The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ชุมพล พลเสนา, 2022-05-06 12:01:51

วิเคราะห์บริบทของสถานศึกษา_ชุมพล

นายชุมพล พลเสนา 17/4

การวิเคราะหบริบทของสถานศึกษา
กจิ กรรมการฝกประสบการณและการศึกษาดูงาน

วทิ ยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี

ระหว&างวนั ที่ 25 เมษายน 2565 ถึง 29 เมษายน 2565

วิทยาลยั เทคนคิ นครอบุ ลราชธานี

ระหวา& งวันท่ี 2 พฤษภาคม 2565 ถึง 6 พฤษภาคม 2565

นายชมุ พล พลเสนา

กลุม& ที่ 17 เลขท่ี 17/4

หลักสูตรการพฒั นาข6าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ก&อนแตง& ตั้งใหด6 าํ รงตาํ แหนง& รองผ6ูอํานวยการสถานศกึ ษา
สงั กดั สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา







4

3.3 ระบบบริหารจดั การสูคณุ ภาพของวทิ ยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี เกยี่ วกับการปรับปรุงเทคโนโลยสี ารสนเทศภายใน
สถานศึกษาใหค รอบคลุมทุกแผนกวิชา

Input (I) Process (P) Output (O) Outcome (O)
P กาํ หนดคณุ สมบตั ิของผูใ หบริการ เตรียมขอมลู รปู แบบการสรรหา/ กาํ หนดรูปแบบการสรรหา/ ประสิทธภิ าพของผใู หบ รกิ ารหลงั
ดา นขอ มูลสารสนเทศภายใน คดั เลอื กดวยวิธีการทถ่ี กู ตองและ คัดเลอื กดวยวธิ ีการทีถ่ ูกตอ งและ ผา นกระบวนการสรรหา/คดั เลอื ก
สถานศึกษา เหมาะสม เหมาะสม
D สรรหา/คดั เลอื กผูใหบรกิ ารดาน ทําการสรรหา/คดั เลอื กดวย ตรวจสอบผลสมั ฤทธข์ิ อง ตรวจสอบประสิทธิภาพของการ
ขอ มูลสารสนเทศภายใน วิธกี ารท่ถี ูกตอง กระบวนการสรรหา/คัดเลอื กผู ใหบ ริการของผูไดรบั การสรรหา/
สถานศกึ ษา ใหบ รกิ ารดานขอ มูลสารสนเทศที่ คัดเลอื ก
ไดรบั การสรรหา/คดั เลือก
C ตรวจสอบคุณสมบัตขิ องผู ประเมินผลกระบวนการสรรหา/ ประเมนิ ผลการใหบ ริการดา น ประเมนิ ประสิทธภิ าพของระบบ
ใหบริการดา นขอมลู สารสนเทศ คัดเลือกดานความถูกตอ งและ ขอ มลู สารสนเทศของผูทไี่ ดร ับ ขอมูลสารสนเทศท่ีผใู หบ รกิ ารได
ภายในสถานศกึ ษากอนการ เหมาะสม การคดั เลอื ก ดาํ เนนิ การไว
พิจารณาคดั เลือก
A ปรับปรุงกรอบคณุ สมบัติของผู ปรบั ปรงุ พฒั นากระบวนการสรร ปรบั ปรุงพัฒนาคณุ ภาพของผู ปรับปรงุ พัฒนาขอ มูลสารสนเทศ
ใหบรกิ ารดา นขอ มูลสารสนเทศ หา/คัดเลือกผใู หบรกิ ารดาน ใหบริการดานขอ มูลสารสนเทศ และระบบการใหบ ริการของผู
ภายในสถานศกึ ษา ขอมลู สารสนเทศ ภายในสถานศึกษา ใหบ ริการ ใหส อดคลอ งกับ
สถานศกึ ษา

4.1 การขบั เคล่ือนระบบงานวชิ าการของวทิ ยาลัยเทคนคิ อุบลราชธานี เก่ียวกบั นวัตกรรมทีพ่ ัฒนาและสง เสริมครผู สู อนในการ
พฒั นาหลักสตู รฐานสมรรถนะดว ยการฝกอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร หลกั สตู รดา นนวตั กรรมทางการศึกษา

Input (I) Process (P) Output (O) Outcome (O)
P กําหนดคุณสมบตั ิของผูเ ขารบั เตรยี มการฝกอบรมเชงิ กําหนดวัตถปุ ระสงคเชงิ ประสทิ ธภิ าพการพฒั นาหลกั สตู ร
การฝก อบรมหลักสตู รดาน ปฏบิ ตั ิการ พฤตกิ รรมดา นการพัฒนา ฐานสมรรถนะหลังผาน
นวตั กรรมทางการศึกษา - ศึกษาความตอ งการและจําเปน หลกั สตู รฐานสมรรถนะใหเปนไป กระบวนการฝกอบรมเชงิ
- พฒั นาหลกั สูตรอบรมเชิง ตามท่กี าํ หนด ปฏิบตั ิการ
ปฏบิ ตั ิการ
D คดั เลอื กผูมคี ณุ สมบตั เิ ปนไป ฝกอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร หลกั สตู ร ตรวจสอบผลสัมฤทธส์ิ อดคลอง ตรวจสอบประสทิ ธภิ าพการ
ตามทก่ี าํ หนด ดา นนวตั กรรมทางการศกึ ษา กบั วตั ถุประสงคเชิงพฤติกรรม พฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะ
ของผูผ านการฝกอบรมเชิง
ปฏบิ ัติการ
C ตรวจสอบคณุ สมบัติกอนเขารบั ประเมินผลกระบวนการฝก อบรม ประเมินผลการพฒั นาหลักสตู ร ประเมินประสิทธภิ าพของผเู ขา
การฝก อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ เชิงปฏบิ ัตกิ าร ฐานสมรรถนะที่สอดคลอ งกับ รับการฝกอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ
วัตถุประสงคเชงิ พฤตกิ รรม หลังจากฝกอบรมเกีย่ วกับ
นวตั กรรมทางการศกึ ษาเพ่อื
นําไปพฒั นาหลักสตู รฐาน
สมรรถนะ
A ปรับปรุงพัฒนากระบวนการ ปรับปรงุ พัฒนากระบวนการ ปรบั ปรุงพฒั นาหลักสูตรการ ปรับปรุงพฒั นาฝกอบรมเชิง
คดั เลือกผูเขารบั การฝก อบรมเชิง ฝกอบรมเชงิ ปฏิบัติการ ฝกอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร ปฏิบตั ิการเพื่อใหน ํานวัตกรรม
ปฏบิ ัตกิ ารเพ่ือพฒั นาหลักสูตร ทางการศึกษาไปพฒั นาหลกั สูตร
ฐานสมรรถนะ ฐานสมรรถนะ

5

ใบงานการวเิ คราะหบ ริบทของสถานศกึ ษาระหวางฝก ประสบการณในสถานศกึ ษา
ชอ่ื สถานศกึ ษาท่ีฝกประสบการณ วิทยาลยั เทคนคิ นครอบุ ลราชธานี จังหวัด อุบลราชธานี

โดย นายชมุ พล พลเสนา กลมุ ท่ี 17 เลขที่ 17/4
1. ขอมูลพื้นฐานสถานศกึ ษา (SAR ป 2563)

ชือ่ สถานศึกษา : วิทยาลยั เทคนคิ นครอบุ ลราชธานี
ชื่อภาษาอังกฤษ : Nakhon UbonRatchathani Technical College
ท่ตี งั้ สถานศกึ ษา : เลขที่ 35 ถนนจงกลนิธารณ ต.ในเมอื ง อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี 34000
โทรศพั ท : 045-244754
โทรสาร : 045-244755
เว็บไซต : http://www.nutc.ac.th/
สีประจาํ วทิ ยาลัย : เลอื ดหมู – เหลือง (Crimson - yellow)
ตน ไมป ระจาํ วทิ ยาลัย : อนิ ทนิล

ตราประจําวิทยาลัย :

ประวตั ิความเปน มาของวิทยาลยั เทคนิคนครอบุ ลราชธานี
วิทยาลัยเทคนิคนครอุบลราชธานี เดิมคือ วิทยาลัยสารพัดชางอุบลราชธานี จัดต้ังข้ึนเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2513

กระทรวงศึกษาธกิ าร ประกาศตั้ง “หนวยฝกฝนอาชีพเคลื่อนที่ 34” ข้ึนที่จังหวัดอุบลราชธานี โดยใชสถานที่ของโรงเรียนการชาง
อบุ ลราชธานีเดิม ตง้ั อยูที่15 ถนนจงกลนิธารณ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี บนเน้ือท่ี 15 ไร 2 งาน 364/10 ตารางวา เปด
สอนหลักสูตรวชิ าชีพระยะสั้น 300 ชัว่ โมง รวม 3 คณะวิชา คอื คณะวิชาอตุ สาหกรรมคณะวิชาคหกรรมคณะวชิ าพาณิชยกรรม

วันท่ี 14 กรกฎาคม 2513 กระทรวงศึกษาธิการ ไดประกาศเปล่ียนชื่อจาก “หนวยอาชีพเคลื่อนท่ี 34” เปน “โรงเรียน
ฝก ฝนอาชพี เคลอ่ื นที่ 34” สังกดั กองสงเสริมอาชพี กรมอาชวี ศึกษา

วันท่ี 15 พฤศจิกายน 2515 กระทรวงศึกษาธิการ ไดประกาศเปล่ียนชื่อ “โรงเรียนฝกฝนอาชีพเคลื่อนท่ี 34” เปน
โรงเรยี นสารพดั ชา งอุบลราชธานี” สังกัดกองโรงเรียน กรมอาชีวศึกษา และตอมาสงั กดั กองวิทยาลยั อาชวี ศึกษา กรมอาชวี ศกึ ษา

วนั ท่ี 7 มถิ ุนายน 2534 “โรงเรยี นสารพัดชา งอุบลราชธานี” ไดร บั การปรับปรุงเปน “วทิ ยาลยั สารพัดชางอุบลราชธานี”
สังกัดกองการศกึ ษาอาชพี กรมอาชวี ศกึ ษา

วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ.2564 “วิทยาลัยสารพัดชางอุบลราชธานี” ไดรับการปรับปรุงเปน “วิทยาลัยเทคนิคนคร
อุบลราชธาน”ี สงั กดั สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

วิทยาลัยเทคนิคนครอุบลราชธานี ปจจุบันตั้งอยู เลขท่ี 35 ถนนจงกลนิธารณ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี
34000

วิสัยทัศน ผลิต และพัฒนากําลังคนดานวิชาชีพใหไดคุณภาพมาตรฐานอาชีวศึกษา โดยนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง

ปรัชญา ลํ้าเลิศคุณธรรม นวัตกรรมโดดเดน มุงเนนวิชาชีพเพื่อชุมชน ครองตนอยางพอเพียง กาวทันเทคโนโลยี สถาบัน
ชน้ั ดสี ปู ระชาคมโลก

6

อัตลักษณ คุณธรรมเดน คดิ สรางสรรค ทักษะเปนเลิศ
เอกลักษณ บริการดา นวชิ าชีพทีห่ ลากหลาย
๒. ขอ มลู คานยิ ม วฒั นธรรมวทิ ยาลยั เทคนคิ นครอุบลราชธานี
คา นิยมหลกั : ยกระดับทักษะฝม อื สสู งั คมแหงการเปล่ียนแปลง
วัฒนธรรมองคก ร : UPC^2 (Together, We Create.) U : Ultimate เปนเลิศ U : Upgrade ยกระดบั P :

Participation มสี วนรวม P : Proactive ทํางานเชิงรุก C : Creative คดิ สรางสรรค C : Change เปลี่ยนแปลง

3. วเิ คราะหบ ริบทสถานศึกษา
วิทยาลัยเทคนิคนครอุบลราชธานี เปดทําการสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง

(ปวส.) และหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นท่ีหลากหลาย ประชาชนสวนใหญยังมีความเช่ือวาสถานศึกษาแหงนี้มีการเรียนการสอน
เฉพาะหลักสูตรวิชาชีพระยะส้ัน ซ่ึงระหวางน้ีวิทยาลัยฯก็ไดดําเนินการประชาสัมพันธทุกชองทางที่จะใหประชาชนไดรับทราบถึง
การจัดการเรียนการสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ซ่ึงจากขอมูล ณ ปจจุบันน้ีจะ
เห็นวา ไดมนี กั เรยี น นกั ศึกษาเขามาสมคั รเรยี นในหลักสูตรปกติเพมิ่ ข้ึนเลอ่ื ยๆ

จดุ เดน
๑) สถานศกึ ษามีหลักสูตรวชิ าชพี ระยะสั้นที่หลากหลายเปดโอกาสใหบคุ คลทัว่ ไปและผูสูงอายไุ ดศึกษา
๒) สถานศึกษาไดรับรางวัลพระราชทานการจัดการศึกษา ระดับการศึกษาวิชาชีพ ไดอยางมีคุณภาพดีเย่ียมจนไดรับ
รางวัลพระราชทาน 3 คร้งั ในเวลา 10 ป ปการศึกษา 2549, 2553, 2557
๓) ผเู รยี นมคี ุณธรรม จริยธรรมและเจตคตทิ ดี่ ี มคี วามรูค วามสามารถ ไดร บั รางวลั นักศกึ ษารางวัลพระราชทานจํานวนมาก
๔) สถานศกึ ษามผี ลงานการแขงขันทกั ษะวิชาพน้ื ฐาน งานวิจยั พฒั นา นวัตกรรม และสง่ิ ประดิษฐ จาํ นวนมาก
จดุ ดอย
๑) จํานวนผูเ รยี นในหลกั สูตรปกตมิ ีจาํ นวนนอ ยเนอ่ื งจากมีสถานศึกษาประเภทเดยี วกันอยใู กลก นั หลายสถานศึกษา
๒) ความเชอื่ เกาๆท่ีคดิ วาสถานศึกษาเปด สอนแคหลกั สูตรวิชาชพี ระยะสั้น

วทิ ยาลัยเทคนิคนครอบุ ลราชธานี
3.1 กลยุทธใ นการขบั เคล่ือน Future Skill ของสถานศึกษา

วทิ ยาลัยเทคนคิ นครอุบลราชธานี ภายไตการบริหารงานของทานผูอํานวยการ ดร.นิรันดร สมมุติ คณะผูบริหาร ครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ไดขับเคลื่อน Future Skill ของสถานศึกษาในทุกสาขาวิชาท่ีเปดการเรียนการสอนในระบบปกติ และ
ระบบทวิภาคี ท้ังระดับประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพช้ันสงู (ปวส.) และหลกั สูตรวิชาชพี ระยะสน้ั

กลยุทธในการขับเคล่ือน Future Skill ของวิทยาลัยเทคนิคนครอุบลราชธานี จะเนนไปในทาง การUp Skill เสียมากวา
โดยการจัดทําหลักสูตรวิชาชระยะส้ัน อาชีพใหม หรือ การใชเทคโนโลยีกับอาชีพเดิมใหทันสมัยยิ่งขึ้น ซึ่งจะดําเนินงานภายใต
ยุทธศาสตรการพัฒนาการอาชีวศึกษา ยุทธศาสตรที่ 2 การผลิต และพัฒนากําลังคนดานการอาชีวศึกษาเพ่ือสรางขีด
ความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ มเี ปาหมายดงั น้ี

การผลิต และพัฒนากําลังคนดานการอาชีวศึกษาท่ีมีความเชย่ี วชาญ และเปนเลศิ เฉพาะทาง มีตัวชวี้ ัดท่สี ําคัญ ไดแก
ความเช่ยี วชาญ และเปนเลศิ เฉพาะทาง มีหลักสูตรมาตรฐานสมรรถนะในสาขาท่ีตรงกับความตองการของตลาดแรงงาน และการ
พัฒนาประเทศ จัดการศึกษาเนนดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และการวิจัยจัดการเรียนรูแบบบูรณาการองคความรูดาน
วิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร หรือสะเต็มศึกษาใชชุมชนเปนแหลงเรียนรูทางวิชาชีพ ผานการประเมิน

7

สมรรถนะตามมาตรฐานอาชีพ มีภาคีเครือขายความรวมมือระหวางรัฐ เอกชน สถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพท่ีจัดการ

อาชีวศึกษารว มกบั สถานศึกษา เพอื่ พัฒนากาํ ลงั คนตามความตองการของตลาดแรงงาน

การขับเคลอ่ื น Future Skill ของวิทยาลยั เทคนคิ นครอุบลราชธานี วงจรบรหิ าร PDCA ดังน้ี

P) : ขั้นวางแผนกําหนดเปา หมาย

จัดทาํ โครงการ ศึกษาบริบทของพ้นื ท่ี และความเชอ่ื ม่ัน ซงึ่ วิทยาลัยเทคนคิ นครอุบลราชธานีจะมีความเช่ือจากประชาชน

เดมิ วาเปนสถานศึกษาสอนอาชีพระยะสั้นเทานั้น จากความเช่ือดังกลาววิทยาลัยฯก็ใชวิธีการหาหลักสูตรอาชีพใหม หรือการเพิ่ม

ทักษะอาชีพเดิมใหผเู รยี นกลมุ เดมิ หรือกลุมใหม

D) : ข้นั ตอนการปฏบิ ัติ

สํารวจความตองการ ออกแบบหลกั สตู ร ตง้ั คณะกรรมการพัฒนาหลกั สตู ร คณะกรรมการดําเนินงาน

C) : ข้ันตอนการตรวจสอบ

ตรวจสอบความสําเรจ็ ของหลกั สตู ร

A) : แนวทางการพัฒนา

มองหาทางเลือกใหมท่ีนาจะเปนไปได ใชความพยายามใหมากขึ้นกวาเดิม ขอความชวยเหลือจากผูรู เปล่ียน

เปา หมายใหม

3.2 การสรางความเขมแข็งของระบบความรว มมือกบั สถานประกอบการ
วิทยาลัยเทคนิคนครอุบลราชธานี มกี ารจดั การศึกษาในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) หลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาชีพช้ันสูง(ปวส.)และหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น ในรูปแบบปกติและทวิภาคีโดยความรวมมือจากภาคีเครือขายท้ังในและ
ตางประเทศ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง(ปวส.) จัดทําโครงการความรวมมือกับประเทศจีนในรูปแบบทวิวุฒิ ผูสําเร็จ
การศึกษาจากไดรับวุฒิจากวิทยาลัยฯและมหาวิทยาลัยในเครือขายจากประเทศจีนโดยตรง จากการศึกษาและยกระดับคุณภาพ
การจดั การศกึ ษาเพือ่ พฒั นากําลังพนในเชงิ พน้ื ท่ีพัฒนาสมรรถนะและทักษะในอนาคตโดยการUp SkillและRe Skill
Input (I) Process (P) Output (O) Outcome (O)
P กาํ หนดกรอบคุณสมบัติของ เตรียมการสงขอมลู เกี่ยวกับ กาํ หนดรปู แบบการทาํ ความ ประสิทธภิ าพของสถาน
สถานประกอบการท่ี การทาํ ความรว มมอื ใหแ ก รว มมือระหวางสถาน ประกอบการดานความ
สอดคลอ งกับสาขาวิชาท่ีเปด สถานประกอบการ ประกอบการและสถานศกึ ษา รวมมอื หลังจากดําเนนิ การ
สอน เสรจ็ สนิ้
D สรรหาสถานประกอบการ ทาํ ความรวมมือกบั สถาน ตรวจสอบผลสมั ฤทธ์ิดาน ตรวจสอบประสทิ ธิภาพใน
ตามคุณสมบตั ทิ ี่กําหนดไว ประกอบการท่ีสอดคลอ งกับ ความรวมมอื ของสถาน การดําเนนิ การทาํ ความ
สาขาวชิ าที่เปดสอน ประกอบการที่สอดคลองกบั รวมมอื กบั สถานประกอบการ
สาขาวชิ าที่เปด สอน
C ตรวจสอบคณุ สมบัติขอ มลู ประเมนิ ความสมบรู ณของ ประเมินผลการทําความ ประเมนิ ประสิทธิภาพของ
ของสถานประกอบการตาม ความรว มมือระหวา งสถาน รวมมอื ของสถาน การทาํ ความรวมมือของ
กรอบคุณสมบัติท่กี าํ หนด ประกอบการกับสถานศึกษา ประกอบการกบั สถานศกึ ษา สถานประกอบการกบั
สถานศกึ ษา
A ปรบั ปรงุ กรอบคุณสมบัตขิ อง ปรบั ปรงุ พัฒนากระบวนการ ปรบั ปรุงพฒั นารปู แบบการ ปรับปรงุ พฒั นากระบวนการ
สถานประกอบการท่ี พิจารณาสถานประกอบการ ทาํ ความรวมมือระหวา ง สรรหาสถานประกอบการ
สอดคลองกับสาขาวชิ าทจ่ี ะ ทีส่ อดคลองกับสาขาวิชาที่ สถานประกอบการกบั เพ่อื ทาํ ความรวมมือกบั
เปด สอนในอนาคต เปดสอน สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา

8

3.3 ระบบการบริหารจัดการ สคู ุณภาพ
ระบบบรหิ ารจัดการสคู ณุ ภาพวิทยาลยั เทคนิคนครอบุ ลราชธานไี ดบริหารจัดการตามยุทธศาสตรที่ 6 การพัฒนา

ประสทิ ธภิ าพของระบบบริหารจดั การศกึ ษา

โดยมกี ารรูปแบบการบริหารจัดการภายใตโ มเดล
UPC^2 (Together, We Create.) U : Ultimate เปนเลิศ U : Upgrade ยกระดับ P : Participation มสี วนรว ม P :
Proactive ทํางานเชงิ รุก C : Creative คดิ สรา งสรรค C : Change เปลี่ยนแปลง

วิทยาลัยเทคนิคนครอุบลราชธานี เปนวิทยาลัยฯ ที่สถานศึกษาไดรับคัดเลือกเปนสถานศึกษาดีเดน สถานศึกษาไดรับ
คัดเลือกเปนสถานศึกษารางวัลพระราชทาน สถานศึกษาไดรับคัดเลือกเปนสถานศึกษาพอเพียง สถานศึกษารางวัลพระราชทาน
นักเรียน นักศึกษารางวัลพระราชทาน นักเรียน นกั ศึกษารางวัลเยาวสตรไี ทยดเี ดน

จากโมเดล UPC^2 (Together, We Create.) เปนกลยุทธในการขับเคลื่อนการบริหารจัดการสูคุณภาพโดยใชวงจร
บริหาร PDCA ดังน้ี

P) : ขั้นวางแผนกาํ หนดเปา หมาย
ใชโ มเดล U : Ultimate ความเปน เลิศ จัดทาํ โครงการ ศกึ ษาเกณฑการประเมิน
D) : ข้ันตอนการปฏิบัติ
ใชโมเดล P : Participation มีสวนรว ม ออกคาํ ส่งั ประชุม มอบหมายหนา ท่ี ตามเกณฑตัวชว้ี ัดของการประเมิน
C) : ขน้ั ตอนการตรวจสอบ
ใชโมเดล C : Creative คดิ สรางสรรค ตรวจสอบงานตามแผน ตามเวลา ตามเกณฑ
A) : แนวทางการพฒั นา
ใชโมเดล P : Proactive ทํางานเชิงรุก ปรับปรุงโครงสรางการบริหารจัดการศึกษา เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
สถานศึกษา สงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในการจดั การศกึ ษา
3.4 การขับเคลอ่ื นระบบงานวชิ าการ
กระบวนการบริหารงานวิชาการของวทิ ยาลยั เทคนิคนครอบุ ลราชธานี บรหิ ารตามกรอบยุทธศาสตรชาติ และนโยบายการ
บริหารจดั การอาชวี ศกึ ษาอันๆไดแก
มิติท่ี 1. การสรางโอกาสทางการศกึ ษา “เรียนฟรมี ีงานทํา มีรายไดร ะหวางเรยี น”
มิตทิ ่ี ๒. การพัฒนาคณุ ภาพ “ปรบั การเรยี นเปลย่ี นการสอน ปฏิรูปการสอบ ใหท นั กับยคุ สมยั อยา งมี คุณภาพ”
มิติที่ 3. การสรางประสิทธิภาพในดานการบริหารจัดการ “การบริหารจัดการเปนที่ยอมรับเชื่อม่ัน มีเอกภาพ ใช
เทคโนโลยสี นับสนุน”
มติ ทิ ่ี ๔. ความรวมมือในการจัดการอาชวี ศกึ ษา“เพม่ิ ทักษะวิชาชพี ดวยความรวมมอื ใน และ ตางประเทศ”

ทั้ง ๔ มติ มิ ีการดาํ เนินงานดว ยโครงการตางๆ ประกอบดว ย 4 ข้ันตอน ไดแกขั้นตอนที่ 1 การวางแผน (Plan: P) ขั้นตอน
ท่ี 2 การลงมอื ปฏบิ ัติ (Do: D) ขัน้ ตอนที่ 3 การตรวจสอบและประเมิน (Check: C) และขั้นตอนท่ี 4 การปรับปรุง (Act: A) ท้ังนี้
เน่ืองจากวากระบวนการบริหารงานวิชาการเปนหัวใจของการจัดการศึกษาถือวาเปนงานท่ีมีความสําคัญท่ีสุด ซ่ึงทั้งผูบริหาร
สถานศกึ ษา คณะครู และผมู ีสวนเก่ียวของทุกฝาย ตองมีความรูความเขาใจ ใหความสําคัญและมีสวนรวมในการวางแผน กําหนด
แนวทางปฏิบัติ มีการตรวจสอบและการประเมินผล ตลอดจนมีการปรับปรุงแกไขอยางเปนระบบและตอเน่ือง การบริหารงาน

9
วิชาการจึงจําเปนตองอาศัยท้ังศาสตรและศิลปมาประยุกตใชใหเหมาะสมกับธรรมชาติและวัฒนธรรมขององคกร ผูบริหาร
สถานศึกษาจงึ ตองมที ักษะในการบริหารเพื่อพฒั นาองคกรใหเ กดิ ประสิทธภิ าพสงู สดุ

Input (I) Process (P) Output (O) Outcome (O)
P กําหนดคุณสมบัตขิ องผูเขา เตรียมการฝกอบรมเชิง
รบั การฝกอบรมหลักสตู รดาน ปฏิบตั ิการ กาํ หนดวตั ถปุ ระสงคเ ชิง ประสิทธภิ าพการพฒั นา
นวตั กรรมทางการศึกษา - ศึกษาความตอ งการและ พฤติกรรมดา นการพัฒนา หลกั สูตรฐานสมรรถนะหลงั
จําเปน หลักสตู รฐานสมรรถนะให ผา นกระบวนการฝกอบรม
- พัฒนาหลักสูตรอบรมเชิง เปน ไปตามท่กี าํ หนด เชิงปฏบิ ตั กิ าร
ปฏิบัตกิ าร ตรวจสอบประสิทธภิ าพการ
D คดั เลอื กผูมีคณุ สมบัตเิ ปนไป ฝก อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ ตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ พฒั นาหลกั สตู รฐาน
ตามที่กําหนด หลกั สูตรดา นนวตั กรรมทาง สอดคลองกบั วตั ถุประสงค สมรรถนะของผผู า นการ
การศึกษา เชิงพฤติกรรม ฝกอบรมเชงิ ปฏิบัติการ
ประเมนิ ผลการพฒั นา ประเมนิ ประสทิ ธภิ าพของผู
C ตรวจสอบคุณสมบตั ิกอนเขา ประเมินผลกระบวนการ หลักสตู รฐานสมรรถนะท่ี เขา รบั การฝกอบรมเชิง
รบั การฝก อบรมเชงิ ฝก อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ สอดคลอ งกับวัตถุประสงค ปฏบิ ัตกิ ารหลงั จากฝก อบรม
ปฏบิ ัตกิ าร เชิงพฤติกรรม เกีย่ วกบั นวตั กรรมทาง
การศกึ ษาเพอ่ื นําไปพฒั นา
A ปรบั ปรุงพัฒนากระบวนการ ปรบั ปรงุ พฒั นากระบวนการ ปรับปรงุ พัฒนาหลักสูตรการ หลกั สูตรฐานสมรรถนะ
คดั เลือกผูเ ขารบั การ ฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ ฝก อบรมเชิงปฏบิ ัติการ ปรบั ปรงุ พัฒนาฝก อบรมเชงิ
ฝก อบรมเชิงปฏบิ ัติการเพื่อ ปฏิบตั ิการเพื่อใหนํา
พฒั นาหลกั สูตรฐาน นวตั กรรมทางการศึกษาไป
สมรรถนะ พัฒนาหลักสูตรฐาน
สมรรถนะ

10
สรุปการขบั เคล่อื นสถานศกึ ษาสมู าตรฐานคณุ ภาพของวิทยาลยั เทคนิคอุบลราชธานแี ละวิทยาลยั เทคนคิ นครอุบลราชธานี

Do

• งบประมาณ ปจจัยนาํ เขา กระบวนการ • ความเขม แขง็ ของความรวมมอื
• หลักสตู ร (Input) (Process) • นวัตกรรมการบรหิ าร
• ผูเรยี น/ผสู อนผบู รหิ าร • การพฒั นาผสู อน
• สิ่งอาํ นวยความสะดวก ผลลพั ธ ผลผลิต
(Outcome) (Output) • นวัตกรรมการเรียนรู
Plan • การวดั ผล/การประกัน

• การยกระดับคณุ ภาพ Check
อาชวี ศกึ ษาองคร วม
• ตน แบบและการขยายผล
• ผูส าํ เร็จการศึกษาทม่ี งี านทํา การจัดการอาชวี ศกึ ษา

• ผูสําเร็จการศึกษา

Act

สรปุ องคค วามรูท่ไี ดร บั จากการจากการพัฒนากอ นการแตงตงั้ ใหด าํ รงตําแหนงรองผูอาํ นวยการ

การขบั เคลื่อนสถานศึกษาสูมิติชวี ติ อนาคต (Next Normal) ดว ย PDCA & IPOO Model

ทศั นคติทมี่ ีตอการปฏิบัติงาน Positive Mindset/ กลยุทธในการขบั เคลื่อน Future Skill ผูนําการเปล่ยี นแปลงของอาชีวศกึ ษายคุ ใหม
Service Mind/Agile Leader เจาะ Trend โลกทม่ี ผี ลตอการศึกษา
ผูนาํ สายพนั ธใหมในโลก VUGA
การบรหิ ารจดั การสถานศึกษา กลยทุ ธ กระบวนการพฒั นา เพ่อื นาํ ไปสู
การผลติ และพัฒนากําลงั คนสนองยทุ ธศาสตรช าติ การปฏบิ ตั ิงานในสถานศกึ ษา
Thailand 4.0
ปรับบทบาทสถานศกึ ษาตามนโยบายปฏิรปู การบรหิ ารการเปลี่ยนแปลง
ระบบการศึกษา ดานวชิ าการและวิชาชีพอาชวี ศกึ ษา

กรอบแนวคดิ ของผบู รหิ ารสถานศกึ ษา
สําหรบั โลกวิถอี นาคต

With Great Power Comes Great Responsibility

Plan Do สรางความเขมแขง็ ระบบความรว มมือ

ระบบบรหิ ารจัดการสคู ณุ ภาพ Act Check

การขบั เคลอื่ นงานตานมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษาและ การสรางเคร่ืองขา ยความรว มมอื
วชิ าชพี ในสถานศกึ ษาอยางมีคณุ ภาพ พลงั ความเช่อื มนั่ ผานระบบส่ือสารองคก ร

การพฒั นาครอู าชวี ศกึ ษารองรบั เศรษฐกจิ 4.0 และการสรา งทีมงานทม่ี ีประสิทธภิ าพ
TVET Teacher Standard การยกระดบั งานวิจัยและนวตั กรรมอาชีวศึกษา
Digital Transformation for Education
การพฒั นาครโู ดยใชพ นื้ ท่เี ปน ฐาน
4 Quality Educations

การขับเคลื่อนระบบงานวิชาการ

“ Everything's

Possible”

ชมุ พล พลเสนา


Click to View FlipBook Version