แนวคิดทฤษฎีการบรหิ ารการศึกษาและเครือ่ งมอื
การบรหิ ารจดั การสถานศึกษาสมยั ใหม่
เสนอ
อาจารย์ ดร.เชาวนี แก้วมโน
โดย
นายมศู มั มิล ลาเตะ รหัสนกั ศกึ ษา
๖๔๑๙๐๕๐๐๐๕
รายงานฉบับนเ้ี ปน็ ส่วนหนึง่ ของวิชาหลกั การและทฤษฎีการบรหิ ารการศกึ ษา
(๙๐๕-๕๐๒)
ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
คณะศกึ ษาศาสตร์และศลิ ปศาสตร์ สาขาการบริหารการศึกษา
คำนำ
รายงานเลม่ น้ีเป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ าหลกั การและทฤษฎีทางการการบริหาร รายงานฉบบั น้ีจดั ทา
ข้ึนเพื่อประมวลความรู้ท่ีเรียนในรายวิชาหลกั การและทฤษฎีทางการบริหาร ในระดบั ปริญญาโทสาขาวิชา
การบริหารการศึกษา
สาระสาคญั ของรายงานฉบบั น้ีประกอบดว้ ยแนวคดิ และทฤษฎีการบริหารการศึกษาตา่ ง ๆ และ
เครื่องมือการบริหารจดั การสถานศึกษาสมยั ใหมเ่ รื่องมาใชใ้ นการแกป้ ัญหาในสถานศึกษา
ผูจ้ ดั ทาหวงั เป็ นอย่างย่ิงว่า รายงานเล่มน้ีจะเป็ นประโยชน์ต่อผูอ้ ่านไม่มากก็น้อย และขอขอบคุณ
อาจารยท์ ่ีช่วยเหลือให้รายงานเล่มน้ีสาเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี และได้ให้คาแนะนาและคาปรึกษารวมท้งั การ
จดั ทารายงาน ผจู้ ดั ทารายงานจึงขอขอบพระคณุ มา ณ โอกาสน้ี
นายมศู มั มิล ลาเตะ
รหสั นกั ศึกษา
๖๔๑๙๐๕๐๐๐๕
สำรบัญ หนา้
เร่ือง 1
1
ทฤษฎี : การบริหารการศึกษา 2
พฒั นาการของทฤษฎีในการบริหารการศึกษา 2
ลกั ษณะสาคญั ของทฤษฎีการบริหารการศึกษา 3
ความสาคญั ของทฤษฎี 4
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งทฤษฎีกบั แนวปฏิบตั ิทางการบริหารการศึกษา 6
ทฤษฏีประเภทตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การบริหารการศึกษา 9
การศึกษาในศตวรรษท่ี 21 10
เคร่ืองมือเพือ่ การบริหารจดั การสถานศึกษาในศตวรรษท่ี 21 13
การจดั การความรู้ในสถานศึกษา 14
ความสาคญั ในการนา ICT มาใชใ้ นการเรียนรู้ 14
เทคโนโลยกี บั การเรียนการสอน 15
แนวคดิ ในการเพม่ิ คุณคา่ ของเทคโนโลยชี ่วยการเรียนรู้
การจดั ปัจจยั สนบั สนุนการใชเ้ ทคโนโลยชี ่วยการเรียนรู้
ทฤษฎี : กำรบริหำรกำรศึกษำ
มีผู้ให้คานิยามไว้ว่า ทฤษฎี หมายถึง ชุดของแนวคิด (Concepts) คติฐานหรือข้อสันนิษฐษน
(Assumption) และขอ้ ยตุ ิโดยทว่ั ไป (Generalization) ที่อธิบายพฤติกรรมขององคก์ าร อยา่ งเป็นระบบ และมี
ความสัมพนั ธ์ต่อกนั แต่สาหรับขอ้ สมมติฐาน (Hypothesis) หมายถึง การต้งั ขอ้ กาหนด หรือขอ้ สมมติที่คิด
หรือคาดว่าน่าจะเป็ นข้ึนมา แลว้ พยายามศึกษา คน้ ควา้ ทดลอง เพ่ือหาข้อสรุปมาพิสูจน์ให้จงได้ว่า ขอ้
สมมติฐานที่ต้งั ไวน้ ้นั จริงหรือไม่จริง
พฒั นำกำรของทฤษฎีในกำรบริหำรกำรศึกษำ
ความเกี่ยวขอ้ งของทฤษฎีที่เขา้ มาสัมพนั ธ์กบั การบริหารการศึกษาน้นั มีจุดเร่ิมตน้ มาจากการกระตุน้
ให้เกิดการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนในดา้ นสังคมศาสตร์ ก่อนสงครามโลกคร้ังที่ 2 เชสเตอร์ ไอ บาร์นาร์ด,เอล
ตนั มาโย และเอฟ เจ รอธลิสเบอร์เกอร์ไดเ้ ปิ ดทศั นะใหม่แห่งการศึกษาการบริหาร แต่สงครามไดผ้ ลกั ดนั ให้
นกั วิทยาศาสตร์สังคมหันเหไปจากการทดลองในหอ้ งปฏิบตั ิการไประยะหน่ึง ในระยะน้นั นกั จิตวิทยา นกั
สังคมวิทยา และนกั มานุษยวิทยาก็ตอ้ งเขา้ จดั การกบั ปัญหาดา้ นต่างๆ ที่รุมเร้าเขา้ มา เมื่อสงครามสิ้นสุด นกั
คน้ ควา้ เหล่าน้ีก็หนั มาศึกษาเรื่องราวเก่ียวกบั การบริหารอยา่ งจริงจงั อีกคร้ังหน่ึง
ในปี 1947 มีการประชุมแห่งชาติของศาสตราจารยแ์ ห่งการบริหารการศึกษา (National Conference
of Professors of Educational Administration NCPEA) ซ่ึงการประชุมในคร้ังน้ัน ที่ประชุมไดต้ ระหนึกถึง
การพฒั นาทางดา้ นสังคมศาสตร์ และในปี 1950 มีโครงการร่วมมือระหว่างกันในการบริหารการศึกษา
(Cooperative Program in Educational Administration CPEA) เพ่ือแสวงหาแนวทางใหม่ ๆ ในการบริหาร
การศึกษา แต่การปฏิบตั ิงานในคร้ังกระน้นั ก็มิไดค้ น้ พบอะไรที่เก่ียวกบั ทฤษฏีการบริหารมากนกั
ต่อมา บรรดาสมาชิก NCPEA เสนอแนะให้ท่ีประชุมสนับสนุนการเขียนหนังสือที่รายงาน
ผลการวิจยั ส่ิงที่คน้ พบเกี่ยวกบั การบริหารการศึกษา และในปี 1954 โรอลั ด์ แคมป์ เบล และเกร๊ก รัสเซลได้
ร่วมกนั เป็ นบรรณาธิการหนงั สือชื่อ Administrative Behavior in Education แต่ปรากฎว่า ในบรรดาผูเ้ ขียน
จานวน 14 คน ที่เขียนเรื่องลงหนังสือเล่มน้ี ไดพ้ บว่า หนังสือเล่มน้ียงั ขาดทฤษฎีการบริหาร ทาให้เกิด
ช่องวา่ งใหญโ่ ตในระหวา่ งความรู้เกี่ยวกบั การวิจยั ดา้ นพฤติกรรมการบริหาร (ฮลั ปิ น,1968 : xii)
อิทธิพลลาดับที่สามที่มีต่อการบริหารการศึกษาของสหรัฐอเมริกา ได้แก่การที่มีการก่อต้ัง
คณะกรรมการมหาวิทยาลัยท่ีดูลแลด้านการบริหารการศึกษา (The University Council for Educational
Administration UCEA) ข้ึนในปี 1956 คณะกรรมการชุดน้ีได้ร่วมมือกบั Educational Testing Service and
Teachers College ร่วมกันสนับสนุนส่งเสริมการวิจยั ในโครงการขนาดใหญ่ ท่ีมุ่งออกแบบเพื่อพัฒนา
มาตรการสาหรับการปฏิบตั ิงานของผูบ้ ริหารโรงเรียน ในช่วงน้ีเอง ท่ีมีการเขียนหนงั สือดงั ๆ ออกมาหลาย
เล่ม ไดแ้ ก่
1. The Use of Theory in Educational Administration แต่งโดยโคลาดาร์ซี และ เกตเซล ในปี 1955
เนน้ บูรณาการของทฤษฎีและการปฏิบตั ิ
2. Uneasy Profession แตง่ โดยกรอส กล่าวถึงอาชีพนกั บริหารการศึกษาวา่ เป็นอาชีพท่ีมิใช่ของง่าย
ๆ เขาไดช้ ้ีใหเ้ ห็นวา่ จะตอ้ งมีทฤษฎีเขา้ มาเก่ียวขอ้ งวา่ ผูน้ ิเทศการศึกษาจะตอ้ งปฏิบตั ิอยา่ งไร มิใช่วา่ “ควรจะ
ปฏิบตั ิอยา่ งไร”
3. Studies in School Administration แตง่ โดยมวั ร์ ไดร้ ับการสนบั สนุนจากสมาคมผบู้ ริหารโรงเรียน
อเมริกนั (American Association of School Administrators) มวั ร์ได้ทบทวนเร่ืองราวที่มีผูเ้ ขียนบทความ
ใหแ้ ก่ศูนย์ CPEA 9 ศนู ย์ แลว้ พบวา่ บทความเหล่าน้ีมีนอ้ นมากท่ีกล่าวถึงทฤษฎีการบริหารการศึกษา
4. Administration Behavior in Education แต่งโดยแคมป์ เบลและเกร็ก ไดร้ ับเงินทุนสนบั สนุนจาก
NCPEA และกเ็ ช่นเดียวกนั กพ็ บวา่ งานเขียนส่วนใหญ่ขาดการวจิ ยั ที่มงุ่ คน้ ควา้ ดา้ นทฤษฎี (ฮลั ปิ น, 1968 :3)
ลกั ษณะสำคญั ของทฤษฎีกำรบริหำรกำรศึกษำ
1. ทฤษฎีประกอบดว้ ยแนวคิด คติฐาน และขอ้ ยตุ ิทวั่ ไปอยา่ งมีเหตุผล
2. ทฤษฎีมุ่งอธิบายและคาดการณ์กฎตา่ ง ๆ ของพฤติกรรม อยา่ งมีระบบ
3. เป็นความเกี่ยวขอ้ งสัมพนั ธ์กนั ของวิธีการทดลองท่ีกระตุน้ และน้ีนาให้มีการพฒั นาหาความรู้เพิ่มเติมใน
เรื่อง น้นั ๆ ใหล้ ้าลึกยงิ่ ข้ึนในโอกาสต่อไป
ควำมสำคญั ของทฤษฎี
ทฤษฎีบริหารการศึกษา มีบทบาทสาคญั คือ
1. ทาหนา้ ที่ใหข้ อ้ ยตุ ิทว่ั ไป (Generalization)
2. ก่อให้เกิดการวิจยั ทางด้านบริหารการศึกษา มีการทดสอบความเป็ นไปได้ของทฤษฏี และเมื่อต้งั เป็ น
ทฤษฎีข้นึ มาไดแ้ ลว้ กเ็ ป็นเคร่ืองช่วยช้ีนาในการปฏิบตั ิงาน หรือก่อใหเ้ กิดการพฒั นางานใหม่ ๆ ข้นึ มา
3. การมีทฤษฎีบริหารการศึกษาข้ึนมาใช้ ช่วยอานวยความสะดวกให้แก่ผูศ้ ึกษา ทาให้ไม่จาเป็นจะตอ้ งไป
จดจาขอ้ มูล หรือขอ้ ความต่าง ๆ มากมาย เพียงแต่จาหลกั การหรือทฤษฎีต่าง ๆ เหล่าน้นั ได้ ก็นบั ว่าเป็นการ
เพียงพอแลว้
ดังน้ัน ผูบ้ ริหารการศึกษาท้งั หลาย จะตอ้ งเป็ นนักปฏิบตั ิที่สนใจปัญหาและเหตุการณ์อย่างเฉพา
เจาะจงที่เกิดข้ึนในองค์การ ตอ้ งตีความ วิเคราะห์ ประยุกตเ์ อาหลกั การและทฤษฏีต่าง ๆ ทางการบริหาร
การศึกษา มาใชใ้ นการปฏิบตั ิ มุ่งแกป้ ัญหาท่ีเกิดข้ึน โดยอาศยั หลกั การ และทฤษฎีบริหารการศึกษาท่ีไดม้ ีผู้
ศึกษาคน้ ควา้ เอาไวอ้ ย่างละเอียดรอบคอบแลว้ น้ัน เป็ นแนวทางในการดาเนินการ เพื่อความถูกตอ้ ง และ
เหมาะสม
ควำมสัมพนั ธ์ระหว่ำงทฤษฎกี บั แนวปฏบิ ตั ทิ ำงกำรบริหำรกำรศึกษำ
การบริหารงานใด ๆ ก็ตาม จาเป็ นจะตอ้ งมีทฤษฎีเป็ นพ้ืนฐาน การบริหารการศึกษาก็เช่นเดียวกนั
หากนกั บริหารการศึกษาบริหารงานไป โดยมิไดใ้ ชท้ ฤษฎีเขา้ มาช่วยในการคดิ และตดั สินใจ ก็หมายความวา่
เขาดาเนินการไปโดยอาศยั ประสบการณ์ด้งั เดิม อาศยั สามญั สานึก ที่เรียกว่า Common sense หรือท่ีเรียกว่า
ใช้กฎแห่งนิ้วหัวแม่มือ (Rule of Thumb) ลองเดา ๆ ดู ว่าหากทาอย่างน้ีแลว้ ผลจะออกมาเป็ นอย่างไร หาก
ถูกตอ้ งก็ดีไป หากผิด ก็ถือว่า ผิดเป็นครู แลว้ ลองทาใหม่ โดยไม่ยอมทาผิดซ้าในลกั ษณะเดิมอีก เป็นตน้ น่ี
เป็ นการลองผิดลองถูก (Trial and Error) นั่นเอง การคิดและแกไ้ ขปัญหาด้วยสามญั สานึกเช่นน้ี เป็ นการ
กระทาอย่างไม่มีหลกั การ เป็ นการมองในแง่มุมแคบ ๆ หรือผูกติดอยู่กบั แนวทางใดแนวทางหน่ึงแต่เพียง
อยา่ งเดียว อาจจะทาใหต้ ดั สินใจผดิ พลาดไดโ้ ดยง่าย
ในทางตรงกนั ขา้ ม หากผบู้ ริหารการศึกษาบริหารงานโดยอาศยั หลกั การและทฤษฎีการบริหาร (การ
บริหารการศึกษา) เป็ นหลกั หรือเป็ นพ้ืนฐานในการคิด พิจารณาและตัดสินใจแลว้ ก็จะทาให้สามารถ
บริหารงานไดอ้ ย่างมีทิศทางท่ีตรงแน่วไปในทางใดทางหน่ึงที่พึงประสงค์ ไม่สะเปะสะปะ เมื่อจะตดั สิ นใจ
ก็มีหลกั การ และทฤษฎีเขา้ มาสนบั สนุน ว่าส่ิงที่จะตดั สินใจกระทาลงไปน้นั ไดเ้ คยมีผูป้ ฏิบตั ิและกระทาซ้า
ๆ ในลกั ษณะเดียวกนั น้ันมาแลว้ มากมาย และเขาก็ทาไดถ้ ูกตอ้ งและเป็ นผลดีดว้ ยกนั ท้งั สิ้น ดงั น้ัน เมื่อเรา
ปฏิบตั ิ หรือตดั สินใจในลกั ษณะอยา่ งเดียวกนั น้นั บา้ ง กน็ ่าจะไดร้ ับผลดีหรือทาไดถ้ กู ตอ้ งเช่นเดียวกนั
ควำมสัมพนั ธ์ระหว่ำงทฤษฎกี บั กำรปฏบิ ัติ
การบริหารงานน้นั เป็นท้งั ศาสตร์และศิลป์ ดงั ไดเ้ คยกล่าวไวแ้ ลว้ ดงั น้นั นกั บริหารการศึกษาจะตอ้ ง
บริหารงานในภารกิจหนา้ ท่ีท่ีตนกระทาอยู่ อยา่ งชาญฉลาด มีความแนบเนียนในการปฏิบตั ิ ใหง้ านน้นั ดาเนิน
ไปไดโ้ ดยราบร่ืน สามารถขจดั ปัดเป่ าอุปสรรคท้งั หลายท่ีเกิดข้ึนได้ เม่ือมีปัญหา กส็ ามารถแกไ้ ขใหล้ ลุ ่วงไป
ไดด้ ว้ ยดีเสมอ
ทฤษฎีกบั การปฏิบตั ิน้นั มีความเก่ียวขอ้ งสมั พนั ธก์ นั ใน 3 ลกั ษณะ ดงั ต่อไปน้ี
1. ทฤษฎีวางกรอบความคิดแก่ผปู้ ฏิบตั ิ
ทฤษฎีช่วยให้ผูป้ ฏิบัติมีเคร่ืองมือใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาท่ีประสบ นักบริหารการศึกษาที่มี
ความสามารถน้นั จะตอ้ งมีความสามารถสูงในการใชค้ วามคดิ (Conceptual Skill) โดยรู้จกั ตีความ และนาเอา
ทฤษฎีการบริหารการศึกษามาประยุกต์ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้สถานการณ์และสิ่งแวดล้อมที่มี
ขดี จากดั และมีทรัพยากรตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเป็นดา้ นเวลา กาลงั คน หรือทรัพยส์ ินเงินทอง อยา่ งจากดั ดว้ ยเช่นกนั
2. การนาเอาทฤษฏีมาใช้ ช่วยใหแ้ นวทางวิเคราะหผ์ ลที่เกิดข้นึ จากการปฏิบตั ิ
การที่ผูบ้ ริหารนาทางเลือกต่าง ๆ มาพิจารณา และตดั สินใจดาเนินการลงไป โดยอาศยั ทฤษฎีการ
บริหารมาประยุกต์ใช้ เพื่อประกอบเป็ นเหตุผลในการตัดสินใจวินิจฉัยสั่งการ อันเน่ืองมาจากความมี
ประสบการณ์สูงของนกั บริหารการศึกษาเท่าน้นั
3. ทฤษฏีช่วยในการตดั สินใจ
ทฤษฎีช่วยให้ขอ้ มูลพ้ืนฐานแก่การตดั สินใจ การตดั สินใจท่ีดีน้ัน จะตอ้ งประกอบไปด้วยกรอบ
ความคิดที่แน่นอนชดั เจน หากปราศจากกรอบความคิดเสียแลว้ การตดั สินใจก็อาจจะไม่ถูกตอ้ ง ไม่บงั เกิด
ผลดี ขอ้ มูลต่าง ๆ ที่ไดร้ ับมาขอ้ มูลน้ัน บางคร้ังอาจไม่ชดั เจน ตอ้ งมีการตีความเสียก่อน การมีพ้ืนฐานของ
ทฤษฏีที่ดีจะช่วยให้นักบริหารการศึกษาสามารถตดั สินใจไดอ้ ย่างรวดเร็ว มีความนั่ ใจในการตดั สินใจน้นั
และผลลพั ธท์ ่ีไดร้ ับน้นั มกั จะถูกตอ้ ง และบงั เกิดผลดีต่อองคก์ ารเสมอ
ทฤษฏีประเภทต่ำง ๆ ท่เี กย่ี วข้องกบั กำรบริหำรกำรศึกษำ
จากที่ไดม้ ีการศึกษาเร่ืองราวเกี่ยวกบั ประวตั ิ ความเป็นมาทางดา้ นการบริหาร และบ่อเกิดแห่งทฤษฎี
ต่าง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การบริหาร และการบริหารการศึกษาแลว้ ทาใหส้ ามารถแยกทฤษฎีต่าง ๆ ที่เก่ียวขอ้ ง
กบั การบริหารการศึกษาออกได้ ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ทฤษฎีภาวะผนู้ า
2. ทฤษฎีมนุษยสัมพนั ธ์
3. ทฤษฏีองคก์ าร
4. ทฤษฏีการบริหาร
5. ทฤษฏีการบริหารการศึกษา
1. ทฤษฎีกำรบริหำร
- Peter F. Druker ใหค้ วามหมายวา่ “ การบริหารคือการทาใหง้ านตา่ ง ๆ ลลุ ่วงไปโดยอาศยั คนอ่ืน
เป็นผทู้ า ”
- Terry ใหค้ วามหมายวา่ “ การบริหารเป็นกระบวนการที่ประกอบดว้ ยการวางแผน การจดั องคก์ าร
การกระตนุ้ และการควบคมุ ซ่ึงจะนาไปสู่การพจิ ารณา จดั การกบั บคุ คล และทรัพยากรใหบ้ รรลุ
ตามวตั ถุประสงค์ ”
- McFarland กล่าววา่ “ การบริหารเป็นกระบวนการบูรณาการข้นั พ้นื ฐานในการจดั กิจกรรมของ
องคก์ ารที่ปฏิบตั ิอยเู่ ป็นประจา ”
- Dejon ใหค้ วามหมายวา่ “ การบริหารเป็นกระบวนที่จะทาใหว้ ตั ถุประสงคป์ ระสบความสาเร็จโดย
ผา่ นทางบุคคลและการใชท้ รัพยากรอื่น กระบวนการดงั กล่าวรวมถึงองคป์ ระกอบของการบริหาร
อนั ไดแ้ ก่ การกาหนดวตั ถุประสงค์ การวางแผน การจดั องคก์ าร การกาหนดนโยบายการบริหาร
และการควบคมุ ”
- Dale ใหค้ วามหมายวา่ “ การบริหารหมายถึงการวางแผน การจดั องคก์ าร การบริหารบุคคล การ
อานวยการ การควบคุมนวตั กรรม และการเป็นตวั แทน ”
- Hersey,Blanchard and Johnson 2001 ใหค้ วามหมายวา่ “ การบริหารเป็นกระบวนการทางานพร้อม
กบั บุคคลและกลุ่มบุคคล ”
สรุปแนวคิดทฤษฎีกำรบริหำร
การบริหารคอื การนาทฤษฎีสู่การปฏิบตั ิอยา่ งเป็นระบบ โดยมีการวางแผน กาหนด
วตั ถปุ ระสงค์ การจดั การ การดาเนินงานตามแผนและมีระบบควบคมุ ดูแลเพ่ือใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงค์
ขององคก์ รน้นั ๆ ท้งั น้ีตอ้ งคานึงถึงยดึ บริบทขององคก์ ารท้งั ดา้ นทรัพยากร และบุคลากรในองคก์ ารที่มี
อยู่
2. หลกั กำรบริหำรของ Fayol
หลกั การของฟาโยลเ์ ป็นหลกั การท่ีมีความยดื หยนุ่ และสามารถปรับใหเ้ ขา้ กบั ความตอ้ งการ
ไดต้ ลอดเวลามีความเขา้ ใจวธิ ีการ โดยใชส้ ติปัญญาประสบการณ์ การตดั สินใจมีหลกั การ 14 ประการ
1. กำรแบ่งงำนกนั ( Division of Work ) มอบหมายงานใหต้ รงกบั ความสามารถของแต่
ละบุคคล แบง่ งานให้ เสมอภาคดว้ ยความยตุ ิธรรมใหก้ าลงั ใจในการทางานอยา่ งทว่ั ถึง
2. อำนำจหน้ำที่และควำมรับผดิ ชอบ ( Authority and Rseponsibility ) อานาจการสั่ง
การของผบู้ ริหารมีความแตกต่างกนั ระหวา่ งอานาจผบู้ ริหารที่อยใู่ นท่ีทางานกบั อานาจ
ที่เกิดจากบคุ ลิกภาพรวมถึงสติปัญญา ประสบการณ์ ความเป็นผนู้ า
3. ควำมมวี นิ ัย ( Discipline ) ใหบ้ คุ ลากรไดร้ ู้จกั โครงสร้างสายงาน มีความสามคั คี ความ
มีวนิ ยั เป็นหน่ึงเดียวเพ่ือให้องคก์ รบรรลุถึงวตั ถปุ ระสงค์
4. ควำมมีเอกภำพ ( Unity of Command ) ในการบงั คบั บญั ชาควรถือตามคาส่ังจาก
ผบู้ งั คบั บญั ชาเพียงผเู้ ดียวเท่าน้นั
5. ควำมมีเอกภำพในกำรอำนวยกำร ( Unity of Direction )ในการจดั กิจกรรมกลุม่ ควรมี
หวั หนา้ เพียงคนเดียวต่อหน่ึงกิจกรรม
6. ควำมสนใจของบุคคลต้องเป็ นรองควำมสนใจของคนส่วนรวม( Subordination of
individual interests to General Interests ) ความสนใจของผปู้ ฏิบตั ิหน่ึงคนไม่นามา
เป็นความสนใจของคนอ่ืนท่ีเก่ียวขอ้ งในกิจกรรมมีการยอมรับขอ้ ตกลงจากส่วนรวม
ใหม้ ากที่สุด
7. กำรให้ผลตอบแทน ( Remuneration ) ควรเป็นธรรมและใหเ้ กิดความพงึ พอใจต่อ
บคุ ลากรในองคก์ าร
8. กำรรวมอำนำจไว้ท่สี ่วนกลำง ( Centralization ) ข้ึนอยกู่ บั สภาพขององคก์ ารใน
ขณะน้นั รวมถึงคุณลกั ษณะดา้ นคุณธรรมของผบู้ ริหาร
9. สำยกำรบงั คับบญั ชำ ( Scalar chain ) เป็นการแสดงความห่างกนั ระหวา่ งผมู้ ีอานาจ
สูงสุดกบั ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา ถา้ ไมจ่ าเป็นกไ็ ม่ควรมี
10. คำส่ัง ( Order ) ผรู้ ับคาสั่งจาเป็นตอ้ งอยใู่ นบริเวณที่รับคาสงั่ และผปู้ ฏิบตั ิตอ้ งอยใู่ นที่
มีการสัง่ การ
11. ควำมเสมอภำค ( Equity ) ผบู้ ริหารตอ้ งใหค้ วามเมตตาและใหผ้ ลตอบแทนที่เป็นธรรม
กบั ทุกคน
12. ควำมมน่ั คง ( Stability of Tenure of Personnel) ในหนา้ ท่ีการงานใหบ้ ุคลากรใน
องคก์ ารไดใ้ ชเ้ วลาในการทางานโดยอาศยั ประสบการณ์เดิมท่ีเขามีดึงออกมาใชใ้ นการ
ปฏิบตั ิงานจะทาใหก้ ารทางานขององคก์ ารมนั่ คงข้ึน
13. ควำมคิดริเร่ิม ( Initiative ) การคดิ แตกตา่ งไมก่ ่อใหเ้ กิดความขดั แยง้ แตเ่ ป็นการ
สร้างสรรคง์ านใหส้ าเร็จไดเ้ ป็นการเพม่ิ ความเขม้ แขง็ ให้กบั องคก์ ารอีกทางหน่ึง
14. ควำมสำมคั คี ( Esprit de corpse ) ตอ้ งสร้างให้เกิดข้นึ กบั บุคคลในองคก์ ารจะทาให้
การดาเนินงานขององคก์ ารประสบความสาเร็จ
สรุป
พฒั นาการของทฤษฎีการบริหารเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การ
ปกครอง และเทคโนโลยี การนาทฤษฎีการบริหารมาใชใ้ นการบริหารงานน้นั ผบู้ ริหารตอ้ งมีมนุษยสัมพนั ธ์
และมีทกั ษะในการนาเทคนิควิธีมาใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั บริบทขององคก์ ารน้นั ๆ
กำรศึกษำในศตวรรษที่ 21
ศตวรรษที่ 21 กลายเป็นโจทยส์ าคญั สาหรับในหลายๆ เร่ือง ท้งั น้ีเนื่องจากทุกฝ่ายมองเห็นถึงความ
เปล่ียนแปลงท่ีชดั เจนมากข้ึนจากอดีต และความเปลี่ยนแปลงดงั กล่าวจาเป็นอยา่ งยง่ิ ท่ีจะตอ้ งมีการวาง
แผนการบริหารจดั การท่ีดี เพราะการกา้ วยา่ งท่ีชา้ จะทาใหเ้ ราสามารถตกขบวนและเสียโอกาสอีกมากมาย
การจดั การศึกษาเป็นอีกประเดน็ สาคญั ซ่ึงนอกจากจะตอ้ งกา้ วทนั ความเปล่ียนแปลงแลว้ ยงั จะตอ้ งเป็นกลไก
สาคญั เพื่อการขบั เคล่ือนภาคส่วนอื่นๆ ใหม้ ีความพร้อมในการเขา้ สู่ความเปล่ียนแปลงดว้ ย
1) ความเปล่ียนแปลงสาคญั ทางการศึกษาในศตวรรษท่ี 21
2) ความทา้ ทายทางการบริหารในความเปลี่ยนแปลง
3) เครื่องมือเพอ่ื การบริหารจดั การสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงมีรายละเอียดดงั น้ี
1. ควำมเปลย่ี นแปลงสำคัญทำงกำรศึกษำในศตวรรษท่ี 21
ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศกลายเป็ นปัจจยั สาคญั ในการเปลี่ยนแปลงวิถีการดาเนิน
ชีวิตของคนในยุคปัจจุบนั เปล่ียนแปลงรูปแบบการใช้ชีวิตต้งั แต่ต่ืนนอนจนกระทงั่ การกลบั ไปสู่ห้องนอน
ตวั อยา่ งปรากฏการณ์ความเปล่ียนแปลงเช่น
- เป็ นยุคท่ีคนใช้คอมพิวเตอร์โดยไม่รู้ตัวว่าใช้คอมพิวเตอร์ เนื่องจากคอมพิวเตอร์ที่เล็กลงแต่มี
ประสิทธิภาพมากข้ึนและแปลงรูปทรงเป็ นผลิตภณั ฑ์เคร่ืองใช้ต่างๆ เช่น นาฬีกา แว่นตา ตูเ้ ยน็ โทรทศั น์
โทรศพั ท์ ท้งั หมดสามารถประมวลผลนาเสนอเสนอไดไ้ ม่แตกต่างจากคอมพิวเตอร์ต้งั โต๊ะ ย่ิงไปกว่าน้ัน
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ดงั กล่าวจะเช่ือมต่อขอ้ มูลระหว่างกนั อย่างสะดวกและรวดเร็ว ผูค้ นสามารถเช่ือมต่อ
และถ่ายโอนขอ้ มูลจานวนมากมายไดอ้ ย่างสะดวกและเป็ นอิสระ และสามารถใชอ้ ุปกรณ์ที่หลากหลายใน
การเขา้ ถึงขอ้ มลู ได้
- การดาเนินงานในรูปแบบดิจิตอล อนั เน่ืองจากการเช่ือมต่อขอ้ มลู สารสนเทศ ทาใหร้ ะบบดิจิตอลมี
บทบาทในการดาเนินธุรกรรมต่างๆ ท้งั ดา้ นการเงิน การสื่อสาร หรือการปฏิบตั ิงาน ผคู้ นสามารถปฏิบตั ิงาน
หรือทาธุรกรรมต่างๆ ไม่วา่ จะอยทู่ ี่ไหนเวลาใดเพยี งแค่สามารถเช่ือมต่อเขา้ สู่ระบบอินเตอร์เนต็ ไดเ้ ท่าน้นั เอง
ขณะเดียวกนั การใชอ้ ินเตอร์เน็ตกใ็ หค้ วามสาคญั ต่อการระบุตวั ตนของผใู้ ชม้ ากข้ึนดว้ ยเช่นกนั ท้งั น้ีเพอื่ สร้าง
ความปลอดภยั สาหรับผใู้ ชเ้ องดว้ ย
- ความสัมพนั ธ์ในระหวา่ งบุคคลอยูใ่ นรูปแบบความสัมพนั ธ์เสมือนมากยิง่ ข้ึน เป็นอีกสภาพการณ์
หน่ึงที่เกิดข้ึนสาหรับศตวรรษท่ี 21 ขอบเขตทางภูมิศาสตร์ไม่สามารถขวางการมีปฏิสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคล
ได้ เพราะเป็ นการสื่อสารทาให้เกิดความสัมพนั ธ์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ แต่ท้งั น้ีผูค้ นในยุคน้ีจาเป็ นตอ้ งมี
ทกั ษะทางภาษาท่ีมากกวา่ คนในยคุ ที่ผา่ นๆ มา
- การเขา้ ถึงแหล่งขอ้ มูลและการเรียนรู้ท่ีไม่มีขอบเขตขอ้ จากดั ผคู้ นสามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลไดง้ ่ายผา่ น
เครื่องมือท่ีหลากหลาย ในขณะเดียวกับแหล่งข่าวก็สามารถนาเสนอขอ้ มูลข่าวสารสู่สาธารณะได้อย่าง
ง่ายดายและรวดเร็ว แต่เมื่อการเขา้ ถึงขอ้ มูลไม่ใช่เรื่องยาก ความยากกลบั เป็นเรื่องของการตรวจสอบความ
ถูกตอ้ งของขอ้ มูลข่าวสาร ผูค้ นจาเป็นตอ้ งตรวจสอบขอ้ มูลมากข้ึน เพ่ือใหแ้ น่ใจถึงความถูกตอ้ งในขอ้ มูลท่ี
ไดร้ ับ
จากกระแสความเปลี่ยนแปลงขา้ งตน้ ทาใหใ้ นประเทศสหรัฐอเมริกามีการพูดคยุ เร่ืองน้ีและไดม้ ีการ
พฒั นาแนวคิดเร่ือง "ทกั ษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21" โดยความร่วมมือของภาคส่วน
วงการนอกการศึกษาท่ีประกอบดว้ ย บริษทั เอกชนช้นั นาขนาดใหญ่ เช่น บริษทั แอปเปิ้ ล บริษทั ไมโครซอฟท์
บริษทั วอล์ดิสนีย์ องคก์ รวิชาชีพระดบั ประเทศ และสานกั งานดา้ นการศึกษาของรัฐ รวมตวั และก่อต้งั เป็น
เครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills)
หรือเรียกย่อๆว่า เครือข่าย P21 ซ่ึงเครือข่ายเห็นว่า การจดั การศึกษาในศตวรรษท่ี 21 จาเป็ นตอ้ งไดร้ ับการ
พฒั นาทกั ษะท่ีเพิ่มเติมจากคนในศตวรรษท่ี 20 และ 19 เด็กและเยาวชนจาเป็นตอ้ งมีทกั ษะการเรียนรู้และ
นวัตกรรม ซ่ึงมีองค์ประกอบคือ 3R4C คือ 3 R ได้แก่ Reading (การอ่าน), การเขียน(Writing) และ
คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ 4C ได้แก่ Critical Thinking (การคิดวิเคราะห์), Communication (การ
ส่ือสาร), Collaboration (การร่วมมือ) และ Creativity (ความคิดสร้างสรรค์) รวมถึงทกั ษะชีวิตและอาชีพ
และทกั ษะดา้ นสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี และการบริหารจดั การดา้ นการศึกษาแบบใหม่
ทกั ษะสาคญั สาหรับคนยคุ ศตวรรษท่ี 21 ดงั กล่าวจะเป็นตอ้ งอาศยั การจดั การศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
เพราะการจดั การศึกษาในรูปแบบเดิมไม่สามารถใชก้ ารสอนแบบเดิมๆ ท่ีเนน้ การถ่ายทอดจากครูผสู้ อนได้
อีกต่อไป ดงั น้นั จึงการปฏิรูปการจดั การเรียนรู้จึงเป็นโจทยส์ าคญั สาหรับทุกภาคส่วน จาเป็นอยา่ งยง่ิ ท่ีจะตอ้ ง
มีการดาเนินการปฏิรูปท่ีมีประสิทธิภาพ และการปฏิรูปการจดั การเรียนรู้จะสาเร็จไดก้ ็ตอ้ งดว้ ยการบริหาร
จดั การท่ีมีประสิทธิภาพ พร้อมรับกบั ความทา้ ทายความเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึน
2. ควำมท้ำทำยทำงกำรบริหำรในควำมเปลย่ี นแปลง
เป้าหมายการจดั การศึกษาท่ีเปล่ียนไป จากเดิมท่ีเนน้ องคค์ วามรู้ที่ผเู้ รียนจะตอ้ งไดร้ ับมาเป็นเรื่องของ
สมรรถนะของผเู้ รียน การละเลยเร่ืองของการปรับเปล่ียนกระบวนทศั น์ดา้ นการบริหารจดั การสถานศึกษาก็
หมายถึงความลม้ เหลวของการปฏิรูปการศึกษาในภาพรวมดว้ ยเช่นกนั ท้งั น้ีในการปรับเปล่ียนการบริหาร
สถานศึกษาจาเป็นตอ้ งใหค้ วามสาคญั ต่อประเด็นตา่ งๆ ดงั น้ี
2.1 สภำวะทำงสังคม ประเทศไทยในศตวรรษที่ 21 มีความเป็นไปไดส้ ูงมากท่ีจะเขา้ สู่สังคมผสู้ ูงอายุ
เช่นเดียวกบั ในหลายประเทศที่ไดเ้ ขา้ สู่ภาวะน้ีไปแลว้ สภาวะน้ีเกิดข้นึ จากการท่ีอตั ราการเกิดลดลง คนมีอายุ
ยืนข้ึน สภาพดงั กล่าวน้ีจะส่งผลกระทบต่อการจดั การศึกษาดว้ ยเช่นกันอย่างน้อยในสองประเด็น คือ 1)
บุคลากรการศึกษาท่ีจะมีโอกาสขาดแคลน และจาเป็ นตอ้ งขยายอายุการทางานของบุคลากร และ 2) การ
จดั การศึกษาจาเป็ นตอ้ งออกแบบสาหรับการจดั การศึกษาสาหรับผูส้ ูงอายุมากข้ึน เพราะเป็ นคนกลุ่มใหญ่
ของสังคม และการศึกษาก็ไม่สามารถหยุดอย่เู พียงในวยั การศึกษาหรือวยั ทางาน สองประเด็นน้ีเป็นโจทย์
สาคญั หน่ึงสาหรับผบู้ ริหารในปัจจุบนั ท่ีจะตอ้ งวางแผนการจดั การท่ีชดั เจนเพื่อรองรับความเปล่ียนแปลงท่ี
จะเกิดข้นึ
2.2 ควำมเปลยี่ นแปลงวิถีชีวิตของคน พฤติกรรมการใชช้ ีวิตของคนจะเปล่ียนไป สังเกตไดอ้ ย่างง่าย
จากพฤติกรรมการซ้ือสินคา้ ที่ปัจจุบนั การซ้ือขายผา่ นอินเตอร์เน็ตมีมูลค่าเพ่ิมสูงข้ึน เครือขา่ ยสังคมก็เขา้ มามี
บทบาทต่อการตัดสินใจของคนมากข้ึน ขณะเดียวกันพฤติกรรมการทางานของคนเปล่ียนไป ต้องการ
ความสาเร็จและการยอมรับท่ีเร็วมากข้ึน การยึดมนั่ ในองคก์ รอาจจะนอ้ ยลงไป จึงเป็นความทา้ ทายของการ
บริหารทรัพยากรมนุษยใ์ นองคก์ ารที่จะตอ้ งเอ้ือต่อการใช้ทรัพยากรอย่างเต็มประสิทธิภาพพร้อม กบั การ
สร้างขวญั กาลงั ใจใหก้ บั บุคลากรเพ่ือใหบ้ ุคลากรท่ีมีความสามารถอยกู่ บั องคก์ ารไปนานๆ
2.3 กำรเข้ำถึงเทคโนโลยี เทคโนโลยีกลายเป็ นส่วนหน่ึงของชีวิต เด็กรุ่นใหม่จะใชเ้ ป็ นเครื่องมือใน
การเรียนรู้ บุคลากรในสถานศึกษาก็จาเป็นตอ้ งเป็นคนท่ีสามารถนาเอาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการจดั การเรียน
การสอน พร้อมท้งั ใชเ้ ป็ นเคร่ืองมือในการคน้ ควา้ พฒั นาความรู้ของตนเอง ขณะเดียวกนั ยงั จะตอ้ งสามารถ
นาเอาเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหารจดั การสถานศึกษาอีกดว้ ย แต่ท้งั น้ีการยอมรับและการใช้เทคโนโลยี
ของบคุ ลากรในสถานศึกษาจะมีระดบั ความสามารถที่แตกต่างกนั การนาเอาเทคโนโลยีมาใชจ้ ึงจาเป็นตอ้ งมี
แผนการจดั การที่ชดั เจน เช่นเดียวกนั กบั การวางโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีเกี่ยวขอ้ งที่จะตอ้ งมีท้งั การลงทุนและ
การพฒั นาบคุ ลากรไปพร้อมๆ กนั
2.4 ควำมหลำกหลำยและควำมขัดแย้งกับ ในศตวรรษท่ี 21 สถานศึกษาจาเป็ นตอ้ งเป็ นองค์การท่ี
เปิ ดรับความหลากหลายและความแตกต่างที่มากข้ึน พร้อมๆ กบั ความจาเป็ นในการสร้างให้เกิดความเป็น
เอกภาพในองคก์ าร เพราะเอกภาพในองคก์ ารคือหวั ใจของความสาเร็จ การทางานเป็นทีมคือเครื่องมือสาคญั
ในการขบั เคลื่อนองคก์ ารสู่เป้าหมาย ดว้ ยเหตุน้ีการสร้างเอกภาพ การทาใหเ้ กิดทีมในการทางานจึงเป็นโจทย์
สาคญั สาหรับการบริหารสถานศึกษาในศตวรรษน้ี
2.5 ประสิทธิภำพในกำรบริหำรจัดกำร คนในยุคใหม่จะเป็ นกลุ่มคนที่ไม่ยึดติดกบั ที่ทางาน มีความ
พร้อมที่จะเปล่ียนงานใหม่ไดต้ ลอดเวลา และนิยมท่ีจะทางานแบบอิสระมากกว่า ดังน้ันการรูปแบบการ
บริหารจดั การจึงเป็นอีกประเดน็ สาคญั ท่ีทา้ ทายผบู้ ริหารในการปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั ทีมงานรุ่นใหม่
3. เคร่ืองมือเพื่อกำรบริหำรจดั กำรสถำนศึกษำในศตวรรษที่ 21
จากความเปล่ียนแปลงและความทา้ ทายขา้ งตน้ ผบู้ ริหารจาเป็นตอ้ งมีเครื่องมือท่ีแตกต่างจากในยคุ ที่
ผา่ นมาเพื่อการขบั เคลื่อนองคก์ รสู่ความสาเร็จ และเครื่องมือสาคญั ที่จะตอ้ งมีการนาไปใชม้ ีดงั น้ี
3.1 กำรจัดกำรควำมรู้ในองค์กำร การบริหารจาเป็นตอ้ งกระตุน้ ใหค้ นในองคก์ รพฒั นาความรู้ สร้าง
นวตั กรรมในการปฏิบตั ิงานอยู่ตลอดเวลา เนื่องจากองคก์ ารตอ้ งเป็ นองคก์ ารแห่งการเรียนรู้ ซ่ึงจะช่วยให้
องคก์ ารพร้อมรับความเปล่ียนแปลงต่างๆ ที่จะเกิดข้ึน ย่ิงไปกว่าน้นั ยงั จะสามารถนาพาองค์การสู่การเป็น
ผนู้ าได้ ซ่ึงการจดั การความรู้เป็นเครื่องมือสาคญั เพ่ือบรรลุเป้าหมายดงั กล่าว นอกจากน้ีการจดั การความรู้ยงั
เป็นเคร่ืองมือสาคญั ท่ีสร้างความรู้สึกร่วมของคนในองคก์ าร สร้างความภาคภูมิใจในการทางานและกระตนุ้
ใหค้ นในองคก์ ารทางานอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพที่มี
3.2 กำรสร้ำงวัฒนธรรมองค์กรที่เอื้อต่อกำรเปลย่ี นแปลง ความเปล่ียนแปลงจะเกิดข้ึนอยา่ งรวดเร็ว
ข้ึน องคก์ ารท่ีมีโครงสร้างการทางานท่ีไม่เอ้ือต่อการเปล่ียนแปลงคือองคก์ ารท่ีจะขาดศกั ยภาพในการจดั การ
ปัญหาท่ีเกิดข้ึน ท้งั น้ีการสร้างวฒั นธรรมองคก์ ารและการสร้างให้องคก์ รมีความพร้อมต่อการเปล่ียนแปลง
น้นั ไม่ใช่กระบวนการท่ีทาไดใ้ นทนั ทีทนั ใด แต่เป็นการทางานร่วมกนั ของคนในองคก์ ร เป็นกระบวนการที่
ใชเ้ วลาปรับเปล่ียนคนในองคก์ ารใหม้ ีความเห็นร่วมกนั ทางานร่วมกนั สู่เป้าหมายเดียวกนั
3.3 กำรทำงำนอย่ำงเป็ นเครือข่ำย องคก์ ารที่ทางานอยา่ งโดดเดียวจะเป็นองคก์ ารท่ีขาดประสิทธิภาพ
ในไปโดยอตั โนมตั ิสาหรับการจดั การศึกษาในศตวรรษที่ 21 สถานศึกษาจาเป็ นตอ้ งสร้างเครือข่ายความ
ร่วมมือกนั เพื่อการแลกเปล่ียนองคค์ วามรู้และร่วมกนั ทางานเพื่อผลกั ดนั การจดั การศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ
3.4 ทำงำนร่วมกับสถำนประกอบกำรเพ่ือกำรเรียนรู้ของผู้เรียน ความตอ้ งการการจดั การศึกษาที่
เปลี่ยนไป เป็นโจทยใ์ หส้ ถานศึกษาจาเป็นเพิ่มการทางานร่วมกบั ภาคส่วนที่เก่ียวขอ้ งมากข้นึ ท้งั จากส่วนของ
ผปู้ กครองของผเู้ รียนที่สถานศึกษาจะตอ้ งสนองตอบ ขณะเดียวกนั จะตอ้ งเรียนรู้ถึงความตอ้ งการของสถาน
ประกอบการท่ีสถานศึกษาจะตอ้ งเตรียมความพร้อมใหก้ บั ผเู้ รียนในการเขา้ สู่การทางาน การศึกษาต่อ
บทสรุป
ความเปล่ียนแปลงเป็ นสิ่งท่ีไม่สามารถหยดุ ย้งั ได้ สถานศึกษาท่ีเป็ นหน่วยแรกๆ ของการเตรียมคน
สร้างคนเพ่ือการอยู่ในความเปล่ียนแปลงดังกล่าวจาเป็ นอย่างยิ่งท่ีจะต้องมีการบริ หารจัดการท่ีมี
ประสิทธิภาพ ขอ้ มูลท่ีนาเสนอไปขา้ งตน้ ไม่ใช่สูตรสาเร็จสาหรับสถานศึกษา แต่เป็นโจทยส์ าหรับผบู้ ริหาร
สถานศึกษาที่จะนาไปสู่การวางแผนการขบั เคล่ือนสถานศึกษาสู่ความสาเร็จในการจดั การศึกษาสาหรับ
ผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21
กำรจัดกำรควำมรู้ในสถำนศึกษำ
การจัดการความรู้ Knowledge Management (KM) หมายถึง การรวบรวมความรู้สู่การปฏิบัติ (Tacit
Knowledge) ซ่ึงเป็ นความรู้ที่เกิดจาก การเรียนรู้ เจตคติในงาน ประสบการณ์การทางานและพฤติกรรมการ
ทางานของแต่ละบุคคล ซ่ึงปฏิบตั ิงานเรื่องเดียวกนั หรือคนละเร่ือง แลว้ ประชุมหรือสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
จากกันและกัน แลกเปล่ียนประสบการณ์ เม่ือรวบรวมแล้วก็มีการนาความรู้ที่ได้มาสังเคราะห์ วิเคราะห์
(Analysis) หรือจดั ระบบใหม่ เพ่ือสร้างเป็ นองคค์ วามรู้ใหม่ ยอมรับขอ้ ดีและจุดท่ีเป็ นปัญหาของกนั และกนั มี
การจดั เก็บขอ้ สรุปท้งั มวลอย่างเป็ นระบบเพ่ือนาไปสู่การยอมรับในกฎกติกาขององค์กรที่ทุกคนยอมรับ แลว้
นามาเผยแพร่ความรู้เพ่ือให้เกิดการต่อยอดความรู้หรือสร้างประโยชน์จากความรู้และนาไปปฏิบตั ิให้ เกิด
ประโยชนต์ ่อตนเองและองคก์ ร รวมท้งั เป็นแบบอยา่ งต่อหน่วยงานอื่น อนั จะยงั ประโยชนใ์ นวงวชิ าการและงาน
การศึกษาต่อไป
สถานศึกษาเป็ นหน่วยสาคัญที่สุดในการจัดการศึกษา โดยเฉพาะสถานศึกษาระดับวิทยาลยั พยาบาล
เนื่องจากมีหนา้ ที่จดั การเรียนการสอนดา้ นสุขภาพ เพื่อให้ผูเ้ รียนไดเ้ กิดการเรียนรู้ โดยมีผูบ้ ริหารสถานศึกษา
และครูพยาบาล เป็ นผูร้ ับผิดชอบดาเนินงาน คุณภาพการศึกษา จะต่าหรือสูง จึงข้ึนอยู่กบั ผูบ้ ริหารและครูเป็น
สาคญั โดยเฉพาะการจดั การเรียนรู้ของครูจะตอ้ งอาศยั ความรู้และกระบวนการท่ีเหมาะสมในการจดั การความรู้
ซ่ึงจะตอ้ งดาเนินงานร่วมกบั นกั ศึกษา ผบู้ ริหาร และชุมชน ท้งั ในฐานะผปู้ ฏิบตั ิ ผนู้ า ผรู้ ่วมมือ ดงั น้นั บทบาทใน
การจดั การความรู้ของครูจึงอาจกลา่ วไดด้ งั น้ี
1. การจดั การความรู้ของตนเอง เป็ นการจดั การความรู้ในระดบั บุคคล ในฐานะผูน้ าในการจดั การเรียนการ
สอนและทางานร่วมกบั ผเู้ รียนครูผอู้ ่ืนในสถานศึกษาผบู้ ริหารและชุมชน
2. การจดั การความรู้ในช้นั เรียน เป็นการจดั การความรู้ร่วมกบั ผเู้ รียนในช้นั เรียน โดยเป็นผนู้ า ผสู้ นบั สนุนและ
ส่งเสริมใหเ้ กิดกระบวนการจดั การเรียนรู้ของผเู้ รียน
3. การจดั การความรู้ของวทิ ยาลยั พยาบาล เป็นการจดั การความรู้ระดบั องคก์ ร โดยร่วมมือกบั ผบู้ ริหารวิทยาลยั
คณะครู และนกั ศึกษาเพ่อื ใหว้ ทิ ยาลยั เป็นองคก์ รแห่งการเรียนรู้
4. การจดั การความรู้ในชุมชน เนื่องจากวิทยาลัยพยาบาลเป็ นส่วนสาคัญของชุมชนมีบทบาทหน้าที่จัด
การศึกษาดา้ นสุขภาพเพ่ือสนองความตอ้ งการของชุมชน รวมท้งั มีบทบาทในการสร้างความเขม้ แขง็ ใหแ้ ก่ชุมชน
ครูจึงมีบทบาทร่วมกบั วิทยาลยั ในการจดั การความรู้ในชุมชน เมื่อครูเป็นผมู้ ีบทบาทสาคญั และมีความจาเป็ น
จะตอ้ งเป็นครูจดั การความรู้ในระดบั ต่าง ๆ ครูจะตอ้ งพฒั นาตนเองใหม้ ีความสามารถและทกั ษะในการจดั การ
ความรู้สูงข้นึ ซ่ึงมีเทคนิคสามารถกระทาไดด้ งั น้ี
1. ข้นั การกาหนดความรู้ ครูจะตอ้ งเขา้ ไปมีส่วนร่วมในการกาหนดวสิ ยั ทศั น์เกี่ยวกบั การจดั การเรียนการสอน
ของวิทยาลยั ศึกษาวเิ คราะห์หลกั สูตรแตล่ ะระดบั เพ่อื นามากาหนดความรู้ท่ีตอ้ งการในการจดั การเรียนการสอน
รวมท้งั ให้ความร่วมมือกบั วิทยาลยั และบุคคลอ่ืนในการคิดวางแผนกาหนดความรู้ท่ีใชใ้ นการจดั การเรียนการ
สอน
2. ข้นั การแสวงหาความรู้ ครูจะตอ้ งตระหนักถึงความสาคญั ของการแสวงหาความรู้ พฒั นาความรู้สามารถ
ของตนเองให้เขา้ ถึงความรู้ โดยการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ การแสวงหาความรู้จากผูเ้ ชี่ยวชาญ ภูมิปัญญา
ทอ้ งถ่ิน และเพ่ือนร่วมงานโดยการยอมรับในความรู้ความสามารถซ่ึงกนั และกนั
3. ข้ันการสร้างความรู้ ครูจะต้องเข้าร่วมกิจกรรมสร้างความรู้ นวัตกรรมของสถานศึกษา เข้าร่วม
ประชุมสัมมนา ประชุมปฏิบตั ิการเก่ียวกับการเรียนการสอนท่ีหน่วยงานต่าง ๆ จดั ข้ึน เช่น การประชุมทาง
วิชาการเกี่ยวกบั การวจิ ยั ในช้นั เรียน เป็นตน้
4. ข้นั การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครูจะตอ้ งเขา้ ร่วมเป็ นสมาชิกเครือข่ายการพฒั นาวิชาชีพท้งั ในสถานศึกษาและ
นอกสถานศึกษา และเขา้ ร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ท่ีสมาคมหรือชมรมทางวิชาชีพครู จดั ข้ึนอยู่เสมอ
รวมท้งั ดาเนินกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ในลกั ษณะอื่น ๆ เช่น การเขียนบทความทางวิชาการ เผยแพร่ใน
วารสารของสภาวชิ าชีพ การแสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางInternetเป็นตน้
5. ข้นั การเก็บความรู้ ครูจะตอ้ งพฒั นาตนเองให้มีความรู้ความสามารถเก็บความรู้อย่างเป็นระบบในรูปแบบ
ต่าง ๆ เช่น การใชเ้ ทคโนโลยีในการเก็บความรู้ในรูปแบบ Websiteวีดีทศั น์ แถบบนั ทึกเสียง และคอมพิวเตอร์
เป็ นต้น รวมท้ัง ครูจะต้องจัดทาแฟ้มพฒั นางานจดั ทาเอกสารประกอบการสอนที่ได้จากการสร้างและการ
แลกเปล่ียนความรู้
6. ข้นั การนาความรู้ไปใช้ ครูจะตอ้ งเขา้ ร่วมกิจกรรมโดยการนาเสนอความรู้ในโอกาสต่าง ๆ เช่น การจดั
นิทรรศการ การประชุมสัมมนา หรือการประชุมเสนอผลงานเป็นการเฉพาะ รวมท้งั มีการเผยแพร่ความรู้ผ่าน
ช่องทางตา่ ง ๆ เช่น วารสาร เวบ็ ไซดจ์ ดหมายข่าวเป็นตน้
เทคนิคดงั กล่าวขา้ งตน้ ถา้ ครูกระทาอย่เู ป็นประจาอยา่ งต่อเนื่องก็จะทาใหเ้ กิดทกั ษะและความชานาญใน
การจดั การความรู้เพ่ิมข้ึน เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ (learning worker)ในท่ีสุดการพฒั นาการจดั การความรู้ของ
ครู อาจดาเนินการไดห้ ลายลกั ษณะ รวมท้งั การตรวจสอบจาก ตวั บ่งช้ีเพื่อนาขอ้ มูลท่ีไดไ้ ปปรับปรุงและพฒั นา
ความสามารถในการจดั การความรู้ของครูให้เหมาะสมยิ่งข้ึน ซ่ึงจากการศึกษาของ ดร.วิลาวลั ย์ มาคุม้ โดยได้
พฒั นาตัวบ่งช้ีการจัดการความรู้ของครูในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ทราบว่า
องคป์ ระกอบและตวั บ่งช้ีการจดั การความรู้ของครูมีดงั น้ี
1. องคป์ ระกอบดา้ นการกาหนดความรู้ มีตวั ช้ีวดั สาคญั ไดแ้ ก่ ผูบ้ ริหารเปิ ดโอกาสใหท้ ุกคนมีส่วนร่วมในการ
กาหนดความรู้ท่ีใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนและผู้บริ หารสนับสนุนให้ครูได้มีการเพ่ิมพูนความรู้
ความสามารถ
2. องคป์ ระกอบดา้ นการแสวงหาความรู้ มีตวั บ่งช้ีสาคญั ไดแ้ ก่ ครูตระหนกั ถึงความรับผิดชอบในการเพ่ิมพูน
ประสบการณ์การเรียนรู้ และครูได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ ภายในสถานศึกษาในการแสวงหา
ความรู้ร่วมกนั
3. องคป์ ระกอบดา้ นการสร้างความรู้ มีตวั บง่ ช้ีที่สาคญั ไดแ้ ก่ สถานศึกษามีหน่วยงานหรือบุคลากรรับผิดชอบ
ในการจดั กิจกรรมสร้างความรู้ เช่น การจดั ประชุมสัมมนา การอบรม การสาธิต การวิจยั ในช้นั เรียน การระดม
ความเห็น การสนทนา เป็ นตน้ และผูบ้ ริหารสนบั สนุนให้ครูมีการสร้างความรู้เพื่อใช้ประโยชน์ในการจดั การ
เรียนการสอน
4. องคป์ ระกอบดา้ นการแลกเปลี่ยนความรู้ มีตวั บ่งช้ีสาคญั ไดแ้ ก่ บรรยากาศการแลกเปล่ียนความรู้ร่วมกบั
ภายในสถานศึกษาต้งั อยบู่ นพ้ืนฐานของการใชเ้ หตุผลมากกวา่ การใชอ้ ารมณ์และความรู้สึกและบรรยากาศการ
ทางานภายในสถานศึกษามีลกั ษณะเป็นเพือ่ นร่วมงานมากกวา่ การเคารพเช่ือฟัง
5. องค์ประกอบดา้ นการเก็บความรู้ มีตวั บ่งช้ีสาคญั ไดแ้ ก่ ผูบ้ ริหารให้ความสาคญั และเป็ นผูน้ าในการเก็บ
ความรู้ของสถานศึกษาและครูมีความสามารถในการเก็บความรู้อย่างเป็ นระบบ เช่น ในแฟ้มพฒั นางาน ตารา
เรียน การลงในวารสาร และจดหมายขา่ วเป็นตน้
6. องคป์ ระกอบดา้ นการนาความรู้ไปใช้ มีตวั บ่งช้ีสาคญั ไดแ้ ก่ ครูสามารถนาความรู้ความสามารถของตนไป
ประยุกต์ใช้ในการจดั การเรียนการสอน และสถานศึกษาจดั ให้ครูท่ีมีความรู้และทกั ษะเป็ นการเฉพาะเป็ นผู้
ถ่ายทอดความรู้อยา่ งไรก็ตาม การจดั การความรู้ของครูภายในสถานศึกษาเกิดจากการผสมผสานการทางานของ
ปัจจยั ที่สาคญั คือ
1. ครูและบุคลากรภายในสถานศึกษา จะตอ้ งมีความรู้ความเขา้ ใจในความสามารถและมุ่งมน่ั ท่ีจะพฒั นาการ
จดั การความรู้ โดยเฉพาะผูบ้ ริหารสถานศึกษาจะตอ้ งเป็ นผูน้ าแห่งการเรียนรู้พฒั นาตนเองและเอ้ืออานวยให้
บคุ ลากรภายในวิทยาลยั พฒั นาพร้อมกนั ไปดว้ ย
2. กระบวนการจดั การความรู้ โดยมีข้นั ตอนดาเนินงานอย่างเหมาะสม บุคลากรทุกฝ่ ายในโรงเรียนมีความ
เขา้ ใจและสามารถเขา้ ร่วมกิจกรรมไดอ้ ยา่ งต่อเน่ือง
3. เทคโนโลยสี ารสนเทศ วิทยาลยั ตอ้ งใหม้ ีระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศที่มีคุณภาพรองรับการจดั การ ความรู้
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและเปิ ดโอกาสใหค้ รูทกุ คนไดใ้ ชร้ ะบบสารสนเทศอยา่ งทว่ั ถึง
4. การบริหารจดั การวิทยาลยั ตอ้ งจดั ระบบบริหารจดั การที่เอ้ืออานวยโดยมีการกระจายอานาจและให้ทุกฝ่าย
มีส่วนร่วม รวมท้งั มีการจูงใจท่ีเหมาะสม การจดั การความรู้เป็นภารกิจของครูที่จะตอ้ งดาเนินการใหเ้ กิดข้ึนท้งั
ในส่วนของครูเอง ในช้ันเรียน วิทยาลัยฯ และชุมชน เพื่อให้การทาหน้าที่การจัดการเรียนการสอนมี
ประสิทธิภาพ และการจดั การศึกษาของวทิ ยาลยั ฯบรรลุเป้าหมาย
การจดั การความรู้จึงเป็นการใส่ใจเรื่องความรู้ที่จะใชแ้ กป้ ัญหาในสถานการณ์หรือในระบบเป้าหมายของ
การจดั การความรู้นอกจากเรียนรู้จากความรู้เผยตวั แลว้ ยงั เอ้ืออานวยในการเปลี่ยนรูปแปลงโฉมความรู้ฝังตวั ไป
เป็ นความรู้เผยตวั สามารถเขา้ ถึงไดแ้ ละยงั สามารถนามาแกป้ ัญหาที่เหมาะสมกบั สถานการณ์ และการจดั การ
ความรู้ในวิทยาลยั เป็ นการบริหารการจัดการเรียนการสอนให้มีการต่อยอดความรู้เป็ นการเก็บร วบรวม
ประสบการณ์ ความเขา้ ใจรวมท้งั สร้างสรรค์ความรู้ข้ึนมาใหม่ มีกระบวนการเช่ือมแหล่งความรู้และถ่ายทอด
ความรู้ โดยมีการวางแผน ซ่ึงการวางแผนความรู้ (Knowledge Planning) เป็นการมองไปขา้ งหนา้ ถึงการใชแ้ หล่ง
ความรู้การใชโ้ มเดลจดั วิธีการจดั การเรียนการสอน เทคนิคต่างๆ ใหก้ ารจดั การความรู้มีประสิทธิผลกาหนดการ
จดั การเรียนการสอน หรือการพฒั นาท่ีใช้ความรู้เป็ นฐานที่จะสนับสนุนครูผูส้ อนหรือวิธีการอื่นๆ ท่ีจะช่วย
วทิ ยาลยั ในการแข่งขนั มีความสามารถท่ีจะปรับตวั ใหท้ นั กบั การเปลี่ยนแปลงของสังคมภายนอกโรงเรียน
ควำมสำคญั ในกำรนำ ICT มำใช้ในกำรเรียนรู้
ความหมายและความสาคญั ในการนา ICT มาใชใ้ นการเรียนรู้
โดยความเป็นจริงแลว้ ครูเราใช้ ICT จดั การเรียนการสอนมานานแลว้ เพียงแต่ยงั ใชร้ ูปแบบเดิม ซ่ึงหากมี
การพฒั นาโดยใชเ้ ทคโนโลยีที่เกี่ยวขอ้ งต้งั แต่การรวบรวมการจดั เก็บขอ้ มูล การประมวลผล การพิมพ์ การสร้าง
งาน การส่ือสารขอ้ มูล ฯลฯ ซ่ึงรวมไปถึงการใหบ้ ริการ การใช้ และการดูแลขอ้ มูล จะทาให้การจดั การเรียนการ
สอนมีประสิทธิภาพมากข้นึ นกั เรียนสามารถคน้ ควา้ หาความรู้จากแหลง่ ความรู้ที่หลากหลายมากยง่ิ ข้ึน
ICT หมายถึง การนาเทคโนโลยีดิจิตอล เครื่องมือส่ือสาร หรือเครือค่ายคอมพิวเตอร์ มาใชใ้ นการเขา้ ถึง
จดั การ บูรณาการ ประเมินผล และสร้างขอ้ มลู
เป้าหมายของการใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้ เพือ่
– เป็นเคร่ืองมือช่วยเพิ่มผลงาน และการติดตอ่ สื่อสาร
– ความร่วมมือของนกั เรียน โดยการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ร่วมกนั
– บริหารจดั การขอ้ มูล โดยการคน้ ควา้ ขอ้ มลู
– ความร่วมมือของครู โดยครูทางานร่วมกนั เอง ทางานร่วมกบั นกั เรียน และเพอ่ื นภายนอกโรงเรียน
– ความร่วมมือระหวา่ งโรงเรียน โดยนกั เรียนทางานร่วมกบั ผอู้ ่ืนที่อยนู่ อกโรงเรียน
– การสร้างงาน โดยการจดั ทาชิ้นงาน การเผยแพร่ผลงาน
– ช่วยบททวนบทเรียน โดยซอร์ฟแวร์เสริมการเรียน
ICT จะมีความสาคญั ก็ต่อเมื่อ
– ถกู ใชเ้ ป็นเครื่องมือแกป้ ัญหา และพฒั นาความคิดวิเคราะห์
– ใชใ้ นการสร้างกลยทุ ธ์ เพื่อไขปัญหาท่ีซบั ซอ้ น และพฒั นาความเขา้ ใจอยา่ งลึกซ้ึง สาหรับเร่ืองท่ีสนใจ
ประโยชน์จากการนาระบบ ICT มาประยกุ ตใ์ ช้ พอสรุปไดด้ งั น้ี
1. ความสะดวกรวดเร็วในระหวา่ งการดาเนินงาน
2. ลดปริมาณผดู้ าเนินงานและประหยดั พลงั งานเช้ือเพลิงไดอ้ ีกทางหน่ึง
3. ระบบการปฏิบตั ิงานเป็นไปอยา่ งมีระเบียบมากข้นึ กวา่ เดิม
4. ลดขอ้ ผดิ พลาดของเอกสารในระหวา่ งการดาเนินการได้
5. สร้างความโปร่งใสใหก้ บั หน่วยงานหรือองคก์ รได้
6. ลดปริมาณเอกสารในระหวา่ งการดาเนินงานไดม้ าก (กระดาษ)
7. ลดข้นั ตอนในระหวา่ งการดาเนินการไดม้ าก
8. ประหยดั เน้ือท่ีจดั เกบ็ เอกสาร (กระดาษ)
เปรียบเทียบใหเ้ ห็นถึงจุดดีและจุดดอ้ ยพอสงั เขป ดงั น้ี
เทคโนโลยีกบั กำรเรียนกำรสอน
เทคโนโลยจี ะเก่ียวขอ้ งกบั การเรียนการสอน 3 ลกั ษณะ คอื
1. การเรี ยนรู้เก่ียวกับเทคโนโลยี (Learning about Technology) ได้แก่เรี ยนรู้ระบบการทางานของ
คอมพิวเตอร์ เรียนรู้จนสามารถใชร้ ะบบคอมพิวเตอร์ได้ ทาระบบขอ้ มูลสารสนเทศเป็น ส่ือสารขอ้ มูลทางไกล
ผา่ น Email และ Internet ได้ เป็นตน้
2. การเรี ยนรู้โดยใช้เทคโนโลยี (Learning by Technology) ได้แก่การเรี ยนรู้ความรู้ใหม่ ๆ และฝึ ก
ความสามารถ ทกั ษะ บางประการโดยใชส้ ่ือเทคโนโลยี เช่น ใชค้ อมพวิ เตอร์ช่วยสอน (CAI) เรียนรู้ทกั ษะใหม่ ๆ
ทางโทรทศั นท์ ่ีส่งผา่ นดาวเทียม การคน้ ควา้ เร่ืองท่ีสนใจผา่ น Internet เป็นตน้
3. การเรียนรู้กบั เทคโนโลยี (Learning with Technology) ไดแ้ ก่การเรียนรู้ดว้ ยระบบการส่ือสาร 2 ทาง กบั
เทคโนโลยี เช่น การฝึ กทกั ษะภาษากบั โปรแกรมที่ให้ขอ้ มูลยอ้ นกลบั ถึงความถูกตอ้ ง (Feedback) การฝึ กการ
แกป้ ัญหากบั สถานการณ์จาลอง เป็นตน้
แนวคิดในกำรเพม่ิ คุณค่ำของเทคโนโลยีช่วยกำรเรียนรู้
1. การใชเ้ ทคโนโลยพี ฒั นากระบวนการทางปัญญา
ระบบคอมพิวเตอร์ที่จะช่วยพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีความฉลาดในกระบวนการทางปัญญา โดยครูอาจจดั ขอ้ มลู ในเรื่อง
ต่าง ๆ ในวิชาที่สอน ให้ผูเ้ รียนฝึ กรับรู้ แสวงหาขอ้ มูล นามาวิเคราะห์กาหนดเป็ นความคิดรวบยอดและใช้
คอมพิวเตอร์ช่วยแสดงแผนผงั ความคิดรวบยอด (Concept Map) โยงเป็นกฎเกณฑ์ หลกั การ ซ่ึงผสู้ อนสามารถ
จดั สถานการณ์ใหผ้ เู้ รียนฝึ กการนากฎเกณฑ์ หลกั การไปประยุกต์ จนสรุปเป็นองคค์ วามรู้อยา่ งมีเหตุผล บนั ทึก
สะสมไวเ้ ป็นคลงั ความรู้ของผเู้ รียนต่อไป
2. การใช้เทคโนโลยีพฒั นาความสามารถในการแกป้ ัญหาการเรียนรู้ที่เน้นผูเ้ รียนเป็ นศูนยก์ ลางสามารถ
ออกแบบแผนการเรียนการสอนให้ผเู้ รียนมีโอกาสทาโครงงานแสวงหาความรู้ตามหลกั สูตรเพ่ือแกป้ ัญหาการ
เรียนรู้ลักษณะน้ีจะเริ่มต้นด้วยการกาหนดประเด็นเรื่อง ตามมาด้วยการวางแผนกาหนดขอ้ มูลหรือสาระท่ี
ตอ้ งการ ผูส้ อนอาจจดั บญั ชีแสดงแหล่งขอ้ มูล ท้งั จากเอกสารส่ิงพิมพแ์ ละจาก Electronic Sources เช่น ช่ือของ
Web ต่าง ๆ ให้ผูเ้ รียนแสวงหาข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ เป็ นคาตอบ สร้างเป็ นองค์ความรู้ต่าง ๆ โดยใช้
เทคโนโลยเี ป็นเครื่องมือช่วย และครูช่วยกากบั ผลการเรียนรู้ใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานคณุ ภาพที่ตอ้ งการ
กำรจดั ปัจจัยสนบั สนุนกำรใช้เทคโนโลยชี ่วยกำรเรียนรู้
ปัจจยั พ้ืนฐานคือการสร้างความพร้อมของเครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ให้มีสมรรถนะและจานวนเพียงต่อการ
ใชง้ านของผูเ้ รียน รวมถึงการอานวยความสะดวกให้ผูเ้ รียนสามารถใช้เทคโนโลยีไดต้ ลอดเวลาจะเป็ นปัจจยั
เบ้ืองตน้ ของการส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยเี พือ่ การเรียนรู้ ส่ิงท่ีควรเป็นปัจจยั เพ่ิมเติมคือ
1. ครูสร้างโอกาสในการใชเ้ ทคโนโลยเี พอ่ื การเรียนรู้
การที่ครูออกแบบกระบวนการเรียนรู้ให้เอ้ือต่อการทากิจกรรมประกอบการเรียนรู้ เป็ นกิจกรรมท่ีต้องใช้
กระบวนการแสวงหาความรู้จากแหลง่ ขอ้ มลู ต่าง ๆ ท้งั จากการสังเกตในสถานการณ์จริง การทดลอง การคน้ ควา้
จากส่ือสิ่งพมิ พแ์ ละจากสื่อ Electronic
2. ครูและผเู้ รียนจดั ทาระบบแหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
ปัจจัยด้านแหล่งข้อมูลสารสนเทศ (Information Sources) เป็ นตัวเสริมท่ีสาคัญที่ช่วยเพิ่มคุณค่าของระบบ
เทคโนโลยเี พ่ือการเรียนการสอน ครูและผเู้ รียนควรช่วยกนั แสวงหาแหล่งขอ้ มูลสารสนเทศท่ีมีเน้ือหาสาระตรง
กบั หลกั สูตรหรือสนองความสนใจของผเู้ รียน
3. สถานศึกษาจดั ศนู ยข์ อ้ มลู สารสนเทศเพอ่ื การเรียนรู้
ศูนย์ขอ้ มูลสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ของครูและผูเ้ รียน เรียกว่า
ห้องสมุดเสมือน (Virtual Library) หรือ E – Library จะมีคุณประโยชน์ในการมีแหล่งข้อมูลสารสนเทศเพื่อ
การศึกษาคน้ ควา้ ในวทิ ยาการสาขาต่าง ๆ
4. การบริการของกรมหรือหน่วยงานกลางทางเทคโนโลยเี พอ่ื การเรียนรู้
กรมตน้ สังกดั หรือหน่วยงานกลางดา้ นเทคโนโลยคี วรส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยีของสถานศึกษาดว้ ยการบริการ
ดา้ นขอ้ มูลสารสนเทศ
บรรณำนุกรม
นาง วิยะดา หมาดง๊ะ 2556. ทฤษฎีการบริหารการศึกษา
ทางวชิ าการ. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ที่มา https://www.gotoknow.org/posts/521119
(18 พฤศจิกายน 2564)
Darunsit Pattanarangsan หลกั และทฤษฎีบริหารการศึกษา
[ออนไลน์]. 2021, แหลง่ ที่มา : https://sites.google.com/site/darunsitpattanarangsan/sara-na-ru/hlak-laea-
thvsdi-brihar-kar-suksa [ 18 พฤศจิกายน 2564]
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ฟาฏอนี, การบริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21.
[ออนไลน]์ . 2021, แหลง่ ท่ีมา : https://deepsouthwatch.org/node/8009 [ 18 พฤศจิกายน 2564]
วิทยาลยั อาชีวศึกษาพษิ ณุโลก, ผบู้ ริหารสถานศึกษากบั ความเป็นมืออาชีพ.
[ออนไลน์]. 2021, แหล่งท่ีมา : http://www.plvc.ac.th/index.php?module=index&id=34&visited
[ 18 พฤศจิกายน 2564]