รายงาน
เรือง อบี ุ๊ค (eBook )
จดั ทาํ โดย
สามเณรอคั รเดช ลงุ สุ เลขที 1
ชันมัธยมศึกษาปี ที 6/2
เสนอ
อาจารย์ ศิริพร ปัญญายงิ
รายงานนีเป็ นส่วนหนึงของวชิ า วทิ ยาศาสตร์พืนฐาน
ภาคเรียนที 2 ปี การศึกษา 2564
โรงเรียนสามัคควี ทิ ยาทาน
อาํ เภอเมืองเชียงใหม่ จงั หวัดเชียงใหม่
คาํ นํา
รายงานเล่มนีเป็ นส่วนหนึงของวิชา วทิ ยาศาสตร์ ชันมัธยมศึกษาปี ที 6
ห้อง 2 ภาคเรียนที 2 เพือให้ได้ศึกษาหาความรู้
ในเรือง อบี ุ๊ค และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพือประโยชน์แก่นักนักเรียน
ผู้จดั ทาํ หวังว่ารายงานเล่มนีจะเป็ นประโยชน์กบั ผู้อ่าน หรือ
นักเรียน นักศึกษา ทีกาํ ลงั หาข้อมูลเรืองนีอยู่หากมี ข้อแนะนําหรือ
ข้อผดิ พลาดประการใด ผู้จดั ทําขอน้อมไว้รับไว้และขออภยั มา ณ ทีนี
สามเณรอคั รเดช ลงุ สุ
ผู้จัดทาํ
สารบญั หน้าที
เรือง
4
อีบุ๊ค (eBook) คืออะไร 5
ไฟล์เอกสารแบบใดจงึ จะเรียกว่าอบี ุ๊ค
6-8
ความเป็ นมาของ e-Book 9-10
เปรียบเทยี บหนังสอื จริงกับ eBook 11-14
วธิ ีสร้าง e-Book 15-16
ข้อดีของ e-Book
อบี ุ๊ค (eBook) คืออะไร
อบี ๊คุ (eBook : electronic book) จะเป็นไฟล์คอมพวิ เตอร์ประเภทหนึง ใน
ยคุ แรกๆ จะเป็นไฟล์แบบ PDF โดยเนือหาในไฟล์จะมีลกั ษณะเหมือนหนงั สือจริงๆ ซงึ
จะใช้ในกระบวนการทําเพลท ยิงฟิล์ม ด้วยความทีมี ลกั ษณะเหมือนหนงั สือจริงๆ แตเ่ ป็น
ไฟล์คอมพิวเตอร์ ทําให้ได้รับความนิยมในการนาํ ไปใช้งาน เพราะหน้ากระดาษทีได้จดั
วางไว้อยา่ งไร กจ็ ะคงอยแู่ บบนนั ไมเ่ ปลียนแปลงเหมือนการใช้งานพวกไฟล์ Word แต่
ต้องเปิด อา่ นจากหน้าจอคอมพวิ เตอร์ มือถือ หรือแท็บเล็ตพีซี
อีบ๊คุ ในปัจจบุ นั มีหลายแบบ ตามแต่จดุ ประสงค์ในการใช้งาน เมืออบี ๊คุ เป็นไฟล์เอกสาร
ประเภทหนึง จงึ สะดวกในการพกพา จําหนา่ ย จ่ายแจก สามารถรบั สง่ ดาวน์โหลดผ่าน
อนิ เตอร์เน็ตได้ ก็อปปีไปใช้งานระหว่าง เครืองได้ โดยเฉพาะเมือถือถือแบบสมาร์ทโฟน
และแท็บเล็ตได้รับความนยิ มในการใช้งาน การอา่ น eBook จงึ มีความสะดวก
มากกวา่ เดมิ เพราะเราสามารถเปิดอ่านได้ทนั ที
ไฟล์เอกสารแบบใดจงึ จะเรียกว่าอบี ุ๊ค
บ๊คุ หรือหนงั สือจริงๆ จะมีสว่ นประกอบมีหน้าปก มคี ํานํา สารบญั เนือหาแยกเป็นบทๆ
พิมพ์ลงกระดาษจริงๆ เป็นรูปเลม่ ทีจบั ต้องได้ สว่ นอีบ๊คุ จะมีลกั ษณะเหมอื นกนั ทกุ อยา่ ง
แตเ่ ป็นไฟล์เอกสารทีต้องอา่ นจากหน้า จอคอมพวิ เตอร์ มือถือ หรือแท็บเล็ตพีซี สะดวก
มากกวา่ ตรงทีไมต่ ้องใช้พืนทีเก็บเหมือนหนงั สือจริงๆ ในคอมพวิ เตอร์ มอื ถือหรือแท็บเลต็
1 เครือง สามารถเก็บหนงั สือได้หลายพนั เลม่
ความเป็ นมาของ eBook
การใช้งาน eBook ในยคุ แรกๆ มจี ดุ ประสงค์เพือใช้ในกระบวนการฟรีเพรส หรือการ
เตรียมเอกสารกอ่ นการพมิ พ์สิงพมิ พ์ประเภทต่างๆ เชน่ หนงั สือ วารสาร ฯลฯ กอ่ นจะทํา
เพลท เพือพมิ พ์หนงั สือ เพราะการนํา ไฟล์เอกสารทีจดั รูปเลม่ แล้วไปยงิ ฟิ ล์ม จะมีปัญหา
เรืองแบบของตวั หนงั สืออาจไมเ่ ข้ากนั การจดั รูปเลม่ ทีทาํ ไว้ กจ็ ะผิดพลาดไป ข้อความ
ขยบั ไปอีกหน้า ภาพเลอื นไปตําแหนง่ อืนๆ ฯลฯ ทําให้เสียเวลาแก้ไข จงึ ได้มีการ คิดค้น
การสร้างไฟลแ์ บบ PDF ซงึ เป็นอบี ๊คุ ในยคุ แรกๆ แตก่ ็ยงั คงใช้กนั อยใู่ นปัจจบุ นั เมือ
แปลงไฟลเ์ อกสารทีจะนําไปพมิ พ์เป็นหนงั สือแล้ว กจ็ ะได้ไฟล์แบบ PDF ด้วยความที
ไฟล์แบบ PDF ทีได้ มลี กั ษณะเหมือน หนงั สือจริงๆ จงึ เป็นทีมาของ eBooks
นนั เอง
ebook-hit-007.jpg" border="0" />
ไฟล์เอกสารทีได้พิมพ์ไว้ด้วยโปรแกรมต่างๆ เชน่ Word อาจเป็นรายงาน หนงั สือ
วิทยานพิ นธ์ สามารถนํามาแปลงเป็นอีบ๊คุ แบบ PDF ได้เลย หรือหนงั สือจริงๆ ถ้า
ต้องการแปลงเป็นอีบ๊คุ ก็ต้องใช้เครืองแสกนเนอร์ แสกนทีละหน้าเข้าเครืองคอมพวิ เตอร์
eBook แบบเดิมๆ ในรูปแบบไฟล์ PDF ยงั นยิ มใช้กนั อยมู่ าก โดยเฉพาะใน
กระบวนการพมิ พ์หนงั สอื การใช้เป็นคมู่ อื ของอปุ กรณ์ตา่ งๆ หรือการใช้งานโปรแกรม
ตา่ งๆ โดยก็อปปีลงในแผน่ ซีดีไดรเวอร์ ชว่ ยลดค่าใช้ จ่ายในการผลติ เป็นหนงั สือจริงๆ
สว่ นการอา่ น ถ้าไมส่ ะดวกกบั การอา่ นจากหน้าจอ ก็สามารถพมิ พ์ลงกระดาษได้
ตวั อยา่ ง แผน่ ซดี ีไดรเวอร์ Wireless USB ยีห้อ D-Link จะมีอบี ๊คุ แบบไฟล์
เชน่ DWA-125_A2_Manual_v1.10(WW).pdf เป็นคมู่ ืออธิบาย
วิธีใช้งานอปุ กรณ์นนั ๆ การอา่ นก็ดบั เบิลคลิกเปิดอา่ นไฟล์ได้เลย
ข้อดีของ eBook แบบนีก็คือเนือ เราสามารถทําเป็นสีสีทีดสู วยงามได้ ชว่ ยให้เข้าใจ
งา่ ย แต่หนงั สือจริงนนั การพิมพ์รูปเล่มเป็นสีสีนนั จะมีคา่ ใช้จ่ายสงู มาก
เปรียบเทยี บหนังสอื จริงกับ eBook
1. ตวั อยา่ งหนงั สือจริงๆ เลม่ ขนาดนีนําหนกั ประมาณครึงกิโลกรัม ต้นทนุ คา่ พิมพ์ตอ่
3000 เลม่ เกอื บแสนบาท เจ๊งไปแล้วด้วย
2. ตวั อยา่ งหนงั สอื ในรูปแบบ eBook ต้นทนุ ไมม่ ี เพราะเป็นไฟล์คอมพวิ เตอร์ ต้อง
เปิดอา่ นด้วยโปรแกรมสําหรับอา่ นอบี ๊คุ โดยเฉพาะเช่น Acrobat Reader หรือ
เครืองอา่ นอบี ๊คุ (eBook Reader) มอื ถือ แทบ็ เล็ตพซี ี
3. หนงั สือจริง เราสามารถหยบิ มาอา่ นได้เลย สะดวกมาก แต่ข้อเสียเรืองขนาดและ
นําหนกั เพราะเลม่ นีนําหนกั ประมาณครึงกิโลกรัม
4. ในขณะทีเมอื แปลงเป็น eBook แล้ว จะเป็นไฟล์คอมพวิ เตอร์ ไม่มีรูปไมม่ ีนําหนกั
สามารถอา่ นผ่านหน้าจอคอมพวิ เตอร์ โน้ตบุ๊ค แท็บเลต็ พซี หี รือมอื ถือแบบสมาร์ทโฟนอ
ยา่ ง iPhone, android หรือ Windows โฟนได้ เลย
วธิ ีการสร้างอีบุ๊ค
eBook มีหลายแบบ เช่น PDF, มลั ติมเิ ดียทีมที งั ภาพ เสียง วิดีโอ ePub ทีใช้
กบั Kindle eBook Reader หรือ iPhone/iPad หรือ eBook
แบบพลิกหน้า ฯลฯ แตล่ ะแบบก็มขี นั ตอนการสร้างทีแตกต่างกนั ไป ยากงา่ ย ตามแต่
ประเภทของ eBook นนั ๆ โดยที eBook แบบ Text หรือ PDF จะสร้างได้
งา่ ยทีสดุ และสามารถนําไปประยกุ ต์สร้าง eBook แบบอืนได้ทงั หมด
ทาํ ความเข้าใจกบั เนือหาทจี ะนําไปสร้าง eBook กันก่อน
เนือหาทีเราจะนําไปสร้าง eBook ทพี นื ฐานทีสดุ ก็คือ ข้อความและภาพประกอบ หากข้อความ
นนั ถกู เขียนขนึ อยา่ งสมบรู ณ์แล้ว มหี น้าปก คํานํา สารบญั เนือหาแตล่ ะบท เรากเ็ รียกว่า
eBook แล้ว เพราะมสี ่วน ประกอบทเี ป็นหนงั สอื หรือ eBook ได้แล้วนนั เอง ตวั อยา่ ง
รายงานทีเราพิมพ์ใน Word เพอื เตรียมส่งอาจารย์ หรือเอกสารรายงานตา่ งๆ ทีได้จดั ทํา
เรียบร้อยแล้ว นนั ก็คือ eBook ประเภทหนงึ เพยี งแตเ่ ราไมน่ ยิ มนําไป ใช้งาน เพราะผ้ใู ช้
สามารถแก้ไขเนือหาได้นนั เอง ซงึ เราไมต่ ้องการให้เป็นอย่างนนั
เมอื เนือหาทีจะนําไปสร้าง eBook เป็นเรืองพนื ฐานทีสดุ สําคญั ทีสดุ ไมว่ ่าจะสร้าง eBook
ประเภทใดก็ตาม เราจึงต้องเตรียมเนือหาให้เรียบร้อยเสยี ก่อน หรือทําเป็นหนงั สือ หรือรายงานหรือ
เอกสาร ทีมีความ สมบรู ณ์พร้อมทีจะนําไปสร้างเป็น eBook ประเภทต่างๆ นนั เอง เชน่ การ
สร้างเป็น eBook แบบ PDF ก็เพยี งแตใ่ ช้โปรแกรม CUTEFDF บนั ทกึ เป็นไฟล์แบบ
PDF ได้ทนั ที หรือจะสร้างเป็น eBook แบบ ePub ก็ใช้ โปรแกรม Mobipocket
Creator หรือจะสร้าง eBook แบบพลิกหน้ากน็ ําเนือหาไปสร้างด้วยโปรแกรม
FlipAlbum เป็นต้น
การสร้างอีบุ๊คแบบ PDF
เมอื มีเนือหาทีเราพร้อมจะสร้างเป็น eBook แล้ว ขนั ตอนการสร้างก็งา่ ยมากๆ
โดยเฉพาะการสร้าง eBook แบบ PDF ซงึ ถือว่างา่ ยทีสดุ ในสามโลก
ขนั ตอนการสร้าง
1. จดั รูปเลม่ ของหนงั สอื อาจใช้โปรแกรม Word หรือ Publisher ก็ได้ ปกตหิ าก
เราพิมพ์เนือหาด้วย Word อยแู่ ล้ว กเ็ พยี งแตต่ ิดตงั โปรแกรม CUTEPDF ก็
พร้อมจะสร้าง eBook ได้ทนั ที
2. การใช้โปรแกรม Word หรือ Publisher จะชว่ ยแก้ปัญหาเรืองสระลอยใน
ไฟลอ์ ีบ๊คุ ได้ ถ้าเป็น PageMaker หรือ Adobe Indesign จะต้องตดิ ตงั
โปรแกรมช่วยจดั การกบั ภาษาไทยลงไปก่อน
3. หลงั จากจดั รูปเลม่ ได้ตามต้องการแล้ว กจ็ ะใช้โปรแกรมแปลงเป็นไฟล์แบบ PDF
เชน่ CutePDF Printer
4. กจ็ ะได้ไฟล์แบบ PDF ตามต้องการ
5. เพือความสวยงามของการจดั ทํารูปเลม่ ควรศึกษาโปรแกรมตกแตง่ ภาพอย่าง
Photoshop เพือออกแบบภาพสวยๆ มาประกอบหนังสือ และศกึ ษาการใช้
Publisher เพือจดั รูปเลม่ หนงั สือให้สวยงาม และ CutePDFPrinter
ศกึ ษา 3 โปรแกรมนีกเ็ พียงพอแล้ว สําหรับการทําอีบ๊คุ แบบ PDF
การสร้าง eBook แบบ ePub
eBook แบบนีจะใช้กบั เครืองอา่ นอบี ๊คุ อยา่ ง Amazon Kindle หรือ
iPhone/iPad การสร้างก็ไมย่ งุ่ ยาก เพระาใช้การแปลงเนือหาทีเราได้พิมพ์ไว้ โดย
ทําเป็นไฟล์แบบ Txt พร้อมข้อความประกอบให้เรียบร้อย แล้วนําเข้า ไปแปลงเป็น
eBook แบบ ePub ด้วย Mobipocket Creator กรณขี องการทาํ
eBook เพือจําหนา่ ย เวบ็ ไซต์ทีทําหน้าทีขาย eBook หลายแหง่ มีบริการจดั การ
ทํา eBook ให้เรียบร้อยเลย โดยจะนําไฟลข์ ้อความและภาพ ประกอบไปบนั ทกึ เป็น
eBook ให้เสร็จสรรพ เราไมต่ ้องทําอะไร
การสร้างอีบุ๊คแบบมลั ตมิ เิ ดีย
เป็นอบี ๊คุ ทีต้องใช้ความรู้ความสามารถมากจริงๆ ต้องเรียนรู้ต้องศกึ ษาโปรแกรมต่างๆ
หลายโปรแกรมเลยทีเดียว
1. ในสว่ นการทําเสียงดนตรีหรือเสียงประกอบในอบี ๊คุ อาจใช้คีย์บอร์ดสร้างดนตรีเอง
ด้วยโปรแกรม Cakewalk เพือทําไฟล์เสียงแบบ midi
2. อาจค้นหาไฟล์เสยี งสําเร็จรูปมาตดั ตอ่ เอง เชน่ ใช้โปรแกรม Sound
Recorder, Nero Soundtrax เพือทําเสียงแบบ wav เป็นเสียงแบค
กราวน์ ของอบี ๊คุ หรือเสียงให้กบั เหตกุ ารณ์ต่างๆ
3. หน้าตาอบี ๊คุ และภาพประกอบทีคอ่ นข้างสวยงาม ต้องพงึ พาความสามารถในการ
แตง่ ภาพด้วย Photoshop
4. การทาํ อีบ๊คุ ทีสามารถเคลือนไหวได้ ต้องทําด้วยโปรแกรม Flash ต้องศึกษา
โปรแกรมนี
5. ถ้าจะทําเสียงบรรยายประกอบในหนงั สือ เป็นตวั เลอื กสาํ หรับผ้มู ีปัญหาทางร่างกาย
ตาบอด หรือเดก็ เลก็ ๆ ทียงั อา่ นหนงั สือเองไมไ่ ด้ ก็อดั เสียงบรรยายเข้าไป ต้องใช้
โปรแกรมช่วยในการบนั ทกึ เสียง มีไมโครโฟน มีมิกเซอร์ และการ์ดเสยี งดีๆ
ข้อดีของ e-Book
1. อา่ นทีไหน เมือไหร่ ได้ตลอดเวลา เนืองจากพกไปได้ตลอดและได้จํานวนมาก
2. ประหยดั การตดั ไม้ทําลายป่า เพราะไม่ต้องตดั ไม้มาทาํ กระดาษ
3. เก็บรักษาได้งา่ ย ประหยดั เนือทีในการจดั เก็บ ประหยดั คา่ เกบ็ รักษา
4. ค้นหาข้อความได้ ยกเว้นว่าอยใู่ นลกั ษณะของภาพ
5. ใช้พืนทีน้อยในการจดั เก็บ (cd 1 แผน่ สามารถเก็บ e-Book ได้
ประมาณ 500 เลม่ )
6. อา่ นได้ในทีมืด หรือแสงน้อย
7. ทําสําเนาได้งา่ ย
8. จาํ หนา่ ยได้ในราคาถกู กวา่ ในรูปแบบหนงั สือ
9. อา่ นได้ไมจ่ ํากดั จาํ นวนครัง เพราะไม่ยบั หรือเสียหายเหมอื นกระดาษ
10. สะดวกสบาย ไม่ต้องเดนิ ทาง แค่คลกิ เดียวกส็ ามารถเลือกอา่ นหนงั สือทีต้องการได้
ทนั ที
11. เป็นสว่ นหนึงในการรักษาธรรมชาติ โดยลดการใช้กระดาษกับ True e-
Book
ข้อเสียของ e-Book
1. ต้องอาศยั พลงั งานในการอ่านตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าหรือแบตตารี
2. เสียสขุ ภาพสายตา จากการได้รับแสงจากอุปกรณ์อเิ ล็คทรอนิกส์
3. ขาดความรู้สกึ หรืออรรถรส หรือความคลาสสิค
4. อาจเกิดปัญหากบั การ ลง hardware หรือ software ใหมห่ รือแทนที
อนั เก่า
5. ต้องมกี ารดแู ลไฟล์ให้ดี ไมใ่ ห้เสียหรือสญู หาย
6. การอา่ นอาจเกิดอนั ตรายตอ่ สายตา
7. เกิดการละเมิดลขิ สทิ ธิได้งา่ ย
8. ไมเ่ หมาะกบั บาง format เชน่ รูปวาด รูปถา่ ย แผนทีใหญ่ เป็นต้น
จบ จบแล้วค้าบ