริญญาตรี) (4) เป็นผู้ที่ท าประโยชน์ต่อสังคมหรือสาธารณะในระหว่างปีการศึกษาก่อนหน้าปีการศึกษาที่จะ ขอกู้ยืมเงิน โดยมีหลักฐานการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสังคมหรือสาธารณะที่น่าเชื่อถือตาม จ านวนชั่วโมงที่ก าหนดส าหรับผู้ขอกู้ยืมเงินแต่ละกลุ่ม ดังต่อไปนี้ (ก) กรณีเป็นผู้กู้ยืมเงินรายใหม่ หรือเป็นผู้กู้ยืมเงินรายเก่าเปลี่ยนระดับการศึกษาที่ศึกษาใน ระดับอนุปริญญาหรือปริญญาตรี ไม่ก าหนดจ านวนชั่วโมง (ข) กรณีเป็นผู้กู้ยืมเงินรายเก่าเลื่อนชั้นปีทุกระดับการศึกษา ไม่น้อยกว่าสามสิบหกชั่วโมง การท าประโยชน์ต่อสังคมหรือสาธารณะตามวรรคหนึ่ง หมายถึง การบ าเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชน สังคมหรือประเทศชาติในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อช่วยขัดเกลาจิตใจให้มีความเมตตากรุณา มีความเสียสละและมี จิตสาธารณะ เพื่อช่วยสร้างสรรค์สังคมหรือสาธารณะให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ซึ่งจะต้องไม่เป็นส่วนหนึ่งของ การเรียนการสอนและไม่ได้รับค่าตอบแทนในลักษณะการจ้าง 1.3 คุณสมบัติเฉพ าะขอ งนักเรียนห รือนักศึกษ าผู้กู้ยืมเงินกอ งทุน ในลักษณ ะที่ 2 ให้การ สนับสนุน และส่งเสริมการศึกษาแก่นักเรียนหรือนักศึกษาที่ศึกษาในสาขาวิชา ที่เป็นความต้องการหลัก ซึ่งมี ความชัดเจน ของการผลิตก าลังคนและมีความจ าเป็นต่อการพัฒนาประเทศ นักเรียนหรือนักศึกษาผู้จะขอกู้ยืมเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาในลักษณะที่ 2 นอกจากจะต้องมี คุณสมบัติทั่วไปและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อ 7 วรรคหนึ่งของระเบียบคณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อ การศึกษาว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการให้เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาและการช าระเงินคืนกองทุน พ.ศ. 2561 แล้วจะต้องมีคุณสมบัติเฉพาะดังต่อไปนี้ (1) เป็นผู้ที่ศึกษาในสาขาวิชาตามประกาศคณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ว่า ด้วย สาขาวิชาที่เป็นความต้องการหลักซึ่งมีความชัดเจนของการผลิตก าลังคนและมีความจ าเป็นต่อการพัฒนา ประเทศ (2) เป็นผู้ที่มีอายุไม่เกิน 30 ปีบริบูรณ์ ในปีการศึกษาที่ยื่นค าขอกู้ยืมเงินกองทุนครั้งแรก (3) เป็นผู้ที่เข้าศึกษาในระดับการศึกษาและหลักสูตร/ประเภทวิชาและสาขาวิชา ดังนี้ (ก) ระดับการศึกษาอนุปริญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) หรือเทียบเท่าระดับ ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า (ข) หลักสูตร/ประเภทวิชาและสาขาวิชาเป็นไปตามประกาศที่คณะกรรมการก าหนด (4) เป็นผู้ที่ท าประโยชน์ต่อสังคมหรือสาธารณะในระหว่างปีการศึกษาก่อนหน้าปีการศึกษาที่จะ ขอกู้ยืมเงิน โดยมีหลักฐานการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อสังคมหรือสาธารณะที่น่าเชื่อถือตาม จ านวนชั่วโมงที่ก าหนดส าหรับผู้ขอกู้ยืมเงินแต่ละกลุ่ม ดังต่อไปนี้


108 คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา 256๓ (ก) กรณีเป็นผู้กู้ยืมเงินรายใหม่ หรือเป็นผู้กู้ยืมเงินรายเก่าเปลี่ยนระดับการศึกษาที่ศึกษาใน ระดับอนุปริญญาหรือปริญญาตรี ไม่ก าหนดจ านวนชั่วโมง (ข) กรณีเป็นผู้กู้ยืมเงินรายเก่าเลื่อนชั้นปีทุกระดับการศึกษา ไม่น้อยกว่าสามสิบหกชั่วโมง การท าประโยชน์ต่อสังคมหรือสาธารณะตามวรรคหนึ่ง หมายถึง การบ าเพ็ญตนให้เป็น ประโยชน์ต่อชุมชน สังคมหรือประเทศชาติในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อช่วยขัดเกลาจิตใจให้มีความเมตตากรุณา มี ความเสียสละและมีจิตสาธารณะเพื่อช่วยสร้างสรรค์สังคมหรือสาธารณะให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ซึ่งจะต้องไม่ เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนและไม่ได้รับค่าตอบแทนในลักษณะการจ้าง (5) นักเรียนหรือนักศึกษาซึ่งมีคุณสมบัติตามข้อ (1) – (4) หากประสงค์จะกู้ยืมเงินค่าครองชีพ จะต้องเป็น ผู้ที่มีรายได้ต่อครอบครัวไม่เกินสามแสนหกหมื่นบาทต่อปี ทั้งนี้ รายได้ต่อครอบครัว ให้พิจารณาจาก หลักเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้ (1) รายได้รวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผู้ขอกู้ยืมเงิน รวมกับรายได้ของบิดามารดา ในกรณี ที่บิดามารดาเป็นผู้ใช้อ านาจปกครอง (2) รายได้รวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผู้ขอกู้ยืมเงิน รวมกับรายได้ของผู้ปกครอง ในกรณี ที่ผู้ใช้อ านาจปกครองมิใช่บิดามารดา (3) รายได้รวมของนักเรียนหรือนักศึกษาผู้ขอกู้ยืมเงิน รวมกับรายได้ของคู่สมรส ในกรณีผู้ ขอกู้ยืมเงินได้ท าการสมรสแล้ว ให้นักเรียนหรือนักศึกษาผู้ขอกู้ยืมเงินแนบหลักฐานใบสรุปยอดเงินเดือนที่ได้รับทั้งเดือน (สลิปเงินเดือน) หรือส าเนาบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ เว้นแต่ครอบครัวที่ไม่มีรายได้ประจ าหรือไม่มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ให้จัดหา เจ้าหน้าที่ของรัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับบ าเหน็จบ านาญ สมาชิกสภาเขต สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร ผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร หรือหัวหน้าสถานศึกษาที่นักเรียนหรือนักศึกษาผู้ขอกู้ยืมเงินศึกษาอยู่ เป็นผู้รับรองรายได้ เพื่อให้ กองทุนใช้ประกอบการพิจารณารายได้ต่อครอบครัวดังกล่าวด้วย


109 คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา 256๓ ระเบียบวิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการพิจารณาโทษนักเรียน นักศึกษา พ.ศ. 256๓ ........................................................ อาศัยอ านาจตามความในข้อ 6 แห่งระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและ นักศึกษา พ.ศ.2565 และกฎกระทรวงศึกษาธิการ ก าหนดความประพฤติของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัย สารพัดช่างปราจีนบุรี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการวิทยาลัยฯ จึงออกระเบียบไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1. ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบวิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี” ว่าด้วยหลักเกณฑ์ในการ พิจารณาโทษนักเรียน นักศึกษา พ.ศ. 2565 ข้อ 2. ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3. ให้ยกเลิก ระเบียบวิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี ว่าด้วยการลงโทษนักเรียน นักศึกษาผู้ ประพฤติผิด พ.ศ. 2564 ข้อ 4. ในระเบียบนี้ “วิทยาลัย” หมายความว่า วิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี “ผู้อ านวยการ” หมายความว่า ผู้อ านวยการวิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี “รองผู้อ านวยการ” หมายความว่า รองผู้อ านวยการวิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี “หัวหน้างานปกครอง” หมายความว่า ครูที่ได้รับแต่งตั้งให้ท าหน้าที่หัวหน้างานปกครองตาม ระเบียบส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา พ.ศ. 2552 “ครูปกครองแผนก” หมายความว่า ครูที่ได้รับแต่งตั้งให้ท าหน้าที่หัวหน้างานปกครองตาม ระเบียบส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา พ.ศ. 2552 “นักเรียน” หมายความว่า ผู้ที่ศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในวิทยาลัย สารพัดช่างปราจีนบุรี “นักศึกษา” หมายความว่า ผู้ที่ศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ใน วิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี “ผู้ปกครอง” หมายความว่า บิดา มารดา หรือบิดา หรือมารดา ซึ่งเป็นผู้ใช้อ านาจปกครองหรือ ผู้ปกครองหรือผู้ปกครองตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ของนักเรียน และให้หมายความรวมถึงบุคคลที่ นักเรียนอยู่ด้วยเป็นประจ า “คณะกรรมการปกครอง” หมายความว่า คณะกรรมการที่วิทยาลัยแต่งตั้งให้ท าหน้าที่ก ากับ ดูแล ส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาให้มีระเบียบวินัย และปฏิบัติตนในการเป็นนักเรียนนักศึกษาของ วิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี “หัวหน้างานแนะแนว” หมายความว่า การจัดกิจกรรมและบริการที่ครอบคลุมด้านการศึกษา อาชีพ และสังคมเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถจัดการชีวิตของตนได้ตามความสนใจ ความ ถนัด และความสามารถ “หัวหน้างานครูที่ปรึกษา” หมายความว่า ผู้ที่ท าหน้าที่เป็นผู้ดูแลนักเรียน-นักศึกษาจ านวนหนึ่ง ในด้านการเรียน ด้านส่วนตัว ด้านสังคม ตลอดจนให้ความช่วยเหลือนักเรียน-นักศึกษาเมื่อพบปัญหา และอุปสรรค ที่อาจเป็นสาเหตุท าให้ไม่ประสบความส าเร็จด้านการศึกษา “กระท าความผิด” หมายความว่า การที่นักเรียนหรือนักศึกษาประพฤติฝ่าฝืน ระเบียบ ข้อบังคับของวิทยาลัย หรือระเบียบ ข้อบังคับของกระทรวงศึกษาธิการ หรือกฎกระทรวงศึกษาธิการ ก าหนดความ ประพฤติของนักเรียน นักศึกษา พ.ศ. 2548


110 คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา 256๓ ข้อ 4 ให้มีคณะกรรมการปกครอง ที่ผู้อ านวยการแต่งตั้ง ประกอบด้วย (1) รองผู้อ านวยการวิทยาลัยฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษา เป็นประธานกรรมการ (2) ครูปกครองแผนก เป็นกรรมการ (3) หัวหน้างานแนะแนว เป็นกรรมการ (4) หัวหน้างานปกครอง เป็นกรรมการและเลขานุการ (5) หัวหน้างานครูที่ปรึกษา เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ หมวด 1 อ านาจหน้าที่คณะกรรมการปกครอง ………………………………………… ข้อ 5 คณะกรรมการปกครอง มีอ านาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (1) ด าเนินการสืบสวน สอบสวน และรวบรวมพยานหลักฐานกรณีนักเรียน นักศึกษาถูกกล่าวหา ว่ากระท าความผิด (2) พิจารณาเสนอระดับการลงโทษนักเรียน นักศึกษา (3) เสนอแก้ไข ปรับปรุง ระเบียบหลักเกณฑ์ว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤติ เพื่อพิจารณา การลงโทษนักเรียน นักศึกษา ข้อ 6 การพิจารณาลงโทษนักเรียน นักศึกษาให้ด าเนินการดังนี้ (1) ให้คณะกรรมการปกครองด าเนินการสืบสวน สอบสวนพยานบุคคล พยานเอกสารที่ เกี่ยวข้องตามข้อกล่าวหา (2) ให้คณะกรรมการปกครองแจ้งนักเรียน นักศึกษาที่ถูกกล่าวหาว่ากระท าผิด มีโอกาสให้การ แก้ข้อกล่าวหา และน าสืบพยานหลักฐาน แก้ข้อกล่าวหาเป็นลายลักษณ์อักษรก่อนพิจารณา เสนอระดับการลงโทษนักเรียน นักศึกษา (3) พิจารณาข้อเท็จจริง พยานหลักฐาน สรุปความเห็นระดับการลงโทษต่อผู้อ านวยการ (4) การพิจารณาลงโทษนักเรียน นักศึกษาให้การรับสารภาพเป็นหนังสือว่าได้กระท าความผิด ตามที่ถูกกล่าวหา ข้อ 7 การลงโทษนักเรียน นักศึกษาที่กระท าความผิดมี 4 สถาน ตามระดับโทษดังนี้ (1) ว่ากล่าวตักเตือน (2) ท าทัณฑ์บน (3) ตัดคะแนนความประพฤติ (4) ท ากิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม หมวด 2 การลงโทษ ว่ากล่าวตักเตือน ………………………………………….. ข้อ 8 การลงโทษว่ากล่าวตักเตือน ใช้ในกรณีนักเรียน นักศึกษาที่กระท าความผิดไม่ร้ายแรง หมวด 3 การลงโทษ ท าทัณฑ์บน ………………………………………….. ข้อ 9 การลงโทษ ท าทัณฑ์บน ใช้ในกรณีนักเรียน นักศึกษาที่กระท าความผิด ดังนี้


111 คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา 256๓ (1) ประพฤติตนไม่เหมาะสมกับสภาพนักเรียน นักศึกษาตามกฎกระทรวงศึกษาธิการก าหนด ความประพฤติของนักเรียน นักศึกษา พ.ศ. 2548 (2) ท าให้เสื่อมเสียชื่อเสียงเกียรติยศของวิทยาลัยฯ (3) ฝ่าฝืนระเบียบของวิทยาลัย (4) ได้รับโทษว่ากล่าวตักเตือนมาแล้ว แต่ยังไม่เข็ดหลาบ หมวด 4 การลงโทษ การตัดคะแนนความประพฤติ ………………………………………….. ข้อ 10 ผู้มีอ านาจสั่งตัดคะแนนความประพฤติ ได้แก่ (1) ครูสั่งตัดคะแนนความประพฤติได้ ครั้งละไม่เกิน 5 คะแนน (2) รองผู้อ านวยการ หัวหน้างานปกครองและคณะกรรมการปกครอง สั่งตัดคะแนนความ ประพฤติได้ครั้งละไม่เกิน 10 คะแนน (3) ผู้อ านวยการ สั่งตัดคะแนนความประพฤติได้ครั้งละไม่เกิน 30 คะแนน ข้อ 11 หลักเกณฑ์ในการพิจารณาโทษนักเรียน นักศึกษากฎกระทรวงศึกษาธิการ ก าหนดความ ประพฤติของนักเรียน นักศึกษา พ.ศ. 2548 ให้ตัดคะแนนความประพฤติได้ดังนี้ (1) ความผิดที่ต้องลงโทษตัดคะแนนความประพฤติ 5 คะแนน ก) ทรงผมผิดระเบียบ หนวดเครายาว ข) เจาะหู ใส่เครื่องต่างหู สักลายผิวหนัง ค) เสื้อฝึกงานผิดไปจากระเบียบของสถานศึกษา ง) กางเกงผิดระเบียบ จ) ไม่มีเข็มขัดของวิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี ฉ) รองเท้า ถุงเท้าผิดระเบียบ ช) เหยียบส้นรองเท้า ซ) ไม่แสดงบัตรประจ าตัวนักเรียน นักศึกษา (2) ความผิดที่ต้องลงโทษตัดคะแนนความประพฤติ 10 คะแนน ก) ให้เพื่อนยืมเสื้อตราแผนก หรือใช้เสื้อผู้อื่นสวมใส่ ฃ) หนีเรียน ออกนอกวิทยาลัยโดยไม่ได้รับอนุญาต ค) มีอุปกรณ์เล่นการพนันไว้ในครอบครอง ง) ขาดวัฒนธรรมอันดีในการรักษาความสะอาด ความสวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อยของ วิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี จ) พาบุคคลภายนอกที่แต่งกายไม่สุภาพหรือมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมเข้ามาในบริเวณ วิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี ฉ) แสดงกิริยาวาจามารยาทไม่สุภาพต่อครูผู้สอน บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษาร่วมสถาบัน และบุคคลภายนอก ช) ขับขี่รถจักรยานยนต์และรถยนต์ ภายในวิทยาลัย หรือ ประพฤติผิดกฎจราจรของ วิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี ซ) แต่งเครื่องแบบชุดนักเรียน นักศึกษาของวิทยาลัยเข้าร้านเกมส์ หรือประพฤติผิดกฎ จราจรของวิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี ฌ) ขัดค าสั่งที่ชอบของครูผู้สอน ญ) ท าผิดระเบียบการใช้โรงอาหาร การใช้เครื่องจักร โรงฝึกงาน ห้องสมุด ห้องโสตทัศนศึกษา และห้องสุขา ฎ) จอดรถในที่ห้ามจอด ภายนอกโดยรอบวิทยาลัยฯ ฐ) จับกลุ่มมั่วสุมในบริเวณโรงจอดรถ หรือนอกวิทยาลัยฯ


112 คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา 256๓ /(3) ความผิดที่ต้องลงโทษ... -5- (3) ความผิดที่ต้องลงโทษตัดคะแนนความประพฤติ 15 คะแนน ก) เข้าไปในสถานที่ที่ไม่เหมาะสมกับสภาพนักเรียน นักศึกษาหรือ ในวิทยาลัยสั่งห้าม ข) เจตนาอ าพราง ปกปิด แจ้งเท็จ ช่วยเหลือบุคคลผู้กระท าผิด ค) ร่วมอยู่ในกลุ่มทะเลาะวิวาท ทั้งในและนอกวิทยาลัยฯ ง) ร่วมอยู่ในกลุ่มเล่นการพนันทั้งภายในและภายนอกวิทยาลัย จ) ประพฤติขาดมารยาทอันดีงาม ไม่สมเกียรติและศักดิ์ศรีของวิทยาลัยฯ ฉ) ท าให้เกิดรอยเปรอะเปื้อน หรือขีดเขียนแผ่นพื้นทรัพย์สินของทางราชการ ช) แอบอ้างปิดบังตนเอง โยนความผิดให้ผู้อื่นหรือองค์กรอื่นได้รับความเสียหาย ซ) ความผิดอื่นๆ ตามที่วิทยาลัยเห็นสมควร ฌ) ความผิดเกี่ยวกับ พรบ.คอมพิวเตอร์ (4) ความผิดที่ต้องลงโทษตัดคะแนนความประพฤติ 20 คะแนน ก) ลบหลู่ครูผู้สอน ข) ฝ่าฝืน ขัดแย้ง ไม่ปฏิบัติตามค าสั่งของวิทยาลัย หรือประพฤติตนไม่เหมาะสมกับ สภาพของการเป็นนักเรียน นักศึกษา ค) ประพฤติตนในท านองชู้สาว อันจะท าให้เป็นที่เสียชื่อเสียงแก่วิทยาลัยสารพัดช่าง ปราจีนบุรี ง) ยินยอมให้บุคคลอื่นใช้เครื่องแบบหรือชุดฝึกงานของตนเองไปในทางไม่ชอบ จ) แอบอ้างเอาชื่อวิทยาลัยไปด าเนินการโดยไม่ได้รับอนุญาตจนเกิดความเสียหาย (5) ความผิดที่ต้องลงโทษตัดคะแนนความประพฤติ 25 คะแนน ก) สูบบุหรี่ในขณะสวมใส่ชุดนักเรียน นักศึกษา ทั้งภายในบริเวณวิทยาลัยและภายนอก วิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี ข) เสพสุราหรือยาเสพติดของมึนเมา ทั้งภายในบริเวณวิทยาลัยและภายนอกวิทยาลัย ค) เล่นการพนัน ทั้งภายในบริเวณวิทยาลัยและภายนอกวิทยาลัย ง) รวมกลุ่มหยุดเรียนหรือก่อความไม่สงบ ให้เกิดขึ้นทั้งภายในบริเวณวิทยาลัยและ ภายนอกวิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี จ) ก่อเหตุทะเลาะวิวาทโดยไม่ใช้อาวุธ เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ (6) ความผิดที่ต้องลงโทษตัดคะแนนความประพฤติ 30 คะแนน ก) เสพสุราหรือของมึนเมา ทั้งภายในบริเวณวิทยาลัยและภายนอกวิทยาลัย จนอยู่ใน สภาพที่ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้ ท าให้เสื่อมเสียเกียรติและศักดิ์ศรีของวิทยาลัย หรือก่อความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น ข) บังคับ ขู่เข็ญ ยุยง ส่งเสริม หรือชักชวนเพื่อนนักเรียน นักศึกษาก่อความไม่สงบ ค) บังคับ ขู่เข็ญ กล่าวค าอาฆาต ให้เพื่อนนักเรียน นักศึกษากระท าการใดๆ โดยเพื่อน นักเรียน นักศึกษาไม่ได้สมัครใจ /ง) ท าลายทรัพย์สิน… -6- ง) ท าลายทรัพย์สินของวิทยาลัยโดยเจตนาท าให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง จ) ก่อความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น หรือการกระท าการก่อให้เกิดความแตกสามัคคี ฉ) ก่อเหตุทะเลาะวิวาทโดยอาวุธ กับเพื่อนนักเรียน นักศึกษา หรือบุคคลอื่นทั้งภายใน บริเวณวิทยาลัยและภายนอกวิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี ช) ท าร้ายบุคคลอื่น หรือกระท าตนเป็นอันธพาล ขาดคุณธรรมและมนุษยธรรม ซ) ใช้อาวุธท าร้ายผู้อื่น จนเป็นเหตุให้ได้รับบาดเจ็บรุนแรง ฌ) ตรวจพบสารเสพติดในร่างกาย และไม้เข้าขบวนการควบคุมดูแลรักษา ญ) มีสารเสพติด หรือของต้องห้ามที่ผิดกฎหมายทุกชนิดไว้ในครอบครอบเพื่อการ จ าหน่าย ฎ) ขโมยทรัพย์สินของวิทยาลัยหรือผู้อื่น และปรากฎหลักฐานชัดเจน


113 คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา 256๓ ฏ) แอบอ้าง จ้างวาน เจตนาปลอมแปลงเอกสารหรือจ้างวานบุคคลอื่นให้กระท าการใดที่ ถือเป็นเจตนาไม่บริสุทธิ์ ฐ) ให้ข้อมูลที่เป็นเท็จในการขอรับทุนการศึกษา หรือขอรับการสนับสนุนของทาง ราชการ เอกชน หรือหน่วยงานที่วิทยาลัยเกี่ยวข้อง ฒ) การกระท าใดๆ ที่เป็นการขัดแย้งต่อการปกครองระบบประชาธิปไตย ณ) ผลิต หรือร่วมอยู่ในกลุ่มผลิตอาวุธหรือวัตถุระเบิดขึ้นในวิทยาลัย ด) เกี่ยวข้องกับการค้าประเวณี หรือเป็นผู้ติดต่อเพื่อเป็นการชักจูง เชิญชวน การตัดคะแนนความประพฤติให้รวมตลอดปีการศึกษา เมื่อเริ่มต้นปีการศึกษาใหม่ให้ยกเลิก คะแนนความประพฤติที่ถูกตัดไว้เดิม เว้นแต่กรณีถูกทัณฑ์บนมาแล้ว หมวด 5 การลงโทษ ท ากิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ............................................................... ข้อ 12 นักเรียน นักศึกษาที่กระท าความผิดดังต่อไปนี้ อาจถูกลงโทษท ากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยน พฤติกรรม (1) ขโมยทรัพย์สินของวิทยาลัยฯ หรือของบุคคลอื่นโดยปรากฏหลักฐานชัดเจน (2) ความอื่นใดซึ่งคณะกรรมการปกครอง เห็นว่าเป็นความผิดสถานหนัก ไม่ว่าจะถูกลงโทษ มาก่อนหรือไม่ (3) ยุยงหรือข่มขู่เพื่อนนักเรียน นักศึกษาให้เกิดความกระด้างกระเดื่องต่อวิทยาลัย หรือชุมนุม ประท้วง เรียกร้องสิทธิ์ต่างๆ โดยมิชอบ (4) เป็นผู้น าในการซ่องสุม ก่อกวนความสงบเรียบร้อย ยกพวกก่อการทะเลาะวิวาท (5) เจตนาท าร้ายผู้อื่น หรือหมู่คณะด้วยอาวุธ (6) ประพฤติผิดศีลธรรมอย่างร้ายแรง และท าให้เสื่อมเสียชื่อเสียงของวิทยาลัยฯเสียหาย (7) มีสารเสพติดไว้ในครอบครอง เพื่อวัตถุประสงค์การจ าหน่าย จ่าย แจก เช่น ฝิ่น กัญชา ยาบ้า เฮโรอีน หรือสารเสพติดอื่น (8) ฝ่าฝืนระเบียบวิทยาลัยฯ และท าให้ชื่อเสียงวิทยาลัยเสียหายอย่างร้ายแรง (9) ดูหมิ่น ก้าวร้าว ครูผู้สอน หรือบุคคลอื่น (10) ผลิต จ าหน่าย จ่าย แจก สื่อลามกอนาจาร (11) ถูกตัดคะแนนความประพฤติเกินกว่า 30 คะแนนใน 1 ภาคเรียน (12) ถูกตัดคะแนนความประพฤติเกินกว่า 30 คะแนนในจ านวน 2 ภาคเรียน (13) เคยถูกลงโทษทัณฑ์บนมาแล้ว (14) ท าลายทรัพย์สินของวิทยาลัยหรือของบุคคลอื่นโดยเจตนา หมวด 6 หลักเกณฑ์ในการพิจารณาลงโทษ ................................................... ข้อ 13 การลงโทษนักเรียน นักศึกษา ทุกระดับโทษ ให้แจ้งนักเรียน นักศึกษาที่ถูกลงโทษทราบ เป็นหนังสือทุกครั้ง และให้แจ้งสิทธิ์ในการอุทธรณ์ค าสั่งลงโทษให้ผู้ถูกลงโทษทราบ ดังนี้


114 คู่มือนักเรียน นักศึกษา และผู้ปกครอง ประจ าปีการศึกษา 256๓ (1) ครู หัวหน้างานปกครอง รองผู้อ านวยการ สั่งลงโทษให้อุทธรณ์ต่อผู้อ านวยการ ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับค าสั่งลงโทษ (2) ผู้อ านวยการ สั่งลงโทษให้อุทธรณ์ต่อเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งค าสั่งลงโทษ ข้อ 14 การสั่งลงโทษนักเรียน นักศึกษา ทุกระดับโทษให้บันทึกในแฟ้มประวัติประจ าตัวนักเรียน นักศึกษาและให้ด าเนินการดังนี้ (1) การทัณฑ์บนให้ท าเป็นหนังสือเชิญบิดา มารดา หรือผู้ปกครองมาบันทึกรับทราบความผิด รับรองการท าทัณฑ์บน เกณฑ์การท าโทษทัณฑ์บนถือเกณฑ์ ดังนี้ ก) กรณีความผิดของนักเรียน นักศึกษาที่มีผลความผิดทางอาญาของคู่กรณีใดๆ ผู้ปกครองและนักเรียน นักศึกษา จะต้องไปให้การหรือเป็นพยานต่อเจ้าพนักงาน สอบสวนด้วย ข) กรณีโทษ ทะเลาะวิวาท สูบบุหรี่ แต่งเครื่องแบบชุดนักเรียน นักศึกษาเข้าร้านเกมส์ หรือสั่งห้าม นักเรียน นักศึกษาจะต้องบ าเพ็ญประโยชน์และอยู่ในความดูแลของหัวหน้างานปกครองและ คณะกรรมการปกครองแผนก จ านวน 10 ชั่วโมง (2) การตัดคะแนนความประพฤติตั้งแต่ 20 คะแนนขึ้นไปให้เชิญ บิดา มารดาหรือผู้ปกครองมา รับทราบด้วย (3) การท ากิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียน นักศึกษาให้เป็นไปตามแนวทางที่ กระทรวงศึกษาธิการก าหนด ข้อ 15 เกณฑ์การพิจารณาลงโทษ เพื่อท ากิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ถือตามระดับคะแนน ดังนี้ (1) ถูกตัดคะแนนความประพฤติ 5 คะแนน ให้ท ากิจกรรม 10 ชั่วโมง (2) ถูกตัดคะแนนความประพฤติ 10 คะแนน ให้ท ากิจกรรม 30 ชั่วโมง (3) ถูกตัดคะแนนความประพฤติ 15 คะแนน ให้ท ากิจกรรม 60 ชั่วโมง (4) ถูกตัดคะแนนความประพฤติ 20 คะแนน ให้ท ากิจกรรม 90 ชั่วโมง (5) ถูกตัดคะแนนความประพฤติ 25 คะแนน ให้ท ากิจกรรม 120 ชั่วโมง (6) ถูกตัดคะแนนความประพฤติ 30 คะแนน ให้ท ากิจกรรม 150 ชั่วโมง (7) ถูกตัดคะแนนความประพฤติเกิน 30 คะแนน ใน 1 ภาคเรียน ให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 15 วัน หรือ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการเปลี่ยนสถานศึกษา ข้อ 16 ให้ผู้อ านวยการ เป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ ประกาศใช้ ณ วันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. 256๓ นางอุบล สารากิจ ผู้อ านวยการวิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี


วิทยาลัยสารพัดช่างปราจีนบุรี 306/1 ถนนราษฎรด าริ ต าบลหน้าเมือง อ าเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี โทร. 0-3721-2220 เว็บไซต์ : www.ppcollege.ac.th


Click to View FlipBook Version