คำนำ
การศึกษาเร่ืองแนวทางการปลูกแอปเปิลฟูจิ ในพื้นท่ีนิคมสร้างตนเองภาคตะวันออกเฉียงเหนือคร้ังนี้
ประกอบไปดว้ ย 6 องคป์ ระกอบที่จะสร้างความเข้าใจ และองค์ความรู้ในการปลูกแอปเปิลฟูจิสายพัฒนาท่ีพัฒนา
แล้ว รวมถึงความเป็นไปได้ในการปลูกแอปเปิลสายพันธุ์ดังกล่าว คณะผู้จัดทาหวังว่าการการศึกษาครั้งนี้จะเป็น
ประโยชนต์ ่อหน่วยงานทั้งด้านการนาไปใช้ประโยชน์ และการจัดทานโยบายตอ่ ไป
คณะผจู้ ัดทาสานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 5 จงั หวดั ขอนแกน่
เมษายน 2564
สำรบญั หนำ้
เร่อื ง 1
2
1. ทม่ี าและความสาคัญ 2
2. วัตถุประสงค์ 11
3. เกยี่ วกับ “แอปเปิล” 20
4. เก่ยี วกับ “นิคมสรา้ งตนเอง” 23
5. ความเป็นไปได้ในการปลูกแอปเปิล บนพื้นทน่ี ิคมสร้างตนเอง
6. โครงการนารอ่ งการปลูกแอปเปิลฟูจิในพนื้ ท่ีนิคมสร้างตนเอง
1
แนวทางการปลกู แอปเปิลฟูจิ
ในพ้ืนที่นคิ มสร้างตนเองภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ผู้เรยี บเรยี ง: สานักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 5 จังหวัดขอนแกน่
1. ท่มี าและความสาคญั
ปจั จุบันสภาวะเศรษฐกิจมีการผันผวนเป็นอย่างมาก ส่งผลกระทบต่อการดารงชีพของประชาชนทุก
ระดับ ประกอบกบั สนิ คา้ อุปโภคบริโภคทม่ี รี าคาสงู ขนึ้ จงึ เปน็ สาเหตุสาคัญที่ทาให้รายได้ไม่เพียงพอต่อรายจ่าย
รวมถึงกระแสสงั คมท่เี ต็มไปดว้ ยวัตถนุ ยิ มกม็ ีสว่ นทาให้ความต้องการของมนุษย์เพิ่มมากขึ้น (ภัชชาวดี ครุฑธา,
2560)
สอดคล้องกบั การระบาดของไวรสั โคโรนาต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมาที่ส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจ
และสงั คมในวงกวา้ งท้ังในระดับประเทศ ระดบั ภูมภิ าค และระดบั จงั หวัดทุกจงั หวดั ของประเทศไทย เกิดภาวะ
แรงงานตกงานเป็นจานวนมาก และในอนาคตมแี นวโนม้ ยอดคนตกงานพุ่งสูงข้นึ อย่างต่อเนื่อง ทาให้ผลกระทบ
ต่อการจบั จา่ ยใชส้ อยของประชาชน และสภาวะเงินออมลดลงตามไปด้วยอย่างเห็นได้ชัด จากงานวิจัย พบว่า
ครัวเรือน มีความกังวลต่อสภาวะเศรษฐกจิ และการครองชีพของตนเองด้วย (สานักข่าวอิสรา, 2563)
การสร้างอาชพี หรือการมีรายได้เสริมจากอาชีพเสริม จึงมีความสาคัญเพ่ือตอบสนองต่อสถานการณ์
ข้างต้น โดยท่ีอาชีพเสริมมีมากมายหลากหลายอาชีพที่สามารถทาได้ มีท้ังง่าย และยากตามแต่ละชนิด แต่
จุดประสงค์หลัก ท้ังอาชีพหลัก และอาชีพเสริม คือ การมีรายได้ การมีเงิน เพื่อดารงชีพให้กับตนเอง และ
ครอบครวั ให้เพียงพอตอ่ สภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน (บลเู มาเทน, 2555)
อยา่ งไรก็ตามประเทศไทยเปน็ สงั คมเกษตรกรรม และอาชีพหลักส่วนใหญ่ คือการเกษตร ที่ส่วนหน่ึงมี
ผลผลิตส่งออกไปยังต่างประเทศ รวมถึงเป็นผู้ผลิตวัตถุดิบให้แก่ภาคการผลิตอื่น ๆ ท่ีต้อง อาศัยสินค้า
การเกษตรเปน็ วัตถดุ ิบ ย่อมทาใหเ้ กษตรกรรมนับเป็นหนงึ่ อาชพี ทยี่ ังเป็นทต่ี ้องการของตลาดแรงงานดว้ ย
กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ มีภารกิจสาคัญในการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม
ให้กับคนในสังคม และกลุ่มเป้าหมายให้มีความเข้มแข็ง และเสริมสร้างขีดความสามารถของคนในการ
ชว่ ยเหลือตนเองในการดารงชีวติ การมีอาชีพ รายได้ โดยเฉพาะกรมพฒั นาสังคมและสวัสดิการ ซึ่งมีนิคมสร้าง
ตนเอง เป็นหนว่ ยงานในการขบั เคลื่อนงานด้านการจัดสรรท่ีดินรกร้างว่างเปล่ามาใช้ประโยชน์ เพื่อช่วยเหลือ
คนยากจนใหม้ ที ีอ่ ยูอ่ าศยั และทดี่ นิ ทากนิ ในลกั ษณะชมุ ชนทเี่ ปน็ ระเบียบ พฒั นาใหม้ รี ายได้และมีคุณภาพชีวิตที่
ดีขึ้น สอดคล้องกบั การสรา้ งอาชีพ รายได้ เพ่อื การมีคณุ ภาพชีวิตทีด่ ี ซ่ึงเป็นหน่ึงในเป้าประสงค์ของกระทรวง
การพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์
2
2. วัตถปุ ระสงค์
เพ่ือศึกษาการแนวทางการปลูกแอปเปิลฟูจิ ในพ้ืนท่ีนิคมสร้างตนเอง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สงั กัดกรมพฒั นาสงั คมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์
3. เกีย่ วกับ “แอปเปลิ ”
แอบเปิลเป็นไม้ผลเมืองหนาวประเภทผลัดใบ ซ่ึงมีแหล่งกาเนิดทางยุโรป แหล่งปลูกที่สาคัญ ๆ ของ
โลกคือทวีปอเมริกา ยุโรปทางแถบเอเซีย เช่น โซเวียต จีน ญี่ปุ่นรวมทั้งออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ สาหรับ
ประเทศไทยนั้นเพิ่งจะถูกนาเข้ามาปลูกไม่ก่ีปีที่ผ่านมา ลักษณะต้นและใบ เป็นไม้เนื้อแข็ง รูปร่างของยอดท่ี
เจรญิ เต็มวัยจะแตกต่างไปตามชนดิ และตามพนั ธ์ุ โดยทว่ั ไปตน้ แอปเปลิ มีรูปรา่ งเกือบเป็นทรงกลม แต่บางพันธ์ุ
ก็มีลักษณะสูง บางพนั ธุ์มลี ักษณะเปน็ พุ่มแจ้ ใบเปน็ ใบเดย่ี วเขียวสลับกันและขอบเป็นหยัก ผลคล้ายชมพู่มีรอย
เปน็ ทางด้านขา้ งผลและก้นผล แต่ไม่ลึก มีสีผวิ ตา่ งกันตั้งแต่สเี หลืองจนถงึ นา้ ตาลแดงเขม้ เนื้อมักจะมีสีขาวหรือ
ขาวนวลซึ่งมลี กั ษณะหยาบ แอปเปลิ เปน็ พืชในสกลุ Rosaceae มชี อื่ วิทยาศาสตร์วา่ Malus domestica
3.1 ดินฟ้าอากาศ
แอปเปลิ เปน็ ไม้ผลเมืองหนาวทตี่ ้องการอากาศหนาวเย็นอันยาวนานโดยจะทาให้ระยะพักตัว
ยุติลง โดยอณุ หภูมทิ ่ีเหมาะสมคอื 15.5 – 29.5 องศาเซลเซยี ส ถ้าอณุ หภูมติ ่ากว่า -6.0 องศาเซลเซียส จะเป็น
อนั ตรายตอ่ ระบบรากอย่างรนุ แรง สาหรับดนิ ท่เี หมาะสมกบั การปลูกแอปเปิลควรเป็นดินร่วนปนทรายมีความ
เป็นกรด-ด่างประมาณ 5.0-6.8 แตแ่ อปเปลิ ไม่ชอบดินทมี่ นี ้าขงั บริเวณราก
3.2 พนั ธ์ุแอปเปิล
พนั ธ์ุแอปเปิลทผ่ี ลิตเปน็ การค้า มดี ังต่อไปนี้
1) พันธ์ุเรดดลิ เิ ชียส (Red Delicious) 10) พนั ธ์ุควีน (Queen)
2) พันธเุ์ อนวี (Envy) 11) พนั ธุ์แอเรยี น (Ariane)
3) พนั ธุแ์ กรนนีสมิท (Granny Smith 12) พันธฉ์ุ ินก้วน (Qinguan)
4) พนั ธก์ุ าลา (Gala) 13) พนั ธฟ์ุ จู ิ (Fuji)
5) พันธพุ์ ิงคเ์ ลดี้ (Pink Lady) 14) พนั ธ์ุคนิ เซย (Kinsei)
6) พันธแุ์ จ๊ส (Jazz) 15) พนั ธโ์ุ อรนิ (Orin)
7) พนั ธแ์ุ ปซฟิ กิ โรส (Pacific Rose) 16) พนั ธโ์ุ อโมริ (Aomori)
8) พันธุ์แอมโบรเซีย (Ambrosia)
9) พนั ธุ์โรซาลนี (Rosalynn)
3
ภาพแสดง ผลแอปเปิลพนั ธุ์ที่ผลติ เป็นการคา้
4
5
3.3 การขยายพนั ธ์ุ
การขยายพันธุ์แอปเปิลทาได้หลายวิธี เช่นการติดตา ตัดก่ิง วิธีการทาก็เร่ิมจากเตรียมต้นตอ
ซ่ึงอาจจะไดม้ าจากการตอนหรอื ปักชา แต่มวี ธิ ีการเตรยี มต้นตอ ซ่ึงจะได้จานวนมากและระยะเวลารวดเร็วก็คือ
ทาโดยปลูกแอปเปิลลงไปก่อน แล้วตัดต้นแอปเปิลให้เหลือแต่ตอ ตอจะแตกก่ิงก้านสาขาออกมามากมาย
ต่อมาใชด้ นิ กลบโคนต้น ก่งิ เหลา่ นนั้ ก็จะแตกรากออกมา เมือ่ รากออกดีแลว้ ก็ทาการขุดย้ายเอาไปปลูกตอ่ ไป
3.4 การปลูกและการปฏบิ ัติดูแลรักษา
การปลูกแอปเปลิ มรี ะบบการปลกู เปน็ 2 แบบ คือ
1) ระบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า ในระบบสี่เหลี่ยมผืนผ้าจะปลูกต้นไม้เป็นมุมฉากต่อกันอยู่
แต่ละมุมของสเ่ี หลีย่ มผืนผ้า เหมาะสาหรับปลกู ไม้แซมทาให้พรวนดินได้ 2 ทาง สะดวกในการดูแลรักษา และ
ต้นแอปเปิลจะได้รบั แสงแดดมากทสี่ ุด
2) ระบบแนวระดับ จะปลูกตามแนวระดับทางเดียวและมักจะคดเค้ียวไปตาม
ระยะทางห่างกนั อีกด้านเป็นระยะจากดั ระบบน้ีชว่ ยลดการสกึ กรอ่ นของดนิ เหมาะกับพื้นท่ที ีเ่ ป็นเนนิ เขาหรือที่
ลาดชนั
6
- การเตรยี มดิน เชน่ เดียวกับการปลูกไม้ผลท่ัวไป โดยขุดหลุมขนาด 1x1x1 เมตร กองดินไว้
กองหน่ึง และดนิ ชนั้ ลา่ งไว้อีกกองหนึ่ง นาปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกเทใส่ลงไปขนาดพอ ๆ กับกองดินข้างบน ผสม
คลกุ เคลา้ ใหเ้ ข้ากันจากนั้นจึงคอ่ ยเอาดนิ ล่างกลบลงไปใหม้ รี ะยะสงู กว่าปากหลุมเล็กน้อย หากนาต้นลงไปปลูก
ไดแ้ ลว้ ควรกลบดินบริเวณโคนต้นให้แน่นพอควร โดยฤดูกาลที่ปลูก ส่วนใหญ่ควรทาในขณะที่อยู่
ในชว่ งพักตัว คือช่วงฤดหู นาว ซ่ึงในช่วงนี้ต้นพืชจะไดร้ ับการกระทบกระเทือนจากการขดุ ยา้ ยนอ้ ยที่สุด
- การให้ปุ๋ยจะให้ประมาณ 2 คร้ังต่อปี โดยในช่วงเร่ิมออกดอกจะให้สูตร 13-13-21 และ
ในช่วงหลังเก็บเกี่ยวและตัดแต่งจะให้สูตร 15-15-15 ส่วนอัตราที่ใช้ก็แล้วแต่ขนาดและอายุของการ
เจริญเติบโต วิธีการให้ปุ๋ยสามารถทาได้โดยพรวนดินบริเวณรอบทรงพุ่มแล้วโรยปุ๋ยลงบนบริเวณท่ีพรวน
จากนั้นก็ให้น้าตามลงไปสาหรับวิธีการต่าง ๆ ที่จะช่วยให้แอปเปิลมีดอกและผลก็มีการศึกษาทดลองกัน
มากมาย เชน่ ในประเทศอนิ โดนีเซยี ใช้การโน้มก่งิ และปลดิ ใบ เพ่อื บงั คับให้ตาของตน้ แอปเปิลแตก จากวิธีนี้จะ
ทาใหแ้ อปเปิลออกผลได้ 2 ครั้งต่อปี (สตู รปยุ๋ คือ ไนโตรเจน – ฟอสฟอรสั – โพแทสเซยี ม)
- การตัดแตง่ ก่งิ จะนยิ มทากันในชว่ งท่ตี น้ แอปเปิลพักตัวคือในฤดูหนาว ซึ่งในช่วงน้ีเป็นช่วงท่ี
แอปเปิลทิง้ ใบและสะดวกในการตดั แต่งก่งิ มากกวา่ ฤดูอืน่ ๆ
- การปลดิ ผล เมือ่ แอปเปิลตดิ ผลมากเกินไปกจ็ ะทาให้ได้ขนาดผลท่ีเล็กและอาจเป็นอันตราย
แกต่ ้นได้ เพราะใช้อาหารจากต้นมาก ดังน้ัน จึงต้องมีการปลิดผลออกบ้าง โดยคานึงถึงความแข็งแรงของต้น
กงิ่ และใบ โดยปกติแลว้ ใบทีจ่ ะปรุงอาหารมาเลยี้ งผลไม่ควรตา่ กวา่ 40 ใบตอ่ 1 ผล
- การห่อผล แอปเปิลที่ปลูกอยู่เราใช้กระดาษห่อผลต้ังแต่เมื่อผลยังมีขนาดเล็กอยู่ทั้งนี้ก็เพื่อ
ปอ้ งกนั แมลงทีอ่ าจจะมาเจาะทาลายผล และการหอ่ ผลยังช่วยใหส้ ผี ลแอปเปลิ สวยและสด
- การปลูกพืชคลุมดิน ในการทาสวนแอปเปิลมีความจาเป็นต้องทาในที่ที่มีอากาศเย็นหรือ
สภาพภูเขาสงู ส่งิ ที่จาเป็นคอื พืชคลุมดนิ โดยจะชว่ ยลดการชะล้างหน้าดนิ และยงั ชว่ ยเก็บความชุ่มชื่นของดินให้
อยู่ได้นานทาให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์เพ่ิมขึ้นด้วย ตัวอย่างเช่น พืชคลุมดินที่ใช้ได้ดี คือ เดสโมเดียมเป็นพืช
ตระกลู ถ่วั สามารถเจรญิ เติบโตได้ดี
- การเก็บเก่ียว แอปเปิลท่ีปลูกในประเทศไทยโดยเฉลี่ยจะเริ่มออกดอกประมาณเดือน
มกราคม -กุมภาพันธ์ และจะเริ่มเก็บผลได้ประมาณต้นเดือนมิถุนายน การเก็บต้องระมัดระวังให้มีการ
กระทบกระเทอื นน้อยที่สดุ เพ่ือป้องกันการชอกช้าเสียหายอันจะทาให้ราคาต่าลงได้ หลังจากเก็บแล้วก็นาไป
บรรจุเพือ่ สง่ ตลาดต่อไป
- ประโยชน์ของแอปเปิล เป็นไม้ผลที่นิยมรับประทานผลสด ราคาจาหน่ายก็สูงแล้วแต่พันธุ์
และคุณภาพ นอกจากนี้ยงั สามารถเอาไปทาอาหารคาวหวานไดห้ ลายชนิดเชน่ ไพน์ แยม เป็นตน้
7
3.5 ข้ันตอนการปลกู แอปเปลิ ฟจู ิ
แอปเปิลฟูจิ (Fuji Apple) เป็นอีกหนึ่งพันธ์ุท่ีค่อนข้างเป็นท่ีนิยมในประเทศไทย ผลจะมี
สแี ดงปนลายสีเหลือง มถี ่ินกาเนิดจากประเทศญีป่ ุ่น เนอ้ื กรอบ รสหวาน อมเปรี้ยวนดิ ๆนยิ มรบั ประทานเป็นผล
สด เป็นพันธุ์ท่ีมีชื่อเสียงโด่งดังเป็นท่ีรู้จักไปท่ัวโลก แอปเปิลพันธ์ุน้ีมีผลขนาดใหญ่ โดยมีน้าหนักเฉลี่ยอยู่ท่ี
ลูกละ 300 กรัมขึ้นไป มีความหวานสูงและไม่ค่อยเปรี้ยว น้าเยอะ เนื้อแน่น เริ่มวางขายประมาณช่วงปลาย
เดือนตลุ าคมเป็นตน้ ไปของทกุ ปี
ฟจู ิแอปเปลิ เปน็ แอปเปิลพนั ธ์ลุ ูกผสม (apple hybrid) ทพ่ี ัฒนาโดยนักวิจยั ทส่ี ถานีวิจัยโตโฮกุ
ในฟูจซิ ากิ, อาโอโมริ, ประเทศญ่ีปุ่นในชว่ งปลายทศวรรษ 1930 และได้นาออกสู่ตลาดในปี 1962 มีต้นกาเนิด
มาจากการผสมข้ามระหว่างแอปเปิลอเมริกันสองสายพันธ์ุ - Red Delicious และ Virginia Ralls Genet
(หรือในอีกช่ือหน่ึงคอื "Rawls Jennet")
ตามเว็บไซตส์ มาคมแอปเปิลของสหรัฐอเมริกา (US Apple Association) แอปเปิล ฟูจิเป็น
หนึ่งในสายพันธ์แุ อปเปิลทีไ่ ดร้ ับความนิยมมากท่ีสดุ จากท้ังหมด 15 สายพันธุ์ในสหรัฐอเมริกา โดยช่ือ Fuji มา
จากชื่อแรกของเมืองต้นกาเนิดที่พัฒนาพันธ์ุข้ึนมา คือเมือง Fujisaki โดยทั่วไปแล้วผลของแอปเปิลฟูจิจะมี
ลักษณะกลมและมีขนาดต้ังแต่ใหญ่ไปจนถึงใหญ่มากโดยเฉลี่ยจะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางอยู่ที่ 75 มม. หรือ
7.5 เซนตเิ มตร ผลจะมีปริมาณน้าตาลอยู่ระหว่าง 9–11% โดยน้าหนักและมีเน้ือที่แน่น หวานและกรอบกว่า
แอปเปิลหลายสายพันธ์ุ ทาให้ได้รับความนิยมจากผู้บริโภคทั่วโลก แอปเปิลฟูจิมีอายุการเก็บรักษาที่ยาวนาน
มากเมื่อเทยี บกบั แอปเปิลอืน่ ๆ แมว้ ่าจะไม่มกี ารแชแ่ ข็งกต็ าม และหากทาการแช่แข็งแอปเปิลฟูจิแล้วสามารถ
คงคณุ ภาพความสดใหมไ่ ดน้ านถงึ หนง่ึ ปี
ในญป่ี นุ่ แอปเปิลฟจู ยิ ังคงติดอนั ดับแอปเปิลที่ขายดีอันดับ 1 ผู้บริโภคชาวญี่ปุ่นชื่นชอบเน้ือ
กรอบและความหวานของแอปเปิลฟจู ิ ขณะทีค่ วามนิยมสายพนั ธ์ุอน่ื ๆ มีน้อย
ขั้นตอนการปลกู แอปเปิลฟูจมิ ีดงั ต่อไปน้ี
1) ขัน้ ตอนการปลกู แอปเปิลฟูจิ (กรณีเมล็ดพนั ธ)์ุ
- ขั้นตอนที่ 1 เลือกสถานที่ให้เหมาะสม เนื่องจากต้นแอปเปิลฟูจิต้องการแสงแดด
มากและดินท่รี ะบายน้าไดด้ ี โดยจะเติบโตได้ดีในเขตที่มีอุณหภูมิที่เหมาะสม แอปเปิลฟูจิมีฤดูกาลเจริญเติบโต
ทีค่ อ่ นขา้ งยาวเน่อื งจากต้องใช้เวลา 160 วนั ในการเตบิ โต
- ข้ันตอนท่ี 2 ควรปลูกต้นแอปเปิลในฤดูใบไม้ผลิโดยแยกห่างกันประมาณ 20 ฟุต
(6 เมตร) จะตอ้ งมีต้นแอปเปลิ ฟูจิมากกว่าหนึ่งต้นเน่ืองจากระบบนิเวศจะเอื้อให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ ต้นไม้
เหล่าน้ีบานในกลางหรือปลายฤดูใบไมผ้ ลแิ ละสามารถปลกู ไปพรอ้ มกบั ตน้ ไมอ้ ื่น ๆ ที่ออกดอกเท่ากันเช่น Gala
และ Goldrush
- ขั้นตอนท่ี 3 ปลูกแอปเปิลฟจู ิท่ีดินมีระดบั ความลกึ 15 ถงึ 18 น้ิว (38 ถึง 45 ซม.)
และเพมิ่ วสั ดุอินทรยี บ์ างชนดิ เช่น ปุ๋ยหมัก และควรปลกู ตน้ ไมด้ ้วยเส้นกราฟ 2 นิ้ว (5 ซม.) เหนอื ระดบั พื้นดิน
8
- ขน้ั ตอนท่ี 4 คลุมดว้ ยหญา้ หรือคลุมด้วยฟาง 2 ฟุต (60 ซม.) รอบ ๆ บริเวณฐาน
การปลูกแอปเปลิ
2) การตัดแต่งกิ่งโภชนาการและการเก็บเกี่ยวต้นแอปเปลิ ฟูจิ (กรณตี ้นกล้าแอปเปิล)
- ข้นั ตอนที่ 1 นาตน้ กลา้ แอปเปิลลงดนิ ท่ีปรับปรงุ ดนิ แล้ว ควรใส่ปุ๋ยสูตร 12/12/12
และหลกี เลีย่ งปยุ๋ ท่มี ีปรมิ าณไนโตรเจนสงู
- ขั้นตอนที่ 2 หลังจากดอกแอปเปิลตกสีชมพูและสขี าวและมองเห็นผลของแอปเปิล
ควรตัดพวงของต้นแอปเปิลแต่ละอันด้วยกรรไกรที่แหลม วิธีน้ีจะช่วยป้องกันการรวมตัวกันของผลเมื่อถึง
กาหนด
- ข้ันตอนท่ี 3 ใชย้ าฆ่าแมลง
- ขั้นตอนที่ 4 เกบ็ เก่ยี วเมอื่ เมล็ดสีขาวของตน้ แอปเปิลฟูจิมีสีน้าตาล ผลผลิตจะอยู่ท่ี
8 ถึง 12 ลูกสาหรับในแต่ละต้น ต้นแคระจะให้ผลผลิตน้อยกว่ามาตรฐาน แม้ว่าต้นท่ีสูงกว่าจะให้ผลผลิตท่ี
มากกว่า แต่การเกบ็ เกย่ี วจะมีความซบั ซ้อนกวา่ อกี ดว้ ย
- ข้ันตอนที่ 5 ตดั ต้นแอปเปลิ ในช่วงปลายฤดูใบไมร้ ว่ งหรือต้นฤดูหนาวเพ่ือสร้างการ
เติบโตของต้นไม้ในช่วงปีแรก การตัดแต่งกิ่งใน 2 ถึง 3 ปีแรกควรมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาโครงสร้างที่ทนทาน
ปตี อ่ ไปน้ีจะมกี ารตดั แต่งกิ่งในช่วงปลายฤดูร้อนเพอ่ื กระตุ้นดอกตูมของตน้ แอปเปิล
3.6 ราคาการลงทุนเพาะปลูกแอปเปลิ ราคา/หนว่ ย หมายเหตุ
ตารางที่ 1 : แสดงชนิดของแหลง่ ปลูกแอปเปลิ
150 บาท /20 เมลด็ ไม่รวมคา่ จดั สง่
ชนิด
เมล็ดแอปเปิลฟูจิ 600 บาท/ 1 ต้น ไมร่ วมค่าจัดส่ง
ตน้ กลา้ แอปเปิลฟูจิ (ขนาดเลก็ )
ต้นกลา้ แอปเปิลฟจู ิ (60 – 50 เซนติเมตร) 1,500 บาท / 1 ตน้ ไม่รวมคา่ จดั ส่ง
ต้นกล้าสายพนั ธุ์ใหม่ (มหาสารคาม) (20 เซนติเมตร)
1,500 บาท / 1 ตน้ โครงการของวิสาหกิจชุมชน
ผู้ผลิตเห็ดถ่ังเช่า บ้านโนน
สาราญ (เกษตรเพาะเลี้ยง
เนือ้ เย่อื พนั ธุ์พืช)
อ.วาปีปทมุ
จ มหาสารคาม ร่วมกับ
มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม
9
3.7 การปลกู แอปเปลิ ฟจู ิ กรณีศกึ ษา: จงั หวัดมหาสารคาม
สถิติประเทศไทยนาเข้าแอปเปิลแต่ละปีอยู่ท่ี 7,000 ล้านบาท และพันธุ์ท่ีนาเข้ามากที่สุดคือ
พันธ์ุฟจู ิ สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ปัจจบุ ันจังหวัดมหาสารคามมีประชากรส่วนใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรม
ซึ่งพืชเศรษฐกิจของมหาสารคามมีมูลค่าประมาณปีละกว่า 8 พันล้านบาท มาจากผลผลิตมันสาปะหลัง
ประมาณ 4 แสนตัน มูลค่ากว่า 900 ล้านบาท อ้อยโรงงานผลผลิตกว่า 1.7 ล้านตัน มูลค่า 1.2 พันล้านบาท
และจากข้าวผลผลิตกว่า 6.9 แสนตัน มูลค่ากว่า 6,900 ล้านบาท ดังน้ัน เพ่ือเป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพและ
เพ่มิ มลู ค่าสนิ ค้า จงึ จาเปน็ ทจ่ี ะต้องเรง่ ปรับตัวหันมาใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพ่ือยกระดับผลิตสินค้าเกษตร
พฒั นาผลผลิตใหพ้ ชื เศรษฐกิจเมอื งมหาสารคามมีมูลค่าเพ่ิมสูงข้ึน ทาให้เกิดนวัตกรรมการปลูกแอปเปิลฟูจิข้ึน
ในเวลาต่อมา
ในกรณกี ารปลกู แอปเปลิ ฟจู ิของจงั หวัดมหาสารคาม เป็นความร่วมมอื ระหวา่ งวสิ าหกิจชุมชน
ผู้ผลิตเห็ดถั่งเช่า บ้านโนนสาราญ (เกษตรเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือพันธุ์พืช) อาเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในการพัฒนาสายพันธุ์แอปเปิลฟูจิให้เกิดประสิทธิภาพ ด้วยการนาต้นที่ให้ผล
ผลิตแลว้ นายอดพนั ธทุ์ ส่ี ามารถปลูกในประเทศไทยได้มาพัฒนาต่อยอด ตั้งเป้าให้ผลผลิตภายใน 3 ปี ถึง 3 ปี
คร่งึ และตัง้ เป้าในปี พ.ศ. 2565 จะสามารถผลติ ตน้ แอปเปิลให้ออกสตู่ ลาดจานวน 500,000 ต้น เป็นการสร้าง
รายไดใ้ ห้กบั กลุ่มเกษตรกรเป็นอยา่ งมาก ซ่ึงขณะนี้ไดส้ นับสนุนให้สมาชิกปลกู คนละ 10 ต้น ราคาจาหน่ายอยู่ท่ี
ตน้ ละ 1,500 บาท
สาหรบั วธิ ีการปลูกลงดนิ ควรจะใหต้ น้ ออ่ นมีขนาดความสูง 20 เซนตเิ มตรกอ่ น ซึ่งแอปเปิลฟูจิ
ของจงั หวัดมหาสารคามเปน็ พชื เพาะเล้ยี งเนอื้ เยือ่ ลาต้นดี แขง็ แรง ปลอดเชื้อ มีการเจรญิ เติบโตได้ดี มีคุณภาพ
สามารถผลิตได้จานวนมากในเวลาอันรวดเร็ว และตลาดแอปเปิลในปัจจุบันยังเติบโตได้อีกมาก อีกทั้งใน
ภูมภิ าคอาเซียนยังไม่มกี ารปลูกทแี่ พรห่ ลาย ทางกลุ่มวิสาหกิจจึงตั้งเป้าให้เป็นพืชเศรษฐกิจตัวใหม่ของจังหวัด
มหาสารคาม คาดว่าสรา้ งรายไดใ้ ห้เกษตรกรและเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจในระดบั ชุมชนได้อยา่ งดี
ต้นกล้าแอปเปิลฟูจิที่พัฒนาสายพันธุ์น้ัน สามารถเติบโตได้ทุกสภาพภูมิประเทศของไทย
สามารถให้น้าได้ปกติไม่บ่อยนักเฉพาะตอนเช้าเสมือนการปลูกลาไย มะนาว และมะม่วง เป็นต้น ปลูกได้ทุก
สภาพดนิ แตจ่ ะเจรญิ เติบโตได้ดกี ับสภาพดินที่ผา่ นการปรบั ปรงุ ดนิ มาก่อน
ปัจจบุ นั กล่มุ วสิ าหกิจชุมชนผู้ผลติ เหด็ ถง่ั เช่า บ้านโนนสาราญ (เกษตรเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือพันธุ์
พืช) อาเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม สามารถส่งออกต้นกล้าแอปเปิลฟูจิให้แก่ผู้ผลิตจากอาเภอธวัชบุรี
จังหวัดร้อยเอ็ด จานวน 300 ต้น และอาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา จานวน 500 ต้น ซ่ึงปัจจุบันอยู่
ระหว่างการปลกู และบางสว่ นได้ออกผลผลติ เป็นต้น
10
รูปภาพแสดงการนาตน้ กลา้ แอปเปลิ ฟูจขิ องจงั หวัดมหาสารคามไปปลกู ท่ีจังหวดั ร้อยเอด็
11
4. เกย่ี วกับ “นคิ มสรา้ งตนเอง”
4.1. ประวัตกิ ารจดั ต้ังนิคมสร้างตนเอง
งานนิคมสร้างตนเองเปน็ งานจัดสวสั ดกิ ารสังคมรูปแบบหนึ่ง ซึ่งได้ดาเนนิ การมาพร้อมกับการ
ก่อตง้ั กรมประชาสงเคราะห์ เมื่อปี พ.ศ. 2483 (กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการในปัจจุบัน) โดย ฯพณฯ จอม
พล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในสมัยน้ัน ได้มีแนวคิดท่ีจะนาที่ดินรกร้างว่างเปล่ามาใช้ประโยชน์ เพ่ือ
ช่วยเหลือคนยากจนให้มีท่ีอยู่อาศัยและที่ดินทากินในลักษณะชุมชนท่ีเป็นระเบียบ พัฒนาให้มีรายได้และมี
คุณภาพชวี ติ ทดี่ ขี ้ึนแลว้ ใหก้ รรมสทิ ธ์ใิ นทีด่ ินแปลงน้นั ชมุ ชนทีเ่ กิดขนึ้ นเ้ี รยี กวา่ “นคิ มสรา้ งตนเอง” และราษฎร
ท่ไี ดร้ บั การจดั สรรที่ดนิ เรยี กวา่ “สมาชกิ นิคม” นิคมสร้างตนเองแห่งแรกทีไ่ ด้รับจดั ต้งั ข้นึ คือ “นคิ มสร้างตนเอง
จงั หวดั ลพบรุ แี ละจงั หวัดสระบุรี”
จอมพล ป.พบิ ูลสงคราม
ในปี พ.ศ. 2485 ได้มกี ารตราพระราชบญั ญตั ิจดั ทด่ี นิ เพ่ือการครองชีพขึน้ เพือ่ ให้กรมประชา
สงเคราะห์ไดจ้ ัดต้ังนคิ มสร้างตนเอง ต่อมาไดม้ ีการแกไ้ ขปรบั ปรุงพระราชบญั ญัติดังกลา่ วเมอื่ ปี พ.ศ. 2504
และครัง้ สดุ ทา้ ยได้มกี ารยกเลกิ พระราชบัญญัติจัดทด่ี ินเพอื่ การครองชีพ พ.ศ. 2485 และ พ.ศ. 2504 โดยใช้
พระราชบัญญัตจิ ดั ทด่ี ินเพือ่ การครองชพี พ.ศ. 2511 มาจนถึงปจั จุบนั
การจัดตั้งนคิ มสรา้ งตนเองในระยะแรกมีจดุ มงุ่ หมายหลัก เพ่ือช่วยเหลือราษฎรยากจนที่ขาด
แคลนที่ดินทากิน และเพอื่ แก้ไขปญั หาการอพยพเข้ามาหางานทาในเมืองจนเกิดปัญหาสังคมเมือง แต่หลังจาก
ไดม้ กี ารปรับเปลย่ี นนโยบายเศรษฐกิจซ่ึงปรากฏรปู แบบชัดเจน เมื่อมีการจัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับ ท่ี 1
(พ.ศ.2504-2509) เปน็ ตน้ มา การจดั นิคมสรา้ งตนเองไดถ้ กู นามาใช้เปน็ กลไกหรือเครื่องมือของรัฐในการแก้ไข
ปัญหาทางเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง การปกครองและความมั่นคงของชาติ โดยการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน
เปน็ ทุนในการพฒั นาเศรษฐกจิ และอานวยความสะดวกในการเข้าพัฒนาชนบท และแก้ไขปัญหาความยากจน
ของประชาชน
12
การมุ่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพ่ือรองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจดังกล่าว ได้ส่งผล
กระทบท่ีรัฐบาลต้องรับผิดชอบในการแก้ไขตามมาหลายประการ เช่น การอพยพราษฎรเขตน้าท่วมจากการ
สร้างเขื่อน ปัญหาความมั่นคงในเขตพื้นที่กองทัพภาคต่าง ๆ และปัญหาชนกลุ่มน้อยในเขตชานแดนภาคใต้
เปน็ ต้น นอกจากน้ีการมุ่งทีจ่ ะเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรใหไ้ ดต้ ามเป้าหมาย จาเป็นต้องอาศัยหน่วยผลิตขนาด
ใหญท่ ม่ี ปี ระสิทธภิ าพ ซึง่ กลไกสาคญั ที่รัฐบาลนามาใชใ้ นการแกไ้ ขปญั หาและพฒั นา คือ "งานนคิ มสร้างตนเอง"
4.2 วัตถปุ ระสงค์ของการจดั ตง้ั นคิ มสร้างตนเอง
1. เพ่อื จดั สรรทดี่ ินใหร้ าษฎรกล่มุ เป้าหมายอพยพครอบครัวเข้าไปตั้งถ่ินฐานประกอบอาชีพ
และอยอู่ าศยั ในนคิ มสรา้ งตนเองอย่างเปน็ ระเบียบและถาวร พร้อมท้ังส่งเสริมให้ได้กรรมสิทธ์ิในท่ีดิน
แปลงน้นั เป็นของตนเองและเปน็ มรดกตกทอดไปสู่ลกู หลาน
2. เพื่อพัฒนานิคมสร้างตนเองในด้านต่างๆให้สมาชิกนิคมมีรายได้และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี
สามารถชว่ ยเหลือตนเอง ครอบครัวและชมุ ชนได้
3. เพื่อสนองนโยบายของรัฐบาลในลักษณะโครงการพิเศษตามมติคณะรัฐมนตรีในการแก้ไข
ปญั หาทางสงั คม เศรษฐกิจ การเมืองและการปกครอง
4.3 ประเภทของนิคมสรา้ งตนเอง
กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการได้รับมอบให้จัดต้ังนิคมสร้างตนเองในรูปแบบและลักษณะ
ต่างๆ จนถึงปัจจุบันรวมท้ังส้ิน 59 นิคมใน 41 จังหวัด แต่ปัจจุบันคงเหลือนิคมสร้างตนเองที่อยู่ในความ
รบั ผดิ ชอบ 44 นิคม ใน 35 จังหวัด จาแนกออกได้เป็น 5 ประเภท คือ
1) นิคมสร้างตนเองในลักษณะช่วยเหลือราษฎรโดยทัว่ ไป
จัดต้ังขึ้นเพ่ือแก้ไขปัญหาราษฎรไม่มีท่ีดินทากินและยากจน เช่น ราษฎรจากแหล่ง
เส่ือมโทรม ราษฎรที่ถูกทางราชการส่ังยกเลิกอาชีพ ราษฎรที่ถูกขับไล่จากการใช้ท่ีดินของทาง
ราชการ เปน็ ต้น
2) นิคมสรา้ งตนเองในลกั ษณะชว่ ยเหลืออพยพราษฎรจากเขตน้าท่วม
จัดต้งั ขนึ้ ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี เมอ่ื วนั ที่ 8 ตลุ าคม พ.ศ. 2503 เพื่อช่วยเหลือราษฎร
ทีไ่ ดร้ บั ความเดือดร้อนจากการสร้างเข่ือนชลประทาน เข่ือนพลังงานไฟฟ้า และเข่ือนเอนกประสงค์
ทกุ แหง่
3) นิคมสร้างตนเองในลกั ษณะช่วยเหลือราษฎรในเขตจังหวัดชายแดนและเขตแทรกซึม
ของผกู้ ่อการรา้ ยคอมมวิ นสิ ต์
จัดตั้งขึ้นเพ่ือความมน่ั คงของประเทศและให้การบารุงขวัญราษฎรที่อยู่ห่างไกลตาม
แนวชายแดน และอยใู่ นเขตปฏิบตั กิ ารของผ้กู ่อการร้ายคอมมิวนิสต์ โดยให้ความช่วยเหลือในด้าน
การประกอบอาชีพการศึกษา สาธารณสุข สาธารณูปโภคต่างๆ และจัดกาลังป้องกันรักษาความ
สงบ
13
4) นคิ มสรา้ งตนเองในลักษณะช่วยเหลอื ราษฎรเพ่อื เปา้ หมายทางการเมืองและเศรษฐกิจ
จัดตั้งขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2504 เพื่อความมั่นคงและ
ปลอดภัยของประเทศใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่การปกครองเข้าไปไม่ถึง โดยการอพยพ
ราษฎรไทยพทุ ธไปอยู่รว่ มกบั ราษฎรไทยมุสลิม โดยส่งเสริมการพัฒนาทั้งทางด้านสาธารณูปโภค
และอาชีพ
5) นคิ มสร้างตนเองในลักษณะพิเศษเพ่ือพฒั นาเศรษฐกิจและแกไ้ ขปญั หาทางการปกครอง
จดั ตง้ั ขึน้ เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ราษฎรได้รจู้ ักอาชีพใหมๆ่ ที่คนไทยไมค่ นุ้ เคยซง่ึ สามารถยดึ
เป็นพืน้ ฐานที่มั่นคงในทางเศรษฐกจิ และขยายให้เพิม่ มากขึ้นต่อไปในอนาคตได้ และเพอ่ื แก้ไขข้อ
พิพาทระหว่างรัฐบาลกับราษฎร และระหว่างราษฎรกบั ราษฎร
6) นิคมสรา้ งตนเองทีป่ ระกาศสิ้นสภาพนคิ มฯ
กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการได้ดาเนิน การประกาศส้ินสภาพนิคมฯ
ในราชกจิ จานุเบกษาแลว้ 14นิคมฯ และอยรู่ ะหว่างการประกาศสิ้นสภาพนิคม ดังน้ี
1) นิคมสร้างตนเองบา้ นโตก จงั หวัดเพชรบูรณ์
2) นิคมสร้างตนเองสาริกา จงั หวดั นครนายก
3) นคิ มสรา้ งตนเองเข่อื นเพชร จังหวดั เพชรบุรี
4) นิคมสร้างตนเองบึงพาด จงั หวดั อตุ รดิตถ์
5) นคิ มสรา้ งตนเองทบั กวาง จังหวดั สระบุรี
6) นิคมสร้างตนเองเขาบอ่ แก้ว จงั หวดั นครสวรรค์
7) นคิ มสรา้ งตนเองทงุ่ สง จังหวดั นครศรีธรรมราช
8) นิคมสร้างตนเองร่อนพิบลู ย์ จงั หวัดนครศรธี รรมราช
9) นิคมสร้างตนเองถลาง จงั หวัดภเู ก็ต
10) นคิ มสรา้ งตนเองหว้ ยทับทัน จงั หวดั สุรินทร์
11) นิคมสรา้ งตนเองบางปะกง จงั หวัดฉะเชงิ เทรา
12) นคิ มสร้างตนเองเลีย้ งโคนม จังหวดั สระบุรี
13) นิคมสร้างตนเองปรือใหญ่ จงั หวัดศรสี ะเกษ
14) นิคมสรา้ งตนเองแวง้ จังหวัดนราธวิ าส
4.4 การพัฒนานิคมสร้างตนเอง
งานนคิ มสรา้ งตนเองดาเนนิ การในลักษณะเชงิ บรู ณาการ เน้นให้สมาชิกนคิ มมีสว่ นรว่ ม โดย
รว่ มคดิ ร่วมตัดสิน ร่วมปฏบิ ตั ิ และร่วมติดตามผล ดังนี้
1. การพัฒนาสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน เพ่ืออานวยความสะดวกและความปลอดภัยให้แก่
ชมุ ชน ไดแ้ ก่ การสร้างถนนเช่ือมต่อระหว่างหมู่บ้านภายในเขตนิคมฯ การเพ่ิมเส้นทางคมนาคม
และเส้นทางลาเลียงนาผลผลิตไปจาหน่าย การจัดหาแหล่งน้าบริโภคใช้สอยเพ่ือให้มีน้าใช้สอย
14
อย่างพอเพียงตลอดปี เช่น การขุดบ่อผิวดิน การขุดบ่อบาดาล และระบบประปา การจัดสร้าง
ระบบชลประทานขนาดเล็ก หรือ การพัฒนาแหล่งน้าต่างๆ เช่น อ่างเก็บน้า ฝายน้าล้น สระน้า
เพ่ือเป็นการส่งเสริมให้สมาชิกนิคมสามารถประกอบอาชีพการเกษตรได้ตลอดปี การขยายเขต
ไฟฟา้ และจดั บริการสาธารณะอ่ืนๆ เชน่ โรงเรยี น สถานอี นามัย ตลาด และยา่ นการค้าของชุมชน
ในนคิ มฯ
2. การพัฒนาอาชีพ พระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ. 2511 มาตรา
9 กาหนดให้สมาชิกนิคมต้องใช้ท่ีดินได้รับอนุญาตให้เข้าทาประโยชน์เฉพาะเพื่อ
การเกษตร ดังน้ัน กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการจึงได้ดาเนินการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมใน
ลักษณะครบวงจร เพื่อทาให้สมาชิกนิคมมีรายได้สูงขึ้นอย่างม่ันคงจนสามารถช่วยเหลือตนเอง
และครอบครัวได้
3. การพัฒนาสังคม เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของสมาชิกนิคม ครอบครัวและชุมชนให้มี
ความเป็นอยทู่ ่ดี ขี ึน้ หรอื ได้รบั การตอบสนองความตอ้ งการตามสิทธขิ ้ันพ้นื ฐานท่ีควรจะได้รับ
4. การพัฒนาการเมืองการปกครอง ได้กาหนดรูปแบบการปกครองในนิคมสร้างตนเองโดย
แบง่ พนื้ ที่เป็นเขต มหี ัวหนา้ เขตซง่ึ มาจากการเลือกตั้งของสมาชิกนิคมและคณะกรรมการส่งเสริม
เขตรบั ผดิ ชอบการปกครองภายใต้การส่งเสริมสนับสนุนของเจ้าหน้าท่ีนิคมฯ เพ่ือให้สมาชิกนิคม
ไดเ้ รยี นรูร้ ะบบการปกครองตนเองตามแนวทางประชาธิปไตย และเน้นการวางรากฐานก่อนที่จะ
มอบให้จังหวดั รับไปดาเนนิ งานในรูปการปกครองทอ้ งถิน่ ต่อไป
5. การออกเอกสารสิทธิที่ดิน เมื่อดาเนินการจัดสรรท่ีดินให้กับราษฎรตามวัตถุประสงค์ของ
การจัดนิคมสร้างตนเองแล้ว ยังต้องดาเนินการให้สมาชิกนิคมได้รับกรรมสิทธ์ิในท่ีดินและเป็น
มรดกตกทอดไปยังลูกหลาน โดยสมาชิกนิคมจะต้องปฏิบัติตามมาตรา 11 และ 12 แห่ง
พระราชบัญญัติจัดท่ีดินเพ่ือการครองชีพ พ.ศ. 2511 ซ่ึงได้กาหนดเงื่อนไขว่า “เมื่อสมาชิกนิคม
ได้รบั ประโยชนใ์ นท่ีดนิ แล้วและได้เป็นสมาชิกนิคมเกินกว่า 5 ปี ทั้งได้ชาระเงินทุนที่รัฐบาลได้ลง
ไปและชาระหนีเ้ กีย่ วกบั กิจการของนิคมให้แก่ทางราชการเรยี บรอ้ ยแล้ว ให้ออกหนังสือแสดงการ
ทาประโยชน์ (น.ค.3) ให้แก่ผู้นั้น ซึ่งผู้ได้รับหนังสือแสดงการทาประโยชน์ (น.ค.3) แล้ว ให้นาไป
ขอออกโฉนดทีด่ ิน หรอื หนงั สือรับรองการทาประโยชน์ตามประมวลกฎหมายท่ีดินได้ แต่ภายใน
๕ ปีนบั แตว่ ันที่ได้รับโฉนดทีด่ ินหรอื หนงั สือรับรองการทาประโยชนใ์ นท่ีดนิ ผู้ได้มาซง่ึ กรรมสทิ ธ์ิใน
ทีด่ นิ จะโอนท่ดี นิ ไปยงั ผูอ้ ่ืนไมไ่ ด้ นอกจากการตกทอดโดยทางมรดก
4.5 ประเภทราษฎรที่อาศัยทากินในนคิ มสร้างตนเอง
1. สมาชิกนิคม หมายถงึ ราษฎรยากจนไม่มที อ่ี ยู่อาศัยและทากินได้รับการคัดเลือกให้อพยพ
ตนเองและครอบครัว เข้าไปต้ังถ่นิ ฐานตามแปลงทดี่ นิ ทไี่ ดจ้ ัดทาผงั แปลงไวแ้ ลว้ โดยทั่วไปจะจัดให้
ครอบครัวละ 25 ไร่ แบ่งเป็นท่ีอยู่อาศัย 2 ไร่ และท่ีดินทากิน 23 ไร่ สาหรับนิคมสร้างตนเอง
บรเิ วณภาคใตห้ รือนิคมสร้างตนเองท่ีมีการอพยพออกจากเขตน้าท่วม ได้จัดสรรให้ครอบครัวละ
15
18 ไร่ ราษฎรที่เข้าเป็นสมาชิกนิคมเม่ือเข้าอยู่อาศัยและทากินในที่ดินตามหลักเกณฑ์ของ
พระราชบัญญตั ิจดั ทีด่ นิ เพ่ือการครองชพี พ.ศ. 2511 แล้ว กรมพฒั นาสังคมและสวัสดิการจะออก
หนังสือแสดงการทาประโยชน์ (น.ค.3) เพื่อนาไปขอออกโฉนดท่ีดินตามประมวลกฎหมายท่ีดิน
ตอ่ ไป
2. ราษฎรท่ีเข้าครอบครองทาประโยชน์ในที่ดินก่อนที่จะมีการจัดตั้งนิคมสร้างตนเองราษฎร
ประเภทนห้ี ากมีหลักฐานแสดงการครอบครองทาประโยชน์ในที่ดินมาก่อนการจัดต้ังนิคมฯ เช่น
ส.ค.1 หรือ น.ส.3 ให้ถือว่าท่ีดินนั้นมิใช่ท่ีดินของรัฐท่ีจะนามาจัดสรรให้ราษฎรทั่วไปได้ แต่ถ้า
ราษฎรที่เข้าครอบครองทาประโยชน์อยกู่ ่อนการจัดต้ังนิคมสร้างตนเอง ไม่มีเอกสารใดๆมาแสดง
สิทธิแล้ว จะต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติตามพระราชบัญญัติจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ พ.ศ.
2511 โดยสมคั รเข้าเป็นสมาชกิ นิคมก่อน
3. ราษฎรที่เข้ามาครอบครองทาประโยชน์ในท่ีดินหลังการจัดต้ังนิคมสร้างตนเองในระยะ
บุกเบกิ ป่า เพอื่ จัดผังแปลง ทาใหท้ ี่ดินเกิดข้อจากดั ในดา้ นการบริหารจัดการที่ดินทาให้การจัดสรร
ที่ดินไม่ทันความต้องการของราษฎร จึงมีราษฎรบางส่วนเข้าครอบครองที่ดินในเขตนิคมโดยไม่
ถกู ตอ้ ง แต่ตอ่ มาตอ้ งยอมรับราษฎรเหลา่ นีว้ า่ เขาเปน็ ราษฎรท่จี ะต้องให้การพัฒนาเช่นกัน โดยให้
สมคั รเขา้ เปน็ สมาชกิ นิคม และดาเนนิ การออกหนังสอื แสดงการทาประโยชนใ์ นท่ดี นิ ต่อไป
4.6 ประเภทหนังสือแสดงสิทธิทด่ี ินท่อี อกให้สมาชกิ นคิ ม
1. หนงั สืออนญุ าตให้เข้าทาประโยชน์ในท่ดี นิ (น.ค.1) ออกใหเ้ มือ่ สมาชกิ นคิ มได้รบั อนญุ าตให้
เขา้ ทาประโยชน์ในทดี่ ิน ตามมาตรา 8
2. หนงั สอื แสดงการทาประโยชน์ (น.ค.3) ออกให้เมื่อสมาชิกของนิคมมีคุณสมบัติครบถ้วน ตาม
มาตรา 11
4.7 จานวนนิคมสรา้ งตนเองทว่ั ประเทศ
นคิ มสรา้ งจนเองมีท้ังหมด 44 แหง่ 36 จังหวัด ดังน้ี
1) นคิ มสร้างตนเองพระพุทธบาท จังหวดั สระบุรี
2) นิคมสรา้ งตนเองจงั หวดั ลพบุรี จังหวัดลพบุรี
3) นิคมสรา้ งตนเองตากฟา้ จงั หวดั นครสวรรค์
4) นคิ มสร้างตนเองจังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ จังหวดั ประจวบคีรขี ันธ์
5) นิคมสรา้ งตนเองจังหวัดระยอง จงั หวดั ระยอง
6) นคิ มสร้างตนเองทา้ ยเหมือง จังหวัดพังงา
7) นิคมสร้างตนเองพิมาย จงั หวัดนครราชสีมา
8) นิคมสร้างตนเองเชียงพิณ จงั หวดั อดุ รธานี
9) นคิ มสร้างตนเองห้วยคลา้ จังหวัดศรีสะเกษ (อย่รู ะหว่างการถอนสถาพ)
16
10) นิคมสร้างตนเองขุนทะเล จังหวัดสุราษฎร์ธานี
11) นิคมสร้างตนเองเทพา จงั หวดั สงขลา
12) นิคมสรา้ งตนเองรัตภมู ิ จงั หวัดสงขลา
13) นคิ มสร้างตนเองธารโต จงั หวดั ยะลา
14) นิคมสรา้ งตนเองโคกโพธ์ิ จังหวัดปตั ตานี
15) นิคมสร้างตนเองท่งุ โพธทิ์ ะเล จังหวดั กาแพงเพชร
16) นิคมสรา้ งตนเองเขอ่ื นภูมิพล จังหวดั เชยี งใหม่
17) นิคมสร้างตนเองก่ิวลม จังหวดั ลาปาง
18) นคิ มสร้างตนเองลานา้ นา่ น จงั หวดั อุตรดิตถ์
19) นคิ มสรา้ งตนเองกระเสยี ว จังหวัดสพุ รรณบุรี
20) นิคมสร้างตนเองลาปาว จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ
21) นคิ มสร้างตนเองห้วยหลวง จังหวัดอดุ รธานี
22) นิคมสร้างตนเองลาน้าอนู จงั หวัดสกลนคร
23) นิคมสรา้ งตนเองโนนสัง จังหวัดหนองบวั ลาภู
24) นคิ มสร้างตนเองลาตะคอง จงั หวดั นครราชสีมา
25) นคิ มสรา้ งตนเองเขอื่ นอบุ ลรตั น์ จังหวัดขอนแก่น
26) นคิ มสรา้ งตนเองลาโดมน้อย จังหวัดอุบลราชธานี
27) นิคมสร้างตนเองโพนพสิ ยั จงั หวัดหนองคาย
28) นคิ มสร้างตนเองคาสรอ้ ย จงั หวดั มกุ ดาหาร
29) นคิ มสร้างตนเองปราสาท จังหวัดสุรินทร์
30) นคิ มสรา้ งตนเองบ้านกรวด จังหวัดบรุ รี ัมย์
31) นิคมสร้างตนเองกฉุ ินารายณ์ จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ
32) นคิ มสรา้ งตนเองคลองน้าใส จังหวัดสระแกว้
33) นคิ มสรา้ งตนเองควนขนนุ จังหวดั พทั ลุง
34) นคิ มสร้างตนเองพระแสง จังหวดั สุราษฎร์ธานี
35) นิคมสรา้ งตนเองลาโดมใหญ่ จังหวัดอุบลราชธานี
36) นคิ มสรา้ งตนเองพฒั นาภาคใต้ จงั หวดั ยะลา
37) นคิ มสรา้ งตนเองสคุ ริ นิ จงั หวัดนราธิวาส
38) นคิ มสรา้ งตนเองศรสี าคร จังหวัดนราธิวาส
39) นคิ มสร้างตนเองพฒั นาภาคใต้ จังหวัดสตูล
40) นิคมสรา้ งตนเองเบตง จังหวดั ยะลา
41) นิคมสร้างตนเองปากจัน่ จังหวัดระนอง
42) นิคมสรา้ งตนเองเลี้ยงไหม จงั หวัดสรุ ินทร์
17
43) นคิ มสรา้ งตนเองทุ่งสาน จังหวดั พิษณุโลก
44) นิคมสรา้ งตนเองบางระกา จงั หวดั พิษณโุ ลก
ภาพแสดงนคิ มสร้างตนเอง 44 แห่ง 36 จงั หวัด
18
โดยเม่อื พจิ ารณานิคมสรา้ งตนเองในพน้ื ทภี่ าคตะวนั ออกเฉยี งเหนือมที งั้ หมด 17 แห่ง 12 จังหวดั ดงั น้ี
1) นิคมสร้างตนเองพมิ าย จงั หวัดนครราชสีมา
2) นิคมสรา้ งตนเองเชยี งพิณ จงั หวัดอุดรธานี
3) นคิ มสรา้ งตนเองห้วยคลา้ จงั หวดั ศรีสะเกษ
4) นคิ มสร้างตนเองลาปาว จังหวดั กาฬสินธุ์
5) นิคมสร้างตนเองห้วยหลวง จงั หวดั อุดรธานี
6) นิคมสรา้ งตนเองลาน้าอูน จังหวัดสกลนคร
7) นคิ มสร้างตนเองโนนสัง จงั หวัดหนองบวั ลาภู
8) นิคมสรา้ งตนเองลาตะคอง จงั หวัดนครราชสมี า
9) นิคมสรา้ งตนเองเขอื่ นอบุ ลรัตน์ จังหวดั ขอนแกน่
10) นิคมสร้างตนเองลาโดมนอ้ ย จงั หวัดอุบลราชธานี
11) นิคมสร้างตนเองโพนพสิ ยั จังหวัดหนองคาย
12) นคิ มสร้างตนเองคาสรอ้ ย จังหวัดมกุ ดาหาร
13) นคิ มสร้างตนเองปราสาท จังหวัดสุรนิ ทร์
14) นิคมสร้างตนเองบ้านกรวด จังหวัดบรุ ีรมั ย์
15) นิคมสร้างตนเองกุฉินารายณ์ จงั หวัดกาฬสินธุ์
16) นิคมสรา้ งตนเองลาโดมใหญ่ จังหวัดอุบลราชธานี
17) นิคมสรา้ งตนเองเลย้ี งไหม จังหวดั สรุ นิ ทร์
ภาพแสดงนิคมสร้างตนเองในเขตภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 17 แห่ง
19
4.8 อานาจหนา้ ที่
1. ดาเนินการจัดทด่ี นิ ใหส้ มาชกิ นคิ มสร้างตนเองมที ี่อยอู่ าศยั ประกอบอาชพี เป็นหลกั แหลง่
และมีกรรมสทิ ธใ์ิ นท่ีดนิ เปน็ ของตนเอง
2. ดาเนินการพฒั นาสาธารรปู โภค พัฒนาพ้ืนที่ในเขตนิคมสรา้ งตนเอง
3. ดาเนนิ โครงการพฒั นาศักยภาพและคุณภาพชีวิตของสมาชกิ นิคมสรา้ งตนเอง ทัง้ ทาง
เศรษฐกจิ สงั คม สวสั ดกิ ารสงั คม
และสง่ิ แวดลอ้ ม
4. เป็นศนู ย์การเรียนรนู้ ิคมสร้างตนเอง
5. ตรวจสอบขอ้ มูลและข้อเท็จจริง หรือแกไ้ ขข้อร้องเรยี น หรอื ขอ้ พพิ าทในพน้ื ท่นี คิ มสรา้ ง
ตนเอง
6. สารวจและจัดทาขอ้ มูลพ้นื ฐานของนคิ มสร้างตนเอง
7. ดาเนินโครงการแกไ้ ขปญั หาจงั หวดั ชายแดนใต้ (ในนคิ มสร้างตนเอง 7 แหง่ )
20
5. ความเป็นไปได้ในการปลูกแอปเปลิ บนพ้นื ทีน่ คิ มสร้างตนเอง
5.1 ดา้ นกลุ่มเปา้ หมาย
หวั ใจสาคญั ในการปลูกแอปเปลิ คือ กลุ่มเป้าหมายต้องมีองค์ความรู้เก่ียวกับแอปเปิล ความรู้
ในการเพาะปลกู ตั้งแตเ่ ริ่มกระบวนการ จนส้ินสุดกระบวนการ เช่น กลุ่มเป้าหมายต้องได้รับการเพิ่มพูนทักษะ
การปลูก การให้ปยุ๋ การใหน้ ้า การบารุงดนิ การห่อผล การตดั กง่ิ การตอนก่ิง การใช้สารเคมี การรับรู้เร่ืองโรค
พืช ศัตรูพืช การเก็บผลผลิต การบรรจุต่าง ๆ การดูแลต้นแอปเปิลท่ีเหมาะสม ตลอดจนการตลาด เป็นต้น
ดังนัน้ การปลกู แอปเปิล บุคคลควรมีองค์ความรู้อย่างชัดเจนในการเพาะปลูก ควรประสานความร่วมมือจาก
กระทรวงกระเกษตรและสหกรณ์ กลมุ่ พืน้ ทต่ี น้ แบบรัฐวิสาหกจิ ชมุ ชนผ้ผู ลิตเหด็ ถ่ังเช่า บ้านโนนสาราญ (เกษตร
เพาะเลีย้ งเนอื้ เย่อื พันธุ์พืช) อาเภอวาปีปทุม จงั หวดั มหาสารคาม เป็นกลไกในการใหค้ วามรู้ดังกลา่ ว
5.2 ด้านพื้นที่
1) การปลูกแอปเปิลฟูจิสายพันธุ์ปกติ (พันธ์ุต่างประเทศ) ส่ิงท่ีควรตระหนักคือหากปลูกใน
สภาพดินทีไ่ มเ่ หมาะสมอาจทาให้แอปเปลิ ตายได้ และพชื ชนดิ นเ้ี ป็นพืชที่ควรปลูกในสภาพอากาศที่อุณหภูมิไม่
สูงมากนัก (เติบโตได้ดีในอากาศหนาว) การปลูกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ อาจจะมีความเส่ียงท่ี
สง่ ผลใหก้ ารปลกู แอปเปิลล้มเหลวมากกว่าการปลูกในพื้นที่ภาคเหนือ ซ่ึงสว่ นใหญ่มีนิคมท่ีมีพื้นที่ครอบคลุมบน
พ้ืนที่ภูเขาสงู เป็นต้น การแก้ปัญหาดังกล่าว ได้แก่ การควบคุมอุณหภูมิ แสง สภาพแวดล้อมอ่ืน ๆ ในสถานท่ี
การปลกู แอปเปลิ (ในช่วงแอปเปิลเตบิ โต) เชน่ การมีเรอื นกระจก การมโี ดม เปน็ ต้น แต่เป็นที่น่าสังเกตว่า การ
ปรบั สภาพแวดลอ้ มดังกล่าวมีคา่ ใชจ้ า่ ยคอ่ นขา้ งสูง
2) การปลกู แอปเปลิ ฟูจทิ ีพ่ ฒั นาสายพันธ์โุ ดยวสิ าหกิจชุมชนผู้ผลติ เห็ดถง่ั เชา่ บ้านโนนสาราญ
(เกษตรเพาะเล้ยี งเน้อื เยอ่ื พนั ธ์ุพืช) อาเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม มี
ข้อดี คือ ต้นเย่อื แอปเปิลสามารถปลูกได้กับสภาพแวดล้อมในประเทศไทย ไม่ต้องควบคุมอุณหภูมิมากนัก ซ่ึง
ปลกู ได้ 2 ลักษณะ คือ การปลูกกลางแจ้ง (ต้องใช้ยาฆ่าแมลง) และการปลูกในเรือนกระจก หรือมีโดม (เพ่ือ
ป้องกนั แมลง และเป็นการปลกู แบบไมใ่ ช่ยาฆ่าแมลง)
อย่างไรก็ตามนิคมสร้างตนเอง มีที่ดินสงวนเพื่อกิจการนิคม ในการทาการเกษตร ผ่าน
กระบวนการอนุญาตให้ผู้มีคุณสมบัติสามารถใช้ประโยชน์ สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ตามเกณฑ์ท่ีกรมพัฒนา
สงั คมและความมั่นคงของมนุษย์กาหนดไว้ เพ่ือเป็นกิจกรรมในศูนย์เรียนรู้นิคมสร้างตนเอง หรือการส่งเสริม
สมาชิกในนิคมฯ ในพ้ืนท่ีท่ีมีวิสาหกิจชุมชนที่เข้มแข็งให้สามารถขอรับสนับสนุนงบประมาณจากแหล่งต่าง ๆ
ได้
กรณีการเลือกพื้นท่ี เพ่ือการปลูกนาร่องในพื้นท่ีนิคมสร้างตนเองเป็นเร่ืองสาคัญ เนื่องจาก
เป็นนวัตกรรมใหม่ ซ่ึงควรเลือกพ้ืนท่ีท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ของหน้าดิน และสามารถเข้าถึงแหล่งน้าได้อย่าง
ต่อเนอ่ื ง กรณีตาบลบา้ นดง อาเภออบุ ลรตั น์ จงั หวดั ขอนแก่น (พ้ืนที่ในนิคมสร้างตนเองเขื่อนอุบลรัตน์) ซึ่งอยู่
ในเขตลุ่มน้าสาขาลาน้าพอง และมีลาน้าจากเข่ือนอุบลรัตน์กั้นเขตแดนระหว่างตาบลบ้านดงกับตาบลเขื่อน
อุบลรัตน์ ตาบลทุ่งโป่ง และตาบลโคกสูง มีห้วย หนองน้ากระจายอยู่ทั่วตาบลที่สาคัญได้แก่ หนอง และห้วย
21
รวมถงึ หม่บู า้ นหนองแตจ้ ะได้รบั น้าชลประทานระบบท่อจากโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริกระจายอยู่
โดยรอบ และสภาพดนิ มีความเหมาะสมกบั การปลูกพชื ผลทางการเกษตร เป็นต้น
5.3 ดา้ นทุนการผลิต
ควรหาแหลง่ งบประมาณในการลงทนุ โครงการการปลูกแอปเปิล เพื่อสร้างอาชีพ และรายได้
ให้แก่กลุ่มเป้าหมายในพ้ืนท่ี เช่น สมาชิกในนิคมฯ กลุ่มเปราะบาง หรือสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เป็นต้น
ซึ่งทุนดังกล่าวจะถูกใช้ขับเคลื่อนโครงการ ได้แก่ การซื้อพันธุ์แอปเปิล ต้นกล้าแอปเปิล ค่าใช้จ่ายปรับสถานที่
ให้เหมาะสมกับการเพาะปลูก ค่าจัดการท่อน้า ค่าเคร่ืองปรับอุณหภูมิ ค่าดิน ปุ๋ย ยาฆ่าแมลง และสารเคมีที่
เกี่ยวข้อง นับได้ว่าเป็นค่าใช้จ่ายระยะแรกที่ค่อนข้างสูง แต่หากสามารถปลูกแอปเปิลได้สาเร็จ และมีการ
สง่ ออกผลิตภณั ฑ์สู่ระบบตลาด (ไม่ว่าจะเป็นต้นกล้าแอปเปิล หรือผลแอปเปิล) ก็นับว่าน่าลงทุนย่ิง โดยเฉลี่ย
พบว่า ต้นแอปเปิลฟูจิท่ีพัฒนาสายพันธ์ุจะออกผลผลิตได้หากบารุงดี (ผ่านกระบวนการให้ปุ๋ย และดูแล
สภาพแวดล้อมของต้นแอปเปิล) จะใช้เวลา 2.5 – 3 ปี และการบารุงปกติ ใช้เวลา 3 – 5 ปี โดยผลผลิต
สามารถสร้างมลู ค่าไดต้ กลกู ละ 50 – 100 บาท
การหาทุนการผลิตจึงเป็นปัจจัยสาคัญประการแรกท่ีควรคานึง และการหาวัตถุดิบในการ
เพาะปลกู ตลอดจนการซอื้ เครอื่ งมือที่ต้องใช้ในการปลูกแอปเปิล ก็ควรมีแหล่งในการซ้ือ เช่น การซื้อต้นกล้า
แอปเปิลควรซ้ือจากกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตเห็ดถั่งเช่า บ้านโนนสาราญ (เกษตรเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือพันธุ์พืช)
อาเภอวาปีปทมุ จังหวัดมหาสารคาม ท่ีไดพ้ ัฒนาสายพันธ์ุร่วมกับมหาวิทยาลัยมหาสารคามให้สามารถปลูกได้
และสามารถเตบิ โตไดใ้ นประเทศไทย โดยทร่ี าคาตน้ กล้าแอปเปิลสายพันธด์ุ ังกล่าว มีดงั ต่อไปน้ี
ตารางแสดราคาต้นกลา้ แอปเปิลที่พัฒนาสายพนั ธุ์ของวิสาหกจิ จังหวดั มหาสารคาม
จานวน (ต้น) ราคา (บาท) / ตน้
1 – 100 1,500
101 – 500 1,200
501 – 1,000 1,000
1,001 -10,000 800
10,001 – 50,000 550
50,001 – 100,000 350
100,000 ข้ึนไป 150
ดังน้ันควรสนับสนุนการหาแหล่งทุนให้กับผู้ที่จะดาเนินการปลูกแอปเปิล เช่น สนับสนุน/
แนะนาการพฒั นาโครงการของบประมาณแกก่ ลุ่มวิสาหกิจชมุ ชนในการปลูกแอปเปลิ ผ่านชอ่ งทางธนาคารเพ่ือ
การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) หรอื ชอ่ งทางอ่นื ๆ เป็นตน้
22
5.4 ดา้ นกลไกตลาด
ระยะแรกควรมีการสนับสนุนใหจ้ ดั ตั้งเปน็ วิสาหกจิ ชมุ ชน คือ การประกอบการโดยชุมชนท่ีมี
สมาชกิ ในชมุ ชนเป็นเจ้าของ ปัจจยั การผลติ ทง้ั ทางดา้ นการผลติ การค้า การเงิน และต้องการให้ปัจจัยการผลิต
เกิดดอกผล ทั้งทางเศรษฐกจิ และสังคม ด้านเศรษฐกจิ คอื การสร้างรายได้และอาชีพ ด้านสังคมคือ การยึดโยง
ร้อยรัด ความเป็นครอบครัวและชุมชนให้ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับผิดชอบ แบ่งทุกข์แบ่งสุขซ่ึงกันและกัน โดย
ผ่าน กระบวนการของชุมชน กลา่ วคือเป็นการรวมกลมุ่ โดยใช้การปลูกแอปเปิลเป็นฐาน เพ่ือส่งออกผลิตภัณฑ์
(ไมว่ า่ จะเปน็ ต้นกล้าแอปเปลิ หรอื ผลแอปเปิล) โดย กระทรวง พม. ตอ้ งขับเคล่อื นการรวมกลมุ่ ให้สาเร็จ และพ
ลักดันเข้าสู่กระบวนการการเป็นวิสาหกิจชุมชน ซ่ึงได้รับรองตามกฎหมาย (ต้องประสานความร่วมมือกับ
สานกั งานเกษตรอาเภอในระดบั พืน้ ที่ เป็นกลไกสาคญั ) ซึง่ อาจจะใช้พ้ืนท่ที มี่ ที ุนเดมิ ของการเป็นวิสาหกิจชุมชน
อยู่แล้ว เช่น กรณีตาบลบ้านดง อาเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น (พื้นที่ในนิคมสร้างตนเองเขื่อนอุบลรัตน์)
ส่วนใหญ่มีวิสาหกิจชุมชนท่ีเก่ียวข้องกับผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การส่งผลผลิตทางการเกษตรส่งออกไปยัง
ตลาดชมุ ชน เปน็ ต้น
ระยะทีส่ องควรมกี ารขบั เคล่ือนให้ผา่ นมาตรฐานสินค้าเกษตร ของสานักงานมาตรฐานสินค้า
เกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพ่ือเป็นมาตรฐานในการส่งออกผลิตภัณฑ์ทั้งใน
ชมุ ชน และนอกชมุ ชนตอ่ ไป (ควรสร้างแบรนด์สนิ ค้า) โดยในขนั้ ตอนนีค้ วรมกี ารอบรมการสร้างมาตรฐานสินค้า
นั่นคอื มาตรฐานของแอปเปลิ เป็นต้น
ระยะท่ีสามควรมีการหาตลาดที่จะส่งออกผลิตภัณฑ์ เช่น ตลาดภายในชุมชน หรือหาความ
ตอ้ งการซ้ือผลติ ภณั ฑท์ ีเ่ กิดจากแอปเปิล เน้นเชิงรุก และการใช้ช่องทางดิจิทัลก็เป็นประเด็นหน่ึงท่ีน่าสนใจใน
การส่งออกการค้าขายสินค้า ผ่าน Line Facebook หรือ Shopee Lazada รวมถึงส่งออกไปยังนอกชุมชน
เปน็ ต้น
23
6. โครงการนารอ่ งการปลูกแอปเปิลฟูจใิ นพน้ื ทีน่ ิคมสรา้ งตนเอง
ควรมีโครงการนาร่องการปลกู แอปเปิลฟจู ใิ นพนื้ ทีน่ ิคมสร้างตนเอง เนื่องจากเป็นเร่ืองใหม่ ควรค่าแก่
การพฒั นาให้เป็นศูนย์เรียนรู้ และเป็นต้นแบบท่ีประสบความสาเร็จในการปลูกแอปเปิลฟูจิสายพันธุ์ท่ีพัฒนา
แลว้ ของกลุ่มกลุ่มวิสาหกิจชมุ ชนผู้ผลิตเห็ดถั่งเช่า บ้านโนนสาราญ (เกษตรเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อพันธุ์พืช) อาเภอ
วาปีปทุม จังหวดั มหาสารคาม ยกตัวอย่างการเลือกพ้นื ท่ีตาบลบา้ นดง อาเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น (พื้นที่
ในนิคมสรา้ งตนเองเขื่อนอุบลรตั น์)
พื้นที่บ้านหนองแต้ ตาบลบ้านดง อาเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น เป็นพื้นท่ีที่อยู่ในเขตนิคมสร้าง
ตนเองเข่ือนอุบลรัตน์ ท่ีมีลักษณะพ้ืนท่ีทางกายภาพเหมาะสมต่อการปลูกแอปเปิลฟูจิท่ีพัฒนาสายพันธ์ุ และ
เหตุผลสนับสนนุ ดงั นี้
1) พืน้ ท่มี ีแหล่งน้าเพยี งพอ ซึ่งยู่ในเขตลุ่มน้าสาขาลาน้าพอง และมีลาน้าจากเขื่อนอุบลรัตน์
กั้นเขตแดนระหว่างตาบลบ้านดงกับตาบลเขื่อนอุบลรัตน์ ตาบลทุ่งโป่ง และตาบลโคกสูง มีห้วย หนองน้า
กระจายอยู่ทั่วตาบลที่สาคัญได้แก่ หนอง และห้วย รวมถึงหมู่บ้านหนองแต้จะได้รับน้าชลประทานระบบท่อ
จากโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริกระจายอยโู่ ดยรอบ
2) สภาพดินมีความเหมาะสมกับการปลูกพืชผลทางการเกษตร ท้ังดินร่วน ดินเหนียว ดิน
ทราย ซ่งึ นับว่าสว่ นใหญเ่ ปน็ ดนิ ทีม่ ีความอุดมสมบรู ณ์สงู
3) มีกลุ่มองค์กรที่เข้มแข็ง เช่น มีกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่เก่ียวข้องกับการเกษตร และกลุ่มมี
ความสามารถในการพฒั นาโครงการเพ่อื ขอสนับสนุนงบประมาณจาก ธกส. ได้
4) ผู้นาในพนื้ ทม่ี คี วามพร้อมท่ีจะรับนวัตกรรมใหม่ ๆ
5) สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีองค์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร และการตลาด เช่น
การปลกู พชื ผลทางการเกษตร การบรหิ ารจัดการกลุม่ การทาบญั ชี เป็นต้น
โดยเม่ือได้พ้ืนท่ีนาร่องแล้วน้ัน ควรมีการส่งเสริม และสนับสนุนการปลูกแอปเปิลท่ีพัฒนาสายพันธุ์
แลว้ ดงั นี้
1) ส่งเสริมองค์ความรู้ในการปลูกแอปเปิลท่ีถูกต้อง โดยทีมวิทยากรจากพื้นที่ที่นาไป
เพาะปลูกแล้ว เช่น กลมุ่ วิสาหกิจชมุ ชนผูผ้ ลติ เหด็ ถ่ังเช่า หรอื จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
2) สนับสนนุ การพฒั นาโครงการเพ่อื ขอสนับสนนุ งบประมาณจากแหล่งต่าง ๆ โดยนิคมสร้าง
ตนเอง สานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ และ ธกส. เป็นตน้
3) สง่ เสรมิ การตลาด และการสร้างผลติ ภัณฑ์ เพื่อจาหนา่ ยในชุมชน และนอกชุมชน
24
รปู ภาพแสดงพ้ืนท่นี าร่องบา้ นหนองแต้ ตาบลบา้ นดง อาเภออบุ ลรตั น์ จงั หวดั ขอนแก่น
25
คณะผู้ศึกษา
1. นายสุเมธ ทรายแก้ว ผู้อานวยการสานักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 5
2. นางอรทยั แพงโสภา นกั พัฒนาสังคมชานาญการพเิ ศษ
3. นายเศรษฐศกั ด์ิ มลู ดามาตย์ นกั พฒั นาสังคมปฏิบตั กิ าร
4. นางพลอยวรนิ ทร์ จันดา นกั พัฒนาสงั คมปฏบิ ตั ิการ
5. นางสาวกลุ ยา ทรัพยส์ กลุ เจ้าพนกั งานพฒั นาสังคมปฏบิ ตั งิ าน
6. นางจฬุ าลักษณ์ จตุเทน นกั พฒั นาสังคม
7. นางสาวจิราพร ชิวขุนทด เจา้ หนา้ ทีศนู ย์ใหบ้ รกิ ารทางวิชาการ
***************************************************************