The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงสร้างคำอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์และเ.docx

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suporn Muangsamai, 2022-09-26 12:02:21

โครงสร้างคำอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์และเ.docx

โครงสร้างคำอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์และเ.docx

คมู่ อื การจัดการเรียนรู้

วิชา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5
รหสั วิชา ว15101 ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)

ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

โรงเรียนวัดเขียนเขต

สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 2

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ

กระทรวงศึกษาธิการ โดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ดําเนินการจัดทํา
มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชี้วดั กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
และสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ดําเนินการจัดทําสาระภมู ิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
พทุ ธศักราช 2551 พร้อมทั้งจดั ทําสาระการเรียนรแู้ กนกลางของกลุม่ สาระการเรียนรแู้ ละสาระดังกล่าวในแต่ละ
ระดบั ช้ัน เพือ่ ใหเ้ ขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา หนว่ ยงานระดับท้องถ่นิ และสถานศกึ ษาทุกสงั กดั ท่จี ัดการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
ได้นําไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และจัดการเรียนการสอน โดยจัดทําเป็น
3 เลม่ ดังน้ี

1. ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560)
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551

2. ตัวช้ีวดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560)
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551

3. ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
และแนวการจดั กิจกรรมการเรียนรู้

หลักสูตรระดับชั้นเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5 ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ที่ข้าพเจ้าจดั ทำข้ึน ข้าพเจ้าได้วิเคราะห์ตัวชี้วัด คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชาเพื่อจดั ทำหน่วยการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา โดยมีกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน
เป็นสำคญั เพื่อพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนให้บรรลเุ ปา้ หมายของหลักสูตร

นางสาวสพุ ร ม่วงสมัย
ผู้จดั ทำ

สารบญั หนา้

คำนำ 1
สารบญั
ทำไมต้องเรียนวิทยาศาสตร์ 2
เรยี นรอู้ ะไรในวิทยาศาสตร์ 3
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 3
ทกั ษะและการะบวนการทางวิทยาศาสตร์
คุณภาพผู้เรียน 4
ตวั ชี้วัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 5

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ 6
สาระท่ี ๒ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 10
สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ 10
คำอธิบายรายวชิ า
โครงสรา้ งรายวิชา 11
อภธิ านศพั ท์ 14
คณะผู้จัดทำ
17
18
21

24

ทำไมต้องเรียนวทิ ยาศาสตร์

ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้ด้วยตนเองมากที่สุด เพื่อให้ได้ท้ัง
กระบวนการและความรู้ จากวิธีการสังเกต การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนำผลที่ได้มาจัดระบบเป็น
หลกั การ แนวคิด และองคค์ วามรู้

การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรจ์ งึ มีเป้าหมายทีส่ ำคญั ดังนี้
1. เพ่ือให้เขา้ ใจหลักการ ทฤษฎี และกฎทีเ่ ปน็ พ้นื ฐานในวชิ าวทิ ยาศาสตร์
2. เพื่อให้เขา้ ใจขอบเขตของธรรมชาตขิ องวิชาวิทยาศาสตร์และข้อจำกดั ในการศึกษาวชิ าวิทยาศาสตร์
3. เพอ่ื ให้มีทกั ษะทสี่ ำคญั ในการศกึ ษาค้นคว้าและคดิ คน้ ทางเทคโนโลยี
4. เพื่อให้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์ และ
สภาพแวดล้อมในเชิงท่ีมอี ทิ ธพิ ลและผลกระทบซง่ึ กันและกัน
5. เพื่อนำความรู้ ความเข้าใจ ในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและ
การดำรงชวี ติ
6. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจนิ ตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหา และการจัดการ ทักษะ
ในการส่อื สาร และความสามารถในการตดั สินใจ
7. เพื่อให้เป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์

เรียนรูอ้ ะไรในวทิ ยาศาสตร์

กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรม์ งุ่ หวังให้ผู้เรียนได้เรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ทเ่ี นน้ การเชื่อมโยงความรกู้ ับ
กระบวนการ มที ักษะสำคญั ในการค้นควา้ และสร้างองคค์ วามรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้
และแก้ปญั หาที่หลากหลาย ให้ผ้เู รียนมีสว่ นร่วมในการเรียนรู้ทกุ ขัน้ ตอน มีการทำกิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติ
จริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดบั ชนั้ โดยกำหนดสาระสำคัญ ดงั นี้

✧ วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ เรยี นรู้เก่ียวกบั ชวี ิตในสง่ิ แวดลอ้ ม องค์ประกอบของส่ิงมีชีวิตการดำรงชีวิต
ของมนุษยแ์ ละสัตว์ การดำรงชีวติ ของพืช พนั ธกุ รรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวฒั นาการของ
สิ่งมชี วี ติ

✧ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ เรียนรเู้ กย่ี วกบั ธรรมชาติของสาร การเปล่ียนแปลงของสารการเคลื่อนที่
พลังงาน และคล่นื

✧ วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกยี่ วกบั องคป์ ระกอบของเอกภพ ปฏสิ มั พนั ธภ์ ายในระบบ
สุริยะ เทคโนโลยอี วกาศ ระบบโลก การเปลีย่ นแปลงทางธรณวี ทิ ยา กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศ
และผลตอ่ สิ่งมชี วี ิตและส่ิงแวดลอ้ ม

✧ เทคโนโลยี
●การออกแบบและเทคโนโลยี เรยี นรู้เกีย่ วกับเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชวี ติ ในสังคมที่มีการ

เปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว ใช้ความรูแ้ ละทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตร์อ่นื ๆ
เพือ่ แกป้ ัญหาหรอื พฒั นางานอยา่ งมคี วามคิดสร้างสรรค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เลอื กใช้
เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถงึ ผลกระทบต่อชีวิต สงั คม และส่งิ แวดลอ้ ม

●วทิ ยาการคำนวณ เรยี นร้เู กีย่ วกับการคิดเชิงคำนวณ การคดิ วิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็น
ข้ันตอนและเปน็ ระบบประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ดา้ นวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร
ในการแก้ปัญหาทพ่ี บในชีวิตจริงไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ

สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

สาระที่ 1 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพันธร์ ะหว่างสิง่ ไมม่ ชี ีวิตกบั สง่ิ มีชวี ิต และ

ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ มีชวี ติ กับสงิ่ มชี วี ิตตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลงั งาน
การเปล่ยี นแปลงแทนที่ในระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปญั หาและผลกระทบที่มี
ต่อทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
การแกไ้ ขปญั หาสิง่ แวดล้อม รวมท้งั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตขิ องสิง่ มีชีวติ หน่วยพ้ืนฐานของสงิ่ มีชีวิต การลำเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์
ความสัมพนั ธ์ของโครงสร้าง และหนา้ ที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตวแ์ ละมนษุ ยท์ ่ที ำงาน
สมั พนั ธก์ นั ความสมั พันธข์ องโครงสรา้ ง และหน้าทขี่ องอวยั วะตา่ ง ๆ ของพชื ทีท่ ำงาน
สัมพันธ์กัน รวมท้ังนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม สารพันธกุ รรม
การเปล่ยี นแปลงทางพันธกุ รรมทม่ี ผี ลตอ่ ส่งิ มีชีวติ ความหลากหลายทางชีวภาพและ
ววิ ฒั นาการของสิง่ มีชวี ิต รวมทัง้ นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พันธร์ ะหว่างสมบตั ขิ องสสารกับ

โครงสรา้ งและแรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปล่ยี นแปลง
สถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี
มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชีวติ ประจำวัน ผลของแรงท่ีกระทำตอ่ วัตถุ ลักษณะการเคล่อื นท่ี
แบบตา่ ง ๆ ของวัตถุ รวมทั้งนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปล่ยี นแปลงและการถา่ ยโอนพลังงาน ปฏสิ มั พันธร์ ะหว่าง
สสารและพลงั งาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาตขิ องคลืน่ ปรากฏการณ์
ทเ่ี ก่ียวข้องกบั เสียง แสง และคลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้า รวมทง้ั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาว

ฤกษ์ และระบบสรุ ยิ ะ รวมทั้งปฏสิ ัมพนั ธภ์ ายในระบบสุรยิ ะทีส่ ง่ ผลตอ่ สิง่ มีชีวติ และการ
ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลยี่ นแปลงภายในโลก
และบนผวิ โลก ธรณพี ิบัติภยั กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมอิ ากาศโลก
รวมทงั้ ผลต่อส่ิงมีชีวติ และส่งิ แวดลอ้ ม

สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยเี พือ่ การดำรงชีวิตในสงั คมทมี่ ีการเปลย่ี นแปลงอย่างรวดเรว็

ใช้ความรู้และทกั ษะทางด้านวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตรอ์ ่นื ๆ เพอ่ื แกป้ ัญหา
หรอื พัฒนางานอยา่ งมีความคิดสร้างสรรค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคำนึงถงึ ผลกระทบต่อชวี ติ สงั คม และสงิ่ แวดล้อม
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณในการแกป้ ัญหาทพ่ี บในชวี ิตจริงอยา่ งเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรียนรู้ การทำงาน
และการแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รู้เทา่ ทัน และมีจรยิ ธรรม
ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ขั้นพนื้ ฐาน
1. การสงั เกต
2. การวัด
3. การจำแนกประเภท
4. การหาความสัมพันธร์ ะหวา่ งสเปซกบั สเปซและสเปซกบั เวลา
5. การใช้จำนวน
6. การจดั กระทำและสื่อความหมายข้อมูล
7. การลงความเหน็ จากข้อมูล
8. การพยากรณ์

ขน้ั ผสม
9. การตั้งสมมติฐาน
10. การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัตกิ าร
11. การกำหนดและควบคุมตัวแปร
12. การทดลอง
13. การตคี วามหมายและลงขอ้ สรุป
14. การสรา้ งแบบจำลอง

ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21
15. การสร้างสรรค์
16. การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ
17. การแก้ปญั หา
18. การส่ือสาร
19. ความร่วมมอื
20. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

คณุ ภาพผเู้ รยี น
จบชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6

• เข้าใจโครงสรา้ งและการทำงานของระบบต่าง ๆ ของส่งิ มีชวี ติ ความสมั พันธ์ของสิ่งมชี ีวติ ใน ระบบ
นเิ วศ และความหลากหลายของทรพั ยากรธรรมชาติทพี่ บในระดับประเทศ

• เข้าใจสมบัตแิ ละการจำแนกกลมุ่ ของวัสดุ สถานะของสาร สมบัตขิ องสารและการทำให้สารเกดิ การ
เปลยี่ นแปลง การเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมีของสาร การแยกสารอยา่ งง่าย และสารในชีวิตประจำวนั

• เขา้ ใจลักษณะของแรงประเภทตา่ ง ๆ ผลท่เี กิดจากแรงกระทำต่อวัตถุ ความดนั หลกั การ เบือ้ งต้นของ
แรงพยุง สว่ นประกอบและหน้าทข่ี องส่วนประกอบของวงจรไฟฟา้ การถ่ายโอนพลังงานกลท่เี กดิ จาก
แรงเสียดทานไปเป็นพลงั งานอ่ืน สมบตั ิและปรากฏการณเ์ บ้อื งตน้ ของเสียง และแสง

• เข้าใจลักษณะของดาวในเอกภพ และจำแนกประเภทของกลุม่ ดาว ความสัมพนั ธข์ องดวง อาทติ ย์
โลก และดวงจนั ทร์ท่ีมผี ลตอ่ การเกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศ

• เขา้ ใจองค์ประกอบและสมบัตขิ องดิน นำ้ และบรรยากาศ และปจั จัยท่มี ีผลต่อการเปลีย่ นแปลง ของ
ผิวโลก การเกดิ ลมบก ลมทะเล ผลกระทบทเ่ี กดิ จากธรณีพิบัตภิ ัยและปรากกฏการณ์เรอื นกระจก

• ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธภิ าพและประเมินความน่าเช่ือถอื ตัดสนิ ใจเลือกข้อมูล ใชเ้ หตุผลเชงิ
ตรรกะในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารในการทำงานร่วมกัน เข้าใจสิทธแิ ละ
หน้าทีข่ องตนเคารพสิทธิของผู้อื่น

• ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาเก่ยี วกบั ส่งิ ท่จี ะเรยี นรูต้ ามท่ีกำหนดให้หรอื ตามความสนใจ คาดคะเน
คำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมตฐิ านท่ีสอดคลอ้ งกับคำถามหรอื ปญั หาที่จะสำรวจตรวจสอบ
วางแผนและสำรวจตรวจสอบโดยใชเ้ ครอื่ งมือ อปุ กรณ์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศท่เี หมาะสมในการ
เก็บรวบรวม ข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ

• วิเคราะห์ขอ้ มลู ลงความเห็น และสรปุ ความสมั พันธข์ องขอ้ มูลท่ีมาจากการสำรวจตรวจสอบใน
รปู แบบทีเ่ หมาะสม เพ่ือสือ่ สารความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบไดอ้ ยา่ งมีเหตุผลและหลักฐาน
อา้ งองิ

• แสดงถงึ ความสนใจ มุ่งมั่น ในสงิ่ ท่จี ะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรคเ์ กย่ี วกับเรื่องท่จี ะศึกษาตาม ความ
สนใจของตนเอง แสดงความคดิ เห็นของตนเอง ยอมรบั ในขอ้ มลู ที่มหี ลกั ฐานอา้ งอิง และรบั ฟงั ความ
คดิ เห็นผอู้ ่ืน

• แสดงความรับผิดชอบด้วยการทำงานท่ีได้รบั มอบหมายอยา่ งมงุ่ มนั่ รอบคอบ ประหยัด ซ่ือสตั ย์ จน
งานลลุ ่วงเปน็ ผลสำเร็จ และทำงานรว่ มกบั ผอู้ นื่ อยา่ งอยา่ งสรา้ งสรรค์

• ตระหนักในคณุ คา่ ของความรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ใช้ในความรู้และกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรใ์ นการดำรงชีวิต แสดงความช่นื ชม ยกยอ่ งและเคารพสทิ ธิในผลงานของผคู้ ดิ ค้น และ
ศกึ ษาหา ความรู้เพม่ิ เตมิ ทำโครงงานหรือชนิ้ งานตามท่ีกำหนดใหห้ รือตามความสนใจ

• แสดงถงึ ความซาบซ้งึ หว่ งใย แสดงพฤตกิ รรมเกย่ี วกบั การใช้ การดแู ลรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาติ และ
สง่ิ แวดล้อมอยา่ งรู้คุณค่า

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรแู้ กนกลาง

สาระท่ี 1: วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งส่งิ ไมม่ ชี ีวติ กบั สิง่ มชี วี ติ

และความสมั พันธร์ ะหวา่ งสิ่งมีชวี ิตกบั ส่งิ มีชีวิตตา่ ง ๆ ในระบบนเิ วศ การถ่ายทอดพลงั งาน การเปลี่ยน แปลง
แทนที่ในระบบนเิ วศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดล้อม แนวทางในการอนรุ กั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปญั หาสิง่ แวดลอ้ มรวมท้ังนาความรไู้ ปใช้

ประโยชน์

ชน้ั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

ป.5 1. บรรยายโครงสรา้ งและลักษณะของ - ส่ิงมีชีวิตทง้ั พืชและสัตว์มโี ครงสร้างและลักษณะ

สง่ิ มีชีวติ ทเ่ี หมาะสมกับการดำรงชวี ติ ซงึ่ เป็น ที่เหมาะสมในแต่ละแหลง่ ทอ่ี ยู่ ซ่ึงเป็นผลมาจาก

ผลมาจากการปรับตวั ของสิ่งมชี วี ติ ในแตล่ ะ การปรบั ตัวของส่งิ มชี วี ติ เพื่อให้ดำรงชวี ติ และอยู่

แหลง่ ทีอ่ ยู่ รอดไดใ้ นแตล่ ะแหลง่ ท่อี ยู่ เช่น ผักตบชวามชี อ่ ง

2. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสงิ่ มชี ีวิตกับ อากาศ ในกา้ นใบ ชว่ ยให้ลอยนำ้ ได้ ตน้ โกงกาง

สิ่งมีชวี ิต และความสัมพนั ธ์ระหวา่ งส่ิงมชี ีวิต ท่ีข้นึ อยู่ ใน ป่าชายเลนมรี ากค้าจนุ ทำใหล้ ำตน้

กบั สิง่ ไมม่ ีชวี ติ เพ่อื ประโยชน์ตอ่ การดำรงชีวิต ไม่ล้ม ปลามีครบี ช่วยในการเคล่ือนทใ่ี นน้ำ

3. เขยี นโซ่อาหารและระบบุ ทบาทหน้าที่ของ - ในแหล่งท่ีอยู่หนง่ึ ๆ สงิ่ มชี ีวติ จะมีความสมั พันธ์

สิ่งมชี วี ิตทีเ่ ป็นผู้ผลิตและผู้บริโภคในโซ่อาหาร ซึ่งกันและกนั และสมั พนั ธก์ ับส่งิ ไม่มชี ีวติ เพ่อื

4. ตระหนักในคณุ คา่ ของส่งิ แวดล้อมทม่ี ตี อ่ ประโยชน์ตอ่ การดำรงชีวิต เชน่ ความสัมพันธ์กนั

การดำรงชวี ติ ของสงิ่ มีชวี ิต โดยมีสว่ นรว่ มใน ด้านการกินกันเป็นอาหาร เปน็ แหลง่ ท่อี ยูอ่ าศัย

การดูแลรกั ษาส่ิงแวดล้อม หลบภัยและเลีย้ งดูลกู อ่อน ใชอ้ ากาศในการ

หายใจ

- สง่ิ มชี วี ิตมกี ารกนิ กนั เปน็ อาหาร โดยกินตอ่ กัน

เปน็ ทอด ๆ ในรปู แบบของโซอ่ าหาร ทำให้

สามารถระบบุ ทบาทหน้าท่ีของส่ิงมชี วี ติ เป็นผู้ผลิต

และผบู้ ริโภค

มาตรฐาน ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสำคญั ของการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม สารพนั ธุกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมท่มี ผี ลต่อสิง่ มชี ีวิต ความหลากหลายทางชวี ภาพและววิ ฒั นาการของส่งิ มชี ีวติ

รวมทั้งนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ชัน้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.5 1. อธิบายลักษณะทางพันธกุ รรมที่มีการ - ส่งิ มีชีวิตทั้งพืช สัตว์ และมนุษย์ เมื่อโตเต็มท่จี ะ

ถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกของพืช สตั ว์ และ มีการสบื พันธ์ุเพอื่ เพิม่ จำนวนและดำรงพันธุ์

มนุษย์ โดยลกู ท่ีเกดิ มาจะไดร้ ับการถา่ ยทอดลกั ษณะทาง

2. แสดงความอยากรอู้ ยากเหน็ โดยการถาม พนั ธกุ รรมจากพ่อแม่ทำใหม้ ีลกั ษณะทาง

คำถามเกยี่ วกบั ลักษณะที่คลา้ ยคลงึ กันของ พันธุกรรมที่เฉพาะแตกต่างจากสงิ่ มีชีวิตชนดิ อื่น

ตนเองกบั พอ่ แม่ - พืชมกี ารถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธุกรรม เช่น

ลกั ษณะของใบ สีดอก

ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.5 - สัตว์มกี ารถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม เชน่

สีขน ลกั ษณะของขน ลกั ษณะของหู

- มนษุ ยม์ ีการถ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม

เช่น เชงิ ผมทห่ี นา้ ผาก ลกั ยมิ้ ลักษณะหนงั ตา

การหอ่ ลน้ิ ลักษณะของต่งิ หู

สาระที่ 2: วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 : เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสมบัติของสสารกับ

โครงสร้างและแรงยึดเหนยี่ วระหว่างอนภุ าค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลีย่ นแปลง สถานะของสสาร การเกิด
สารละลาย และการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี

ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

ป.5 1. อธิบายการเปลีย่ นสถานะของสสาร • การเปลย่ี นสถานะของสสารเป็น
เมอื่ ทำให้สสารร้อนข้ึนหรือเยน็ ลง โดยใช้ การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ เม่ือเพ่มิ ความรอ้ น
หลักฐานเชิงประจักษ์ ใหก้ บั สสารถงึ ระดับหน่ึงจะทำให้สสารท่ีเป็น
ของแขง็ เปลี่ยนสถานะเปน็ ของเหลว เรยี กว่า
การหลอมเหลว และเม่ือเพ่มิ ความรอ้ นต่อไป
จนถึงอีกระดบั หนง่ึ ของเหลวจะเปลย่ี นเป็นแก๊ส
เรียกวา่ การกลายเป็นไอ แต่เมื่อลดความร้อนลง
ถึงระดบั หนึ่ง แกส๊ จะเปลีย่ นสถานะเป็นของเหลว
เรียกว่าการควบแน่น และถ้าลดความรอ้ นต่อไป
อีกจนถึงระดบั หนึ่งของเหลวจะเปลี่ยนสถานะ
เป็นของแขง็ เรียกวา่ การแขง็ ตวั สสารบางชนิด
สามารถเปล่ียนสถานะจากของแขง็ เป็นแก๊ส

โดยไมผ่ ่านการเป็นของเหลว เรียกวา่ การระเหิด
ส่วนแก๊สบางชนดิ สามารถเปล่ียนสถานะ
เป็นของแขง็ โดยไมผ่ ่านการเปน็ ของเหลว เรียกวา่
การระเหดิ กลบั

2. อธบิ ายการละลายของสารในนำ้ โดยใช้ • เม่อื ใสส่ ารลงในน้ำแล้วสารนน้ั รวมเป็น
หลกั ฐานเชิงประจักษ์
เนอ้ื เดยี วกันกับนำ้ ทัว่ ทกุ ส่วน แสดงว่าสารเกิด
การละลาย เรยี กสารผสมทไี่ ดว้ ่าสารละลาย

3. วเิ คราะห์การเปลย่ี นแปลงของสารเมือ่ เกิด • เม่ือผสมสาร 2 ชนิดขนึ้ ไปแลว้ มีสารใหม่เกิดขน้ึ
การเปลี่ยนแปลงทางเคมี โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ซง่ึ มีสมบตั ิต่างจากสารเดมิ หรือเมอื่ สารชนิดเดียว

ประจกั ษ์ เกดิ การเปลยี่ นแปลงแลว้ มสี ารใหมเ่ กิดขน้ึ
การเปล่ยี นแปลงนี้เรยี กว่า การเปลี่ยนแปลง

4. วิเคราะหแ์ ละระบุการเปลี่ยนแปลงทีผ่ ัน ทางเคมี ซึ่งสังเกตไดจ้ ากมีสหี รอื กล่นิ ต่างจาก
กลบั ไดแ้ ละการเปลย่ี นแปลงที่ผันกลับไม่ได้ สารเดิม หรอื มีฟองแกส๊ หรือมตี ะกอนเกิดขนึ้
หรือมกี ารเพิม่ ขึน้ หรือลดลงของอณุ หภมู ิ

ชั้น ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

- เม่ือสารเกดิ การเปล่ยี นแปลงแล้ว สารสามารถ

เปลี่ยนกลบั เป็นสารเดิมได้ เปน็ การเปล่ียนแปลงที่

ผนั กลับได้ เช่น การหลอมเหลว การกลายเป็นไอ

การละลาย แต่สารบางอยา่ งเกดิ การเปลยี่ นแปลง

แลว้ ไม่สามารถเปลยี่ นกลบั เปน็ สารเดิมได้

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวนั ผลของแรงทกี่ ระทำต่อวตั ถุ ลักษณะการเคลือ่ นท่ี
แบบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมทัง้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.5 1. อธิบายวิธกี ารหาแรงลัพธ์ของแรงหลาย • แรงลัพธ์เป็นผลรวมของแรงท่ีกระทำตอ่ วตั ถุ

แรงในแนวเดียวกนั ท่กี ระทำตอ่ วตั ถใุ นกรณี โดยแรงลัพธข์ องแรง ๒ แรงท่กี ระทำตอ่ วัตถุเดียวกัน

ทีว่ ัตถอุ ยูน่ งิ่ จากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ จะมขี นาดเทา่ กบั ผลรวมของแรงท้งั สองเมอื่ แรงท้งั สอง

2. เขียนแผนภาพแสดงแรงท่ีกระทำต่อวตั ถุ อยใู่ นแนวเดียวกันและมีทิศทางเดียวกัน แต่จะมขี นาด

ท่ีอย่ใู นแนวเดียวกนั และแรงลพั ธ์ที่กระทำ เทา่ กบั ผลต่างของแรงทง้ั สองเมอื่ แรงทง้ั สองอยู่ในแนว

ต่อวัตถุ เดยี วกนั แต่มีทศิ ทางตรงข้ามกัน สำหรับวตั ถุ

3. ใช้เคร่ืองชงั่ สปริงในการวัดแรงทกี่ ระทำ ท่อี ยู่นง่ิ แรงลพั ธ์ท่กี ระทำต่อวตั ถุมีค่าเปน็ ศนู ย์

ตอ่ วตั ถุ • การเขียนแผนภาพของแรงทกี่ ระทำตอ่ วตั ถสุ ามารถ

เขียนได้โดยใชล้ กู ศร โดยหวั ลกู ศรแสดงทิศทางของ

แรง และความยาวของลกู ศรแสดงขนาดของแรงท่ี

กระทำต่อวตั ถุ

4.ระบผุ ลของแรงเสยี ดทานทีม่ ีผลต่อการ • แรงเสียดทานเป็นแรงที่เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผสั ของ
เปล่ียนแปลงการเคลื่อนท่ขี องวัตถุจาก วัตถุ เพอื่ ตา้ นการเคลื่อนทีข่ องวตั ถุ เพือ่ ต้านการ

หลักฐานเชิงประจักษ์ เคลือ่ นท่ีของวตั ถุนั้น โดยถา้ ออกแรงกระทำตอ่ วัตถุที่
5.เขียนแผนภาพแสดงแรงเสยี ดทานและ อยู่นิ่งบนพน้ื ผิวหน่ึงใหเ้ คลื่อนท่ี แรงเสียดทานของ
แรงท่อี ยู่ในแนวเดียวกนั ท่ีกระทำต่อวตั ถุ พน้ื ผิวนัน้ จะตา้ นการเคลือ่ นที่ของวตั ถุ แต่ถ้าวัตถุกำลงั

เคลื่อนที่แรงเสียดทานจะทำให้วตั ถุเคลอ่ื นท่ีชา้ ลงและ
หยดุ นิ่ง

มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปลีย่ นแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน ปฏสิ ัมพันธ์ระหวา่ ง
สสารและพลงั งาน พลงั งานในชวี ิตประจำวนั ธรรมชาติของคลนื่ ปรากฏการณ์ท่ีเก่ียวขอ้ งกับเสียง แสง และ
คลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้ รวมทงั้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ช้ัน ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.5 1. อธบิ ายการได้ยินเสยี งผา่ นตัวกลางจาก • การได้ยนิ เสียงตอ้ งอาศยั ตัวกลาง โดยอาจเปน็

หลักฐานเชิงประจักษ์ ของแข็ง ของเหลว หรืออากาศ เสียงจะส่งผา่ น

ตวั กลางมายังหู

ชัน้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

2. ระบุตัวแปร ทดลอง และอธบิ ายลกั ษณะ • เสยี งที่ได้ยนิ มรี ะดับสูงตำ่ ของเสยี งต่างกันขึน้ กบั

และการเกดิ เสียงสงู เสียงตำ่ ความถ่ีของการส่ันของแหลง่ กำเนิดเสียง โดยเม่อื

3. ออกแบบการทดลองและอธิบายลักษณะ แหล่งกำเนดิ เสียงสัน่ ดว้ ยความถี่ตำ่ จะเกิดเสียงต่ำ

และการเกิดเสยี งดงั เสียงค่อย แตถ่ า้ สนั่ ด้วยความถ่ีสงู จะเกดิ เสยี งสงู สว่ น

4. วดั ระดับเสยี งโดยใช้เคร่ืองมอื วดั ระดบั เสียงดังคอ่ ยทไ่ี ดย้ นิ ขน้ึ กบั พลังงานการสั่นของ

เสยี ง แหลง่ กำเนดิ เสยี ง โดยเมือ่ แหล่งกำเนิดเสียงส่นั ดว้ ย

5. ตระหนกั ในคณุ คา่ ของความรเู้ รือ่ งระดับ พลังงานมากจะเกดิ เสยี งดงั แต่ถ้าแหล่งกำเนดิ เสียงส่นั

เสยี งโดยเสนอแนะแนวทางในการหลกี เลี่ยง ด้วยพลังงานนอ้ ยจะเกิดเสยี งค่อย

และลดมลพิษทางเสียง • เสยี งดังมาก ๆ เป็นอนั ตรายต่อการไดย้ ินและเสียง

ท่กี อ่ ให้เกดิ ความรำคาญเป็นมลพษิ ทางเสียงเดซเิ บล

เป็นหนว่ ยท่ีบอกถงึ ความดังของเสียง

สาระท่ี 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซี ดาวฤกษ์
และระบบสุริยะ รวมทง้ั ปฏสิ มั พนั ธภ์ ายในระบบสรุ ยิ ะทสี่ ่งผลต่อสง่ิ มชี ีวติ และการประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีอวกาศ

ชนั้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ป.5 1. เปรยี บเทยี บความแตกต่างของดาว • ดาวท่ีมองเหน็ บนทอ้ งฟา้ อย่ใู นอวกาศซงึ่ เป็นบริเวณ

เคราะหแ์ ละดาวฤกษ์จากแบบจำลอง ท่อี ย่นู อกบรรยากาศของโลก มีทัง้ ดาวฤกษ์และดาว

เคราะห์ ดาวฤกษ์เปน็ แหล่งกำเนดิ แสงจงึ สามารถ

มองเห็นได้ ส่วนดาวเคราะห์ไม่ใช่แหล่งกำเนิดแสง

แตส่ ามารถมองเห็นไดเ้ น่ืองจากแสงจากดวงอาทติ ย์

ตกกระทบดาวเคราะห์แลว้ สะท้อนเข้าสู่ตา

2. ใช้แผนทด่ี าวระบุตำแหน่งและเส้นทาง • การมองเหน็ กลุ่มดาวฤกษม์ รี ปู ร่างตา่ ง ๆ เกิดจาก
การขนึ้ และตกของกลุ่มดาวฤกษบ์ น จินตนาการของผู้สงั เกต กล่มุ ดาวฤกษ์ตา่ ง ๆ ท่ี

ท้องฟ้า และอธิบายแบบรูปเสน้ ทางการ ปรากฏในท้องฟ้าแต่ละกลมุ่ มีดาวฤกษ์แตล่ ะดวงเรียง
ข้นึ และตกของกลมุ่ ดาวฤกษบ์ นทอ้ งฟ้าใน กนั ที่ตำแหน่งคงที่ และมีเสน้ ทางการขน้ึ และตกตาม
รอบปี เส้นทางเดมิ ทกุ คนื ซง่ึ จะปรากฏตำแหน่งเดมิ

การสงั เกตตำแหน่งและการขึน้ และตกของดาวฤกษ์
และกลุม่ ดาวฤกษ์ สามารถทำไดโ้ ดยใชแ้ ผนทดี่ าว

ซึ่งระบุมมุ ทิศและมุมเงยท่กี ลมุ่ ดาวนัน้ ปรากฏ
ผสู้ งั เกตสามารถใช้มือในการประมาณค่าของมุมเงย
เมือ่ สังเกตดาวในทอ้ งฟ้า

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลยี่ นแปลภายในโลกและ
บนผวิ โลก ธรณีพบิ ตั ิภัย กระบวนการเปลยี่ นแปลง ลมฟ้าอากาศและภูมอิ ากาศโลก รวมทัง้ ผลต่อส่ิงมชี วี ติ และ
สิ่งแวดลอ้ ม

ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.5 1. เปรยี บเทยี บปรมิ าณน้ำในแตล่ ะแหล่ง • โลกมที งั้ น้ำจดื และน้ำเคม็ ซงึ่ อยใู่ นแหลง่ น้ำต่าง ๆ

และระบุปริมาณน้ำทีม่ นุษย์สามารถ ทมี่ ีทงั้ แหล่งนำ้ ผิวดิน เชน่ ทะเล มหาสมุทร บึง

นำมาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ จากข้อมูลท่รี วบรวม แมน่ ้ำ และแหลง่ น้ำใต้ดนิ เชน่ น้ำในดนิ และ

ได้ น้ำบาดาล น้ำทั้งหมดของโลกแบง่ เปน็ นำ้ เค็ม

ประมาณร้อยละ ๙๗.๕ ซงึ่ อยใู่ นมหาสมทุ ร

และแหล่งนำ้ อนื่ ๆ และที่เหลืออกี ประมาณ

ร้อยละ ๒.๕ เป็นน้ำจืด ถ้าเรยี งลำดับปริมาณ

น้ำจดื จากมากไปนอ้ ยจะอยู่ที่ ธารนำ้ แข็ง และ

พดื น้ำแข็ง นำ้ ใต้ดนิ ชนั้ ดนิ เยอื กแข็งคงตวั และนำ้ แข็ง

ใต้ดิน ทะเลสาบ ความช้ืนในดนิ ความชน้ื ใน

บรรยากาศ บึง แมน่ ำ้ และน้ำในสิ่งมชี ีวิต

2. ตระหนกั ถึงคุณค่าของน้ำโดยนำเสนอ • น้ำจดื ท่มี นษุ ยน์ ำมาใชไ้ ดม้ ีปรมิ าณนอ้ ยมาก
แนวทางการใชน้ ้ำอยา่ งประหยดั และการ จงึ ควรใช้น้ำอย่างประหยดั และร่วมกันอนุรกั ษน์ ำ้
อนุรกั ษน์ ้ำ
3. สร้างแบบจำลองที่อธบิ ายการ • วัฏจักรนำ้ เป็นการหมนุ เวยี นของน้ำที่มแี บบรูป
หมุนเวียนของน้ำในวฏั จักรนำ้ ซำ้ เดมิ และต่อเนอ่ื งระหว่างนำ้ ในบรรยากาศ
นำ้ ผวิ ดิน และนำ้ ใต้ดนิ โดยพฤตกิ รรมการดำรงชวี ิต
4. เปรยี บเทียบกระบวนการเกดิ เมฆ ของพชื และสตั ว์ส่งผลตอ่ วฏั จักรนำ้
หมอก นำ้ คา้ ง และนำ้ ค้างแขง็
จากแบบจำลอง • ไอนำ้ ในอากาศจะควบแน่นเป็นละอองน้ำเลก็ ๆ
โดยมลี ะอองลอย เชน่ เกลือ ฝุ่นละออง ละอองเรณู
ของดอกไม้ เปน็ อนุภาคแกนกลาง เมือ่ ละอองน้ำ
จำนวนมากเกาะกล่มุ รวมกนั ลอยอยูส่ ูงจากพ้ืนดิน
มาก เรียกว่า เมฆ แต่ละอองนำ้ ทเ่ี กาะกลุ่มรวมกนั อยู่
ใกลพ้ ้นื ดิน เรยี กวา่ หมอก สว่ นไอน้ำทค่ี วบแน่น
เปน็ ละอองนำ้ เกาะอยบู่ นพื้นผวิ วัตถใุ กล้พนื้ ดนิ
เรยี กวา่ น้ำค้าง ถา้ อุณหภูมิใกล้พ้ืนดินต่ำกวา่ จดุ
เยอื กแขง็ นำ้ ค้างกจ็ ะกลายเป็นน้ำค้างแขง็

5. เปรยี บเทียบกระบวนการเกิดฝน หมิ ะ • ฝน หมิ ะ ลูกเหบ็ เป็นหยาดนำ้ ฟ้าซ่งึ เป็นนำ้ ที่มี
และลูกเหบ็ จากขอ้ มูลทีร่ วบรวมได้
สถานะต่าง ๆ ท่ตี กจากฟา้ ถึงพืน้ ดนิ ฝนเกดิ จาก
ละอองนำ้ ในเมฆที่รวมตวั กนั จนอากาศไมส่ ามารถ
พยงุ ไวไ้ ด้จึงตกลงมา หมิ ะเกดิ จากไอน้ำในอากาศ

ระเหิดกลบั เปน็ ผลึกน้ำแขง็ รวมตวั กนั จนมีน้ำหนกั
มากขึ้นจนเกนิ กวา่ อากาศจะพยงุ ไว้จึงตกลงมา

ลูกเห็บเกดิ จากหยดน้ำที่เปลีย่ นสถานะเป็นนำ้ แข็ง
แล้วถกู พายพุ ดั วนซำ้ ไปซำ้ มาในเมฆฝนฟา้ คะนอง
ทม่ี ขี นาดใหญแ่ ละอยู่ในระดบั สงู จนเป็นกอ้ นน้ำแข็ง

ขนาดใหญข่ ึน้ แลว้ ตกลงมา

สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคํานวณในการแก้ปญั หาทพี่ บในชวี ิตจริงอย่างเป็นขัน้ ตอนและเป็น

ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรูก้ ารทํางาน และการแกป้ ญั หาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
รู้เท่าทนั และมีจริยธรรม

ชน้ั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.5 1. ใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะในการ • การใช้เหตผุ ลเชิงตรรกะเปน็ การนำกฎเกณฑ์

แก้ปญั หา การอธบิ าย หรือเง่ือนไขท่ีครอบคลุมทกุ กรณีมาใชพ้ ิจารณา

การทำงาน การคาดการณผ์ ลลัพธ์จาก ในการแก้ปัญหาการอธบิ ายการทำงาน หรอื การ

ปัญหาอยา่ งงา่ ย คาดการณ์ผลลัพธ์

• สถานะเริ่มตน้ ของการทำงานท่แี ตกตา่ งกันจะ

ให้ผลลัพธ์ทแี่ ตกต่างกัน

• ตัวอย่างปัญหา เชน่ เกม Sudoku โปรแกรม

ทำนายตวั เลข โปรแกรมสร้างรปู เรขาคณติ

ตามค่าข้อมลู เข้า การจัดลำดับการทำงานบา้ น

ในช่วงวนั หยดุ จดั วางของในครัว

2. ออกแบบ และเขียนโปรแกรมท่มี ี • การออกแบบโปรแกรมสามารถทำไดโ้ ดย
การใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะอยา่ งง่าย เขียนเปน็ ข้อความหรอื ผังงาน
ตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข
• การออกแบบและเขยี นโปรแกรมทม่ี กี าร

ตรวจสอบเงอื่ นไขทคี่ รอบคลมุ ทุกกรณีเพ่ือให้ได้
ผลลพั ธ์ท่ีถูกตอ้ งตรงตามความตอ้ งการ

• หากมีข้อผิดพลาดให้ตรวจสอบการทำงาน
ทลี ะคำสั่ง เมือ่ พบจุดทที่ ำใหผ้ ลลพั ธไ์ มถ่ ูกตอ้ ง
ใหท้ ำการแกไ้ ขจนกวา่ จะได้ผลลพั ธท์ ถี่ ูกตอ้ ง

• การฝึกตรวจหาข้อผดิ พลาดจากโปรแกรม
ของผู้อ่นื จะชว่ ยพัฒนาทกั ษะการหาสาเหตขุ อง

ปัญหาไดด้ ียง่ิ ขนึ้
• ตวั อย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรมตรวจสอบ

เลขคู่เลขคี่ โปรแกรมรับข้อมูลนำ้ หนักหรอื

สว่ นสูงแล้วแสดงผลความสมส่วนของรา่ งกาย
โปรแกรมสงั่ ใหต้ วั ละครทำตามเงอ่ื นไขท่กี ำหนด

ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

• ซอฟตแ์ วร์ที่ใช้ในการเขยี นโปรแกรม เช่น

Scratch, logo

3. ใชอ้ นิ เทอร์เน็ตคน้ หาขอ้ มลู • การค้นหาข้อมูลในอินเทอรเ์ นต็ และการ
ติดต่อสอ่ื สารและทำงานร่วมกนั พจิ ารณาผลการคน้ หา
ประเมินความน่าเช่อื ถือของขอ้ มลู • การตดิ ตอ่ สือ่ สารผา่ นอนิ เทอร์เน็ต เช่น อีเมล

บล็อก โปรแกรมสนทนา
• การเขยี นจดหมาย (บูรณาการกบั วชิ า

ภาษาไทย)
• การใช้อนิ เทอรเ์ น็ตในการติดตอ่ สอ่ื สารและ
ทำงานร่วมกนั เช่น ใชน้ ดั หมายในการประชุม

กล่มุ ประชาสมั พนั ธ์กิจกรรมในหอ้ งเรยี น การ
แลกเปลี่ยนความรคู้ วามคิดเห็นในการเรียน

ภายใตก้ ารดแู ลของครู
• การประเมินความนา่ เชอื่ ถือของข้อมูล เช่น
เปรียบเทียบความสอดคล้อง สมบูรณข์ องข้อมูล

จากหลายแหล่ง แหลง่ ต้นตอของข้อมูล ผเู้ ขยี น
วันทเี่ ผยแพร่ข้อมลู

• ข้อมูลทด่ี ีตอ้ งมรี ายละเอยี ดครบทกุ ด้าน เช่น
ขอ้ ดแี ละขอ้ เสีย ประโยชน์และโทษ

4. รวบรวม ประเมนิ นำเสนอขอ้ มลู • การรวบรวมขอ้ มลู ประมวลผล สร้าง

และสารสนเทศตามวัตถปุ ระสงค์โดยใช้ ทางเลอื กประเมินผล จะทำใหไ้ ด้สารสนเทศเพื่อ

ซอฟตแ์ วรห์ รือบริการบนอินเทอรเ์ น็ตที่ ใช้ในการแก้ปญั หาหรือการตดั สินใจไดอ้ ยา่ งมี

หลากหลาย เพ่ือแก้ปัญหา ประสทิ ธภิ าพ

ในชีวติ ประจำวนั • การใช้ซอฟตแ์ วรห์ รือบริการบนอนิ เทอรเ์ นต็

ทห่ี ลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล

สร้างทางเลือก ประเมินผล นำเสนอ จะช่วยให้

การแกป้ ญั หาทำได้อย่างรวดเรว็ ถูกตอ้ ง และ

แมน่ ยำ

• ตัวอยา่ งปัญหา เชน่ ถา่ ยภาพ และสำรวจแผน

ที่ในท้องถน่ิ เพอื่ นำเสนอแนวทางในการจัดการ

พน้ื ทวี่ ่างใหเ้ กิดประโยชน์ทำแบบสำรวจความ

คดิ เหน็ ออนไลนแ์ ละวิเคราะหข์ อ้ มูล นำเสนอ

ข้อมูลโดยการใช้blog หรอื web page

5. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ ง การแกป้ ญั หาอย่างเปน็ ข้ันตอนจะช่วยให้
แกป้ ญั หาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
ปลอดภัยมมี ารยาทเขา้ ใจสทิ ธแิ ละ • การใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะเปน็ การนำกฎเกณฑ์
หน้าทีข่ องตน เคารพในสิทธิของ หรอื เง่อื นไขท่คี รอบคลมุ ทุกกรณมี าใชพ้ ิจารณา

ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ผู้อืน่ แจง้ ผเู้ กยี่ วข้องเม่ือพบข้อมูลหรือ ในการแกป้ ัญหา

บคุ คลท่ไี ม่เหมาะสม • แนวคดิ ของการทำงานแบบวนซ้ำ และเงือ่ นไข

• การพจิ ารณากระบวนการทำงานที่มีการ

ทำงานแบบวนซำ้ หรือเงื่อนไขเปน็ วธิ กี ารท่จี ะ

ช่วยใหก้ ารออกแบบวธิ กี ารแกป้ ญั หาเปน็ ไป

อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

• ตัวอยา่ งปญั หา เชน่ การคน้ หาเลขหนา้ ท่ี

ต้องการใหเ้ รว็ ที่สุด การทายเลข ๑-

๑,๐๐๐,๐๐๐ โดยตอบใหถ้ ูกภายใน ๒๐ คำถาม

การคำนวณเวลาในการเดินทาง โดยคำนึงถงึ

ระยะทาง เวลาจุดหยดุ พัก

คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน

รายวิชา ว15101 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5 ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5
เวลา 120 ชวั่ โมง
กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ศึกษาโครงสร้างของสิ่งมีชีวิตที่ปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
และสิ่งไม่มีชีวิต บทบาทหน้าที่ในห่วงโซ่อาหาร ตระหนักถึงความสำคัญของสิ่งแวดล้อม และการอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม อธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต และความคล้ายคลึงกันระหว่างบุคคล

ในครอบครัว กระบวนการเปลี่ยนสถานะของสสาร การละลายของสสาร การเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสสาร
การผันกลับได้และการผนักลับไม่ได้ของสสาร การหาแรงและแรงลัพธ์ แรงเสียดทาน การหาแรงเสียดทาน

การเขยี นแผนภาพแสดงแนวของแรงและแรงเสียดทาน การได้ยินเสยี ผ่านตัวกลางของเสียง เสียงดัง เสียงเบา
การวัดระดบั ความดงั ของเสยี ง มลภาวะของเสยี งและการป้องกัน ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ แผนท่ีดาว การข้ึนตก
ของดวงดาว แหล่งน้ำ วัฏจักรของน้ำ การอนุรักษ์น้ำ กระบวนการในการเกิด เมฆ หมอก ฝน หิมะ น้ำค้าง

น้ำค้างแขง็ และการใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะในการแก้ปญั หา มาใช้พจิ ารณาในการแกป้ ัญหา การอธบิ ายการทำงาน
หรอื การคาดการณผ์ ลลัพธ์ ศกึ ษาการออกแบบโปรแกรมอยา่ งงา่ ยโดยใช้ storyboard ศกึ ษาการใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ต

ค้นหาความรู้ การใช้คำค้นที่ตรงประเด็น กระชับ การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล ศึกษาการรวบรวม
ข้อมูล การประมวลผลอย่างง่าย วิเคราะห์ผลและสร้างทางเลือกที่เป็นไปได้ ตลอดจนประเมินทางเลือก
พร้อมทั้งการนำเสนอข้อมูลในรูปแบบตามความเหมาะสม ศึกษาการใช้ซอฟต์แวร์เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน

การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย เขา้ ใจสิทธิและหนา้ ทข่ี องตน เคารพในสิทธใิ นสทิ ธขิ องผู้อ่ืน
โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษท่ี 21 ในการสบื เสาะหาความรู้ สบื คน้ ขอ้ มูล

วิเคราะห์ อภปิ รายและสรุป เพือ่ ให้เกิดความร้คู วามเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ สามารถสื่อสารส่ิงท่ี
เรียนรไู้ ด้ นำความรู้ไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรมและคา่ นยิ มที่เหมาะสม

ตัวช้ีวัดที่
ว 1.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4

ว 1.3 ป.5/1 ป.5/2
ว 2.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4
ว 2.2 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5

ว 2.3 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5
ว 3.1 ป.5/1 ป.5/2

ว 3.2 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5
ว 4.2 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5

รวมทัง้ หมด 32 ตัวช้วี ัด

โครงสรา้ งรายวิชาพ้ืนฐาน

รายวชิ า ว15101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
จำนวน 120 ช่ัวโมง/ปี สัดสว่ นคะแนน 70 : 30

ลำดบั ชอื่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั ภาระงานรวบ
การเรยี นรู้ เรียนร้/ู ตวั ช้วี ัด (ชั่วโมง) คะแนน ยอด/ชน้ิ งาน
เขยี นแผนที่
1 ทกั ษะกระบวนการ ว 4.2 ป.5/1 - ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 7 5 เส้นทางการขนสง่
ทางวทิ ยาศาสตร์ ว 4.2 ป.5/2 - เสน้ ทางของขยะจากมือเรา
และเทคโนโลยี ว 4.2 ป.5/3 - ใชอ้ นิ เทอร์เนต็ คน้ หาขอ้ มลู 5 ขยะ
ว 4.2 ป.5/4
5 Pop up แรง
ว 4.2 ป.5/5
Pop up เสียง
2 แรงและ ว 2.2 ป.5/1 - แรงลพั ธ์ 10 และพลงั งาน

เทคโนโลยี ว 2.2 ป.5/2 - แรงเสยี ดทาน

ว 2.2 ป.5/3

ว 2.2 ป.5/4

ว 2.2 ป.5/5

3 พลังงานเสยี ง ว 2.3 ป.5/1 - การไดย้ นิ เสยี ง 11

กบั เทคโนโลยี ว 2.3 ป.5/2 - ตัวกลางของเสยี ง

ว 2.3 ป.5/3 - เสียงดัง เสียงเบา

ว 2.3 ป.5/4 - ระดับของเสียง

ว 2.3 ป.5/5 - มลพิษทางเสยี ง

ว 4.2 ป.5/3 - การสืบคน้ ในการทำรายงานเรื่อง

มลพิษทางเสยี ง

ว 2.2 ป.5/1

ว 2.2 ป.5/2

ว 2.2 ป.5/3

ว 2.3 ป.5/1

สอบก่อนกลางปี ว 2.3 ป.5/2 ข้อสอบโรงเรยี น 15 -
ว 2.3 ป.5/3

ว 2.3 ป.5/4

ว 2.3 ป.5/5

ว 4.2 ป.5/1

ว 4.2 ป.5/3

4 การเปลยี่ นแปลง ว 2.1 ป.5/1 - การเปล่ียนสถานะของสสาร 22 10

ของสาร ว 2.1 ป.5/2 - การละลาย แผนพงั ของ
ว 2.1 ป.5/3 - การเปลย่ี นแปลงทางเคมี การเปลีย่ นแปลง
ว 2.1 ป.5/4 - การเปลย่ี นแปลงท่ีผนั กลบั ได้
เรื่องสาร

- การเปล่ยี นแปลงที่ผนั กลบั ไม่ได้

ลำดบั ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก ภาระงานรวบ
การเรยี นรู้ เรียนร/ู้ ตวั ชี้วัด (ชวั่ โมง) คะแนน ยอด/ช้ินงาน

ว 2.1 ป.5/1 1 5 -
25 5 ใบงานกลุ่มดาว
สอบกลางปี ว 2.1 ป.5/2 ข้อสอบโรงเรยี น และข่าวพยากรณ์
ว 2.1 ป.5/3 1 5
18 10 อากาศ
ว 2.1 ป.5/4
21 10 -
5 วัฏจักรนำ้ ดวงดาว ว 3.2 ป.5/1 - แหล่งนำ้ บนโลก 1 24
แผนพงั
และการสบื ค้น ว 3.2 ป.5/2 - การอนุรกั ษน์ ำ้ ความสัมพนั ธ์
ภายในครอบครัว
ข้อมลู ว 3.2 ป.5/3 - วฏั จกั ของนำ้
สวนแกว้ ใน
ว 3.2 ป.5/4 - การเกิด เมฆ หมอก น้ำค้าง และ ระบบนิเวศ

ว 3.2 ป.5/5 นำ้ ค้างแขง็ -

ว 3.1 ป.5/1 - ดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์

ว 3.1 ป.5/2 - แผนทด่ี าว

ว 4.2 ป.5/2 - การสืบค้นรปู แบบของดวงดาว

ว 4.2 ป.5/4 - ออกแบบโปรแกรมหรือพงั งานวฏั

จกั รนำ้ ได้

ว 3.2 ป.5/1

ว 3.2 ป.5/2

ว 3.2 ป.5/3

ว 3.2 ป.5/4 ข้อสอบโรงเรียน
สอบกอ่ นปลายปี ว 3.2 ป.5/5

ว 3.1 ป.5/1

ว 3.1 ป.5/2

ว 4.2 ป.5/2

ว 4.2 ป.5/4

6 พนั ธกุ รรมกับ ว 1.3 ป.5/1 - การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธุกรรม

เทคโนโลยี ว 1.3 ป.5/2 ของส่ิงมชี วี ิต พืช สัตว์ คน

ว 4.2 ป.5/4 - ลักษณะทางพันธุกรรมทค่ี ล้ายคลึง

ว 4.2 ป.5/5 กับพ่อและแม่

- สบื คน้ ในการหาขอ้ มูลและแก้ไข

ปัญหาอยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม

7 ระบบนเิ วศและ ว 1.1 ป.5/1 - การปรับตัวของสิ่งมชี ีวิต

การสืบคน้ ขอ้ มลู ว 1.1 ป.5/2 - บทบาทในระบบนิเวศ

ว 1.1 ป.5/3 - หวงโซอ่ าหาร

ว 1.1 ป.5/4 - การดูแลรกั ษาส่งิ แสดลอ้ ม

ว 2.1 ป.5/1

สอบปลายปี ว 2.1 ป.5/2 ข้อสอบโรงเรยี น
ว 2.1 ป.5/3

ว 2.1 ป.5/4

ลำดบั ชือ่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก ภาระงานรวบ
การเรียนรู้ เรียนรู้/ตวั ช้วี ัด ข้อสอบกลาง (สพฐ) 20% (ชวั่ โมง) คะแนน ยอด/ช้นิ งาน

ว 2.2 ป.5/1

ว 2.2 ป.5/2

ว 2.2 ป.5/3

ว 2.3 ป.5/1

ว 2.3 ป.5/2

ว 2.3 ป.5/3

ว 2.3 ป.5/4

ว 2.3 ป.5/5

ว 3.1 ป.5/1 26 -

ว 3.1 ป.5/2

ว 3.2 ป.5/1

ว 3.2 ป.5/2

ว 3.2 ป.5/3

ว 3.2 ป.5/4

ว 3.2 ป.5/5

ว 4.2 ป.5/1

ว 4.2 ป.5/2

ว 4.2 ป.5/3

ว 4.2 ป.5/4

ว 4.2 ป.5/5

รวม 120 100 -

อภธิ านศพั ท์

ท่ี ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความหมาย
1. กำหนดปัญหา define problem
ระบคุ ำถามประเด็น หรือสถานการณ์ท่เี ป็นข้อ
สงสัย เพอ่ื นำไปสู่ การแกป้ ญั หา หรืออภิปราย
รว่ มกนั

2. แกป้ ญั หา solve problem หาคำตอบของปญั หาท่ียงั ไม่รู้วิธกี ารมาก่อนทง้ั
ปญั หาทเ่ี ก่ยี วข้องกับวิทยาศาสตร์โดยตรงและ

ปัญหาในชีวิตประจำวันโดยใชเ้ ทคนคิ และวธิ ีการ
ต่าง ๆ

3. เขียนแผนผัง / วาดภาพ Construct diagram / นำเสนอข้อมลู บันทึกผลการสำรวจหรอื ผลการ

illustrate สำรวจตรวจสอบดว้ ยแผนผงั ภาพและแผนผงั

กราฟหรือภาพวาด

4. คาดคะเน predict คาดการณ์ผลทจี่ ะเกิดขนึ้ ในอนาคตโดยอาศัย

ข้อมูลที่สงั เกตไดแ้ ละประสบการณ์ท่ีมี

5. คำนวณ calculate หาผลลัพธ์จากข้อมูลโดยใช้หลักการทฤษฎี หรือ
วธิ กี ารทางคณติ ศาสตร์

6. จำแนก classify จัดกลุ่มของสิ่งต่าง ๆ โดยอาศัยลักษณะท่ี
เหมือนกนั เปน็ เกณฑ์

7. ตง้ั คำถาม ask question พูดหรือเขียนประโยคหรือวลีเพื่อให้ได้มาซึ่งการ
คน้ หาคำตอบท่ีตอ้ งการ

8. ทดลอง conduct/ experiment ปฏิบตั ิการเพ่ือหาคำตอบของคำถาม หรอื ปัญหา
ในการทดลองโดยต้ังสมมติฐานเพอ่ื เปน็ แนวทาง
ในการกำหนดตวั แปร และวางแผนดำเนินการ
เพื่อตรวจสอบสมมตฐิ าน

9. นำเสนอ present แสดงข้อมูล เรื่องราว หรือความคดิ เพื่อให้ผู้อื่น
รับรูห้ รอื พจิ ารณา

10. บรรยาย describe ใหร้ ายละเอยี ดของเหตกุ ารณห์ รือปรากฏการณ์ที่
เกดิ ขึ้นใหผ้ ู้อ่นื ไดร้ ับรโู้ ดยการบอกหรือเขยี น

11. บอก tell ให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง แก่ผู้อื่นด้วยการพูดหรือ
เขียน

12. บันทึก record เขียนข้อมูลที่ได้จากการสังเกตเพื่อช่วยจำ หรือ
เพ่ือเป็นหลักฐาน

13. เปรยี บเทียบ compare บอกความเหมือนและ/หรือความแตกตา่ ง ของสิ่ง
ท่ีเทียบเคียงกัน

ท่ี ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ ความหมาย
14. แปลความหมาย interpret แสดงความหมายของข้อมูลจากหลักฐานที่
15. ยกตวั อย่าง give examples ปรากฏเพอื่ ลงข้อสรปุ
16. ระบุ identify ให้ขอ้ มลู เหตกุ ารณ์ หรอื สถานการณ์เพื่อแสดง
17. เลือกใช้ select ความเขา้ ใจในส่งิ ทไ่ี ดเ้ รียนรู้
18. วดั measure
19. วิเคราะห์ analyze ชี้บอกสิ่งต่าง ๆ โดยใช้ข้อมูลประกอบอย่าง
20. สรา้ งแบบจำลอง construct model เพียงพอ

21. สงั เกต observe พิจารณา และตดั สินใจนำวสั ดุส่งิ ของ อุปกรณ์
หรอื วิธกี ารมาใช้อ่างเหมาะสม
22. สำรวจ explore
หาขนาด หรือปริมาณ ของสงิ่ ต่าง ๆ โดยใช้
23. สบื ค้นขอ้ มลู search เคร่อื งมอื ทีเ่ หมาะสม
24. สอื่ สาร communicate
25. อธบิ าย explain แยกแยะ จดั ระบบ เปรยี บเทียบ จัดลำดบั จัด
26. อภปิ ราย discuss จำแนก หรือเช่อื มโยงข้อมูล

27. ออกแบบการทดลอง design experiment นำเสนอแนวคดิ หรือเหตุการณ์ในรปู ของแผนภาพ
ชิน้ งาน สมการ ขอ้ ความ คำพูดและ/หรือ
แบบจำลองเพอ่ื อธิบายความคิด วตั ถุ หรือ
เหตุการณ์ต่าง ๆ

หาขอ้ มลู ดว้ ยการใช้ประสาทท้ัง 5 ที่เหมาะสม
ตามข้อเท็จจริงทีป่ รากฏ โดยไม่ใช้ประสบการณ์
เดมิ ของผสู้ งั เกต

หาข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆโดยใช้วิธีการและ
เทคนิคที่เหมาะสม เพื่อนำข้อมูลมาใช้ตาม
วตั ถปุ ระสงคท์ ีก่ ำหนดไว้

หาข้อมูล หรือข้อสนเทศท่ีมีผู้รวบรวมไวแ้ ล้วจาก
แหลง่ ตา่ ง ๆ มาใช้ประโยชน์

นำเสนอและแหลกเปลี่ยนความคิด ข้อมูล หรือ
ผลจากการสำรวจตรวจสอบ ด้วยวธิ ที ีเ่ หมาะสม

กล่าวถึงเรอื่ งราวต่าง ๆ อยา่ มีเหตผุ ล และมขี อ้ มูล
หรอื ประจกั ษ์พานอ้างองิ

แสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรอื คำถามอย่างมี
เหตุผลโดยอาศัยความรู้และประสบการณ์ของผู้
อภปิ รายและขอ้ มลู ประกอบ
กำหนดและวางแผนวิธีการทดลองให้สอดคล้อง
กบั สมมตฐิ านและตัวแปรต่าง ๆรวมทง้ั การบันทึก
ขอ้ มลู


Click to View FlipBook Version