The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สอบปลายภาค 1-64(1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aoaaoazoz, 2021-12-17 01:39:23

งานครับ

สอบปลายภาค 1-64(1)

คำนำ

รำยงำนเล่มนเ้ี ป็ นส่วนหน่ึงของวิชำ พทุ ธประวตั ิ ธรรมมะ วินัย

ช้ันมธั ยมศกึ ษำป่ี ท่ี 2 ห้อง 2 ภำคเรียนที่ 2 เพ่ือให้ได้ศึกษำหำควำมรู้

ในเรื่อง พทุ ธประวัติ และได้ศึกษำอย่ำงเข้ำใจเพื่อประโยชน์แก่นักนักเรียน

ผู้จัดทำหวงั ว่ำรำยงำนเล่มนจ้ี ะเป็ นประโยชน์กบั ผ้อู ่ำน หรือ
นักเรียน นกั ศกึ ษำ ท่ีกำลงั หำข้อมูลเร่ืองนอี้ ยู่หำกมี ข้อแนะนำหรือ
ข้อผดิ พลำดประกำรใด ผู้จัดทำขอน้อมไว้รับไว้และขออภยั มำ ณ ท่ีนี้

สำมเณรอัครเดช ลงุ สุ

คณะจดั ทำ

สารบญั

ความป็นมาพทุ ธประวตั ิ หนา้ ที
ประสูตร
วยั เดก็ 3
เสดจ็ ออกผนวช 4
ตรัสรู้ 5
ปฐมเทศนา 6 -7
ลกั ษณะการแสดงธรรม/แสดงธรรมโปรดยสกุลบตุ ร 8-9
การส่งสาวกออกประกาศศาสนา/การประดิษฐ์พุทธศาสนา 10-12
พระสารีบุตรและพระโกลิตะ 13
โอวาทปาติโมกข์ 14
โปรดพทุ ธบดิ า/การประดิษฐ์พทุ ธศาสนา (ต่อ) 15
ปัจฉิมกาล/ประโยชน์ของการเรียนพุทธประวตั ิ 16
17-18
19

1.ประสูติ

- พระพุทธเจา้ มีพระนามเดิมว่า "สิทธตั ถะ" เป็นพระราชโอรสของพระเจา้ สุทโธทนะ
กษตั ริยผ์ คู้ รองกรุงกบลิ พสั ดุ์ แควน้ สกั กะ ซ่ึงปัจจุบนั ต้งั อยทู่ างภาคใตข้ องประเทศเนปาล
พระราชมารดาทรงพระนามวา่ "พระนางสิริมหามายา" ซ่ึงเป็นพระราชธิดาของกษตั ริย์
ราชสกลุ โกลยิ วงศแ์ ห่งกรุงเทวทหะ แควน้ โกลยิ ะ
- เจา้ ชายสิทธตั ถะประสูตเิ มอ่ื 80 ปี กอ่ นพทุ ธศกั ราช ทสี่ วนลุมพนิ ีวนั ณ ใตต้ น้ สาละน้นั
ซ่ึงอยรู่ ะหว่างพรมแดนกรุงกบลิ พสั ดแุ์ ละกรุงเทวทหะ(ปัจจุบนั คอื ต.รุมมินเด ประเทศ
เนปาล) ไดม้ พี ราหมณ์ท้งั 8 ไดท้ านายวา่ เจา้ ชายสิทธตั ถะมีลกั ษณะเป็นมหาบุรุษ คอื ถา้
ดารงตนในฆราวาสจะไดเ้ ป็นจกั รพรรดิ ถา้ ออกบวชจะไดเ้ ป็นศาสดาเอกของโลก แต่โกณ
ฑญั ญะพราหมณ์ผูอ้ ายนุ อ้ ยทีส่ ุดในจานวนน้นั ยืนยนั หนกั แน่นว่า พระราชกมุ ารสิทธตั ถะ
จะเสดจ็ ออกบวชและจะไดต้ รสั รู้เป็นพระพุทธเจา้ แน่นอน
- ทนั ทีท่ีประสูติ ทรงดาเนินดว้ ยพระบาท 7 กา้ ว มีดอกบวั ผุดรองรบั ทรงเปลง่ พระวาจาว่า
"เราเป็นเลศิ ทสี่ ุดในโลก ประเสริฐที่สุดในโลก การเกิดคร้งั น้ีเป็นคร้งั สุดทา้ ยของเรา"

เจ้ำชำยสิทธตั ถะประสูติ

2.วัยเดก็

- หลงั ประสูติได้ 7 วนั พระนางสิริมหามายาสิ้นพระชนม์ จึงทรงอยใู่ นความดแู ล
ของพระนางปชาบดีโคตมี ซ่ึงเป็นพระกนิษฐาของพระนางสิริมหามายา

- ศกึ ษาเล่าเรียนจนจบระดบั สูงของการศกึ ษาทางโลกในสมยั น้นั คอ์ ศลิ ปศาสตร์
ถงึ 18 ศาสตร์ ในสานกั ครูวิศวามติ ร

- พระบิดาไม่ประสงคจ์ ะใหเ้ จา้ ชายสิทธตั ถะเป็นศาสดาเอก จึงพยายามใหส้ ิทธตั
ถะพบแต่ความสุขทางโลก เช่น สร้างปราสาท 3 ฤดู และเมื่ออายุ 16 ปี ไดใ้ ห้
เจา้ ชายสิทธตั ถะอภิเษกกบั นางพมิ พาหรือยโสธรา ผเู้ ป็นพระธิดาของพระเจา้ กรุง
เทวทหะซ่ึงเป็นพระญาติฝ่ ายพระมารดา

- เมื่อมีพระชนมายุ 29 ปี พระนางพมิ พาก็ใหป้ ระสูติ ราหุล (บ่วง)

3.เสดจ็ ออกผนวช

- เม่อื ทอดพระเนตรเห็นคนแก่ คนเจบ็ คนตาย และสมณตามลาดบั จึงทรงคดิ ว่า
ชีวิตของทกุ คนตอ้ งตกอยใู่ นสภาพเช่นน้นั ไมม่ ีใครหลกี เลี่ยงได้ จึงเกิด
แนวความคิดว่า

-ธรรมดาในโลกน้ีมีของคกู่ นั อยู่ เช่น มรี ้อนก็ตอ้ งมเี ยน็ , มีทกุ ขค์ อื เกิด แก่ เจบ็
ตาย กต็ อ้ งมีท่ีสุดทกุ ข์ คอื ไมเ่ กิด ไมแ่ ก่ ไมเ่ จ็บ ไม่ตาย

-ทรงเห็นความสุขทางโลกเป็นเพยี งมายา ความสุขในกามคุณเป็นความสุข
จอมปลอม เป็นเพียงภาพมายาที่ ชวนใหห้ ลงวา่ เป็นความสุขเท่าน้นั ในความจริง
แลว้ ไม่มีความสุข ไมม่ ีความเพลดิ เพลนิ ใดทไ่ี ม่มคี วามทุกขเ์ จือปน

-วิถที างทจี่ ะพน้ จากความทุกขข์ องชีวิตเช่นน้ีได้ หนทางหลดุ พน้ จากวฏั สงสาร
จะตอ้ งสละเพศผคู้ รองเรือนเป็นสมณะ

- ส่ิงทท่ี รงพบเห็นเรียกวา่ "เทวทูต(ทตู สวรรค)์ " จึงตดั สินพระทยั ทรงออกผนวช
ในวนั ท่พี ระราหุลประสูตเิ ลก็ นอ้ ย พระองคท์ รงมา้ กณั ฐกะออกผนวช มีนาย
ฉนั ทะตามเสด็จ โดยมงุ่ ตรงไปที่แมน่ ้าอโนมานที ทรงตดั พระเกศา และเปล่ียน
เครื่องทรงเป็นผา้ กาสาวพกั ตร์ (ผา้ ยอ้ มดว้ ยรสฝาดแห่งตน้ ไม้) ทรงเปล้อื งเคร่ือง
ทรงมอบใหน้ ายฉนั นะนากลบั พระนคร การออกบวชคร้งั น้ีเรียกว่า การเสด็จออก
มหาภเิ นษกรมณ์ (การเสดจ็ ออกเพ่อื คณุ อนั ยงิ่ ใหญ่)

- หลงั จากทรงผนวชแลว้ จึงทรงมงุ่ ไปทแ่ี มน่ ้าคยา แควน้ มคธ เพอ่ื คน้ ควา้ ทดลอง
ในสานกั อาฬารดาบส กาลามโครตร และอทุ กดาบส รามบุตร เม่ือเรียนจบท้งั สอง
สานกั (บรรลุฌาณช้นั ทแ่ี ปด) กท็ รงเห็นว่าไมใ่ ช่ทางพน้ ทกุ ขต์ ามท่มี งุ่ หวงั ไว้

- จากน้นั จึงเสด็จไปทีแ่ ม่น้าเนรญั ชรา ในตาบลอรุ ุเวลาเสนานิคม (ปัจจุบนั น้ีสถาน
ทีน่ ้ีเรียกว่า ดงคศิริ) เมอ่ื บาเพญ็ ทุกรกิริยา โดยขบฟันดว้ ยฟัน กล้นั หายใจและอด
อาหาร หลงั จากทดลองมา 6 ปี กย็ งั ไมพ่ บทางพน้ ทุกข์ จึงทรงเลิกบาเพญ็ ทกุ ร
กิริยา หนั มาบารุงพระวรกายโดยปกติตามพระราชดาริว่า "เหมือนสายพิณควรจะ
ขงึ พอดีจึงจะไดเ้ สียงท่ไี พเราะ"

ซ่ึงพระอนิ ทร์ไดเ้ สดจ็ ลงมาดีดพณิ ถวาย พิณสายหน่ึงขึงไวต้ งึ เกินไป พอถกู ดีดก็
ขาดผึงออกจากกนั จึงพิจารณาเห็นทางสายกลางวา่ เป็นหนทางที่จะนาไปสู่พระ
โพธิญาณได้

- ระหว่างที่ทรงบาเพญ็ ทุกรกิริยา ปัญจวคั คยี ์ (โกญฑญั ญะ วปั ปะ ภทั ทยิ า มหานา
มะ อสั สชิ) มาคอยปรนนิบตั ิพระองคโ์ ดยหวงั ว่าจะทรงบรรลุธรรมวเิ ศษ เม่ือ
พระองคเ์ ลิกบาเพญ็ ทกุ รกิริยา ปัญจวคั คียจ์ ึงหมดศรัทธา พากนั ไปอยทู่ ่ปี ่ าอิสิปตน
มฤคทายวนั เมอื งพาราณสี (ต.สารนาถ)

4.ตรัสรู้ (15 คำ่ เดือน 6)

- ขณะมีพระชนมายไุ ด้ 35 พรรษา ในวนั ท่ีพระองคต์ รสั รู้ นางสุชาดาไดถ้ วายขา้ ว
มธุปายาส(หุงดว้ ยนม) ใตต้ น้ ไทร เมอ่ื เสวยเสร็จแลว้ ทรงลอยถาดทองในแมน่ ้า
เนรญั ชรา ทรงอธิษฐานเสี่ยงพระบารมีวา่ ...

ถา้ อาตมาจะไดต้ รสั แก่พระปรมาภเิ ษกสัมโพธิญาณแลว้ ขอใหถ้ าดน้ีจงลอยทวน
กระแสน้าข้นึ ไป ถาดทองน้นั ลอยทวนกระแสน้าข้นึ ไป ๑ เสน้ แลว้ ก็จมลงตรง
นาคภพพิมานแห่งพญากาฬนาคราช พระองคท์ รงโสมนสั และแน่พระทยั ว่าจะได้
ตรสั รู้ เป็นพระสัพพญั ญูสัมพุทธเจา้ โดยหาความสงสยั มิได้

- ในเวลาเยน็ โสตถยิ ะใหถ้ วายหญา้ คา 8 กามือ ปลู าดเป็นอาสนะ ณ โคนใตต้ น้
โพธิ ตาบลอุรุเวลาเสนานิคม ริมฝั่งแม่น้าเนรัญชรา (ปัจจุบนั คือ ต.พทุ ธคยา
ประเทศอนิ เดีย)

- ทรงต้งั พระทยั แน่วแน่ว่าจะบรรลโุ พธิญาณ ประทบั หนั พระพกั ตร์ไปทางทศิ
ตะวนั ออก

- ทรงบรรลรุ ูปฌาณท้งั 4 ช้นั แลว้ ใชส้ ตปิ ัญญาพจิ ารณาจนเกิดความรู้แจง้ คอื

1.) เวลาปฐมยาม ทรงไดป้ พุ เพนิวาสานุสตญิ าณ คอื ความรู้เป็นเหตุใหร้ ะลกึ ชาติ
ได้

2.) เวลามชั ฌมิ ยาม ทรงไดจ้ ตุ ูปปาตญาณ(ทิพยจกั ษุญาณ)คือรู้เรื่องเกิด-ตายของ
สัตวท์ ้งั หลายวา่ เป็นไปตามกรรมท่ตี นกระทาไว้

3.) เวลาปัจฉิมยาม ทรงได้ อาสวกั ขยญาณ คอื ความรู้ทีท่ าใหส้ ิ้นอาสวะหรือกิเลส
หมายถึง ตรัสรู้อริยสัจ4- อาสวกั ขยญาณ ทท่ี รงไดท้ าใหท้ รงพิจารณาถึงขนั ธ์ 5
และใช่แห่งความเป็นเหตทุ ่ี เรียกวา่ ปฏิจจสมุปบาท อนั เป็นตน้ ทางให้เขาถึง
อริยสัจ 4

- เมอื่ พระองคท์ รงรูเ้ ห็นแลว้ จึงละอปุ าทานและตรสั รู้เป็นพระสัมมาสมั พุทธ
เจา้ ฃล

5.ปฐมเทศนำ

- หลงั จากที่ตรสั รู้แลว้ ไดพ้ ิจารณาธรรมทพี่ ระองคต์ รัสรู้เป็นเวลา 7 สปั ดาห์ ทรง
เห็นวา่ พระธรรมท่พี ระองคท์ รงบรรลุน้นั มีความละเอียดออ่ น สุขมุ คมั ภรี ภาพ ยาก
ต่อบคุ คลจะรู้ เขา้ ใจและปฏิบตั ไิ ด้ ทรงเกิดความทอ้ พระทยั วา่ จะไม่แสดงธรรม
โปรดมหาชน ต่อมาทา่ นไดท้ รงพจิ ารณาอยา่ งลึกซ้ึง แลว้ ทรงเห็นวา่ บคุ คลในโลก
น้ีมหี ลายจาพวก บางพวกสอนได้ บางพวกสอนไม่ได้ เปรียบเสมอื นบวั ๔ เหลา่
ดงั น้นั แลว้ จึงดาริทจ่ี ะแสดงธรรมเพือ่ มวลมนุษยชาติต่อไป

บวั ๔ เหลา่ ไดแ้ ก่

๑.พวกทม่ี สี ตปิ ัญญาฉลาดเฉลียว เป็นสัมมาทิฏฐิ เมอื่ ไดฟ้ ังธรรมก็สามารถรู้ และ
เขา้ ใจในเวลาอนั รวดเร็ว เปรียบเสมือนดอกบวั ท่ีอยพู่ น้ น้า เมอื่ ตอ้ งแสงอาทติ ยก์ ็
เบ่งบานทนั ที (อุคฆฏติ ญั ญู)

๒.พวกที่มีสตปิ ัญญาปานกลาง เป็นสัมมาทฏิ ฐิ เมือ่ ไดฟ้ ังธรรมแลว้ พิจารณาตาม
และไดร้ บั การอบรมฝึกฝนเพ่ิมเตมิ จะสามารถรู้และเขา้ ใจไดใ้ นเวลาอนั ไม่ชา้
เปรียบเสมอื นดอกบวั ทอ่ี ยปู่ ริ่มน้าซ่ึงจะบานในวนั ถดั ไป (วปิ ัจจิตญั ญู)

๓.พวกทีม่ สี ตปิ ัญญานอ้ ย แตเ่ ป็นสัมมาทฏิ ฐิ เม่ือไดฟ้ ังธรรมแลว้ พจิ ารณาตามและ
ไดร้ ับการอบรมฝึกฝนเพ่ิมอยเู่ สมอ มีความขยนั หมน่ั เพียรไม่ยอ่ ทอ้ มีสตมิ น่ั ประ
กอยดว้ ยศรทั ธา ปสาทะ ในท่สี ุดกส็ ามารถรูแ้ ละเขา้ ใจไดใ้ นวนั หน่ึงขา้ งหนา้

เปรียบเสมอื นดอกบวั ทอี่ ยใู่ ตน้ ้า ซ่ึงจะคอ่ ยๆ โผล่ข้นึ เบง่ บานไดใ้ นวนั หน่ึง (เนย
ยะ)

๔.พวกทีไ่ ร้สติปัญญา และยงั เป็นมิจฉาทิฏฐิ แมไ้ ดฟ้ ังธรรมก็ไม่อาจเขา้ ใจ
ความหมายหรือรู้ตามได้ ท้งั ยงั ขาดศรัทธาปสาทะ ไร้ซ่ึงความเพียร เปรียบเสมอื น
ดอกบวั ทจี่ มอยกู่ บั โคลนตม ยงั แตจ่ ะตกเป็นอาหารของเตา่ ปลา ไมม่ ีโอกาสโผล่
ข้นึ พน้ น้าเพือ่ เบ่งบาน (ปทปรมะ)

จึงทรงมีพระกรุณาธิคุณ ระลึกอาฬารดาบสและอุททกดาบสวา่ มกี ิเลสเบาบาง
สามารถตรสั รู้ไดท้ นั ที แต่ท่านท้งั 2 ไดต้ ายแลว้ จึงทรงระลกึ ถงึ ปัญจวคั คยี ์
(ประกอบดว้ ย พระโกณฑญั ญะ พระวปั ปะ พระภทั ทยิ ะ พระมหานาม และ
พระอสั สชิ) จึงเสดจ็ ไปทป่ี ่ าอสิ ปตนมฤคทายวนั เมอื งพาราณสี แควน้ กาสี
ปัจจุบนั คือสารนาถ เมืองพาราณสี ในวนั ข้ึน 15 เดือน 8 จึงทรงปฐมเทศนา"

ธมั มจกั กปั ปวตั ตนสูตร (แปลว่าสูตรของการหมุนวงลอ้ แห่งพระธรรมให้
เป็ นไป)"

ซ่ึงใจความ 3 ตอน คอื

1.) ทรงช้ีทางผดิ อนั ไดแ้ กก่ ามสุขลั ลิกานุโยค(การประกอบตนใหช้ ุ่มอยดู่ ว้ ยกาม)
และอตั ตกิลมถานุโยค(การทรมานตนให้ลาบาก) วา่ เป็นส่วนสุดท่ีบรรพชิตไม่

ควรดาเนิน แตเ่ ดินทางสายกลางทเี่ รียกว่า มชั ฌิมาปฏปิ ทา คอื มรรคมอี งคแ์ ปด
เป็ นไปเพ่ือพระนิพพาน

2.) ทรงแสดงอริยสัจ 4 โดยละเอยี ด

3.) ทรงปฏิญญาวา่ ทรงตรสั รู้พระองคเ์ อง และไดบ้ รรลุธรรมวเิ ศษแลว้

- โกญฑญั ญะเป็นผไู้ ดธ้ รรมจกั ษกุ ่อน เกิดความเขา้ ใจแจ่มแจง้ ตามสภาพเป็นจริง
ว่า

ย กิญฺจิ สมทุ ยธมฺม สพฺพนฺต นิโรธธมฺมนฺติ

สิ่งใดสิ่งหน่ึงมเี กิดข้ึนเป็นธรรม สิ่งน้นั ท้งั หมดมีดบั เป็นธรรมดา

จึงไดอ้ ุปสมบทเป็น เอหิภิกขอุ ปุ สัมปทาองคแ์ รก

- หลงั จากปัญจวคั คียอ์ ปุ สมบทแลว้ พทุ ธองคจ์ ึงทรงเทศน์ อนตั ตลกั ขณสูตร ปัญจ
วคั คียจ์ ึงสาเร็จเป็นอรหนั ต์

6.ลักษณะกำรแสดงธรรม

- สาหรบั ผูท้ ่ไี มม่ พี ้ืนฐานทางธรรมมากอ่ นจะทรงเทศน์ "อนุปุพพกิ ถา" ซ่ึงว่าดว้ ย
เรื่อง

- คุณของการใหท้ าน การรักษาศีล - สวรรค์ (การแสวงสุขเนื่องจากการให้ทาน
การให้ศลี ) - โทษของกามและการปลกี ตวั ออกจากกาม - จากน้นั จึงทรงเทศน์
อริยสจั 4

7.แสดงธรรมโปรดยสกลุ บตุ ร

- ยสกุลบุตรเบอ่ื หน่ายชีวติ ครองเรือนหนีออกจากบา้ น ไปยงั ป่ าอิสปตน
มฤคทายวนั ในเวลาเชา้ มดื แลว้ พบพระพุทธเจา้ บงั เอญิ ยสกลุ บุตรสดบั พระธรรม
เทศนาไดด้ วงตาเห็นธรรม ไดต้ รสั รู้เป็นพระอรหนั ต์ และขอบวช

- อุบาสิกอุบาสิกาค่แู รก คอื บดิ ามารดาของพระยสะ - คร้นั แลว้ มเี พื่อนของพระย
สะ 4 คนกบั อกี 50 คน ไดม้ าฟังพระธรรมเทศนา สาเร็จเป็นพระอรหนั ต์ จึงมีพระ
อรหนั ตใ์ นโลก 61 องค์

8.กำรส่งสำวกออกประกำศศำสนำ

- ตรัสเรียกสาวกออกประกาศศาสนา เมอื่ มสี าวกครบ 60 รูป

(ปัญจวคั คยี แ์ ละพวกพระยสะ)

- ตรัสใหพ้ ระสาวก 60 รูปแยกยา้ ยกนั ประกาศศาสนา 60 แห่งไมซ่ ้าทางกนั -
พระองคจ์ ะเสด็จไปแสดงธรรม ณ ตาบลอรุ ุเวลา เสนานิคม - เมอ่ื สาวกออก
ประกาศเทศนา มีผตู้ อ้ งการบวชมาก และหนทางไกลกนั จึงทรงอนุญาตให้สาวก
ดาเนินการบวชได้ โดยใชว้ ธิ ีการ "ติสรณคมนูปสมั ปทา" (ปฏิญาณตนเป็นผถู้ ึง
พระรตั นตรัย)

9.กำรประดษิ ฐ์พุทธศำสนำ ณ แคว้นมคธ

- วิธีเผยแพร่ ศาสนาในกรุงราชคฤห์ ทรงเทศนโ์ ปรดชฎิล(นกั บวชเกลา้ ผม)สามพี่
นอ้ ง ไดแ้ ก่ พระอรุ ุเวลกสั สปะ พระนทีกสั สปะ พระคยากสั สปะ และบริวาร รวม
1,000 คนกอ่ น แลว้ ไดข้ อบวชในพระพุทธศาสนา เพราะพวกชฎิลเป็นเจา้ ลทั ธิ
บชู าไฟทีย่ ง่ิ ใหญ่ หากชฎิลยอมรบั พทุ ธธรรมได้ ประชาชนก็ยอ่ มเกิดความศรัทธา

- พระอรุ ุเวลกสั สปะไดย้ กยอ่ งว่าเป็นผเู้ ลิศในทางมีบริษทั (บริวาร)มาก - พระ
เจา้ พิมพิสารทรงถวายวดั นบั วา่ เป็นวดั แห่งแรกในพระพุทธศาสนา คอื พระเวฬุ
วนั มหาวิหาร (วดั เวฬุวนั )

10.อุปติสสะ(พระสำรีบุตร)และโกลิตะ(พระโมคคัลลำนะ)

- ณ กรุงราชคฤห์น้ีเอง เด็กหนุ่มสองคน ซ่ึงเป็นศิษยข์ องนกั ปรชั ญาเมธี ผมู้ ชี ื่อเสียงคน
หน่ึงชื่อ สัญชยั เวลฏั ฐบตุ ร โดยพระอสั สชิไดแ้ สดงธรรมใหอ้ ปุ ติสสะวา่

"ทกุ สิ่งจากเหตุ พระศาสดาทรงแสดงเหตุของสิ่งเหล่าน้นั และการดบั เหตุของส่ิง
เหล่าน้นั "

อปุ ติสสะไดฟ้ ังกเ็ กิด "ดวงตาเห็นธรรม" จึงกราบลาทา่ น แลว้ รีบไปบอกขอ้ ความที่ตนได้
ฟังมาแก่โกลิตะทราบ โกลิตะไดฟ้ ังกเ็ กิด"ดวงตาเห็นธรรม" เดก็ หนุ่มสองคนจึงมาขอบวช
เป็นสาวกพร้อมกนั และมีช่ือเรียกทางพระศาสนาว่า พระสารีบตุ ร และ พระโมคคลั ลานะ
ตามลาดบั

- หลงั จากบวชได้ 7 วนั พระโมคคลั ลานะไดไ้ ปบาเพญ็ สมาธิอยทู่ ่ี กลั ลวาลมุตตคาม ใกล้
เมอื งมคธ รู้สึกงว่ งเหงาหาวนอน แกอ้ ยา่ งไรก็ไมห่ าย จนพระพทุ ธเจา้ เสด็จไปตรัสบอกวธิ ี
เอาชนะความง่วงให้ พร้อมประทานโอวาทวา่ ดว้ ยความไมย่ ึดมนั่ ถอื มน่ั ให้ใชป้ ัญญา
พจิ ารณาเวทนา (ความรู้สึก) ท้งั หลายวา่ เป็นอนิจจงั ไม่เที่ยงแทแ้ น่นอน จบพทุ ธโอวาท
พระโมคคลั ลานะกไ็ ดบ้ รรลเุ ป็นพระอรหนั ต์ - หลงั จากบวชได้ 15 วนั พระสารีบุตรได้
ถวายงานพดั พระพุทธเจา้ ขณะพระองคท์ รงแสดงธรรมโปรดทีฆนขะปริพาชก (นกั บวช
ไวเ้ ลบ็ ยาว) อยทู่ ่ถี ้าสุกรขาตา เชิงเขาคชิ ฌกูฏ ทา่ นพดั วพี ระพทุ ธองคพ์ ลางคิดตามพระ
โอวาทของพระพทุ ธเจา้ ไปดว้ ย เมอื่ จบพระธรรมเทศนาก็ไดบ้ รรลเุ ป็นพระอรหนั ต์ - ท้งั
สองท่านไดร้ ับแต่งต้งั จากพระพทุ ธเจา้ ให้เป็นพระอคั รสาวก โดยพระสารีบุตรเป็นพระ
อคั รสาวกเบ้ืองขวา มีความเป็นเลศิ กว่าผอู้ ื่นทางปัญญา และพระโมคคลั ลานะเป็นพระ
อคั รสาวกเบ้ืองซ้าย มีความเป็นเลศิ กว่าผอู้ ่ืนทางฤทธ์ิมาก

11.โอวำทปำติโมกข์

- วนั ข้นึ 15 ค่า เดือน 3 (มาฆบชู า) เกิดมีจตุรงคสันนิบาต ซ่ึงประกอบดว้ ย

1.)วนั น้นั เป็นวนั มาฆปูรณมี คือวนั เพญ็ ข้นึ ๑๕ คา่ กลางเดือนมาฆะ จึงเรียกวา่
มาฆบชู า

2.)พระภกิ ษุ ๑,๒๕๐ รูป มาประชุมกนั โดยมิไดน้ ดั หมาย

3.)พระภกิ ษทุ ้งั หมดลว้ นเป็นพระอรหนั ต์ ประเภทฉฬภิญญา คอื ไดอ้ ภิญญา ๖ ซ่ึง
หมายถึงความสามารถ พเิ ศษ ๖ ประการ ไดแ้ ก่ แสดงฤทธ์ิได้ ระลึกชาติได้ ตา
ทิพย์ หูทิพย์ กาหนดรู้ใจคนอน่ื ได้ และบรรลุอาสวกั ขยญาณ

(คอื ญาณหยงั่ รู้ในธรรมเป็นทส่ี ิ้นไปแห่งอาสวะท้งั หลาย)
4.)พระภิกษุ เหลา่ น้นั ท้งั หมด ไดร้ ับการอุปสมบทจากพระพุทธเจา้ โดยตรง (เอหิ
ภิกฺขอุ ุปสมฺปทา)

ทรงเทศน์ "โอวาทปาตโิ มกข"์ ซ่ึงถอื เป็นหวั ใจของศาสนาพุทธ ใจความวา่ " จงทา
ดี ละเวน้ ความชว่ั และทาใจให้บริสุทธ์ิ "
- พระสงฆป์ รารถว่าไมเ่ คยเห็นฝนเช่นน้ีมาก่อน พระพุทธจึงทรงเลา่ วา่ ฝนน้ีเคย
ตกมาแลว้ เมือ่ เสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดร แลว้ จึงทรงเล่าเร่ืองมหาเวสสันดร

12.โปรดพระพทุ ธบดิ ำและพระประยูรญำติ ณ กรุงกบลิ พสั ด์ุ

- ทรงแสดงธรรมโปรดพระพทุ ธบิดา (พระเจา้ สุทโธทนะ) ไดบ้ รรลุโสดาปัตติผล
สกทาคามิผล อนาคามิผล จนบรรลอุ รหนั ตผลเมอ่ื ใกลส้ วรรคต

- พระนนั ทะ (เป็นโอรสของพระสุทโธทนะกบั พระนางปชาบดีโคตมี) ซ่ึงเป็น
พระอนุชาของพระพทุ ธเจา้ พระพทุ ธเจา้ นา ออกผนวชอุปสมบท - ต่อมาพระนาง
ยโสธราก็ใหพ้ ระกมุ ารราหุลซ่ึงมีอายุ 7 ปี ไปทลู ขอราชสมบตั ิ พระพุทธเจา้ เห็นวา่
ราชสมบตั เิ ป็นสิ่งไม่จีรังยงั่ ยืน อริยทรัพย(์ ทรัพยอ์ นั ประเสริฐ)ต่างหากเป็นสิ่ง
ยงั่ ยืน จึงทรงใหพ้ ระสารีบุตรทาการบรรพชาใหร้ าหุลเป็นสามเณร จึงเป็น
สามเณรรูปแรกในพระพุทธศาสนา ณ นิโครธาราม พระเจา้ สุทโธทนะจึงขอร้อง
วา่ "ขออยา่ ให้ทรงบวชใคร โดยที่พอ่ แมเ่ ขายงั ไม่ไดอ้ นุญาต" เมอ่ื อายคุ รบ 20 ปี
ไดร้ บั การอปุ สมบทเป็นพระภิกษุ จากน้นั กส็ าเร็จเป็นพระอรหนั ตแ์ ละไดย้ กยอ่ ง
ว่าเป็นผเู้ ลิศในทางใคร่ต่อการศกึ ษา

- ทรงใหอ้ ุปสมบทแกเ่ จา้ ศากยะ 5 พระองค์ คอื พระอานนท์ พระอนุรุทธ์(เป็นผมู้ ี
เลิศในทางมีทพิ ยจกั ษุ) พระภทั ทิยะสักยราชา พระภคั คุ พระกิมพิละ และเจา้ โกลิ
ยะ 1 พระองค์ คือพระเทวทตั จนไดบ้ รรลอุ รหตั ผล 5 ทา่ น ยกเวน้ พระเทวทตั

- พระอบุ าลเี ป็นบุตรของช่างกลั บก(ช่างตดั ผม)อยใู่ นวรรณะต่า ไดร้ ับแต่งต้งั ให้
เป็นพนกั งานภูษามาลาของเจา้ ศากยะ ทาหน้าท่จี ดั การดูแลเครื่องแตง่ กาย เม่ือเจา้
ศากยะ 5 พระองค์ และเจา้ โกลิยะ 1 พระองคท์ รงออกผนวช อบุ าลไี ดต้ ิดตามไป

ขออปุ สมบทดว้ ย พระอุบาลเี มือ่ ไดอ้ ปุ สมบทแลว้ ไมช่ า้ ก็บรรลอุ รหตั ผล และได้
ยกยอ่ งว่าเป็นผเู้ ลิศทาง ดา้ นผทู้ รงไวซ้ ่ึงพระวินยั

- พระนางปชาบดีโคตมี(พระนา้ ของพระพทุ ธเจา้ ) ไดผ้ นวชเป็นภกิ ษุณีรูปแรกใน
พระพทุ ธศาสนา โดยพระอานนทช์ ่วยกราบทูลขออนุญาตพระพทุ ธเจา้ สุดทา้ ยได้
บรรลพุ ระอรหนั ต์ และไดย้ กยอ่ งว่าเป็นผเู้ ลิศในทางรู้ราตรี

- โปรดใหพ้ ระนางยโสธราไดอ้ ปุ สมบทเป็นภกิ ษณุ ีช่ือพระนางภทั ทา กจั จานา จน
บรรลอุ รหตั ผล และไดย้ กยอ่ งว่าเป็นผเู้ ลศิ ในทางบรรลุอภญิ ญาใหญ่ (สามารถ
ระลกึ เหตกุ ารณ์ในกปั ป์ ตา่ งๆยอ้ นหลงั ไปไดม้ ากนบั ไม่ถว้ น)

13.กำรประดิษฐ์พทุ ธศำสนำ ณ แคว้นโกศล

เมื่อประดิษฐานพระศาสนาในแควน้ มคธไดอ้ ยา่ งมน่ั คงแลว้ ตอ่ มาไมน่ าน
พระพทุ ธศาสนาก็มศี ูนยก์ ลางแห่งใหม่ท่ี เมอื งสาวตั ถี แควน้ โกศล โดยอนาถบิณ
ฑกิ เศรษฐี ไดส้ ร้าง"วดั พระเชตวนั "ข้ึน แลว้ กราบทูลอาราธนาพระพทุ ธเจา้ และ
พระสงฆไ์ ปอยปู่ ระจา และนางวสิ าขามหาอบุ าสิกาเศรษฐีนีคนหน่ึง ก็มจี ิตศรัทธา
สร้าง วดั บพุ พาราม ถวายดว้ ย

14.ปัจฉิมกำล

- ก่อนปรินิพพาน 3 เดือน ทรงปลงอายสุ งั ขาร
- ก่อนปรินิพพาน 1 วนั นายจุนทะถวายสุกรมทั ทวะ (หมูอ่อน) เม่อื พระองคเ์ สวย
แลว้ ประชวรพระอานนทโ์ กรธ พุทธองคจ์ ึงตรัสวา่

"บณิ ฑบาตทมี่ ีอานิสงส์ท่ีสุด มี 2ประการ คอื เมอื่ ตถาคต (พุทธองค)์ เสวย
บิณฑบาตแลว้ ตรสั รู้ ,ปรินิพพาน"
- ก่อนปรินิพพานทรงกล่าวพุทธโอวาทวา่
1.)การบูชาพุทธองคอ์ ยา่ งแทจ้ ริง คอื การปฎบิ ตั ธิ รรมใหส้ มควรแกธ่ รรม

2.)พทุ ธศาสนิกชนทตี่ อ้ งการเฝ้าพระองคค์ วรไปที่ "สงั เวชนียสถาน"

3.)การวางตวั ของภิกษุต่อสตรี ตอ้ งคมุ สติอยา่ แปรปรวนตามราคะตณั หา

4.)พระบรมสารีริกธาตเุ ป็นเรื่องของกษตั ริย(์ มลั ลกษตั ริย)์ มิใช่กิจของสงฆ์

5.)ความพลดั พรากเป็นธรรมดาของโลก

6.)ธรรมและวินยั จะเป็นศาสดาแทนพทุ ธองค์ ท้งั น้ีเพราะบุคคลไมเ่ ท่ยี งแทเ้ ทา่ กบั
พระธรรมซ่ึงเป็ นสัจธรรม
- ปัจฉิมสาวก คอื สุภทั ทะบริพาชก - ปัจฉิมโอวาท

"ดูกอ่ นภกิ ษทุ ้งั หลาย เราขอบอกเธอท้งั หลาย สงั ขารท้งั ปวงมีความเสื่อมสลายไป
เป็ นธรรมดา

พวกเธอจึงทาประโยชนต์ นเอง และประโยชน์ของผอู้ ืน่ ให้สมบรู ณด์ ว้ ยความไม่
ประมาทเถิด"

(อปปมาเทน สมปาเทต)

- ปรินิพพาน ข้นึ 15 ค่า เดือน 6 ใตต้ น้ สาละ ณ สาลวโนทยาน ของเหลา่ มลั ลกษตั
ริย์ เมืองกสุ ินารา แควน้ มลั ละ

พระชนมายุ 80 ปี ทรงเทศนาสง่ั สอนมาเป็นเวลา 45 ปี

รำยงำน
เร่ือง พุทธประวัติ

จัดทำโดย
สำมเณรอคั รเดช ลงุ สุ เลขท่ี 1

ช้ันมัธยมศึกษำปี่ ที่ 6/2
เสนอ

พระครูสิริมหำเจติญำนุกูล

รำยงำนนเ้ี ป็ นส่วนหนึ่งของกำรศึกษำวชิ ำ พทุ ธศำสนำ ธรรม
ภำคเรียนท่ี 2 ปี กำรศึกษำ 2564
โรงเรียนสำมัคควี ิทยำทำน

อำเภอเมืองเชียงใหม่ จงั หวัดเชียงใหม่

พุทธประวัติ คือ ประวตั ิ เร่ืองราวตา่ ง ๆ ของพระโคตมพุทธเจา้ ตลอด

ถึงเรื่องราวต่างของบุคคลและสถานที่ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั พระพทุ ธเจา้
พทุ ธประวตั ิท่ีเป็นหนงั สือหรือตารา นอกจากจะมเี น้ือหาท่ีประวตั ขิ อง

พระพทุ ธเจา้ แลว้ ยงั มเี น้ือหาที่เป็นประวตั ิพระสาวก ประวตั ิสถานท่ี
เหตกุ ารณแ์ ละประวตั ิศาสตร์พระพทุ ธศาสนาหลงั จากพระพทุ ธเจา้
ปรินิพพาน

พุทธประวตั ิรวบรวมไดจ้ ากพระไตรปิ ฎกโดยเก็บเน้ือหาซ่ึงกระจายอยู่
ในพระวนิ ยั บา้ ง พระสูตรบา้ ง มาจดั ลาดบั ให้เป็นเร่ืองราวติดตอ่ กนั ไปตาม
เหตุการณจ์ ริง นาเน้ือหาจากคมั ภีร์อรรถกถาเขา้ มาเสริมบา้ งเพื่อใหเ้ กิด
ความสมบรู ณ์ข้ึน

ประโยชน์ของกำรเรียนพทุ ธประวัติ

๑. ไดศ้ รทั ธา และปสาทะ
๒. ไดท้ ราบพระประวตั ขิ องพระองค์
๓. ไดท้ ราบพระจริยาวตั ร การประพฤติปฏบิ ตั ขิ องพระองค์
๔. ไดท้ ฏิ ฐานุคติ แบบแผนท่ีดีงาม
๕. นาไปประพฤตปิ ฏิบตั ิ เพอื่ ปรบั ปรุงชีวติ ของตนเอง
ขอขอบพระคณุ แหลง่ ท่มี าจาก
https://dhammaforlearner.blogspot.com/2015/09/BuddhaHistoryEpResult.html

จบการนาเสนอเพยี งเท่าน้ีครับผม

” โย โว ภกิ ฺขเว ม อุปฏฺ ฐเหยยฺ โส คลิ ำน อปุ ฏฺ ฐเหยยฺ “
” ผู้ใดปรำรถนำจะอุปัฏฐำกเรำตถำคต ผู้น้ันพงึ อุปัฏฐำกภิกษุผ้อู ำพำธเถดิ “

ผลกำรค้นหำ












Click to View FlipBook Version