The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่-8-การจัดการความเสี่ยง-ครูอานีสรา-1.64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aneesara, 2021-09-15 04:11:16

หน่วยที่-8-การจัดการความเสี่ยง-ครูอานีสรา-1.64

หน่วยที่-8-การจัดการความเสี่ยง-ครูอานีสรา-1.64

หนว่ ยที่ 8
การจัดการความเสีย่ ง (Risk Manangment)

จัดทาโดย
นางสาวอานสี รา โศภนะศกุ ร์
แผนกวิชาการจัดการสานักงาน

ความหมายของคาวา่ ความเสย่ี ง (Risk)

ความเสย่ี ง (Risk)
ความเสยี่ ง คือ โอกาสท่ีจะเกดิ ความผิดพลาด ความเสยี หาย การรัว่ ไหล

ความสญู เปลา่ หรือเหตกุ ารณท์ ่ไี มพ่ ึงประสงค์ หรือการกระทาใด ๆ ที่อาจเกดิ ขึ้น
ภายใตส้ ถานการณท์ ไี่ ม่แนน่ อน ซึง่ อาจเกดิ ข้ึนในอนาคตและมีผลกระทบหรอื ทาให้
การดาเนนิ งานไม่ประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายขององคก์ ร
ทง้ั ในดา้ นยุทธศาสตร์ การปฏิบตั งิ าน การเงินและการบริหาร

ความหมายของคาว่า การบรหิ ารความเสี่ยง

การบรหิ ารความเส่ียง คอื กระบวนการดาเนินงานขององคก์ รทีเ่ ปน็ ระบบ
และตอ่ เนื่อง เพือ่ ชว่ ยใหอ้ งค์กรลดมูลเหตขุ องแต่ละโอกาสทจี่ ะเกิดความ
เสียหาย ใหร้ ะดับของความเสยี หายและขนาดของความเสียหายที่จะเกดิ ขน้ึ ใน
อนาคต อยูใ่ นระดบั ทอ่ี งค์กรยอมรบั ได้ ประเมินได้ ควบคุมได้ และตรวจสอบได้
อยา่ งมีระบบ โดยคานึงถงึ การบรรลวุ ตั ถุประสงค์หรือเป้าหมายขององคก์ รเป็น
สาคญั

ความเสี่ยงจาแนกไดเ้ ป็น 4 ลักษณะ

ความเสี่ยงจาแนกได้เป็น 4 ลกั ษณะ ดงั น้ี
1) ความเส่ยี งทางดา้ นกลยทุ ธ์ (Strategic Risk : SR)
2) ความเสย่ี งทางด้านการเงนิ (Financial Risk : FR)
3) ความเสยี่ งทางด้านการปฏิบตั ิงาน (Operational Risk : OR)
4) ความเส่ยี งทางด้านกฎหมาย และข้อกาหนดผกู พนั องคก์ ร
(Compliance Risk : CR)

ความหมายปจั จยั ความเสี่ยง (Risk Factor)

ปัจจัยความเสย่ี ง หมายถงึ ตน้ เหตุ หรือสาเหตุทีม่ าของความเส่ยี ง ท่ีจะทาให้
ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ทีก่ าหนดไว้ โดยต้องระบไุ ด้ด้วยวา่ เหตกุ ารณน์ ัน้ จะเกิดทีไ่ หน
เม่อื ใดและจะเกดิ ข้ึนไดอ้ ย่างไรและทาไม ทงั้ นีส้ าเหตขุ องความเสีย่ งท่รี ะบคุ วรเปน็
สาเหตุทแ่ี ท้จรงิ เพอ่ื จะได้วิเคราะหแ์ ละกาหนดมาตรการความเส่ยี ง ในภายหลังได้
อย่างถูกตอ้ ง
ปัจจัยความเสีย่ งพิจารณาไดจ้ าก

1) ปัจจัยภายนอก เชน่ เศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง กฎหมาย ฯลฯ
2) ปัจจัยภายใน เชน่ กฎระเบยี บ ข้อบงั คบั ภายในองคก์ ร ประสบการณ์

ของเจ้าหน้าท่ี ระบบการทางาน ฯลฯ

การประเมนิ ความเสี่ยง (Risk Assessment)

การประเมินความเส่ียง หมายถึง กระบวนการระบคุ วามเสีย่ ง การวิเคราะห์ความเส่ียงและ
จัดลาดบั ความเสย่ี ง โดยการประเมินจากโอกาสทีจ่ ะเกดิ (Likelihood) และผลกระทบ (Impact)

1) โอกาสท่จี ะเกดิ (Likelihood) หมายถงึ ความถหี่ รือโอกาสทีจ่ ะเกิดเหตกุ ารณ์
ความเสี่ยง

2) ผลกระทบ (Impact) หมายถึง ขนาดความรนุ แรงของความเสียหายทจี่ ะเกิดขึน้
หากเกดิ เหตุการณค์ วามเส่ยี ง

3) ระดบั ของความเส่ียง (Degree of Risk) หมายถึง สถานะของความเสี่ยงทไ่ี ด้
จากประเมินโอกาสและผลกระทบของแตล่ ะปัจจยั เส่ยี งแบง่ เปน็ 5 ระดบั คือ
สงู มาก สงู ปานกลาง นอ้ ย และนอ้ ยมาก

การบรหิ ารความเสย่ี ง (Risk Management)

การบรหิ ารความเสย่ี ง หมายถงึ กระบวนการที่ใชใ้ นการบริหารจัดการใหโ้ อกาสทจี่ ะเกิดเหตุการณ์
ความเส่ยี งลดลงหรอื ผลกระทบของความเสยี หายจากเหตุการณ์ความเสีย่ งลดลงอยใู่ นระดบั ทอี่ งคก์ รยอมรบั ได
ซง่ึ การจัดการความเสย่ี งมหี ลายวิธีดงั นี้

1) การยอมรับความเสย่ี ง (Risk Acceptance) เป็นการยอมรับความเสีย่ งท่ีเกิดขึ้น เน่อื งจากไม่
คมุ้ คา่ ในการจัดการควบคมุ หรือปอ้ งกนั ความเสี่ยง

2) การลด/การควบคุมความเส่ียง (Risk Reduction) เปน็ การปรบั ปรุงระบบการทางานหรอื การ
ออกแบบวธิ ีการทางานใหม่เพื่อลดโอกาสท่ีจะเกดิ หรอื ลดผลกระทบใหอ้ ยใู่ นระดบั ทอี่ งคก์ รยอมรบั ได้

3) การกระจายความเสย่ี ง หรอื การโอนความเสย่ี ง (Risk Sharing) เป็นการกระจายหรอื ถา่ ยโอน
ความเสยี่ งใหผ้ อู้ ืน่ ชว่ ยแบง่ ความรับผดิ ชอบไป

4) เล่ยี งความเสย่ี ง (Risk Avoidance) เป็นการจดั การความเสยี่ งที่อยใู่ นระดบั สงู มากและหนว่ ยงาน
ไมอ่ าจยอมรบั ได้ จงึ ต้องตัดสินใจยกเลกิ โครงการ/กิจกรรมน้นั

การควบคุม (Control)

การควบคุม หมายถึง นโยบาย แนวทาง หรือขน้ั ตอนปฏบิ ตั ติ ่าง ๆ ซ่งึ กระทาเพอื่ ลดความเสย่ี ง และ
ทาให้การดาเนินบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ แบ่งได้ 4 ประเภท คอื

1) การควบคุมเพ่ือการปอ้ งกนั (Preventive Control) เปน็ วธิ กี ารควบคมุ ที่กาหนดข้ึนเพือ่ ปอ้ งกัน
ไม่ใหเ้ กิดความเสย่ี ง และขอ้ ผิดพลาดต้ังแต่แรก

2) การควบคุมเพอื่ ให้ตรวจพบ (Detective Control) เป็นวธิ ีการควบคุมทกี่ าหนดขน้ึ เพอื่ ค้นพบ
ขอ้ ผดิ พลาดที่เกดิ ขน้ึ แลว้

3) การควบคมุ โดยการชี้แนะ (Directive Control) เป็นวธิ ีการควบคมุ ท่ีสง่ เสรมิ หรือกระตุน้ ใหเ้ กดิ
ความสาเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงคท์ ต่ี อ้ งการ

4) การควบคมุ เพ่อื การแกไ้ ข (Corrective Control) เปน็ วิธีการควบคมุ ท่กี าหนดขนึ้ เพือ่ แกไ้ ข
ขอ้ ผิดพลาดท่ีเกดิ ขน้ึ ให้ถูกตอ้ งหรอื เพือ่ หาวธิ กี ารแกไ้ ขไม่ให้เกดิ ขอ้ ผดิ พลาดซ้าอกี ในอนาคต

แหล่งอ้างอิง

https://science.swu.ac.th/Default.aspx?tabid=12468&language=th-TH


Click to View FlipBook Version