เขตจังจัหวัดวัรับรัผิดผิชอบของ สสว.5 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อร้ยเอ็ด เลย หนองบัวบัลำ ภู หนองคาย อุดรธานี เขตจังจัหวัดวัรับรัผิดผิชอบของ สสว.5 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อร้ยเอ็ด เลย หนองบัวบัลำ ภู หนองคาย อุดรธานี การคาดการณ์แนวโน้มประจำ ปีงปีบประมาณ 2566 สถานการณ์ท ณ์ างสัง สั คมระดับกลุ่ม ลุ่ จัง จั หวัด วั
ด้านเด็กและเยาวชน จำ นวนเด็กและเยาวชนในเขตพื้นที่รับรัผิดชอบ ของ สสว. 5 ในปี 2565 มีทั้งทั้สิ้น 1,977,333 คน เป็น เพศหญิง 967,182 คน เพศชาย 1,010,151 คน ลดลง จากปี 2564 ร้อร้ยละ 2.34 เมื่อจำ แนกตามช่วช่งอายุ ของเด็ก จะพบว่าว่ช่วช่งอายุ 0 - 5 ปี, อายุ 6 – 14 ปี, อายุ 15 – 18 ปี การวิเวิคราะห์แนวโน้มของสถานการณ์ทางสังคม ระดับกลุ่มจังหวัดวั สอดคล้องกับข้อมูลเด็กแรกเกิดที่พบว่าว่มีแนวโน้มลดลงเช่นช่กัน (ในปี 2564 จำ นวน 25,362 คน ลดลงจากปี 2563 ร้อร้ยละ 4.57, ในปี 2565 จำ นวน 23,166 คน ลดลงจากปี 2564 ร้อร้ยละ 8.66) เช่นช่ เดียวกับข้อมูลอัตราการคลอดมีชีพชี ในหญิงช่วช่งอายุ 10-19 ปี[1] มีแนวโน้มลดลง นอกจากนี้ยังพบว่าว่ กรณีเด็กและเยาวชนที่อายุต่ำ กว่าว่ 15 ปี ที่ตั้งตั้ครรภ์มีแนวโน้มไม่แน่นอนเฉลี่ย 169 รายต่อปี (4 ปีย้อน หลัง[2]) มีลักษณะเดียวกับสตรีที่รี ที่ มีอายุต่ำ กว่าว่ 20 ปี มีการตั้งตั้ครรภ์ซ้ำ มีแนวโน้มไม่แน่นอนเช่นช่กัน โดยมีค่าเฉลี่ย ร้อร้ยละ 13.89 ต่อปี (4 ปีย้อนหลัง[3]) แสดงถึงภาวะอนามัยการเจริญริพันธุ์ที่ธุ์ ที่ ลดลง จะ เห็นห็ ได้ว่าว่แนวโน้มจำ นวนเด็กและเยาวชนลดลง เช่นช่เดียวกับสถานการณ์ในระดับประเทศ โดยกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นมั่คงของมนุษย์ร่วร่มกับสถาบันวิจัวิ จัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) แถลงสถานการณ์ทางสังคมประเด็น[1] [1] ตามคำ สั่งสั่กระทรวงการพัฒพันาสังสัคมและความมั่นมั่คงของมนุษนุย์ที่ย์ ที่ 346/2563 เรื่อรื่ง การกำ หนดพื้นพื้ที่จังจัหวัดวัความรับรัผิดผิ ชอบของสำ นักนังานส่งส่เสริมริและสนับนัสนุนนุวิชวิาการ 1 - 11 [2]ระบบฐานข้อข้มูลอนามัยมัการเจริญริพันพัธ์ปธ์ระเทศไทย. กรมอนามัยมัแหล่งที่มา https://rhdata.anamai.moph.go.th/index.php/familyplanning/familyplanning1. 14 กันยายน 2566. [3] ปี 2563 จำ นวน 115 ราย ปี 2564 จำ นวน 226 ราย ปี 2565 จำ นวน 132 และปี 2566 จำ นวน 201 ราย. [4] ปี 2563 ร้อร้ยละ 13.78 ปี 2564 ร้อร้ยละ 13.24 ปี 2565 ร้อร้ยละ 13.95 และปี 2566 ร้อร้ยละ 14.58. อายุ 19 – 24 ปี มีแมีนวโน้มลดลงในทุกช่วช่งอายุ จากรายงานสถานการณ์ทางสังคมระดับกลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับรัผิดชอบ ของสำ นักงานส่งเสริมริและสนับสนุนวิชาการ 5 (สสว.5)[1] ประกอบกับระบบ สารสนเทศชุดข้อมูลทางสังคม การวิเคราะห์และสังเคราะห์งานวิจัยและงานวิชาการ เพื่อการจัดทำ ข้อเสนอเชิงนโยบาย ซึ่งจัดทำ โดยสำ นักงานส่งเสริมริและสนับสนุน วิชาการ 1-11 (สสว. 1- 11) ระบบมาตรวัดทางสังคมและดัชนีความมั่นมั่คงของมนุษย์ (CHSI) โดยกองมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นมั่คงของมนุษย์ รวมถึง ข้อมูลทุติยภูมิ นอกจากนี้ได้ทำ การทบทวนวรรณกรรม แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำ เป็นรายงานการคาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ทางสังคมระดับกลุ่ม จังหวัด ในเขตพื้นที่รับรัผิดชอบของ สสว. 5 โดยขอนำ เสนอเฉพาะประเด็นที่สำ คัญ ดังต่อไปนี้ 1 สสว.5
ในขณะที่ครอบครัวรัที่ได้รับรัสิทสิธิ์เธิ์งินอุดหนุนเพื่อพื่การเลี้ยงดูเดูด็กแรกเกิดกลับพบว่าว่มีแมีนวโน้มสูงสู ขึ้นขึ้ [4] ในปี 2564 จำ นวน 27,936 ราย เพิ่มพิ่ขึ้นขึ้จากปี 2563 ร้อร้ยละ 40 และในปี 2565 จำ นวน 31,547 ราย เพิ่มพิ่ขึ้นขึ้จากปี 2564 ร้อร้ยละ 12.93 แสดงให้เห้ห็นห็ว่าว่เด็กที่เกิดในครอบครัวรัที่มีผมีลกระทบ จากเรื่อรื่งเศรษฐกิจมีแมีนวโน้มมากขึ้นขึ้ซึ่งซึ่สอดคล้องกับข้อข้มูลเครือรืข่าข่ยทำ งานด้านเด็ก เปิดเผยข้อข้มูล ว่าว่เด็กและเยาวชน ร้อร้ยละ 61.4 อยู่ใยู่นครอบครัวรัยากจน[5] โดยที่ในปี 2565 พบว่าว่เด็กที่ประสบ ปัญหาทางสังสัคมได้รับรัเงินสงเคราะห์ให์นครอบครัวรัยากจนในปี 2565 จำ นวน 14,374 ราย คิดเป็นเงิน 15,604,000 บาทมีเมีด็กที่เข้าข้รับรับริกริารในบ้าบ้นพักพัเด็กและครอบครัวรัจังจัหวัดวัจากปี 2563 - 2565 มีแมีนวโน้มลดลง[6]แต่กลับเพิ่มพิ่สูงสูขึ้นขึ้อีกครั้งรั้ในปี 2566 โดยส่วส่นใหญ่เป็นเด็กในช่วช่งอายุ ไม่เม่กิน 17 ปี เด็กที่อยู่ใยู่นครอบครัวรัอุปถัมภ์ ปี 2565 จำ นวน 479 ครอบครัวรั อย่าย่งไรก็ดีนอกเหนือจากเรื่อรื่งสิทสิธิตธิามอนุสัญสัญาว่าว่ด้วยสิทสิธิเธิด็ก[7] ในการมีชีมีวิชีตวิและการอยู่ รอด และการคุ้มคุ้ครองทางสังสัคมที่กระทรวง พม. ดำ เนินการตามที่กล่าวมาแล้วนั้นนั้ทุกทุภาคส่วส่นควร ส่งส่เสริมริเรื่อรื่งสิทสิธิใธินการพัฒพันาและสิทสิธิใธินการมีส่มีวส่นร่วร่มด้วย [5] ระบบมาตรวัดวัทางสังสัคม. กองมาตรฐานการพัฒพันาสังสัคมและความมั่นมั่คงของมนุษย์.ย์กระทรวงการพัฒพันาสังสัคม และความมั่นมั่คงของมนุษย์.ย์ 2566 [6] ThaiPBS. แหล่งที่มา. https://theactive.net/news/welfare-20221121/. 22 พฤศจิกจิายน 2565. [7] ปี 2563 จำ นวน 2,794 รายปี 2564 จำ นวน 1,439 ราย ปี 2565 จำ นวน 1,022 และปี 2566 จำ นวน 2,975 ราย. [8] สมัชมัชาใหญ่สหประชาชาติ. อนุสัญสัญาว่าว่ด้วยสิทสิธิเธิด็ก เมื่อมื่วันวัที่ 20 พฤศจิกจิายน 2532. ประเทศไทยเข้าข้เป็นภาคี เมื่อมื่วันวัที่ 27 มีนมีาคม 2535. ระบุว่าว่อัตราการเกิดลดลงจะส่งส่ผลต่อ การขาดแคลนแรงงานในอนาคต รวม ทั้งทั้เกิดภาวะพึ่งพึ่พิงพิอันเป็นผลมาจาก การเปลี่ยนแปลงวิถีวิ ถีชีวิชีตวิ ประกอบกับ ปัจจัยจัทางเศษฐกิจ บทบาทอื่นในสังสัคม และมีส่มีวส่นร่วร่มในกลุ่มลุ่แรงงาน ความไม่ สมดุลดุระหว่าว่งงานและครอบครัวรัล้วน เป็นสาเหตุทำตุทำ ให้ปห้ระชาชนชะลอการมี บุตรไปด้วย “วิกวิฤตเด็กเกิดน้อย ผลกระทบต่อสังสัคมไทย” 2สสว.5
หากพิจพิารณาในประเด็นทางสังสัคมด้านเด็กและ เยาวชนอื่น ๆ จากข้อข้มูลระบบมาตรวัดวัทาง สังสัคมฯ จะพบว่าว่เด็กและเยาวชนมีพมีฤติกรรม ไม่เม่หมาะสมมีแมีนวโน้มลดลง แต่อย่าย่งไรก็ตาม การคุ้มคุ้ครองและพัฒพันาเด็กและเยาวชนด้าน การเรียรีนรู้แรู้ละการศึกษาควรให้คห้วามสำ คัญ เพราะระดับการศึกษาที่เพิ่มพิ่สูงสูขึ้นขึ้ส่งส่ผลให้ อาชญากรรมโดยรวมลดลง[8]อย่าย่งมีนัมี นัย สำ คัญทางสถิติ ซึ่งซึ่ล่าสุดสุในปี 2565 ในเขต สสว.5 มีเมีด็กที่ตกหล่นจากระบบการศึกษา ร้อร้ยละ 13.4 โดยสรุป จากสถานการณ์และแนวโน้มในภาพรวม การเตรียรีมการรองรับรัเพื่อพื่คุ้มคุ้ครองทางสังสัคม ด้านเด็ก ต้องดำ เนินการใน 4 ประเด็น ได้แก่ 1. เตรียรีมพร้อร้มรับรัมือมืกับอัตราการเกิด เพื่อพื่สร้าร้ง สมดุลดุให้แห้ก่จำ นวนประชากรในแต่ละช่วช่งวัยวั ให้มีห้ มี ความเหมาะสม 2. สร้าร้งสังสัคมและสภาพแวดล้อมให้เห้กิดการแลก เปลี่ยนเรียรีนรู้รรู้ะหว่าว่งเด็กและผู้ใหญ่ 3. ขยายความครอบคลุมลุของเงินอุดหนุนเพื่อพื่การ เลี้ยงดูเดูด็กแรกเกิด โดยมุ่งมุ่สู่คสู่ วามถ้วนหน้า 4. มุ่งมุ่เน้นการลงทุนทุทางสังสัคม เพื่อพื่ส่งส่เสริมริ พัฒพันาการเด็กให้เห้ต็มศักยภาพ โดยการส่งส่เสริมริ ให้มีห้ มี ศูนย์เย์ด็กเล็กก่อนวัยวัเรียรีนอย่าย่งทั่วทั่ถึง [9] รัฐรัศานติ เพชรหมู และ ภคพร วัฒวันดารงค์. การประชุมวิชวิาการนาเสนอผลงานวิจัวิยจัระดับชาติและนานาชาติ ครั้งรั้ที่ 15 “Global Goals, Local Actions: Looking Back and Moving Forward 2022” วันวัที่ 21 มีนมีาคม พ.ศ. 2565. http://journalgrad.ssru.ac.th/index.php/8thconference/article/view/2708. 3จำ นวนเด็กที่ตกหล่นจากระบบการศึกษา ที่มา ระบบสารสนเทศเพื่อพื่ความเสมอภาคทางการศึกษา (iSEE) สสว.5
สัดสัส่วส่นจำ นวนประชากรทั้งทั้หมดของกลุ่มลุ่จังจัหวัดวั ในเขตรับรัผิดชอบของ สสว.5 พบว่าว่ มีจำมีจำนวนรวมทั้งทั้สิ้นสิ้ 3,663,322 คน เมื่อมื่พิจพิารณาข้อข้มูลย้อย้นหลังสามปี (พ.ศ. 2563 – 2565) พบว่าว่วัยวัแรงงานหญิง (15 – 59 ปี) อยู่ที่ยู่ ที่ ร้อร้ยละ 65.2 และวัยวัเด็กหญิง (0 – 14 ปี) อยู่ที่ยู่ ที่ ร้อร้ย ละ 14.4 ซึ่งซึ่ประชากรวัยวัดังกล่าว มีแมีนวโน้มที่ลดลง ตรงกันข้าข้มกับวัยวัสูงสูอายุหญิง (60 ปีขึ้นขึ้ ไป) อยู่ที่ยู่ ที่ ร้อร้ยละ 20.4 มีแมีนวโน้มที่เพิ่มพิ่มากขึ้นขึ้อันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงบทบาททางเพศ ที่ส่งส่ผล ให้ผู้ห้ ผู้หญิงสามารถทำ งานทางเศรษฐกิจ พึ่งพึ่พาตนเองได้ ขณะที่เพศมีคมีวามสัมสัพันพัธ์ กับการเป็นหม้าม้ยทำ ให้ผู้ห้ ผู้หญิงสูงสูอายุมีสัมีดสัส่วส่นที่ต้องอาศัยอยู่คยู่นเดียวเพิ่มพิ่มากขึ้นขึ้ ด้านสตรี ประชากรเพศหญิงประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2566 พบว่าว่ จำ นวนรวมทั้งทั้สิ้นสิ้ 33,818,495 คน ซึ่งซึ่มากกว่าว่ ประชากรเพศชาย จำ นวน 1,563,086 คน เมื่อมื่เทียบกับข้อข้มูลจำ นวนเพศหญิงใน ปี พ.ศ. 2563 พบว่าว่ ประชากรเพศหญิงมีจำมีจำนวนลดลง เป็นจำ นวน 151,354 คน[9] [10] สถิติประชากรทางงการทะเบียบีนราษฎร กรมการปกครอง ณ วันวัที่ 31 มีนมีาคม 2566 4สสว.5
[11] ณิชชา ยิ่งยิ่นคร. (2562). ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการบังบัคับใช้พช้ระราชบัญบัญัติคุ้มคุ้ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 : ศึกษาเฉพาะการใช้ แรงงานหญิงในอำ เภอเมือมืงนครศรีธรีรรมราช จังจัหวัดวันครศรีธรีรรมราช : วารสารนาคบุตรปริทริรรศน์ มหาวิทวิยาลัยราชภัฏนครศรีธรีรรมราช [12] จริยริาภรณ์ ปิตาทะสังสัข์ และคณะ. 2561. รูปแบบการดำ เนินชีวิชีตวิของครอบครัวรัแม่เม่ลี้ยงเดี่ยวที่ประสบความสำ เร็จร็. วารสารการศึกษาและ การพัฒพันาสังสัคม 14(1). https://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/social/article/view/5304) 2.1 ประเด็นอัตราการว่าว่งงานในเพศหญิง อัตราการว่าว่งงานในเพศหญิง พบว่าว่มีแมีนวโน้มที่ลด ลง อยู่ที่ยู่ ที่ ระดับร้อร้ยละ 0.8 โดยมีสัมีดสัส่วส่นประชากรเพศ หญิงจำ แนกกลุ่มลุ่อายุมากที่สุดสุคือ วัยวัแรงงานหญิง (15 – 59 ปี) เป็นจำ นวนมากที่สุดสุและพบว่าว่เพศหญิง จากภาระหน้าที่เดิมที่ต้องดูแดูลงานบ้าบ้น เลี้ยงดูบุดู บุตร เริ่มริ่เข้าข้มามีบมีทบาทในตลาดแรงงานมากขึ้นขึ้ ในฐานะแรงงานหรือรืผู้บริโริภค บทบาทในการหาเลี้ยงครอบครัวรัและบางครอบครัวรัผู้หญิงกลายเป็น ผู้หาเลี้ยงหลัก บางส่วส่นถูกถูเอารัดรัเอาเปรียรีบอยู่กยู่ารรักรัษาสิทสิธิขธิองแรงงานหญิงจึงจึต้องมีกมีาร กำ หนดมาตรการขึ้นขึ้มาคุ้มคุ้ครองแรงงานหญิงเช่นช่ค่าตอบแทนที่เท่าเทียมกันสำ หรับรัคนงานชาย และหญิงในงานที่มีค่มี ค่าเท่ากันการเลือกปฏิบัติบั ติเกี่ยวกับการจ้าจ้งงานและอาชีพชีงานที่เป็นอันตรายต่อ สุขสุภาพหรือรืร่าร่งกาย และการคุ้มคุ้ครองหญิงมีคมีรรภ์ เป็นต้น ดังนั้นนั้แรงงานหญิงจึงจึได้รับรัความ คุ้มคุ้ครองเป็นพิเพิศษเพิ่มพิ่จากความคุ้มคุ้ครองการใช้แช้รงงานทั่วทั่ ไป[10] 2.2 ประเด็นอัตราการหย่าย่ร้าร้ง อัตราการหย่าย่ร้าร้งของพื้นพื้ที่กลุ่มลุ่จังจัหวัดวัเขตรับรัผิดชอบของ สสว.5 ในปี พ.ศ. 2563 – 2565 อยู่ ในร้อร้ยละ 50 ซึ่งซึ่สาเหตุสำตุสำคัญของการเป็นครอบครัวรัเลี้ยงเดี่ยวนั้นนั้ส่วส่นใหญ่เกิดจากการหย่าย่ร้าร้ง การถูกถูทอดทิ้ง การแยกทาง รวมถึงการเสียสีชีวิชีตวิของคู่สคู่มรส ซึ่งซึ่จำ นวนครัวรัเรือรืนเลี้ยงเดี่ยวของ ไทยมีมมีากขึ้นขึ้อย่าย่งต่อเนื่อง และส่วส่นใหญ่ร้อร้ยละ 73.4 เป็นแม่เม่ลี้ยงเดี่ยว ส่วส่นครอบครัวรัที่เป็นพ่อพ่ เลี้ยงเดี่ยวมีเมีพียพีง 1 ใน 4 ของครอบครัวรัเลี้ยงเดี่ยวทั้งทั้หมด[11] สตรีจึรีงจึต้องพึ่งพึ่พาตนเอง นั่นนั่หมายความว่าว่สตรีต้รี ต้องเป็นเสาหลักของให้ทุห้กทุคนในครอบครัวรั 5 สสว.5
[13] ภูเภูบศร์ สมุทรจักจัร. (2564). รอยร้าร้วที่ฐานราก…ความเปราะบางของครอบครัวรัไทยในอนาคต งานสื่อสื่สารองค์กร กองบริหริารงานทั่วทั่ ไป สำ นักงานอธิกธิารบดี มหาวิทวิยาลัยมหิดหิล.จาก https://op.mahidol.ac.th/ga/posttoday-44/ [14] Composite Human Security Index : CHSI. กองมาตรฐานการพัฒพันาสังสัคมและความมั่นมั่คงของมนุษย์.ย์หน้า XII. 3. ด้านครอบครัวรั สถานการณ์ครอบครัวรัไทย พบว่าว่ ในปี พ.ศ. 2563 มีคมีรัวรัเรือรืนข้าข้มรุ่นรุ่อยู่ที่ยู่ ที่ ร้อร้ยละ 4.7 หากพิจพิารณา ข้อข้มูลย้อย้นหลังจากปี พ.ศ. 2533 จะพบว่าว่มีแมีนวโน้มเพิ่มพิ่ขึ้นขึ้ทุกทุปี จึงจึมีกมีารคาดการณ์แนวโน้มว่าว่จะมี ครัวรัเรือรืนข้าข้มรุ่นรุ่ ในปี พ.ศ. 2583 เพิ่มพิ่ขึ้นขึ้เป็นร้อร้ยละ 7.6 และคาดการณ์ว่าว่รูปแบบการอยู่อยู่าศัยของ ครอบครัวรัในอนาคต คือ การที่ครัวรัเรือรืนคนเดียวมีแมีนวโน้มเพิ่มพิ่ขึ้นขึ้ประมาณร้อร้ยละ 13.6 ในอีก 20 ปีข้าข้งหน้า และการที่ครัวรัเรือรืนพ่อพ่แม่ ลูกลูมีแมีนวโน้มลดลง จากประมาณร้อร้ยละ 53 ในปี 2533 เหลือร้อร้ยละ 21 อีกทั้งทั้ด้านครัวรัเรือรืนสามี-มีภรรยา (ไม่มีม่ลูมีกลู ) มีแมีนวโน้มเพิ่มพิ่ขึ้นขึ้จากร้อร้ยละ 4.5 ในปี 2533 เพิ่มพิ่ขึ้นขึ้เป็นประมาณร้อร้ยละ 15.0 ในปี 2583[12] นอกจากนี้รายงานความมั่นมั่คงของมนุษย์ ประเทศไทย ปี 2565[13] พบว่าว่ภาพรวมจังจัหวัดวั ในเขตพื้นพื้ที่รับรัผิดชอบ สสว. 5 มีดัมี ดัชนีความมั่นมั่คง ของมนุษย์มิย์ติมิ ติด้านครอบครัวรัอยู่ที่ยู่ ที่ 68.91 ซึ่งซึ่หมายความว่าว่มีรมีะดับสูงสู 3.1 อัตราการหย่าย่ร้าร้ง ข้อข้มูลครอบครัวรัที่จดทะเบียบีนสมรส หย่าย่ร้าร้ง และอัตราการหย่าย่ร้าร้งมากที่สุดสุในปี พ.ศ. 2563 - 2565 พบว่าว่กลุ่มลุ่จังจัหวัดวัที่อยู่ใยู่นเขตรับรัผิดชอบของ สสว.5 ครอบครัวรัที่จดทะเบียบีนสมรส หย่าย่ร้าร้ง และอัตรา การหย่าย่ร้าร้งมากที่สุดสุคือ จังจัหวัดวัอุดรธานี คิดเป็นร้อร้ยละ 51.2 รองลงมาคือ จังจัหวัดวัเลย คิดเป็นร้อร้ยละ 50.4 และจังจัหวัดวัที่ครอบครัวรั จดทะเบียบีนสมรส หย่าย่ร้าร้ง และอัตราการหย่าย่ร้าร้งน้อยที่สุดสุ คือ จังจัหวัดวัมหาสารคาม คิดเป็นร้อร้ยละ 35.5 6 สสว.5
ประเด็นความรุนแรงในครอบครัวรั จากสถานการณ์ดังกล่าว กระทรวงการพัฒพันาสังสัคมและความมั่นมั่คงของมนุษย์ไย์ด้เล็งเห็นห็ ความสำ คัญของครอบครัวรั ในฐานะที่เป็นสถาบันบัพื้นพื้ฐานของสังสัคม ได้มีกมีารนำ พระราชบัญบัญัติ คุ้มคุ้ครองผู้ถูกถูกระทำ ความรุนแรงในครอบครัวรัพ.ศ. 2550 มาใช้อช้ย่าย่งเคร่งร่ครัดรัอีกทั้งทั้จัดจัตั้งตั้ศูนย์ การช่วช่ยเหลือและกลไกในการเฝ้าระวังวั ป้องกัน แก้ไขปัญหา และส่งส่เสริมริความเข้มข้แข็งข็ ให้กัห้ กับสถาบันบั ครอบครัวรัสำ หรับรัข้อข้มูลเครือรืข่าข่ย/สวัสวัดิการด้านสตรีแรีละสถานบันบัครอบครัวรัพบว่าว่ จังจัหวัดวัที่อยู่ใยู่นเขตรับรัผิดชอบของสสว.5 ในด้านเครือรืข่าข่ย/สวัสวัดิการด้านสตรีแรีละสถานบันบัครอบครัวรั มากที่สุดสุคือ ศูนย์พัย์ฒพันาครอบครัวรัในชุมชน (ศพค.) จำ นวน 914 แห่งห่รองลงมาคือ ศูนย์ปย์ฏิบัติบั ติการ เพื่อพื่ ป้องกันการกระทำ ความรุนแรงในครอบครัวรัระดับตำ บล (ศปก.ต.) จำ นวน 111 แห่งห่องค์กร สาธารณประโยชน์ จำ นวน 66 แห่งห่มาตรฐาน ศพค. จำ นวน 50 แห่งห่และโรงเรียรีนครอบครัวรัจำ นวน 23 แห่งห่ดังนั้นนั้จากการคาดการณ์ว่าว่ความรุนแรงในครอบครัวรัซึ่งซึ่มีแมีนวโน้ม เพิ่มพิ่สูงสูมากขึ้นขึ้ทุกทุปี หน่วยงานรัฐรัหน่วยงานเอกชน ภาคประชาชน และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อข้ง ควรมีมมีาตรการเฝ้าระวังวัและแก้ไขปัญหาในระดับประเทศ และในระดับพื้นพื้ที่ต่อไปมากขึ้นขึ้ โดย กรม กิจการสตรีแรีละสถาบันบัครอบครัวรัได้กำ หนดแนวทางในการป้องกันปัญหาด้วยการส่งส่เสริมริพัฒพันา สร้าร้งความเข้มข้แข็งข็ ให้แห้ก่สถาบันบัครอบครัวรัคุ้มคุ้ครองสวัสวัดิภาพบุคคลในครอบครัวรัและป้องกันแก้ไข คุ้มคุ้ครอง พิทัพิ ทักษ์สิทสิธิแธิละจัดจัสวัสวัดิการสังสัคม[145] ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวรัเป็นหนึ่งในประเด็น ปัญหาที่นำ ไปสู่อัสู่ อัตราการหย่าย่ร้าร้งที่เพิ่มพิ่สูงสูขึ้นขึ้ ที่มา : สถิติความรุนแรงในรอบ 6 ปี กรมกิจการสตรีแรีละสถาบันบัครอบครัวรั 7 [15] สถิติสายด่วน 1300. ศูนย์ช่ย์วช่ยเหลือสังสัคม 1300 กระทรวงการพัฒพันาสังสัคมและความมั่นมั่คงของมนุษย์ [16] กรมกิจการสตรีแรีละสถาบันบัครอบครัวรั. แนวทางการขับขัเคลื่อนภารกิจสำ คัญของส่วส่นราชการและเทียบเท่า สู่กสู่ ารปฏิบัติบั ติประจำ ปี 2566. 3 พ.ย. 2565. ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวรั ในปี พ.ศ. 2565 รวมจำ นวนทั้งทั้สิ้นสิ้ 2,943 ราย โดยพบว่าว่ เป็นความรุนแรงประเภท ถูกถูทำ ร้าร้ยร่าร่งกายมาก ที่สุดสุสำ หรับรักลุ่มลุ่จังจัหวัดวัที่อยู่ใยู่นเขตรับรัผิดชอบ พื้นพื้ที่ของ สสว.5 พบว่าว่จังจัหวัดวัพื้นพื้ที่การรับรัแจ้งจ้ กระแสความรุนแรงสูงสูสุดสุคือ จังจัหวัดวัขอนแก่น จำ นวน 84 ราย อยู่อัยู่ อันดับที่ 5 ของประเทศ เมื่อมื่ เปรียรีบเทียบข้อข้มูล ปี พ.ศ. 2563 ความรุนแรง ในครอบครัวรัมีทั้มี ทั้งทั้หมด 2,309 ราย[14] สสว.5
ในปี พ.ศ. 2563 – 2565 กลุ่มลุ่จังจัหวัดวัที่อยู่ใยู่นเขตรับรัผิดชอบของ สสว.5 พบว่าว่มีจำมีจำนวนคนพิกพิารที่ ได้รับรัการจดทะเบียบีนในปี พ.ศ. 2565 จำ นวนทั้งทั้สิ้นสิ้ 261,761 คน สัดสัส่วส่นคนพิกพิารที่ได้รับรัการจด ทะเบียบีนมีแมีนวโน้มที่เพิ่มพิ่มากขึ้นขึ้จากเดิม เป็นจำ นวน 5,106 คน จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นขึ้กรมส่งส่ เสริมริและพัฒพันาคุณคุภาพชีวิชีตวิคนพิกพิาร กระทรวงการพัฒพันาสังสัคมและความมั่นมั่คงของมนุษย์ หน่วยงานรัฐรัและหน่วยงานเอกชนอื่นๆ ควรมีกมีารส่งส่เสริมริและสนับสนุนโอกาสให้ผู้ห้ ผู้พิกพิารเข้าข้ถึงสิทสิธิ สวัสวัดิการมากขึ้นขึ้รวมไปถึงพิจพิารณาการจ่าจ่ยเบี้ย บี้ คนพิกพิารที่เพิ่มพิ่ขึ้นขึ้ตามจำ นวนประชากรอย่าย่งทั่วทั่ ถึง เพิ่มพิ่สิทสิธิปธิระโยชน์กับคนพิกพิารและผู้ดูแดูลคนพิกพิารให้ไห้ด้รับรัการคุ้มคุ้ครองอย่าย่งครอบคลุมลุมากขึ้นขึ้ ตามระเบียบีบคณะกรรมการส่งส่เสริมริและพัฒพันาคุณคุภาพชีวิชีตวิคนพิกพิารแห่งห่ชาติ ว่าว่ด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีวิปธีรับรัสภาพแวดล้อมที่อยู่อยู่าศัยให้แห้ก่คนพิกพิาร การมีผู้มี ผู้ช่วช่ยคนพิกพิาร การช่วช่ยเหลือคนพิกพิารที่ ไม่มีม่ผู้มี ผู้ดูแดูล และสิทสิธิขธิองผู้ดูแดูลคนพิกพิาร พ.ศ. 2552 อีกทั้งทั้ยังยัมีกมีารรองรับรัจำ นวนคนพิกพิารใน สถานคุ้มคุ้ครอง ศูนย์พัย์ฒพันาศักยภาพและอาชีพชีคนพิกพิาร และศูนย์คุ้ย์ คุ้มคุ้ครองและดูแดูลคนพิกพิาร ให้มีห้ มี มาตรฐานและเพียพีงพอต่อจำ นวนคนพิกพิารที่เพิ่มพิ่สูงสูขึ้นขึ้รวมไปถึง พัฒพันาศักยภาพเครือรืข่าข่ยปฏิบัติบั ติ การในพื้นพื้ที่ เช่นช่ศูนย์ใย์นชุมชน อาสาสมัคมัร ในการเฝ้าระวังวัช่วช่ยเหลือ คุ้มคุ้ครองพิทัพิ ทักษ์สิทสิธิ และ พัฒพันาคุณคุภาพชีวิชีตวิคนพิกพิารและครอบครัวรั ในชุมชน 4. ด้านพิกพิาร สัดสัส่วส่นคนพิกพิารที่ได้รับรัการจดทะเบียบีนต่อประชากร ที่มา : สำ นักบริหริารการทะเบียบีน กรมการปกครอง ประชากรผู้พิกพิารประเทศไทยในปี พ.ศ. 2566 พบว่าว่จำ นวนผู้พิกพิารที่จดทะเบียบีนรวมจำ นวน ทั้งสิ้นสิ้ 2,183,982 คน เมื่อมื่เทียบกับข้อข้มูลในปี พ.ศ. 2565 พบว่าว่จำ นวนผู้พิกพิารที่จดทะเบียบีนใน ประเทศเพิ่มพิ่ขึ้นขึ้เป็นจำ นวน 172,388 คน 8สสว.5
4.2 ข้อข้มูลสัดสัส่วส่นประเภทคนพิกพิารที่มากที่สุดสุ ประชากรผู้พิกพิารประเภทความพิกพิารทางการเคลื่อนไหวหรือรืทางร่าร่งกาย ในปี พ.ศ. 2566 พบว่าว่มีจำมีจำนวนทั้งทั้สิ้นสิ้ 1,112,763 คน [17] ปิ่นปินันท์ บัวบัคลี่. (2557). ความต้องการการฟื้นฟื้ ฟูสมรรถภาพของคนพิกพิารทางการเคลื่อนไหวและร่าร่งกาย ตำ บลแม่แม่ ฝก อำ เภอสันสัทราย จังจัหวัดวัเชียชีงใหม่ จาก http://cmuir.cmu.ac.th/handle/6653943832/45914 การฟื้นฟื้ ฟูสมรรถภาพคนพิกพิารจึงจึเป็นวิธีวิกธีารหนึ่งที่จะช่วช่ยพัฒพันาศักยภาพและ ความสามารถในการประกอบกิจกรรมของคนพิกพิาร นอกจากนี้สิทสิธิที่ธิ ที่ คนพิกพิารที่ พึงพึจะได้รับรันั้นนั้เป็นไปตาม มาตรา 20 ในพระราชบัญบัญัติส่งส่เสริมริและพัฒพันา คุณคุภาพชีวิชีตวิคนพิกพิาร พ.ศ. 2550 ซึ่งซึ่เป็นประเภทความพิกพิารที่มากที่สุดสุข้อข้มูลจำ นวนคนพิกพิารจำ แนกตามประเภท ความพิกพิารในปี พ.ศ. 2563 – 2565 พบว่าว่กลุ่มลุ่จังจัหวัดวัที่อยู่ใยู่นเขตรับรัผิดชอบ ของ สสว.5 มีสัมีดสัส่วส่นคนพิกพิารจำ แนกตามประเภทความพิกพิารมากที่สุดสุคือ พิกพิาร ทางการเคลื่อนไหวหรือรืทางร่าร่งกาย ร้อร้ยละ 47.5 รองลงมา คือ พิกพิารทางการ ได้ยินยิหรือรืสื่อสื่ความหมาย ร้อร้ยละ 19.7 พิกพิารทางการมองเห็นห็ร้อร้ยละ 11.7 ตาม ลำ ดับ เมื่อมื่พิจพิารณาข้อข้มูลดังกล่าว พบว่าว่จำ นวนคนพิกพิารจำ แนกตามประเภท ความพิกพิารมีแมีนวโน้มเพิ่มพิ่มากขึ้นขึ้คือ พิกพิารทางการเคลื่อนไหวหรือรืทางร่าร่งกาย ซึ่งซึ่เป็นกลุ่มลุ่หนึ่งที่มีข้มีอข้จำ กัดความสามารถในการประกอบกิจกรรมต่างๆ ระบุว่าว่ “ผู้พิกพิาร” มีสิมีทสิธิเธิข้าข้ถึงและใช้ปช้ระโยชน์ได้จากสิ่งสิ่อำ นวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะตลอดจน สวัสวัดิการและความช่วช่ยเหลืออื่นจากรัฐรั โดยเฉพาะผู้พิกพิารทางการเคลื่อนไหวและร่าร่งกาย ได้แก่ การ บริกริารฟื้นฟื้ ฟูสมรรถภาพโดยกระบวนการทางการแพทย์ และค่าใช้จ่ช้าจ่ยในการ รักรัษาพยาบาลค่าอุปกรณ์ เครื่อรื่งช่วช่ยความพิกพิารและสื่อสื่ส่งส่เสริมริพัฒพันาการเพื่อพื่ ปรับรัสภาพทางร่าร่งกาย การฟื้นฟื้ ฟูสมรรถภาพด้าน อาชีพชีสิ่งสิ่อำ นวยความสะดวกเทคโนโลยี สัตสัว์ เครื่อรื่งมือมืหรือรือุปกรณ์นำ ทาง เพื่อพื่ ประโยชน์ในการเดินทาง การได้รับรัสิ่งสิ่อำ นวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ โดยได้รับรัการยกเว้นว้ค่าบริกริารค่าธรรมเนียม รวมไปถึง การปรับรัสภาพแวดล้อมที่อยู่อยู่าศัย และสวัสวัดิการอื่นๆ ที่ควรจะได้รับรัเพื่อพื่ ให้ผู้ห้ ผู้พิกพิารมีสิมีทสิธิสธิวัสวัดิการอย่าย่ง ทั่วทั่ถึงมากขึ้นขึ้ [16] 9สสว.5
จากการศึกษาข้อข้มูลด้านความต้องการสวัสวัดิการทางสังสัคมของผู้พิกพิารด้านการทำ งานและการมี รายได้ ได้แก่ ต้องการให้รัห้ฐรัสนับสนุนงบประมาณหรือรืจัดจัหาแหล่งเงินทุนทุกู้ยืกู้มยืเพื่อพื่นำ ไปฟื้นฟื้ ฟู สมรรถภาพคนพิกพิาร เพื่อพื่ ให้เห้พียพีงพอต่อการประกอบอาชีพชีต้องการฝึกอาชีพชี ในสถานประกอบ การของรัฐรัอย่าย่งเหมาะสมกับประเภทความพิกพิาร และตรงกับความต้องการตลาดแรงงาน และ ต้องการให้มีห้กมีารจัดจัเผยแพร่ปร่ระชาสัมสัพันพัธ์เธ์กี่ยวกับอาชีพชีสำ หรับรัคนพิกพิารผ่านทางวิทวิยุ โทรทัศน์ หรือรืสิ่งสิ่พิมพิพ์ต่พ์ ต่างๆ [17] เมื่อมื่แนวโน้มผู้พิกพิารที่ประกอบอาชีพชีมีจำมีจำนวนเพิ่มพิ่มากขึ้นขึ้สิ่งสิ่ที่ต้องรับรัมือมืคือการส่งส่เสริมริ มาตรการจ้าจ้งงานตามพระราชบัญบัญัติส่งส่เสริมริและพัฒพันาคุณคุภาพชีวิชีตวิคนพิกพิาร พ.ศ. 2550 และ ที่แก้ไขเพิ่มพิ่เติม (ฉบับบัที่ 2) พ.ศ. 2556 โดยอธิบธิายหลักเกณฑ์การทำ งานและจ้าจ้งงานคนพิกพิาร เพื่อพื่จูงใจให้กัห้ กับสถานประกอบการมีจ้มีาจ้งงานคนพิกพิารมากขึ้นขึ้และให้คห้นพิกพิารได้มีกมีารประกอบ อาชีพชี ได้เห็นห็คุณคุค่าและการยอมรับรัจากสังสัคมมากยิ่งยิ่ขึ้นขึ้นอกจากนี้ ควรสร้าร้งกลไกความร่วร่มมือมื เพื่อพื่สร้าร้งโอกาสการมีงมีานทำ และสร้าร้งรายได้แก่คนพิกพิารในระดับจังจัหวัดวักลุ่มลุ่จังจัหวัดวัตั้งตั้แต่การ พัฒพันาหลักสูตสูรการศึกษา การฝึกอบรมเพื่อพื่เสริมริสร้าร้งขีดขีความสามารถ และทักษะอาชีพชีทั้งทั้ ใน และนอกระบบ ที่สอดรับรัสภาพความพิกพิารและความต้องการของสถานประกอบการในพื้นพื้ที่ หรือรื การประกอบอาชีพชีส่วส่นตัว การสร้าร้งระบบการ matching ระหว่าว่งคนพิกพิารกับนายจ้าจ้ง/สถาน ประกอบการเพื่อพื่การสร้าร้งอาชีพชีและรายได้ด้วยช่อช่งทางที่เข้าข้ถึงได้ง่ายและรวดเร็วร็ตลอดจนการ เข้าข้ถึงข้อข้มูลข่าข่วสารและบริกริารด้วยช่อช่งทางที่หลากหลาย ครอบคลุมลุทุกทุพื้นพื้ที่ [18] ชานนท์ คันธฤทธิ์.ธิ์(2561). ปัจจัยจัที่สัมสัพันพัธ์กัธ์ กับความต้องการสวัสวัดิการทางสังสัคมของผู้พิกพิารในจังจัหวัดวันนทบุรี.รีวารสารรัฐรัศาสตร์ มหาวิทวิยาลัยราชภัฏสวนสุนัสุนัทา (1)1, 13-14 4.3 ข้อข้มูลสัดสัส่วส่นคนพิกพิารด้านแรงงาน ประชากรผู้พิกพิารประเทศไทยในปี พ.ศ. 2566 พบว่าว่จำ นวนผู้พิกพิารที่ประกอบอาชีพชี ในวัยวัทำ งาน (อายุ 15-59 ปี) มีจำมีจำนวนทั้งทั้สิ้นสิ้ 311,259 คนต่อจำ นวนคนพิกพิารวัยวัทำ งาน เมื่อมื่เปรียรีบเทียบข้อข้มูล ย้อย้นหลังสามปี พบว่าว่จำ นวนผู้พิกพิารที่ประกอบอาชีพชี ในปี พ.ศ. 2563 มีจำมีจำนวนทั้งทั้สิ้นสิ้ 266,484 คน ซึ่งซึ่มีแมีนวโน้มผู้พิกพิารที่ประกอบอาชีพชีมีจำมีจำนวนที่เพิ่มพิ่มากขึ้นขึ้เป็น จำ นวน 44,775 คน 10สสว.5
5.1 สัดสัส่วส่นผู้สูงสูอายุต่อประชากร ข้อข้มูลจำ นวนผู้สูงสูอายุที่มีอมีายุ 60 ปีขึ้นขึ้ ไป อยู่ใยู่นเขตรับรัผิดชอบของ สสว.5 พบว่าว่ ในปี พ.ศ. 2565 มีจำมีจำนวนรวมทั้งทั้สิ้นสิ้ 2,733,142 คน เพิ่มพิ่ขึ้นขึ้จากปี พ.ศ. 2564 เป็นจำ นวน 122,374 คน เมื่อมื่จำ นวนผู้สูงสูอายุจำ แนกตามเพศ และกลุ่มลุ่อายุ ในปี พ.ศ. 2564 – 2565 ที่อยู่ใยู่นเขตรับรัผิดชอบของ สสว.5 พบว่าว่จำ นวนผู้สูงสูอายุที่มากที่สุดสุคือ อายุ 60 – 69 ปี จำ นวน 780,698 คน รองลงมาผู้สูงสูอายุ 70 – 79 ปี จำ นวน 421,221 คน และผู้สูงสูอายุ 80 ปี ขึ้นขึ้ ไป จำ นวน 165,154 คน ตามลำ ดับ เมื่อมื่พิจพิารณาข้อข้มูลดังกล่าว พบว่าว่ จำ นวนผู้สูงสูอายุในเขตพื้นพื้ที่รับรัผิดชอบของ สสว.5 มีแมีนวโน้มเพิ่มพิ่มากขึ้นขึ้ ประชากรสูงสูอายุในประเทศไทย ในปี 2564 ประเทศไทยมีปมีระชากรรวม 66.7 ล้านคน ประชากรสูงสู อายุของประเทศไทยได้เพิ่มพิ่จำ นวน ขึ้นขึ้อย่าย่งเร็วร็มาก เมื่อมื่ 50 ปีก่อน ประเทศไทยมีผู้มี ผู้สูงสูอายุไม่ถึม่ ถึง 2 ล้านคนแต่ในปี 2564 จำ นวนผู้สูงสูอายุ เพิ่มพิ่เป็น 12.5 ล้านคน หรือรืคิดเป็นร้อร้ยละ 19 ของประชากร ทั้งทั้หมด ประเทศไทยได้เข้าข้สู่ “สังสัคมสูงสูอายุอย่าย่งสมบูรณ์” ตั้งตั้แต่ปี พ.ศ 2565 และคาดการณ์ แนวโน้มในอีก 20 ปีข้าข้งหน้า ประชากรรวมของประเทศไทยจะเพิ่มพิ่ช้าช้ลง อัตราเพิ่มพิ่ ประชากรจะลด ต่ำ จนถึงขั้นขั้ติดลบ แต่ประชากรสูงสูอายุจะเพิ่มพิ่ขึ้นขึ้อย่าย่งรวดเร็วร็ ในขณะที่ผู้สูงสูอายุ 60 ปีขึ้นขึ้ ไปจะเพิ่มพิ่ เฉลี่ยร้อร้ยละ 4 ต่อปี ผู้สูงสูอายุวัยวั ปลาย 80 ปีขึ้นขึ้ ไป จะเพิ่มพิ่ด้วยอัตราเฉลี่ย ถึงร้อร้ยละ 7 ต่อปี[18] 5. ด้านผู้สูงสูอายุ 11[19] มูลนิธิสธิถาบันบัวิจัวิยจัและพัฒพันาผู้สูงสูอายุไทย. ๒๕๖๔. รายงานสถานการณ์ผู้สูงสูอายุไทย พ.ศ. 2564. https://thaitgri.org/?p=40101 สสว.5
ทุกทุภาคส่วส่นจึงจึควรส่งส่เสริมริกิจกรรมส่งส่เสริมริสุขสุภาพ การให้ปห้ระชาชนมีคมีวามรู้แรู้ละความพร้อร้ม ในการเตรียรีมความพร้อร้มก่อนการเข้าข้สู่วัสู่ ยวัผู้สูงสูอายุ และดำ เนินการตามระบบการดูแดูลและคุ้มคุ้ครอง ทางสังสัคมของผู้สูงสูอายุในระดับพื้นพื้ที่ โดยสามารถดำ เนินการให้คห้รอบคลุมลุใน 5 มิติมิ ติได้แก่ 1) มิติมิ ติด้านเศรษฐกิจ การส่งส่เสริมริ ให้ผู้ห้ ผู้สูงสูอายุมีรมีายได้ที่เพียพีงพอต่อการดำ เนินชีวิชีตวิตลอดจน การส่งส่เสริมริการออมให้กัห้ กับกลุ่มลุ่เด็ก เยาวชน วัยวัแรงงาน เพื่อพื่ ให้เห้ข้าข้สู่วัสู่ ยวัผู้สูงสูอายุอย่าย่งมีคุมีณคุภาพ 2) มิติมิ ติต้านสังสัคม ส่งส่เสริมริ ให้ผู้ห้ ผู้สูงสูอายุที่มีพมีฤฒพลัง ร่วร่มขับขัเคลื่อนงานด้านผู้สูงสูอายุในมิติมิ ติเชิงชิพื้นพื้ที่ โดย อปท. เป็นกลไกหลักในการขับขัเคลื่อนในการส่งส่เสริมริการร่วร่มกลุ่มลุ่ของผู้สูงสูอายุ 3) มิติมิ ติด้านสุขสุภาพ มีกมีารส่งส่เสริมริสุขสุภาพทั้งทั้ 4 มิติมิ ติทั้งทั้ด้านร่าร่งกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังสัคม ด้านจิตจิวิญวิญาณ ในผู้สูงสูอายุทุกทุกลุ่มลุ่ (กลุ่มลุ่ติดสังสัคม ติดบ้าบ้น และติดเตียง) และ ผลักดันให้กห้ารมี CG (Care Giver), CM (Case Management), อสม. และ อพม. ในพื้นพื้ที่เพื่อพื่ดูแดูลผู้สูงสูอายุให้มีห้ มี ความแข็งข็แรง ทั้งทั้ด้านร่าร่งกายและจิตจิ ใจ 4) มิติมิ ติด้านสภาพแวดล้อม การจัดจัสภาพแวดล้อมให้เห้อื้อต่อการใช้ชีช้วิชีตวิ ประจำ วันวัของผู้สูงสูอายุ ตลอดจนการปรับรั ปรุงและซ่อซ่มแชมสภาพที่อยู่อยู่าศัยของผู้อายุ เพื่อพื่ลดอัตราการเกิดอุบัติบั ติเหตุที่ตุที่ไม่ พึงพึประสงค์ 5) มิติมิ ติด้านเทคโนโลยีแยีละนวัตวักรรม การบูรณาการต่อยอด และยกระดับคุณคุภาพชีวิชีตวิทุกทุมิติมิ ติแบบ องค์รวม โดยนำ สังสัคมออนไลน์มาใช้ เช่นช่การแจ้งจ้ข่าข่วสาร การแจ้งจ้เหตุ อีกทั้งทั้ขับขัเคลื่อนโรงเรียรีน ผู้สูงสูอายุ และศูนย์พัย์ฒพันาคุณคุภาพชีวิชีตวิและส่งส่เสริมริอาชีพชีผู้สูงสูอายุ (ศพอส.) เพื่อพื่ ให้เห้กิดเป็นระบบ การดูแดูลและคุ้มคุ้ครองพิทัพิ ทักษ์สิทสิธิผู้ธิ ผู้สูงสูอายุ 13 สสว.5 เพื่อรองรับการผู้สูงอายุที่กำ ลังจะเกิดขึ้น... ผู้สูงสูอายุกลุ่มลุ่เปราะบาง 5.2.1 ผู้สูงสูอายุ ติดบ้าบ้น ติดเตียง ติดสังสัคม ข้อข้มูลผู้สูงสูอายุ ติดบ้าบ้น ติดเตียง ติดสังสัคม ในปี พ.ศ. 2563 – 2566 พบว่าว่กลุ่มลุ่จังจัหวัดวัที่อยู่ ในเขตรับรัผิดชอบของสสว.5 มีสัมีดสัส่วส่นผู้สูงสูอายุติด สังสัคม คิดเป็นร้อร้ยละ 95.90 สัดสัส่วส่นผู้สูงสูอายุติด บ้าบ้น คิดเป็นร้อร้ยละ 3.54 และสัดสัส่วส่นผู้สูงสูอายุติด เตียง คิดเป็นร้อร้ยละ 0.56 เมื่อมื่พิจพิารณาข้อข้มูลย้อย้นหลัง พบว่าว่สัดสัส่วส่นผู้สูงสูอายุ ติดบ้าบ้น และติดเตียง ในเขตพื้นพื้ที่รับรัผิดชอบของ สสว.5 มีแมีนวโน้มเพิ่มพิ่มากขึ้นขึ้และสัดสัส่วส่นผู้สูงสูอายุติดสังสัคมมี แนวโน้มลดลง จากสถานการณ์ดังกล่าว คาดการณ์แนว โน้มของปัญหาเพื่อพื่ตอบสนองให้สัห้มสัพันพัธ์กัธ์ กับความต้องการ ของผู้สูงสูอายุที่ติดบ้าบ้น ติดเตียง และติดสังสัคม ดังนี้
5.2.1.1 ผู้สูงสูอายุติดบ้าบ้น ติดเตียง ปัญหาของผู้สูงสูอายุติดบ้าบ้น และติดเตียง[1] ด้านสุขสุภาพกาย พบว่าว่ผู้ที่ป่วยติดเตียงมาเป็นเวลายาว นาน ไม่ไม่ด้รับรัการบริหริารร่าร่งกาย มีโมีรคประจำ ตัวเป็นโรคเรื้อรื้รังรั และครอบครัวรัไม่สม่ามารถดูแดูลได้เต็มที่ ทำ ให้ผู้ห้ ผู้สูงสูอายุติดเตียง ไม่ไม่ด้รับรัการดูแดูลสุขสุอนามัยมัอย่าย่งเหมาะสม 14[18] วารสารการพัฒพันาชุมชนและคุณคุภาพชีวิชีตวิ 10(2): 190 - 200 (2565) 194 | แนวทางการดูแดูลสุขสุภาพและพัฒพันาคุณคุภาพชีวิชีตวิผู้สูงสูอายุ ติดเตียงในชุมชนด้วยการแพทย์แย์ผนไทย กรณีศึกษา ตำ บล บ้าบ้นดู่ อำ เภอเมือมืง จังจัหวัดวัเชียชีงราย [19] การสำ รวจประชากรสูงสูอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2564. สำ นักงานสถิติแห่งห่ชาติ กระทรวงดิจิทัจิ ทัลเพื่อพื่เศรษฐกิจและสังสัคม ด้านสังสัคม พบว่าว่ผู้สูงสูอายุติดเตียงบางคนที่ไม่มีม่คมีนดูแดูลหรือรืถูกถูทอดทิ้งให้อห้ยู่ลำยู่ ลำพังพัรอคอยการ ช่วช่ยเหลือจากคนในชุมชนและภาครัฐรับางรายขาดความรู้แรู้ละความเข้าข้ใจรวมถึงวิธีวิกธีารดูแดูลที่ถูกถูต้อง สสว.5 ด้านสุขสุภาพจิตจิพบว่าว่ผู้สูงสูอายุติดเตียงขาดการเข้าข้ ร่วร่มทำ กิจกรรมกับคนในสังสัคม ทำ ให้รู้ห้รู้สึรู้กสึสิ้นสิ้หวังวัในชีวิชีตวิ ด้านสิ่งสิ่แวดล้อม พบว่าว่ผู้สูงสูอายุติดเตียงที่ญาติไม่ ค่อยมีเมีวลาดูแดูล หรือรืที่ถูกถูทอดทิ้งให้อห้ยู่ลำยู่ ลำพังพัลักษณะของที่ ผู้สูงสูอายุ และ ด้านเศรษฐกิจ พบว่าว่ผู้สูงสูอายุติดเตียงที่ฐานะยากจน 5.2.1.2 ผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียว ลักษณะการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ พบว่าว่สัดส่วนของผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียวตามลำ พังในครัวรัเรือรืน มีแมีนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเพิ่มจากร้อร้ยละ 3.6 ในปี พ.ศ. 2537 เป็นร้อร้ยละ 12.0 ในปี พ.ศ. 2564 ในขณะที่ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ (ร้อร้ยละ 88.0) ที่ไม่ได้อยู่คนเดียวนั้นนั้อาศัยอยู่กับคู่สมรส ตามลำ พัง มีมากถึงร้อร้ยละ 21.1 และอาศัยอยู่กับบุคคลอื่น (รวมทั้งทั้ที่มีหรือรื ไม่มีคู่สมรสอาศัยอยู่ด้วย) มีร้อร้ยละ 66.9 [18] ข้อมูลผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียวในกลุ่มจังหวัดวัที่อยู่ในเขตรับรัผิดชอบของสสว.5 ปี พ.ศ. 2563 – 2564 พบว่าว่จังหวัดวัที่ผู้สูงอายุอยู่คนเดียวมากที่สุด คือ จังหวัดวัขอนแก่น คิดเป็นร้อร้ยละ 11.2 รอง ลงมา ได้แก่ จังหวัดวัร้อร้ยเอ็ด คิดเป็นร้อร้ยละ 10.4 และจังหวัดวัหนองคาย คิดเป็นร้อร้ยละ 8.4 ตาม ลำ ดับ เมื่อพิจารณาข้อมูล พบว่าว่จังหวัดวัส่วนใหญ่มีแนวโน้มของผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียวเพิ่มมากขึ้น จากข้อมูลมูลนิธิสธิถาบันวิจัวิ จัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (2563) ชี้ใชี้ ห้เห้ห็นห็ถึงความต้องการสำ หรับรั ผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียวในด้านบริกริารและการดูแลที่บ้านและในชุมชนที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้สูงอายุที่ช่วช่ยเหลือตัวเองไม่ได้ รวมถึงการสนับสนุนโครงสร้าร้งพื้นฐานต่างๆ ที่จะเอื้อให้ผู้ห้ ผู้สูงอายุ ที่ยังมีร่าร่งกายแข็งแรงสามารถอยู่ได้ด้วยตัวเอง เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิชีตวิของ ผู้สูงอายุไทยได้อย่างเป็นรูปธรรมและเกิดความยั่งยั่ยืน การซ่อซ่มแซมบ้านและ ปรับรั ปรุงสภาพแวดล้อมจึงมีความสำ คัญและต้องดำ เนินการอย่างต่อเนื่อง ต้องพึ่งพึ่พารายได้จากเบี้ย บี้ ยังยัชีพชีผู้สูงสูอายุจากรัฐรั เสี่ย สี่ งต่อการติดเชื้อชื้ อยู่อยู่าศัย ไม่เม่หมาะสมกับการดำ เนินชีวิชีตวิของ
จากฐานข้อมูลระบบสมุดพกครอบครัวรัอิเล็กทรอนิกส์ MSO – Logbook มีข้อมูลครัวรัเรือรืนเปราะบาง ในเขตพื้นที่รับรัผิดชอบของ สสว.5 ทั้งทั้สิ้น 116,371 ครัวรัเรือรืน ซึ่งซึ่มีสมาชิกชิ ในครอบครัวรัที่ประสบปัญหา จำ นวน 132,784 คน โดยมีสภาพปัญหาที่พบส่วนใหญ่จัดลำ ดับจากมากสุดไปน้อยสุด ได้แก่ 6. กลุ่มลุ่เปราะบาง ที่มา: ระบบสมุดพกครอบครัวรัอิเล็กทรอนิกส์ MSO - Logbook ในเบื้องต้น พบว่าว่ ประชาชนส่วนใหญ่ประสบปัญหาด้านรายได้เป็นส่วนมาก เนื่องจากสมาชิกชิ ในครัวรั เรือรืนไม่สามารถหารายได้มาจุนเจือครอบครัวรัตกงานและได้รับรัผลกระทบจากสถานการณ์โรคระบาด โควิดวิ 19 เมื่อคาดการณ์แนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยจะเห็นห็ข้อมูลของจำ นวนผู้ประสบปัญหา ทางสังคมมีจำ นวนมาก การจัดสรรงบประมาณ ในส่วนที่เกี่ยวข้องมีไม่เพียงพอ เช่นช่ความต้องการ ในการซ่อซ่มสร้าร้งที่อยู่อาศัย มีจำ นวนมาก แต่การได้รับรัจัดสรรงบประมาณ มีจำ นวนจำ กัด และข้อ จำ กัด ในด้านที่ดินที่อยู่อาศัย เนื่องจากกลุ่มเปราะบางไม่มีที่ดินเป็นของตนเอง ต้องอาศัยที่ดินของ ผู้อื่นและที่ดินสาธารณะในการพักอาศัย ทำ ให้ไห้ม่เข้าหลักเกณฑ์ใน ด้านการช่วช่ยเหลือซ่อซ่ม/สร้าร้งบ้าน 1. ด้านรายได้และการมีงมีานทำ 7. ด้านความรุนแรง 5. ด้านการศึกษา 6. ด้านการเข้าข้ถึงสิทสิธิ 4. ด้านสุขสุภาพ 2. ด้านครอบครัวรั 3. ด้านที่อยู่อยู่าศัย 15 สสว.5
แผนพัฒนาคุณภาพชีวิชีตวิรายครัวรัเรือรืนระยะเร่งร่ด่วน (ระยะสั้นสั้ ) เช่นช่การช่วช่ยเหลือทางด้านเครื่อรื่ง อุปโภค บริโริภคเงินสงเคราะห์ (เงินอุดหนุน) การดูแลสุขภาพ และการเข้าถึงสิทธิทั้ธิ ทั้งทั้ 5 มิติ ได้แก่ ด้านรายได้ สุขภาพ การศึกษา ความเป็นอยู่ และการเข้าถึงบริกริารภาครัฐรั แผนพัฒนาคุณภาพชีวิชีตวิรายครัวรัเรือรืนระยะกลาง เช่นช่การให้คห้วามรู้ การฝึกอาชีพชี การเข้าถึงโอกาส การเข้า ร่วร่มกิจกรรมกลุ่มของชุมชน การเข้าถึงระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) และการปรับรัสภาพแวดล้อม เป็นต้น แผนพัฒนาคุณภาพชีวิชีตวิรายครัวรัเรือรืนระยะยาว เช่นช่การปรับรั ปรุง/ซ่อซ่มแซมที่อยู่อาศัย การมีที่ดินทำ กิน การเป็นชุมชนสีเขียว (ปลอดภัย ไม่มีการขโมย) และการบรรจุแผนการพัฒนา คุณภาพชีวิชีตวิรายครัวรัเรือรืนในแผนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นต้น 16กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นมั่คง ของมนุษย์ได้มีดำ เนินงานและวางแผนช่วช่ยครัวรั ครัวรัเรือรืนเปราะบาง โดยการจัดทำ แผนพัฒนา คุณภาพชีวิชีตวิรายครัวรัเรือรืน เป็นการจัดประเภทของ การพัฒนาครัวรัเรือรืนตามลำ ดับความเร่งร่ด่วนของ กลุ่มเปราะบางที่ต้องช่วช่ยเหลือ โดยการจัดทำ แผน พัฒนาคุณภาพชีวิชีตวิรายครัวรัเรือรืนเป็น 3 ระยะ ที่มา: ระบบสมุดพกครอบครัวรัอิเล็กทรอนิกส์ MSO - Logbook ได้แก่ การประสานงานร่วมกันในการบูรณาการข้อมูลกลุ่มเปราะบางของแต่ละหน่วยงาน โดยมี 1)การจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ (CSR) เพื่อเป็นกลไกบูรณาการความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐ ภาค เอกชน และภาคประชาสังคมในการจัดสวัสดิการช่วยเหลือประชาชน กลุ่มเปราะบาง 2) จัดทำ บันทึกความร่วมมือ (MOU) กับหน่วยงานภาคีการทำ งาน 7 หน่วยงาน ประกอบด้วย ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคศาสนา ภาคสื่อมวลชน ภาคประชาสังคม และภาคประชาชน 3) มีการบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วน เพื่อส่งเสริมสนับสนุน ให้กลุ่มเปราะบางเข้าถึงบริการพื้นฐานภาครัฐ ด้วยกลไกการทำ งานใน ทุกระดับตั้งแต่จังหวัด อำ เภอ ตำ บล รวมไปถึงการพัฒนาศักยภาพและ ยกระดับเครือข่ายปฏิบัติการในพื้นที่ เช่น ศูนย์ในชุมชน อาสาสมัคร ในการเฝ้าระวัง ช่วยเหลือ และยกพัฒนาคุณภาพชีวิตในชุมชน สสว.5
สำ นัก นั งานส่ง ส่ เสริมริและสนับ นั สนุน นุ วิชวิาการ 5 กระทรวงการพัฒ พั นาสัง สั คมและความมั่น มั่ คงของมนุษ นุ ย์ 043-421-249 http://tpso-5.m-society.go.th Email : [email protected]/2 หมู่9มู่ต.โคกสูงสูอ.อุบลรัตรัน์ จังจัหวัดวัขอนแก่น สสว.5