The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ratchada.rak064, 2022-01-28 22:19:42

Chapter3update

Chapter3update

168

บทที่ 3

วิธดี ำเนนิ การวิจัย

การวิจยั เรื่อง เปน็ การวิจยั เชงิ สำรวจ (Survey Research) โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ
ศึกษาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งภาวะผู้นำสตรีกับการบรหิ ารงานตามหลักธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา
เอกชนจังหวดั ภูเก็ต สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชนเพ่ือให้การดำเนนิ การ
เป็นไปตามวัตถปุ ระสงค์ ท่ีกำหนดไว้ ผู้วิจยั ไดด้ ำเนินการดงั น้ี

1. พืน้ ทีท่ ีใ่ ช้ในการวิจัย
2. ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง
3. เคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นการวิจยั และการตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมือ
4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
5. การวเิ คราะหข์ ้อมูล
6. สถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู

พนื้ ทท่ี ใี่ ช้ในการวจิ ัย
สถานศกึ ษาเอกชนในจังหวดั ภูเกต็ สังกดั สำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน ปี

การศกึ ษา 2564 จำนวน 22 โรงเรียน

ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง

ประชากร
ประชากร ได้แก่ ครูผู้สอนโรงเรียนเอกชนในสถานศึกษาจังหวัดภูเก็ต สังกัด
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ปีการศึกษา 2564 โดยมโี รงเรยี นที่มีผู้บริหารเป็น
สตรีจำนวน 22 โรงเรียน ประกอบด้วยครูผู้สอน 1,031 คน (ข้อมูลครูและบุคลากรทางการศึกษา
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดภูเกต็ , 2564)

การกำหนดกลมุ่ ตวั อย่าง
กล่มุ ตัวอย่าง ไดแ้ ก่ ครผู สู้ อนโรงเรียนเอกชนในสถานศกึ ษาจังหวัดภูเก็ต สงั กดั

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ปีการศึกษา 2564 จำนวน 285 คน กำหนด
ขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของ เครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970, pp. 607 -

169

610) ไดก้ ลมุ่ ตัวอย่างทั้งส้ิน จำนวน 285 คน โดยผู้วิจัยใช้วิธีการเทียบบัญญัติไตรยางค์ และใช้การสุ่ม
แบบอยา่ งง่าย (Simple Ramdom Sampling) โดยวธิ ีการจบั สลากแบบไมใ่ ส่คนื

วิธกี ารสมุ่ ตัวอย่าง
ผู้วิจัยใช้วิธีการเทียบบัญญัติไตรยางค์ และใช้การสุ่มแบบอย่างง่าย (Simple
Ramdom Sampling) โดยวธิ ีการจบั สลากแบบไม่ใสค่ นื

ตารางที่ 3 กลมุ่ ตวั อย่างที่ใช้ในการวิจัย

ลำดับท่ี สถานศกึ ษา ประชากร กล่มุ ตัวอย่าง
101 28
1 โรงเรียนขจรเกียรติศึกษา 33 9
11 3
2 โรงเรียนขจรเกยี รติเชิงทะเล 18 5
13 48
3 โรงเรียนอนุบาลลากนู า่ ภูเกต็ 30 5
18 36
4 โรงเรยี นถลางวิทยา 129 41
147 4
5 โรงเรียนบำรุงผกาภูเกต็ 15 24
88 24
6 โรงเรียนขจรเกยี รติถลาง 16 4
82 23
7 โรงเรียนตาริกยพัฒน์ 34 9
9 2
8 โรงเรียนมสุ ลมิ วิทยา 20 6
4 1
9 โรงเรียนภูเกต็ ไทยหัวอาเซยี นวทิ ยา 20 6
122 34
10 โรงเรียนกาญจนวฒั นว์ ิทยา

11 โรงเรยี นดาวรงุ่ วิทยา

12 โรงเรียนเทพอำนวยวิทยา

13 โรงเรียนพทุ ธมงคลนิมิต

14 โรงเรยี นวทิ ยาสาธิต

15 โรงเรียนอนุบาลกาญจนวฒั น์วิทยา

16 โรงเรยี นอนบุ าลถลางวทิ ยา

17 โรงเรียนอนบุ าลบุษบง

18 โรงเรียนกาละพัฒน์

19 โรงเรยี นดาราสมุทรภูเก็ต

170

ลำดบั ที่ สถานศึกษา ประชากร กลุ่มตัวอย่าง
20 โรงเรียนอนุบาลกนกขวญั 12 3
21 โรงเรียนอนบุ าลกรนี เฮาท์ ภูเกต็ 13 4
22 โรงเรยี นขจรเกยี รติพฒั นา 96 27
รวม 22 แห่ง 1,031 285

ทีม่ า : ข้อมลู ครูและบุคลากรทางการศึกษา สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวดั ภูเกต็
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, 2564

เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการวจิ ยั และการตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมือ

เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ในการวิจยั

เครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการศกึ ษาครัง้ น้ี คอื แบบสอบถามความสมั พนั ธ์ระหว่างภาวะ

ผู้นำสตรีกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลในสถานศึกษาเอกชนจังหวัดภูเก็ต สังกัดสำนักงาน

คณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน ซ่ึงผู้วจิ ัยได้พัฒนามาจากแนวคิดและทฤษฎีเก่ยี วกับภาวะผู้นำ

การเปลี่ยนแปลง แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาถภิบาล และงานวิจัยท่ี

เกีย่ วข้อง ประกอบด้วย 3 ตอน ดงั นี้

มีวธิ ดี ำเนนิ การ ดงั น้ี ประเภทของขอ้ มูลเปน็ ข้อมูลเชิงปริมาณ ลกั ษณะเป็น

แบบสอบถามท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้นมาเอง โดยผ่านการหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม และประกอบ

ไปดว้ ย 3 ตอน คอื

ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ วุฒิการศึกษาและ

ประสบการณก์ ารทำงาน ลักษณะของแบบสอบถามเปน็ แบบตรวจสอบรายการ (Check-list)

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเก่ียวกับภาวะเกย่ี วกบั ภาวะผูน้ ำสตรีในการบรหิ ารงานใน

สถานศึกษาเอกชนจงั หวัดภูเก็ต สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน ซึ่งผวู้ ิจัยได้

พฒั นาแบบสอบถามจากการประยุกตแ์ นวคดิ ของแบสส์ และอโวลโิ อ (Bass & Avolio, 1994, pp. 2-

6) ประกอบดว้ ย 4 ดา้ น ดงั นี้

1. การมีอิทธิพลอยา่ งมอี ุดมการณ์ จำนวน 10 ขอ้

2. การสร้างแรงบนั ดาลใจ จำนวน 6 ขอ้

171

3. การกระตุ้นทางปญั ญา จำนวน 8 ข้อ

4. การคำนงึ ถึงความเปน็ ปจั เจกบุคคล จำนวน 6 ข้อ

ตอนท่ี 3 แบบสอบถามเก่ียวกับการบริหารงานตามหลกั ธรรมาภิบาลของผู้บรหิ าร

สตรีในสถานศึกษาเอกชนจังหวัดภูเก็ต สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ซ่ึง

ผู้ วิ จั ย ไ ด้ ส ร้ า ง ข้ึ น จ า ก ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ แ น ว คิ ด ต า ม ร ะ เบี ย บ ส ำ นั ก น า ย ก รั ฐ ม น ต รี ร ะ เบี ย บ ส ำ นั ก

นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมท่ีดี พ.ศ. 2542 ประกอบด้วย

6 ดา้ น ดงั นี้

1. ด้านการใช้หลักนติ ิธรรมในการบรหิ ารงาน จำนวน 7 ข้อ

2. ดา้ นการใช้หลกั คุณธรรมในการบรหิ ารงาน จำนวน 8 ขอ้

3. ดา้ นการใชห้ ลักความโปร่งใสในการบริหารงาน จำนวน 5 ข้อ

4. ด้านการใช้หลักการมสี ่วนร่วมในการบริหาร จำนวน 13 ขอ้

5. ด้านการใชห้ ลกั ความรับผิดชอบในการบรหิ าร จำนวน 9 ข้อ

6. ด้านการใชห้ ลักความคุม้ ค่าในการบรหิ ารงาน จำนวน 8 ข้อ

การตรวจสอบคุณภาพเครอ่ื งมือ
การสรา้ งแบบสอบถามเพื่อใช้ในการศกึ ษาความสัมพันธร์ ะหวา่ งภาวะผนู้ ำ
สตรีกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลในสถานศึกษาเอกชนจังหวัดภูเก็ต สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชนในครงั้ น้ี ผู้วิจยั มีข้ันตอนดงั น้ี
1. ศึกษาการสร้างเคร่ืองมือจากเอกสาร ตำรา และแนวความคิดจากงานวิจัยท่ี
เกย่ี วขอ้ งกับภาวะผนู้ ำการเปล่ียนแปลงกบั การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา
2. สร้างแบบสอบถามฉบับร่าง โดยกำหนดประเด็นหลักและประเด็นย่อยให้
ครอบคลุมเนื้อหาสาระตามวัตถุประสงคแ์ ละกรอบแนวคิดของการวิจยั
3. นำแบบสอบถามที่สร้างเสร็จเรียบร้อยแล้วเสนออาจารย์ที่ปรึกษาเพ่ือพิจารณา
ตรวจสอบ โครงสร้างคำถาม การใชภ้ าษา และความครอบคลุมในเนื้อหาสาระ แล้วนำข้อเสนอแนะมา
ปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสม
4. นำแบบสอบถามไปให้ผเู้ ชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน ประกอบด้วย
1. ดร.ธีระชัย รัตนรังษี รองผูอ้ ำนวยการสำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา วิทยฐานะ
ชำนวญการพิเศษ สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษาประจวบครี ขี นั ธ์
2. ดร.เรวดี เชาวนาสัย ผู้อำนวยการโรงเรียน วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ
โรงเรยี นบา้ นหนา้ ควนลงั (ราษฎร์สามคั ค)ี สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสงขลา

172

3. รศ.ดร.จรัส อติวิทยาภรณ์ ผู้อำนวยการหลักสูตรการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลยั หาดใหญ่

เพ่อื ตรวจสอบความเทีย่ งตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ตลอดจนความเหมาะสมในการ
ใช้ภาษา แล้วนำผลมาคำนวณหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง ข้อคำถามกับนิยามศัพท์ (Index of
Item Objective Congruence: IOC) โดยการให้คะแนนของผู้เชยี่ วชาญดงั น้ี

+1 เมอื่ ข้อคำถามสอดคล้องตามวตั ถุประสงคแ์ ละนิยามศัพทเ์ ฉพาะ
0 เม่อื ไมแ่ นใ่ จว่าข้อคำถามสอดคลอ้ งตามวัตถปุ ระสงคแ์ ละนิยาม

ศัพท์เฉพาะ
-1 เมอื่ ข้อคำถามไม่สอดคล้องตามวัตถปุ ระสงคแ์ ละนิยามศัพท์เฉพาะ

5. คดั เลอื กขอ้ คำถามท่ีมีค่าดัชนีความสอดคล้อง 0.67-1.00
6. นำแบบสอบถามทผี่ ่านการวเิ คราะห์หาความเที่ยงตรงตามเน้ือหาแลว้ นำเสนอต่อ
อาจารย์ท่ีปรึกษา เพ่ือตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง แลว้ นำแบบสอบถามไปทดลองใช้ (Try-out) กับ
กลุ่มท่ีไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างของการวิจัย จำนวน 30 คน แล้วนำข้อมูลทีไ่ ดม้ าวิเคราะห์หาค่าความเช่ือมั่น
ของแบบสอบถาม (Reliability) ด้วยวิธีหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของ ครอนบาค (Cronbach’s
Alpha Coefficient) โดยใช้สูตรการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach's Alpha
Coefficient) โดยค่าสัมประสัมประสิทธ์ิของความเชื่อมั่นของแบบสอบถามตอนท่ี 2 เท่ากับ .961
แบบสอบถามตอนที่ 3 เทา่ กับ .980 (รายละเอยี ดดังภาคผนวก)
7. นำแบบสอบถามทผ่ี า่ นการทดลองใช้แล้วมาปรับปรุงแกไ้ ขให้สมบูรณ์ และ
นำเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรึกษาตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์อีกคร้ัง ก่อนนำไปใช้เก็บข้อมูลกับกลุ่ม
ตวั อย่างของการวจิ ัย

8. นำแบบสอบถามทผ่ี า่ นการตรวจสอบคณุ ภาพแลว้ มาจัดพมิ พแ์ บบสอบถาม
ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับธรรมาภิบาลในการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสตรีใน
สถานศึกษาเอกชนจังหวดั ภเู ก็ต สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน ให้เป็นฉบบั ท่ี
สมบูรณพ์ รอ้ มนำไปใช้กบั กลมุ่ ตัวอย่าง

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล

การวจิ ยั ครง้ั นี้ ผู้วิจัยดำเนนิ การเกบ็ ข้อมลู ตามขัน้ ตอนดงั ตอ่ ไปนี้

173

1. นำหนังสือจากคณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ เพื่อขอ
ความร่วมมือไปยังสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดภูเก็ต ในการขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
จากกลมุ่ ตวั อย่างทใี่ ชใ้ นการวิจยั

2. นำหนังสือจากศึกษาธิการจังหวัดภูเก็ต เพ่ือขอความร่วมมือไปยังผู้บริหาร
สถานศึกษาเอกชนในจังหวัดภูเก็ต สงั กัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ในการขอ
ความรว่ มมอื เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย

3. ดำเนินการเก็บข้อมูล ซึ่งผู้วิจัยได้ส่งแบบสอบถามโดยใช้ Google Form ไปยัง
สถานศึกษาท่ีเป็นกลุ่มตัวอย่างผ่านทางระบบการสื่อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ สถานศึกษาเอกชนใน
จงั หวัดภเู กต็ สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน กำหนดสง่ คนื ภายใน 15 วนั

4. เม่ือได้รับแบบสอบถามคืน ผู้วิจัยดำเนินการตรวจสอบความถูกต้อง ความ
สมบูรณ์ของการตอบแบบสอบถาม เพื่อนำไปดำเนินการวิเคราะห์ทางสถิติและสรุปผลตามขั้นตอน
ของการวิจัยตอ่ ไป

การวเิ คราะห์ข้อมูล และสถติ ิท่ใี ช้

การวิเคราะหข์ อ้ มูล
ผวู้ ิจัยนำแบบสอบถามทไี่ ดร้ บั คืนมาทง้ั หมดมาตรวจสอบความสมบูรณค์ รบถว้ นของ
คำตอบในแบบสอบถามแต่ละชุด นำแบบสอบถามที่มีความสมบูรณ์มาวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรม
วเิ คราะห์ข้อมลู ทางสังคมศาสตร์ ดังน้ี
1. ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ไดแ้ ก่ เพศ ประสบการณ์การ
ทำงาน และขนาดโรงเรียน วเิ คราะหโ์ ดยหาค่าความถ่ี (Frequency) และค่ารอ้ ยละ (Percentage)
2. ตอนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเหน็ ของครูผู้สอนเกยี่ วกบั ภาวะ
ผู้นำสตรีในการบริหารงานในสถานศึกษาเอกชนจังหวัดภูเก็ต สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน ผู้วิจัยได้กำหนดขอบเขตของการวิจัย โดยการวิเคราะห์หาค่าเฉล่ีย (Mean) และ
ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ของระดับความคดิ เห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็น
รายด้าน และโดยรวม จากนั้นนำค่าเฉลี่ยที่ได้มาแปลความหมายโดยใช้เกณฑ์สัมบูรณ์ (Absolute
Criteria) ตามแนวคิดของรณงค์ ทีปประชัย (2547, น. 93) โดยแบ่งคะแนนเป็นช่วง ๆ ซ่ึงผู้วิจัยได้
นำมาปรบั ใชม้ คี วามหมายดงั น้ี

ค่าเฉล่ีย ระดบั ภาวะผนู้ ำสตรีในการบรหิ ารงาน
4.50 – 5.00 มภี าวะผู้นำสตรีในการบริหารงานอยู่ในระดับมากท่ีสดุ

174

3.50 – 4.49 มภี าวะผนู้ ำสตรีในการบรหิ ารงานอยู่ในระดับมาก

2.50 – 3.49 มภี าวะผนู้ ำสตรีในการบริหารงานอยใู่ นระดับปานกลาง

1.50 – 2.49 มภี าวะผู้นำสตรีในการบริหารงานอยใู่ นระดับน้อย

1.00 – 1.49 มภี าวะผู้นำสตรีในการบริหารงานอยู่ในระดับน้อยทสี่ ุด

3. แบบสอบถามตอนท่ี 3 แบบสอบถามความคิดเห็นของครผู ู้สอนเก่ยี วกบั

เก่ียวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสตรีในสถานศึกษาเอกชนจังหวัดภูเก็ต

สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ผู้วิจัยได้กำหนดขอบเขตของการวิจัย โดย

การวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ของระดับ

ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นรายด้าน และโดยรวม จากนั้นนำค่าเฉล่ียที่ได้มาแปล

ความหมายโดยใช้เกณฑ์สัมบูรณ์ (Absolute Criteria) ตามแนวคิดของรณงค์ ทีปประชัย (2547, น.

93) โดยแบ่งคะแนนเปน็ ช่วง ๆ ซึง่ ผู้วจิ ยั ได้นำมาปรบั ใชม้ ีความหมายดังน้ี

ค่าเฉลยี่ ระดบั การใช้หลกั ธรรมาภิบาลในการบริหารงานของ

ผ้บู รหิ ารสตรี

4.50 – 5.00 การใช้หลกั ธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารงานของ

ผบู้ ริหารสตรอี ยู่ในระดบั มากทสี่ ุด

3.50 – 4.49 การใช้หลกั ธรรมาภบิ าลในการบริหารงานของ

ผบู้ รหิ ารสตรีอยู่ในระดบั มาก

2.50 – 3.49 การใชห้ ลกั ธรรมาภิบาลในการบริหารงานของ

ผู้บรหิ ารสตรีอยู่ในระดบั ปานกลาง

1.50 – 2.49 การใช้หลักธรรมาภิบาลในการบรหิ ารงานของ

ผบู้ รหิ ารสตรีอยู่ในระดบั นอ้ ย

1.00 – 1.49 การใชห้ ลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานของ

ผบู้ ริหารสตรีอย่ใู นระดบั น้อยทีส่ ุด

4. วเิ คราะห์ความสัมพนั ธ์ระหว่างภาวะผู้นำสตรีกบั การบรหิ ารงานตามหลัก

ธรรมาภิบาลในสถานศึกษาเอกชนจังหวัดภูเก็ต สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา

เอกชน ใช้วิธีการหาค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ตามแบบของเพียร์สัน (Pearson) สำหรับหลักเกณฑ์

ความหมายของคา่ สัมประสทิ ธสิ์ หสัมพันธ์ (r) (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2545, น. 103) มีดังน้ี

คา่ สัมประสิทธิ์สหสมั พนั ธ์ (r) มคี า่ +1 ถงึ -1 โดยมีเกณฑ์กว้างๆ ดังน้ี

ค่า r อยูใ่ นช่วง 0.81-1.00 หมายความวา่ มคี วามสัมพนั ธ์กนั ในระดับสงู

คา่ r อยู่ในชว่ ง 0.61-0.80 หมายความวา่ มคี วามสัมพนั ธ์กนั ในระดบั ค่อนขา้ งสูง

175

ค่า r อยู่ในช่วง 0.41-0.60 หมายความว่า มคี วามสัมพันธ์กันในระดับปานกลาง

คา่ r อยู่ในชว่ ง 0.21-0.40 หมายความว่า มีความสัมพนั ธ์กันในระดับคอ่ นขา้ งต่ำ

คา่ r มคี ่าไมเ่ กนิ 0.20 หมายความว่า มคี วามสัมพันธ์กนั ในระดับตำ่

คา่ สัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์ (r) มคี า่ 0 ถือว่า ไม่มคี วามสัมพันธก์ นั เชิงเส้นตรง

หากคา่ r มคี ่าเป็น บวก (+) หมายถงึ ตวั แปรมีความสัมพันธก์ นั ทางบวก เนื่องจากคะแนน 2

ชุด มีการแปรผนั ร่วมกันในทิศทางเดยี วกนั

หากคา่ r มีค่าเป็น ลบ (-) หมายถึง ตัวแปรมีความสมั พันธ์กันทางลบ เนื่องจากคะแนน 2 ชุด

มีการแปรผนั ร่วมกนั ในทิศทางตรงขา้ มกัน

สถิติท่ใี ช้
1. สถิตทิ ี่ใช้ในการหาคุณภาพของเครือ่ งมือ ได้แก่

1.1 ตรวจสอบความเท่ียงตรงของเนือ้ หา โดยการหาค่าค่าดชั นคี วาม
สอดคลอ้ ง (IOC)

1.2 หาค่าความเชื่อม่ันของแบบสอบถาม โดยใช้สูตรการหาค่าสัมประสทิ ธิ์
แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient)

2. สถิติพ้ืนฐาน ได้แก่ ค่าความถ่ี (Frequency) คา่ รอ้ ยละ (Percentage) คา่ เฉล่ีย
(Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

3. สถิตทิ ่ีใช้ในการทดสอบสมมตฐิ าน โดยการหาค่าสมั ประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ
เพียร์สัน (Pearson’s Productmoment Correlation Coefficient) วิเคราะห์ค่าความสัมพันธ์
ระหว่างภาวะผู้นำสตรีกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลในสถานศึกษาเอกชนจังหวัดภูเก็ต
สังกดั สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน

5. การวิเคราะหแ์ ละสรา้ งโมเดลความสมั พันธ์ระหวา่ งตัวแปรดว้ ยโปรแกรม AMOS
(Analysis of Moment Structure)

176


Click to View FlipBook Version