The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เล่มนี้ เป็นเอกสารที่ได้คิดค้น ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดทำขึ้นเพื่อเป็นสารสนเทศสำหรับครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) เพื่อเสริมความรู้ความเข้าใจและนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องตามแผนแม่บทภายใต้กำหนดยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561 - 2580) แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และแนวทางการสอนภาษาอังกฤษแนวใหม่ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ
ขอบเขตของเนื้อหาเอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ครอบคลุมดังนี้ กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อความสามารถในการสื่อสาร การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในการนำไปศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองและประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษให้ตรงตามหลักมาตรฐานสากล ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ตามเป้าหมายที่ได้กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงใช้ประกอบการรับการนิเทศ อันจะนำไปสู่การส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษทั้งระบบเพื่อเพิ่มระดับความสามารถให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลก
นางพิมพ์วรี วงษ์ภัทรกร
ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pimwaree.mnr, 2022-03-31 01:49:33

เอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

เอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เล่มนี้ เป็นเอกสารที่ได้คิดค้น ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดทำขึ้นเพื่อเป็นสารสนเทศสำหรับครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) เพื่อเสริมความรู้ความเข้าใจและนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องตามแผนแม่บทภายใต้กำหนดยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561 - 2580) แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และแนวทางการสอนภาษาอังกฤษแนวใหม่ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ
ขอบเขตของเนื้อหาเอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ครอบคลุมดังนี้ กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อความสามารถในการสื่อสาร การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในการนำไปศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองและประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษให้ตรงตามหลักมาตรฐานสากล ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ตามเป้าหมายที่ได้กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงใช้ประกอบการรับการนิเทศ อันจะนำไปสู่การส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษทั้งระบบเพื่อเพิ่มระดับความสามารถให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลก
นางพิมพ์วรี วงษ์ภัทรกร
ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

Keywords: English Teaching,Lesson Planning,Communicative Language Teaching,CEFR,Language Assessment,Supervision,Thailand,High school

เ อ ก ส า ร เ ส ริ ม ค ว า ม รู้

ตามกการรอจับดคกิวจากมรสรามมกาารรถเทรียางนภรู้าภษาาษสาาอักงลกCฤษEFR

สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

โดย

นางพิมพ์วรี วงษ์ภัทรกร
ศึ ก ษ า นิ เ ท ศ ก์ ชำ น า ญ ก า ร




กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

เอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามกรอบ
ความสามารถทางภาษาสากล CEFR สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
เล่มน้ี เป็นเอกสารทไี่ ด้คิดค้น ศกึ ษา รวบรวม วิเคราะห์ สงั เคราะห์ และจัดทำข้ึนเพื่อเป็น
สารสนเทศสำหรับครผู ู้สอนกล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) เพือ่ เสริม
ความรู้ความเข้าใจและนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพและสอดคล้องตามแผนแม่บทภายใต้กำหนดยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561
- 2580) แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษ และแนวทางการสอนภาษาอังกฤษแนวใหม่ตามประกาศของ
กระทรวงศึกษาธกิ าร

ขอบเขตของเนื้อหาเอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตาม
กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ครอบคลุมดังนี้ กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรูเ้ พื่อความสามารถในการส่ือสาร การจดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้
และการวดั และประเมินผลการจดั การเรยี นรู้

หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตาม
กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนต้น เล่มน้ี จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
(ภาษาอังกฤษ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในการนำไปศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองและ
ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษให้ตรงตามหลักมาตรฐานสากล ให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนร้แู ละสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ตามเป้าหมายที่ได้กำหนดอย่างมปี ระสิทธิภาพ
รวมถึงใช้ประกอบการรับการนิเทศ อันจะนำไปสู่การส่งเสริมการจัดการเรียนการสอน
ภาษาองั กฤษท้ังระบบเพื่อเพ่ิมระดบั ความสามารถให้ก้าวทนั การเปล่ียนแปลงของโลก

นางพมิ พ์วรี วงษ์ภัทรกร
ศกึ ษานเิ ทศก์ชำนาญการ
สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาชลบุรี ระยอง

เอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทาง
ภาษาสากล CEFR สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เล่มนี้ เป็นเอกสารที่
พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการรับการนิเทศ ใช้ในการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นแนวทางใน
การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สำหรับ
ครูผู้สอนกลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนต้น
ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง โดยเอกสารมีเนื้อหาทั้งหมด 5 ตอน
ดังน้ี

ตอนท่ี 1: กรอบความสามารถทางภาษาสากล
ตอนท่ี 2: การสอนภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร
ตอนที่ 3: การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรเู้ พื่อความสามารถในการสื่อสาร
ตอนที่ 4: การจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้
ตอนที่ 5: การวดั และประเมินผลการจดั การเรียนรู้

เอกสารเสริมความรู้นี้ประกอบด้วยเนื้อหาสาระ คำถามทบทวนความเข้าใจ
แบบทดสอบท้ายบททุกตอน ซึ่งเอกสารทั้ง 5 ตอน มีเนื้อหาที่ช่วยให้ผู้อ่านมีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษกรอบความสามารถทางภาษาสากล (The common
European Framework of Reference for Language : CEFR) เม่ือผูอ้ า่ นไดอ้ า่ นและศึกษา
เอกสารแล้ว ขอให้ทำแบบทดสอบท้ายบทเพอื่ ประเมินผลการเรียนรู้ของตนเอง หวังเป็นอย่าง
ยงิ่ ว่าครูจะนำเอกสารเสริมความร้นู ไี้ ปใชใ้ นการเสริมสร้างความรู้และพัฒนาตนเอง นำความรู้
ที่ไดไ้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ภาษาอังกฤษเพ่อื การสอื่ สารใหม้ ีประสิทธิภาพ

นางพมิ พ์วรี วงษภ์ ทั รกร
ศึกษานเิ ทศกช์ ำนาญการ
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

สารบญั

หนา้

ตอนที่ 1 กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR 1

(The Common European Framework of Reference for Languages)

การปฏริ ูปการเรียนรู้ภาษาองั กฤษ 1

ความสำคัญของกรอบกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR 4

ระดับของ CEFR 4

คำอธบิ ายความสามารถทางภาษาองั กฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR 6

คำถามทบทวนความเขา้ ใจ 14

แบบทดสอบ 15

แนวตอบคำถามทบทวนความเข้าใจ 18

เฉลยแบบทดสอบ 20

ตอนที่ 2 การสอนภาษาองั กฤษเพอื่ การสือ่ สาร 21
(Communicative Language Teaching : CLT)

ความหมายของการสอนภาษาองั กฤษเพ่อื การสื่อสาร 22

หลักการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 23

ขั้นตอนการเรียนการสอนภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร 25

แนวทางการสอนภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร 27

องคป์ ระกอบกระบวนการเรยี นการสอนตามแนวการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สาร 28

คำถามทบทวนความเข้าใจ 31

แบบทดสอบ 32

แนวตอบคำถามทบทวนความเข้าใจ 35

เฉลยแบบทดสอบ 37

ตอนท่ี 3 การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้เพ่ือความสามารถในการสอ่ื สาร 38
(Communicative Lesson Design)

การสอนทักษะการฟังภาษาองั กฤษ 38

การสอนทกั ษะการพดู ภาษาองั กฤษ 39

การสอนทักษะการอา่ น 40

การสอนทักษะเขียน 41

กิจกรรมการจัดกิจกรรมการเรยี นรภู้ าษาอังกฤษเชงิ รุก (Active Learning) หน้า
ประเภทกจิ กรรมการสอนภาษาอังกฤษเชงิ รุก (Active Learning) 42
วธิ ีการสอนภาษาองั กฤษโดยใชก้ ิจกรรม 42
คำถามทบทวนความเข้าใจ 44
แบบทดสอบ 49
แนวตอบคำถามทบทวนความเข้าใจ 50
เฉลยแบบทดสอบ 53
55
ตอนท่ี 4 การจดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้
(Lesson Planning) 56

ความหมายของแผนการจดั การเรียนรู้ 56
ความสำคญั ของแผนการจัดการเรียนรู้ 57
ประเภทของแผนการจดั การเรียนรู้ 59
ลักษณะของแผนการจดั การเรียนร้ทู ดี่ ี 59
องค์ประกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้ 60
หลกั ในการเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ 61
รูปแบบของแผนการจดั การเรียนรู้ 62
ขั้นตอนการเขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้ 63
ตวั อย่างการจัดแผนการจัดการเรยี นรู้ 67
คำถามทบทวนความเข้าใจ 78
แบบทดสอบ 79
แนวตอบคำถามทบทวนความเข้าใจ 81
เฉลยแบบทดสอบ 83

ตอนที่ 5 การวัดและประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้ 84
(Evaluation and Assessment)
84
จดุ ม่งุ หมายของการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 85
ประเภทของการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ 87
การประเมินสภาพจรงิ (Authentic Assessment) 89
การวดั และประเมินผลการสอนภาษาเพ่ือการส่ือสาร 93
คำถามทบทวนความเข้าใจ 94
แบบทดสอบ

แนวตอบคำถามทบทวนความเข้าใจ หน้า
เฉลยแบบทดสอบ 96
98
ภาคผนวก
100
แบบทดสอบวดั ความรูค้ วามเขา้ ใจ
การจดั กจิ กรรมการเรียนรูภ้ าษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR 106
สำหรบั ครูภาษาอังกฤษ ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาตอนต้น
เฉลยแบบทดสอบวัดความรคู้ วามเขา้ ใจ 108
การจัดกิจกรรมการเรียนร้ภู าษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR 111
สำหรบั ครภู าษาอังกฤษ ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน้ 118
แบบประเมินความสามารถสำหรบั ครภู าษาอังกฤษในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR
เกณฑ์การให้คะแนนความสามารถสำหรับครภู าษาองั กฤษในการจดั การเรยี นรู้
ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR

บรรณานกุ รม

สารบญั ตาราง

หน้า

ตารางที่ 1.1 ระดบั ทกั ษะภาษาอังกฤษ CEFR สำหรบั นักเรียนในระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน 2

ตารางที่ 1.2 ระดับความสามารถทางภาษาตามกรอบความสามารถทางภาษา CEFR 5

ตารางที่ 3.1 ขอ้ แนะนำการเขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ 66

สารบญั ภาพ หนา้
65
ภาพที่ 3.1 ลำดับการจดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้

1

ตอนท่ี 1

กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR

(The Common European Framework of Reference for Languages)

การปฏริ ูปการเรยี นรภู้ าษาองั กฤษ

กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายเร่งปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้สัมพันธ์เชื่อมโยงกันเพ่ือ
ยกระดบั คุณภาพการศึกษาและพฒั นาศักยภาพของผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างเสริมสมรรถนะ
และทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สารและใช้เป็นเครื่องมือ
ในการแสวงหาองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาตน อันจะนำไปส่กู ารเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของ
ประเทศ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าวกระทรวงศึกษาธิการจึงกำหนดนโยบายการปฏิรูปการเรียน
การสอนภาษาอังกฤษในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานข้ึน เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้ตระหนกั ถึงความจำเปน็
ทตี่ อ้ งเรง่ รัดปฏิรปู การเรียนการสอนภาษาอังกฤษและพัฒนาผูเ้ รียนใหม้ ีสมรรถนะและทักษะตามที่กำหนด

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้กำหนดแนวปฏิบัติในการปฏิรูปการเรียน
การสอนภาษาอังกฤษตามนโยบายในแต่ละด้าน เพื่อให้หน่วยงานทุกสังกัดที่จัดการศึกษาระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐานท้ังในส่วนกลาง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา นำไปดำเนินการ
ให้บรรลุเป้าหมาย โดยกำหนดให้ใช้กรอบอ้างอิงความสามารถทางภาษาของสหภาพยุโรป (CEFR)

2

เปน็ กรอบความคดิ หลกั ในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษของประเทศไทย ทัง้ ในการออกแบบ
หลักสูตร การพัฒนาการเรียนการสอน การทดสอบ การวัดผล การพัฒนาครู รวมถึงการกำหนด
เป้าหมายการเรียนร้เู พ่ือใหก้ ารจัดการเรียนการสอนภาษาองั กฤษเปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ มที ศิ ทาง
ในการดำเนินการที่เป็นเอกภาพ มีเป้าหมายการเรียนรู้และการพัฒนาที่เทียบเคียงได้กับ
มาตรฐานสากลที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,
2557, หน้า 1 - 3)

กระทรวงศึกษาธิการจึงกำหนด ให้ใช้กรอบอ้างอิงทางภาษาของสหภาพยุโรป (The
Common European Framework of Reference for Language : CEFR) ในการนำกรอบอ้างอิง
CEFR มาใช้ในการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษนั้น กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดแนวทาง
ในการดำเนนิ การ ดงั น้ี

1. ใช้ CEFR เป็นกรอบความคดิ หลกั ในการกำหนดเป้าหมายการจดั การเรียนรู้/การพัฒนา
โดยใช้ระดับความสามารถ 6 ระดับของ CEFR เป็นเป้าหมายการพัฒนาผู้เรียนในแต่ละระดับ ทั้งน้ี
ในเบื้องต้นกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดเป้าหมายการพัฒนาระดับความสามารถทางภาษาของ
ผู้เรียนในระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ดังนี้

1.1 ผู้สำเร็จการศึกษาระดับประถมศกึ ษา (ป.6) ควรมีระดับความสามารถทางภาษาใน
ระดับผใู้ ช้ภาษาข้ันพนื้ ฐาน หรอื ระดบั ความสามารถทางภาษาตามกรอบ CEFR อยา่ งนอ้ ย A1

1.2 ผู้สำเร็จการศึกษาภาคบังคับ (ม.3) ควรมีระดับความสามารถทางภาษาในระดับ
ผูใ้ ช้ภาษาขัน้ พน้ื ฐานหรือระดับความสามารถทางภาษาตามกรอบ CEFR อยา่ งน้อย A2

1.3 ผู้สำเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6/ปวช.) ควรมีระดับความสามารถทางภาษาใน
ระดบั ผใู้ ชภ้ าษาขน้ั อิสระหรอื ระดบั ความสามารถทางภาษาตามกรอบ CEFR อย่างน้อย B1

กรอบอ้างอิงความสามารถทางภาษาของสหภาพยุโรป ได้จำแนกผู้ใช้ภาษาออกเป็น 3
กลมุ่ หลกั และแบ่งเปน็ 6 ระดบั ความสามารถ ดงั นี้

ตารางท่ี 1.1 ระดับทักษะภาษาองั กฤษ CEFR สำหรับนักเรยี นในระดบั การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

ระดบั นกั เรียน ระดบั ความสามารถทางภาษา ระดับความสามารถทางภาษา
ตามกรอบความสามารถทาง
ผสู้ ำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา (ป.6) ภาษาสากล CEFR
ผสู้ ำเร็จการศกึ ษาภาคบงั คบั (ม.3)
ผู้สำเรจ็ การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน (ม.6/ปวช.) ผใู้ ชภ้ าษาข้ันพืน้ ฐาน A1

ผ้ใู ชภ้ าษาขน้ั พื้นฐาน A2

ผู้ใช้ภาษาขัน้ อิสระ B1

ทม่ี า: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน. (ม.ป.ป.). คู่มือการจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษแนวใหมต่ าม
กรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษาองั กฤษทเี่ ปน็ สากล (The Common European Framework of
Reference for Languages: CEFR)ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ .

3

ดังนั้นในการประเมินหรือตรวจสอบผลการจัดการศึกษาหรือผลการพัฒนาผู้เรียนในแต่ละ
ระดับข้างต้น หน่วยงานที่รับผิดชอบควรได้มีการทดสอบหรือวัดผล โดยใช้แบบทดสอบมาตรฐานท่ี
เทียบเคียงผลคะแนนกับระดับความสามารถทางภาษาตามกรอบอ้างอิง CEFR เพื่อตรวจสอบว่า
ผู้เรยี นมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนภาษาผา่ นเกณฑ์ระดบั ความสามารถที่กำหนดหรือไม่

2. ใช้พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ โดยนำระดับความสามารถทางภาษา
ที่กรอบอ้างอิง CEFR กำหนดไว้แต่ละระดับ มากำหนดเป้าหมายของหลักสูตรและใช้คำอธิบาย
ความสามารถทางภาษาของระดับน้ัน ๆ มากำหนดกรอบเน้ือหาสาระทจ่ี ะใช้ในการจัดการเรียนรตู้ ามหลักสตู ร

3. ใช้ในการจัดการเรยี นรู้ โดยนำระดับความสามารถทางภาษาและคำอธิบายความสามารถ
ทางภาษาที่กรอบอ้างอิง CEFR กำหนดไว้แต่ละระดับมาพิจารณาการจัดกระบวนการเรียนการสอน
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแสดงออกซึ่งทักษะทางภาษาและองค์ความรู้ตามที่ระบุไว้ เช่น ในระดับ A1
ผสู้ อนตอ้ งจัดกระบวนการเรยี นรู้เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นสามารถเขา้ ใจ ใช้ภาษา แนะนำ ถาม - ตอบ ปฏิสัมพันธ์
พูดคุยในเรื่องที่กำหนดตามคำอธิบายของระดับ A1 การเรียนรู้จึงต้องเน้นให้ผู้เรียนได้ฟังและพูด
สื่อสารเปน็ หลักผเู้ รยี นจึงจะมคี วามสามารถตามท่ีกำหนด

4. ใช้ในการทดสอบและการวัดผล โดยใช้แบบทดสอบ/แบบวัดที่สามารถเทียบเคียงผลได้
กับกรอบอา้ งอิง CEFR เพ่อื ให้ไดข้ ้อมูลระดบั ความสามารถของผู้เรยี นหรือผ้เู ขา้ รบั การทดสอบเพ่ือการจัด
กระบวนการเรยี นรู้หรือสื่อใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการจำเป็นอันจะนำไปสูการพัฒนาผ้เู รยี น/ผู้เข้ารับ
การทดสอบใหม้ คี วามสามารถตามเปา้ หมาย/เกณฑท์ ี่กำหนด

5. ใชใ้ นการพัฒนาครู โดยดำเนนิ การ ดงั นี้
5.1 ใชเ้ ครือ่ งมือในการประเมนิ ตนเอง (self-assessment checklist) ตามกรอบ CEFR

เพ่อื เตรียมความพร้อมก่อนเข้ารับการทดสอบและประเมนิ ความก้าวหน้าความสามารถทางภาษาอังกฤษ
อย่างตอ่ เนือ่ ง

5.2 ประเมินความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของครูก่อนการพัฒนาโดยใช้แบบทดสอบ
มาตรฐานตามกรอบ CEFR ในการตรวจสอบระดับความสามารถของครู

5.3 จดั ทำฐานข้อมลู และกลุม่ ครูตามระดบั ความสามารถ เพ่ือวางแผนพฒั นาตามกรอบ
CEFR และติดตามความก้าวหน้าในการเขา้ รับการพฒั นาของครูในแตล่ ะกล่มุ ความสามารถ

5.4 กำหนดเป้าหมายความสามารถด้านภาษาตามกรอบ CEFR ในการพัฒนาครูแต่ละกลุ่ม
เพื่อนำมาจัดหลักสูตรและกระบวนการพัฒนาครูให้มีความสามารถในการใช้ภ าษาผ่านเกณฑ์และ
บรรลเุ ป้าหมายทกี่ ำหนด

5.5 ใช้แบบทดสอบมาตรฐานตามกรอบ CEFR ทดสอบหลังการพัฒนาเพื่อประเมิน
หลักสูตรการพัฒนากระบวนการพัฒนาและความสามารถของครูเทียบเคียงกับเป้าหมายท่ีกำหนด
รวมทง้ั จดั กจิ กรรมการพฒั นาอย่างต่อเนอ่ื ง

4

ความสำคัญของกรอบกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR

กรอบอ้างอิงความสามารถทางภาษาของสหภาพยุโรป (The Common European Framework
of Reference for Languages : CEFR) หรือ กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR คือ
มาตรฐานการประเมินความสามารถทางภาษาที่สหภาพยุโรปจัดทำขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็น
แนวทางในการจัดการเรียนการสอนและการประเมินภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศ CEFR ได้รับ
การตั้งขึ้นโดยสภายุโรปในปี 1990 ให้เป็นส่วนหนึ่งเพื่อสนับสนุนการทำงานร่วมกันระหว่างผู้สอน
ภาษาทุกประเทศในยุโรป สภายุโรปต้องการปรับปรุงแนวทางสำหรับลูกจ้างและสถาบันการศึกษาที่
ต้องการประเมินความเชี่ยวชาญทางภาษาของผู้สมัคร เกณฑ์ที่กำหนดนี้มีจุดประสงค์เพื่อใช้ในการจัด
การเรียนการสอนและการประเมิน CEFR ไม่ได้เชื่อมโยงหรือยดึ ตามแบบทดสอบใดแบบทดสอบหนึ่ง
โดยเฉพาะ หากแต่เป็นการกำหนดทกั ษะท่สี ามารถทำได้โดยการใช้ภาษาต่างประเทศที่ระดับความเชี่ยวชาญ
ทีก่ ำหนด ยกตวั อยา่ งเช่น หน่งึ ในทักษะที่ระดับ B1 สามารถทำได้คือ “สามารถเชอ่ื มโยงเก่ยี วกบั หัวข้อที่คุ้นเคย
หรือความสนใจของตวั บุคคล” ผู้ที่สอนภาษาต่างประเทศสามารถใช้รายการทกั ษะที่ต้องทำได้เหล่านี้
ในการประเมินและออกแบบบทเรียนเพื่อค้นหาความสามารถทางภาษาสำหรับผู้เรียน (สำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน, ม.ป.ป., หน้า 9 - 10)

สภาแห่งสหภาพยุโรปได้กำหนดให้ใช้กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR ในปี ค.ศ.
2002 ในการตรวจสอบความสามารถทางภาษา ปัจจุบันกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR
ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นมาตรฐานในการจัดลำดับความสามารถทางภาษาของแต่ละ
บุคคล สามารถนำกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR ไปปรับใช้ได้ในหลายบริบทและ
ครอบคลุมภาษามากถึง 40 กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR ได้รับการใช้งานอย่าง
กว้างขวางสำหรบั การสอนภาษาในทวีปยุโรป รวมท้งั การศึกษาทั่วไปและโรงเรียนสอนภาษาเอกชนใน
หลายประเทศใช้กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR แทนระบบการวัดระดับที่เคยใช้ในการสอน
ภาษาต่างประเทศ กระทรวงการศึกษาในยุโรปส่วนใหญ่ระบุเป้าหมายที่อ้างอิงตามกรอบ
ความสามารถทางภาษาสากล CEFR อย่างชัดเจนสำหรับนักเรียนทุกคนที่จบการศึกษาระดับ
มัธยมศึกษา เช่น ระดับ B2 สำหรับภาษาต่างประเทศภาษาแรก ระดับ B1 สำหรับภาษาต่างประเทศ
ภาษาที่สอง

ระดับของ CEFR

ความสามารถทางภาษาตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR ได้จำแนกผู้ใช้
ภาษาออกเป็น 3 กลุ่มหลัก A, B และ C และแบ่งเป็น 6 ระดับความสามารถ ได้แก่ A1, A2,
B1, B2, C1, และ C2

5

ตารางที่ 1.2 ระดับความสามารถทางภาษาตามกรอบความสามารถทางภาษา CEFR

กลุ่มหลกั ระดับ คำอธิบายความสามารถของผเู้ รยี น

Basic User A1 สามารถเข้าใจและโต้ตอบในสิ่งท่ีคุน้ เคยในชีวติ ประจำวนั รวมถึง
ผู้ใช้ภาษาขั้น ื้พนฐาน สามารถใช้ประโยคพื้นฐานเพื่อสื่อสารถึงความต้องการที่เป็น
รูปธรรม สามารถแนะนำตวั เองและคนอ่นื สามารถถามและตอบ

คำถามเกี่ยวกับรายละเอียดส่วนบุคคลได้ เช่น สถานที่อยู่อาศัย

Breakthrough คนที่รู้จักและสิ่งของที่มี สามารถโต้ตอบกับผู้อื่นได้ ในกรณีที่
or Beginner ผูอ้ น่ื พูดอยา่ งช้า ๆ ชัดเจน และพร้อมทจ่ี ะชว่ ยเหลือ

สามารถเข้าใจประโยคและสำนวนที่ใช้บ่อยเกี่ยวกับสิ่งรอบตัว

A2 (เช่น ข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลของครอบครัว การซื้อของ
ภูมิศาสตร์ท้องถิ่น การจ้างงาน) สามารถสื่อสารเรื่องที่ง่ายและ
เป็นกิจวัตรที่ต้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลโดยตรงและไม่ยุ่งยาก

Independent Use A เกี่ยวกับสิ่งที่คุ้นเคยหรือทำเป็นประจำ สามารถอธิบายประวัติ
ู้ผใ ้ชภาษา ้ขันอิสระ
Waystage ส่วนตัวและประวัติการศึกษาของตัวเองอย่างง่าย
Or Elementary สภาพแวดล้อมรอบตัวในขณะที่พูดและสิ่งของที่เกี่ยวข้องกับ

ความตอ้ งการเฉพาะหน้า

B B1 สามารถเข้าใจจุดประสงค์หลักของสิ่งที่คุ้นเคย ที่เป็นภาษา
มาตรฐานแบบชัดเจนและที่ต้องพบบ่อยครั้งในที่ทำงาน
Threshold โรงเรียน การเดินทางพักผ่อน เป็นต้น สามารถรับมือกับ
Or สถานการณ์ส่วนใหญ่ที่อาจเกิดขึ้นขณะเดินทางท่องเที่ยวใน
Intermediate สถานที่ต่างๆ สามารถสื่อสารโดยเชื่อมโยงหัวข้อที่คุ้นเคยหรือ
หัวข้อที่เกี่ยวข้องความสนใจส่วนบุคคล สามารถอธิบาย
B2 ประสบการณ์และเหตุการณ์ ความฝัน ความหวังและเป้าหมาย
ของตนเองได้ รวมถึงการให้เหตุผลหรือคำอธิบายเบื้องต้นที่
Vantage or เกีย่ วกับความคดิ เหน็ และแผนการต่างๆ
Upper
Intermediate สามารถเข้าใจประเด็นหลักของข้อความที่มีความซับซ้อนทั้ง
รูปธรรมและนามธรรม รวมถึงการพูดคุยเชิงเทคนิคในบท

สนทนาเฉพาะด้านตามความรู้เฉพาะทางของผู้พูด สามารถ
โต้ตอบอย่างคล่องแคล่วและเป็นธรรมชาติ โต้ตอบกับผู้พูดที่
เป็นเจ้าของภาษาได้โดยไม่มีความเคร่งเครียด สามารถสร้าง
ถ้อยคำที่ชัดเจนและมีความละเอียดในหัวข้อที่หลากหลาย
อธิบายมุมมองเกี่ยวกับปัญหาเฉพาะ รวมถึงการให้ข้อมูล
เกีย่ วกบั ขอ้ ดแี ละขอ้ เสียของเร่ืองต่างๆ

6

กลมุ่ หลัก ระดับ คำอธบิ ายความสามารถของผเู้ รยี น

Proficient User C1 สามารถเข้าใจข้อความที่ยาวขึ้นและที่ต้องใช้ความเข้าใจหลาย
ผู้ใช้ภาษาข้ันคล่องแคล่ว ด้านและตระหนักถึงความหมายโดยนยั สามารถแสดงความคิด
Effective ได้อย่างคล่องแคล่วและเป็นธรรมชาติโดยไม่ใช้เวลามากนักใน
C Operational การคิดหาคำศัพท์ สามารถใช้ภาษาได้อย่างยืดหยุ่นและมี
Proficiency ประสทิ ธภิ าพสำหรบั การส่ือสารในเข้าสังคมและชีวติ การทำงาน
Or Advanced หรือในการศึกษาเพิ่มเติมทั้งในระดับวิชาชีพและในระดับ
มหาวิทยาลัย สามารถสร้างถ้อยคำที่ชัดเจน มีโครงสร้างดี ให้
C2 รายละเอยี ดเก่ียวกับเร่ืองที่ซับซ้อน ใช้แบบแผนการส่ือสารและ
คำเชอื่ มตา่ งๆ ในการเชอื่ มโยงความได้อย่างเหมาะสม
Mastery
Or สามารถเข้าใจทุกเรื่องที่ฟังหรืออ่านได้อย่างง่ายดาย สามารถ
Proficiency สรุปคำพูดและข้อความจากแหล่งที่มาต่างๆ สร้างคำอธิบาย
และระบุเหตุผลในการนำเสนอที่สอดคล้องกัน สามารถ
แสดงออกและสื่อสารได้อย่างเป็นธรรมชาติ คล่องแคล่วและ
แม่นยำมาก รวมถึงสามารถแยกแยะความหมายที่ใกล้เคียงกัน
ของสถานการณท์ ่มี คี วามซับซอ้ น

ท่มี า: Council of Europe. (2001). Common European Framework of Reference for Languages. Learning,
Teaching, Assessment (CEFR). Online. Retrieved May 12, 2021.from:
http://www.coe.int/t/dg4/linguistic/Source/Framework_EN.pdf.

คำอธิบายความสามารถทางภาษาองั กฤษ
ตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR

สภาแหงสหภาพยุโรปไดกำหนดคำอธิบายใหใชกรอบความสามารถทางภาษาสากล
CEFR ในการตรวจสอบความสามารถทางภาษาและการจัดลําดับความสามารถทางภาษาของแตละ
บุคคล (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,2557, หน้า 11 – 32 และจิรดา วุฑฒยากร
และกรวภิ า พูลผล, 2563, หน้า 11-14) ดังนี้

ภาษาองั กฤษระดับ A1

ภาษาอังกฤษระดับ A1 คือภาษาอังกฤษระดับแรกตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล
CEFR โดยท่ัวไปเรยี กระดับน้ีว่า “ระดับเริ่มต้น” และเป็นช่ือระดบั อย่างเป็นทางการใน CEFR ในทาง
ปฏิบัติสามารถกำหนดระดับภาษาอังกฤษตั้งแต่ระดับต่ำกว่า A1 (Pre-A1) ซึ่งนักเรียนที่เพิ่งเริ่มต้น
เรยี นภาษาอังกฤษหรอื ผู้ทไ่ี ม่มคี วามรภู้ าษาอังกฤษเบ้ืองต้นมาก่อนจะอยทู่ ่รี ะดับ Pre-A1

7

มีความสามารถทางภาษาอังกฤษระดับ A1 สามารถโต้ตอบอย่างง่าย ยกตัวอย่างเช่น
ความสามารถในการสื่อสารของนักท่องเที่ยวในประเทศที่พูดภาษาอังกฤษ อย่างไรก็ตามผู้มี
ความสามารถทางภาษาอังกฤษระดับ A1 อาจไม่สามารถใช้ภาษาอังกฤษสำหรับจุดประสงค์ทาง
วิชาการหรือความเชีย่ วชาญอน่ื ๆ ทเี่ ปน็ ทางการ

ผ้ทู ีม่ ที ักษะภาษาองั กฤษอยู่ในระดับ A1 จะสามารถสือ่ สารไดด้ งั ต่อไปน้ี
สามารถเข้าใจและโต้ตอบในสิ่งท่ีคุ้นเคยในชวี ิตประจำวัน รวมถึงสามารถใช้ประโยคพ้ืนฐานเพื่อ
สื่อสารถึงความต้องการที่เป็นรูปธรรม สามารถแนะนำตัวเองและคนอื่น สามารถถามและตอบคำถาม
เกี่ยวกับรายละเอียดส่วนบุคคลได้ เช่น สถานที่อยู่อาศัย คนที่รู้จัก และสิ่งของที่มีสามารถโต้ตอบกับ
ผอู้ นื่ ได้ ในกรณีท่ผี ูอ้ ืน่ พดู อย่างช้า ๆ ชัดเจน และพรอ้ มทจ่ี ะชว่ ยเหลือ
นักเรียนทม่ี ที กั ษะภาษาองั กฤษระดับ A1 จะสามารถสื่อสารไดด้ ังต่อไปน้ี
• แนะนำตัวเองง่าย ๆ และการทกั ทายเบอ้ื งต้น
• บอกไดว้ ่าตวั เองและผ้อู นื่ มาจากไหน และสามารถอธิบายข้อมูลพ้ืนฐานเกี่ยวกับเมืองนนั้ ๆได้
• พดู ถงึ ครอบครัวและเพือ่ นร่วมงาน อธบิ ายรูปลกั ษณแ์ ละนิสยั สว่ นตวั ของพวกเขาได้
• อธิบายการแต่งตัวในระดับพ้นื ฐานและสอบถามพนักงานขายด้วยคำถามง่ายๆ
• พูดคุยเกี่ยวกับอาหารโปรดและส่ังอาหารงา่ ยๆ สำหรบั ซ้ือกลบั บ้าน
• พดู เก่ียวกบั กิจกรรมประจำวนั สามารถนัดพบเพ่อื นและเพ่อื นร่วมงานได้
• อธบิ ายสภาพอากาศปจั จบุ ันและแนะนำกิจกรรมที่สอดคลอ้ งกบั การพยากรณ์อากาศ
• พดู คยุ เรอ่ื งท่ัวไปเกีย่ วกบั สุขภาพและอธบิ ายอาการทั่วไปแกแ่ พทย์ได้
• อธบิ ายทต่ี ั้งของบา้ นและบอกทศิ ทางได้
• พูดคุยเกี่ยวกับงานอดิเรกและความสนใจ การวางแผนกิจกรรมสนุก ๆ กับเพื่อนหรือเพื่อน
ร่วมงานได้
• สามารถติดต่อเร่อื งพนื้ ฐานทีโ่ รงแรม รวมถงึ การเชค็ อนิ และเชค็ เอาท์
• อธิบายผลติ ภัณฑท์ ว่ั ไป สามารถซ้อื ส่งิ ของในระดบั พน้ื ฐานและส่งคนื สนิ ค้าทเ่ี สยี หายคนื ได้
ทักษะที่พัฒนาจะขึ้นอยู่กับประเภทของหลักสูตรและนักเรียนแต่ละคน โดยนักเรียนสามารถ
คาดหวงั ได้ว่าภาษาอังกฤษจะอยู่ทร่ี ะดับ A1 เมอ่ื ผา่ นการเรียน 60 ถงึ 80 ชัว่ โมง

ภาษาองั กฤษระดบั A2

ภาษาอังกฤษระดับ A2 คือ เป็นภาษาอังกฤษระดับท่ี 2 ตามกรอบความสามารถทางภาษา
CEFR โดยท่วั ไปเรยี กระดบั น้ีว่า “ระดบั พื้นฐานหรือระดับต้น” ซง่ึ ผ้มู ีความสามารถทางภาษาอังกฤษ
ระดับ A2 สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษระดับพื้นฐานไม่ซับซ้อนได้อย่างคล่องแคล่วและสามารถ
ส่ือสารถงึ ความตอ้ งการท่วั ไปของตนได้

8

ผู้มีความสามารถทางภาษาอังกฤษระดับ A2 สามารถใช้ภาษาในการท่องเที่ยวในประเทศที่
พูดภาษาอังกฤษและการเข้าสังคมกับผู้ที่พูดภาษาอังกฤษ สามารถสื่อสารกับเพื่อนร่วมงานที่พูด
ภาษาอังกฤษได้ แต่ภาษาองั กฤษระดับ A2 ยงั ไมเ่ พยี งพอสำหรับการศึกษาเชิงวิชาการหรือการใช้งาน
ผ่านส่ือทเ่ี ป็นภาษาอังกฤษ (โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ นิตยสาร เปน็ ตน้ )

นักเรียนทมี่ ที กั ษะภาษาอังกฤษระดบั A2 จะสามารถสอื่ สารได้ดังต่อไปน้ี
นักเรียนที่มีทักษะภาษาอังกฤษระดับ A2 จะสามารถสื่อสารทุกอย่างที่นักเรียนระดับ A1
สามารถทำได้และจะมีทักษะเพิม่ เติมตงั ต่อไปน้ี
• ประเมินประสิทธิภาพการทำงานของเพ่ือนร่วมงานในสถานที่ทำงาน
• สามารถบอกเล่าถงึ เหตุการณ์ในอดตี รวมถงึ กิจกรรมสุดสปั ดาห์และเรอ่ื งราวที่นา่ สนใจ
• อธบิ ายชีวิตในอดตี สามารถบอกรายละเอยี ดเกี่ยวกับเหตกุ ารณท์ ม่ี ีความสำคญั
• สามารถสอื่ สารเพื่อสร้างความสนุกให้คนในบ้านหรือเมื่อไปเย่ยี มบ้านเพื่อนหรือเพ่ือนร่วมงาน
• วางแผนวนั หยดุ บอกเกย่ี วกบั กิจกรรมวันหยุดให้เพื่อนและเพ่ือนรว่ มงานฟงั
• พดู เก่ียวกบั ธรรมชาติ การเท่ียวชมสตั วแ์ ละสถานทธ่ี รรมชาตทิ ่ีมีอยู่ในประเทศ
• พูดเกยี่ วกบั ภาพยนตรท์ ช่ี อบและเลือกภาพยนตร์ทีจ่ ะดูกับเพ่ือน
• พดู คุยเกี่ยวกบั การแต่งตวั และประเภทเสื้อผ้าที่ชอบสวมใส่
• การสอื่ สารพน้ื ฐานในที่ทำงาน รวมถึงการเข้าร่วมประชมุ เก่ียวกบั หวั ข้อทัว่ ไป
• อธบิ ายอบุ ัตเิ หตหุ รือการบาดเจ็บ รับความช่วยเหลอื ทางการแพทยแ์ ละการกรอกใบสงั่ ยา
• มสี ว่ นรว่ มกับการเขา้ สังคมในแวดวงธุรกิจ การต้อนรบั แขกและเขา้ รว่ มกจิ กรรมเครอื ข่าย
• เข้าใจและทำข้อเสนอทางธรุ กิจขัน้ พนื้ ฐานในสายงานท่ีเชย่ี วชาญ
• พดู และอธบิ ายเก่ียวกับกฎของเกม
ทกั ษะทีพ่ ฒั นาจะข้ึนอยู่กับประเภทของหลักสูตรและนักเรียนแต่ละคน โดยนกั เรียนสามารถ
คาดหวังไดว้ ่าภาษาอังกฤษจะอยู่ทร่ี ะดับ A2 เม่ือผา่ นการเรียน 200 ชว่ั โมง

ภาษาอังกฤษระดบั B1

ภาษาอังกฤษระดับ B1 คือภาษาอังกฤษระดับท่ี 3 ตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล
CEFR โดยทั่วไปเรียกระดับน้ีว่า “ระดับกลาง” และเป็นชื่อระดับอย่างเป็นทางการตาม
เกณฑ์ CEFR ในระดับนี้จะเป็นนักเรียนมีทักษะดีกว่าพื้นฐานแต่ยังไม่สามารถทำงานหรือศึกษา
ภาษาองั กฤษได้อยา่ งเชี่ยวชาญ

ผู้มีความสามารถภาษาอังกฤษระดับ B1 จะสามารถโต้ตอบกับผู้ที่พูดภาษาอังกฤษเกี่ยวกับ
หัวข้อที่คุ้นเคย การสื่อสารในสถานที่ทำงาน สามารถอ่านรายงานอย่างง่ายสำหรับหัวข้อที่คุ้นเคย
และเขียนอีเมลงา่ ย ๆ เกีย่ วกับหวั ขอ้ ในสายอาชีพของตัวเอง อย่างไรก็ตามระดบั B1 ยงั ไม่เพียงพอต่อ

9

การสื่อสารภาษาอังกฤษในงานพิธีการที่เป็นทางการ ผู้ที่มีทักษะภาษาอังกฤษอยู่ในระดับ B1 จะ
สามารถสือ่ สารไดด้ งั ต่อไปนี้

1. สามารถเขา้ ใจจุดประสงคห์ ลักของท่คี ุ้นเคยทต่ี ้องพบบ่อยครงั้ ในทที่ ำงาน โรงเรยี น การเดินทาง
การพักผ่อน เป็นตน้

2. สามารถรับมือกับสถานการณ์สว่ นใหญท่ ีอ่ าจเกิดขึ้นขณะเดินทางท่องเทยี่ วในสถานท่ีต่าง ๆ
3. สามารถส่อื สารโดยเช่ือมโยงหวั ข้อที่คุ้นเคยหรือหัวข้อทเ่ี กย่ี วข้องความสนใจสว่ นบุคคล
4. อธิบายประสบการณ์และเหตุการณ์ ความฝัน ความหวัง ความทะเยอทะยาน และการให้

เหตผุ ลเบอื้ งตน้ รวมท้ังสามารถอธิบายเกีย่ วกบั ความคิดเหน็ และแผนการ
นักเรียนท่ีมที ักษะภาษาอังกฤษระดบั B1 จะสามารถส่อื สารได้ดงั ตอ่ ไปนี้
ก า ร ก ำ ห น ด ค ำ อ ธ ิ บ า ย ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ก า ร ส ื ่ อ ส า ร อ ย ่ า ง เ ป ็ น ท า ง ก า ร ถ ู ก ร ะ บุ เ พ่ื อ
วัตถุประสงค์ในการจัดการเรียนการสอน การระบุทักษะอย่างละเอียดนี้สามารถช่วยประเมินระดับ
ทักษะภาษาอังกฤษของผู้มีความสามารถทางภาษาหรือช่วยเหลือครูผู้สอนในการประเมินระดับของ
นักเรียน ยกตัวอย่างเช่น นักเรียนที่มีทักษะภาษาอังกฤษระดับ B1 จะสามารถสื่อสารทุกอย่างที่
นักเรยี น ระดับ A2 สามารถทำได้และจะมที กั ษะเพ่มิ เติม ดงั ตอ่ ไปนี้
• พดู คยุ เร่ืองสว่ นตัว เป้าหมายด้านอาชีพและความฝันในอนาคต
• เตรียมการสมั ภาษณง์ านและสมั ภาษณ์งานทีเ่ ก่ียวกบั ความเช่ียวชาญของตนเอง
• พดู เกย่ี วกับพฤตกิ รรมการชมโทรทศั น์และรายการโปรดของตนเอง
• อธิบายถงึ การศกึ ษาของคณุ และแผนฝกึ อบรมในอนาคต
• พูดคยุ เกย่ี วกบั เพลงโปรด เพลงทอี่ ยู่ในกระแสและการวางแผนเท่ยี วกลางคนื เพื่อฟังดนตรสี ด
• พดู เกี่ยวกับการรักษาสุขภาพใหแ้ ข็งแรง การใหแ้ ละรบั คำแนะนำเก่ียวกับสขุ ภาพ
• พดู เกี่ยวกับความสัมพนั ธ์และการหาคู่ รวมถึงการพบกบั ผู้คนผ่านสอื่ โซเชยี ล
• การเข้ารา้ นอาหาร สงั่ อาหาร ร่วมสนทนาในม้ือเยน็ อยา่ งสภุ าพและชำระคา่ อาหาร
• สามารถมีส่วนร่วมในการเจรจาที่เกี่ยวกับสายอาชีพ หากมีคนช่วยอธิบายให้เข้าใจในบาง

ประเดน็
• พูดคุยเกี่ยวกับปัญหาความปลอดภัยในสถานที่ทำงาน รายงานการบาดเจ็บ การอธิบาย

กฎและขอ้ บงั คับ
• พดู คุยเก่ยี วกบั พฤตกิ รรมทสี่ ภุ าพและการตอบสนองอย่างเหมาะสมต่อพฤติกรรมที่ไมส่ ุภาพ
ทกั ษะทพ่ี ฒั นาจะขึ้นอยู่กบั ประเภทของหลักสูตรและนักเรียนแต่ละคน โดยนักเรยี นสามารถ
คาดหวงั ได้ว่าภาษาอังกฤษจะอยู่ทีร่ ะดับ B1 เมื่อผ่านการเรยี น 400 ช่วั โมง

10

ภาษาอังกฤษระดบั B2

ภาษาอังกฤษระดับ B2 คือภาษาอังกฤษระดับที่ 4 ตามกรอบความสามารถทางภาษา
CEFR โดยทั่วไปอาจเรียกระดับนี้ว่า “มีความมั่นใจ” เหมือนการกล่าวว่า “ฉันสามารถพูด
ภาษาอังกฤษได้ด้วยความมั่นใจ” คำที่ใช้เรียกอย่างเป็นทางการคือ “ระดับกลางสูง” ในระดับนี้
นักเรียนสามารถทำงานได้อย่างอสิ ระในเชิงวิชาการและใชภ้ าษาอังกฤษได้เหมือนผู้เชี่ยวชาญ แต่จะมี
ข้อจำกดั ของความไมต่ อ่ เนื่องและความแมน่ ยำเลก็ น้อย

ผู้ที่มีทักษะภาษาอังกฤษระดับ B2 สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการทำงานและสื่อสารกับผู้ที่
ไม่ได้เป็นเจ้าของภาษาในองค์กรระหว่างประเทศที่ใช้งานภาษาอังกฤษ อย่างไรก็ตามผู้ที่มีทักษะ
ภาษาอังกฤษระดับ B2 ยังคงขาดความเชีย่ วชาญทางการใช้ภาษานอกเหนอื สายอาชพี อยู่เลก็ น้อย ซ่ึง
อาจมีข้อพลาดในรายละเอียดปลีกย่อยและการแปลความหมายในการสนทนาบางอย่ างตามเกณฑ์
มาตรฐาน CEFR อย่างเป็นทางการ ผู้ที่มีทักษะภาษาอังกฤษอยู่ในระดับ B2 จะสามารถสื่อสารได้
ดงั ตอ่ ไปนี้

1. เขา้ ใจจุดประสงค์ของประเด็นที่มีความซบั ซ้อนทง้ั รปู ธรรมและนามธรรม รวมถึงการพูดคุย
เทคนิคในเรื่องทม่ี ีความเชย่ี วชาญ

2. สามารถโต้ตอบอย่างคล่องแคล่วและเป็นธรรมชาติโต้ตอบกับผู้พูดที่เป็นเจ้าของภาษาได้
โดยไมม่ คี วามเคร่งเครียด

3. สามารถสร้างถ้อยคำที่ชัดเจนและมีความละเอียดในหัวข้อที่หลากหลาย อธิบายมุมมอง
เก่ยี วกบั ปญั หาเฉพาะทีม่ คี วามได้เปรียบและเสียเปรียบ

นักเรยี นทีม่ ที กั ษะภาษาองั กฤษระดับ B2 จะสามารถสื่อสารได้ดงั ต่อไปน้ี
ก า ร ก ำ ห น ด ค ำ อ ธ ิ บ า ย ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ก า ร ส ื ่ อ ส า ร อ ย ่ า ง เ ป ็ น ท า ง ก า ร ถ ู ก ร ะ บุ เ พ่ื อ
วัตถุประสงค์ในการจัดการเรียนการสอน การระบุทักษะอย่างละเอียดนี้สามารถช่วยประเมินระดับ
ทักษะภาษาอังกฤษของผู้มีความสามารถทางภาษาหรือช่วยเหลือครูผู้สอนในการประเมินระดับของ
นักเรียน ยกตัวอย่างเช่น นักเรียนที่มีทักษะภาษาอังกฤษระดับ B2 จะสามารถสื่อสารทุกอย่างที่
นกั เรียนระดับ B1 สามารถทำได้ และจะมีทกั ษะเพ่มิ เติม ดงั ต่อไปน้ี
• เข้าร่วมการประชุมในเรื่องที่มีความเชี่ยวชาญหากได้รับความช่วยเหลือในการทำความเข้าใจ

บางส่วน
• พดู คยุ เรื่องปญั หาทางเพศท่ีเกย่ี วข้องกับความหยาบคายและบรรทดั ฐานทางวัฒนธรรม
• พูดคุยเกี่ยวกบั การเงินส่วนตวั ให้คำแนะนำทางการเงินแก่เพอื่ นและเพื่อนร่วมงาน
• พดู คุยเร่ืองชีวิตความเปน็ อยสู่ ่วนตัวและดา้ นการงาน รวมถึงการอธบิ ายเก่ยี วกับชวี ติ ในทท่ี ำงาน
• อธิบายวุฒกิ ารศึกษา ประสบการณ์ จดุ แข็งและจดุ ออ่ น พูดคยุ เกี่ยวกับเสน้ ทางอาชีพ
• พูดคยุ เกี่ยวกบั แนวความคิดและแนวทางทจ่ี ะใช้ในการปรบั ปรงุ ประสิทธิภาพการทำงาน

11

• พดู คุยถงึ สง่ิ ท่ีคณุ ชอบอ่านและแนะนำเรอื่ งดี ๆ ทเ่ี หมาะสำหรับการอ่าน
• ใชภ้ าษาอยา่ งเหมาะสมในสถานการณ์ทางสังคม รวมถึงการชืน่ ชมและแสดงความเสียใจ
• พดู คยุ เกย่ี วกับคุณสมบัตขิ องการเปน็ ผูน้ ำและผนู้ ำท่ชี ่ืนชอบ
• รับมอื กับสถานการณท์ ซ่ี ับซ้อนทเี่ กิดขน้ึ ในสงั คมและธุรกจิ
• พดู คยุ เรอื่ งการเมอื งทว่ั ไปและพฤติกรรมของนักการเมือง
ทักษะที่พัฒนาจะขึ้นอยู่กับประเภทของหลักสูตรและนกั เรียนแต่ละคน โดยนักเรียนสามารถ
คาดหวังไดว้ า่ ภาษาอังกฤษจะอยู่ทร่ี ะดับ B2 เมอื่ ผ่านการเรียน 600 ชัว่ โมง

ภาษาอังกฤษระดบั C1

ภาษาอังกฤษระดับ C1 คือภาษาอังกฤษระดับท่ี 5 กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR
โดยทั่วไปอาจเรียกระดับนี้ว่า “ระดับสูง” ในระดับนี้นักเรียนสามารถสื่อสารได้อย่างอิสระและมี
ความแม่นยำมากเกีย่ วกับหัวขอ้ ที่หลากหลายในเกอื บทุกเรื่องโดยไม่ต้องเตรียมตัวล่วงหนา้

ผมู้ ีความสามารถภาษาอังกฤษระดับ C1 สามารถสือ่ สารในการทำงานได้อย่างเต็มรูปแบบหรือ
ภายใตส้ ภาพแวดลอ้ มเชิงวชิ าการ ระดบั C1 คือการใช้ทักษะไดอ้ ย่างเต็มที่ในประเทศที่พดู ภาษาอังกฤษ
ตามเกณฑ์มาตรฐาน CEFR อย่างเป็นทางการ ผู้ที่มีทักษะภาษาอังกฤษอยู่ในระดับ C1 จะสามารถ
สอ่ื สารไดด้ ังต่อไปน้ี

1. เข้าใจความต้องการที่หลากหลาย ข้อความทีย่ าวขึน้ และตระหนกั ถงึ ความหมายโดยนยั
2. สามารถแสดงความคดิ ได้อย่างคล่องแคลว่ และเปน็ ธรรมชาติโดยไม่ใช้เวลามากนกั
3. สามารถใช้ภาษาได้อย่างยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพสำหรับการสื่อสารในระดับสังคม

วชิ าการและด้านอาชพี
4. สามารถสร้างถ้อยคำทชี่ ัดเจน มโี ครงสร้างดี ให้รายละเอียดเกยี่ วกับเรือ่ งที่ซบั ซอ้ น ใช้แบบ

แผนการสอ่ื สาร คำเชอื่ มและการเชอื่ มโยงความ
นักเรยี นทีม่ ีทกั ษะภาษาอังกฤษระดับ C1 จะสามารถส่ือสารไดด้ งั ตอ่ ไปน้ี
ก า ร ก ำ ห น ด ค ำ อ ธ ิ บ า ย ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ก า ร ส ื ่ อ ส า ร อ ย ่ า ง เ ป ็ น ท า ง ก า ร ถ ู ก ร ะ บุ เ พื่ อ
วัตถุประสงค์ในการจัดการเรียนการสอน การระบุทักษะอย่างละเอียดนี้สามารถช่วยประเมินระดับ
ทักษะภาษาอังกฤษของผู้มีความสามารถทางภาษาหรือช่วยเหลือครูผู้สอนในการประเมินระดับของ
นักเรียน ยกตัวอย่างเช่น นักเรียนที่มีทักษะภาษาอังกฤษระดับ C1 จะสามารถสื่อสารทุกอย่างท่ี
นักเรียนระดบั B2 สามารถทำได้ และจะมีทกั ษะเพ่มิ เติม ดงั ตอ่ ไปนี้
• พูดคุยเกี่ยวกับรายละเอียดของความสำเร็จ รวมทั้งการสร้างแรงบันดาลใจให้ทีมประสบ

ความสำเรจ็
• พูดคยุ ถงึ รายละเอยี ดบางอยา่ งเกย่ี วกับภาพวาดและสถาปัตยกรรมของอาคารท่ชี ่นื ชอบ

12

• ถกปัญหาทางสงั คม วิธีแก้ปญั หาที่เป็นไปไดแ้ ละบทบาทท่อี งคก์ รสามารถทำได้
• รว่ มสนทนาเกีย่ วกับการอนุรกั ษ์ การพัฒนาอยา่ งย่ังยนื และการปกป้องแหลง่ ท่ีอยู่อาศัย
• พดู เกยี่ วกบั เหตกุ ารณแ์ ละปญั หาในขา่ ว ผลกระทบตอ่ ผคู้ นและเพอื่ นร่วมงาน
• พดู เกี่ยวกับความเสยี่ งในชวี ิต รวมถงึ การเปลย่ี นงานและการเล่นกฬี าทีอ่ ันตราย
• เปรยี บเทยี บและเทียบเคยี งรปู แบบการศึกษาและโรงเรยี น
• โต้ตอบดว้ ยมุกตลก รวมถงึ รูปแบบท่ซี ับซ้อน เช่น การเสยี ดสี
• เข้าใจรูปแบบของการสื่อสารต่าง ๆ รวมถึงทางตรง ทางอ้อม เป็นทางการและไม่เป็น

ทางการ
• พดู คยุ ถงึ ปัญหาดา้ นคุณภาพชีวติ รวมถงึ ความสมดุลของชวี ิตการทำงานและทีบ่ ้าน
• เข้าใจและสามารถพูดคุยเกี่ยวกับปัญหาดา้ นจรยิ ธรรม เช่น การฝ่าฝนื จารีต
ทักษะที่พัฒนาจะข้ึนอยูก่ ับประเภทของหลักสูตรและนักเรยี นแต่ละคน โดยนักเรียนสามารถ
คาดหวงั ได้วา่ ภาษาองั กฤษจะอยู่ท่รี ะดับ C1 เม่อื ผา่ นการเรียน 800 ชว่ั โมง

ภาษาองั กฤษระดบั C2

ภาษาอังกฤษระดับ C2 คือภาษาอังกฤษระดับท่ี 6 และเป็นระดับสูงสุดตามกรอบ
ความสามารถทางภาษาสากล CEFR โดยทั่วไปอาจเรียกระดับนี้ว่า “พูดได้สองภาษา” เหมือนการกล่าว
ว่า “ฉันพูดไดส้ องภาษาทั้งภาษาอังกฤษและฝรง่ั เศส” เจา้ ของภาษาอังกฤษท่ีมีพ้นื ความรู้ดีจะมีทักษะ
อยู่ท่ีระดับ C2ผู้เรียนภาษาอังกฤษจำนวนน้อยในระดับนี้ เนื่องจากเป้าหมายเกี่ยวกับอาชีพหรือ
เป้าหมายทางวิชาการที่ไม่จำเปน็ ต้องใช้

ผู้ท่มี ภี าษาอังกฤษระดับ C2 คอื ระดับของเจ้าของภาษา สามารถอา่ นและเขยี นเกี่ยวกับหัวข้อ
ทุกประเภท แสดงทางอารมณ์และความคิดเห็นได้อย่างเหมาะสม รวมถึงการมีส่วนร่วมทางวิชาการ
หรือด้านอาชีพตามเกณฑ์มาตรฐาน CEFR อย่างเป็นทางการ ผู้ที่มีทักษะภาษาอังกฤษอยู่ใน
ระดับ C2 จะสามารถสอื่ สารไดด้ ังต่อไปน้ี

1. เข้าใจทุกเรอื่ งที่ฟงั หรอื อ่านได้อยา่ งง่ายดาย
2. สามารถสรุปคำพูดและข้อความจากแหล่งที่มาต่าง ๆ สร้างข้อโต้แย้งและใช้ในการนำเสนอท่ี

สอดคลอ้ งกัน
3. สามารถแสดงออกและส่ือสารได้อย่างเป็นธรรมชาติ คล่องแคล่วและแม่นยำมาก รวมถึง

สามารถแยกแยะความหมายทใ่ี กลเ้ คยี งกนั ของสถานการณ์ที่มีความซบั ซ้อน
นักเรยี นท่ีมที กั ษะภาษาอังกฤษระดับ C2 จะสามารถสือ่ สารไดด้ งั ตอ่ ไปน้ี
ก า ร ก ำ ห น ด ค ำ อ ธ ิ บ า ย ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ก า ร ส ื ่ อ ส า ร อ ย ่ า ง เ ป ็ น ท า ง ก า ร ถ ู ก ร ะ บุ เ พ่ื อ
วัตถุประสงค์ในการจัดการเรียนการสอน การระบุทักษะอย่างละเอียดนี้สามารถช่วยประเมินระดับ

13

ทักษะภาษาอังกฤษของผู้มีความสามารถทางภาษาหรือช่วยเหลือครูผู้สอนในการประเมินระดับของ
นักเรียน ยกตัวอย่างเช่น นักเรียนที่มีทักษะภาษาอังกฤษระดับ C2 จะสามารถสื่อสารทุกอย่างที่
นกั เรยี นระดับ C1 สามารถทำได้ และจะมที ักษะเพิ่มเติม ดงั ตอ่ ไปนี้

• พดู คุยหัวขอ้ ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมถงึ ห่นุ ยนตแ์ ละนวตั กรรมใหม่
• พูดเก่ยี วกบั บุคคลท่มี ชี ือ่ เสยี ง นักกจิ กรรมท่มี ชี ือ่ เสยี งและข่าวซบุ ซิบของคนดงั
• ใช้เทคนิคหลากหลายเพื่อเสรมิ ความคิดสร้างสรรคใ์ นคำพูดและการเขยี น
• พูดคุยเกี่ยวกับการวางแผนทางการเงิน ให้ข้อเสนอแนะและเข้าใจคำแนะนำเรื่องการเงิน

สว่ นบคุ คล
• พดู เกี่ยวกบั ความเครียดในชวี ิตของตวั เอง รวมถงึ ของเพอื่ นและเพ่ือนร่วมงาน
• พูดคยุ ถงึ เทคนคิ การทำวิจยั เกีย่ วกับหวั ขอ้ ตา่ ง ๆ
ทักษะที่พัฒนาจะขึ้นอยูก่ ับประเภทของหลักสูตรและนักเรียนแต่ละคน โดยนักเรียนสามารถ
คาดหวงั ได้ว่าภาษาองั กฤษจะอยูท่ ี่ระดับ C2 เม่อื ผ่านการเรียน 1000 ช่ัวโมง

∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞

14

คำถามทบทวนความเข้าใจ

เรื่อง กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR
(The common European Framework of Reference for Language : CEFR)

คำช้แี จง จงคำถามเพือ่ ทบทวนความเข้าใจ
1. จงอธบิ ายความหมายและความสำคัญของกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR
2. CEFR จำแนกผใู้ ชภ้ าษาออกเปน็ ก่ีกลุ่มและกร่ี ะดับความสามารถ
3. ผสู้ ำเรจ็ การศึกษาภาคบังคับ (ม.3) ควรได้ระดับความสามารถทางภาษา CEFR ใด
4. ในฐานะครูภาษาอังกฤษจะสามารถส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถทางภาษาตามกรอบ
ความสามารถทางภาษาสากล CEFR ไดอ้ ย่างไรบ้าง
5. ครจู ะสามารถพฒั นาตนเองทางใดบ้างเพ่ือส่งเสริมการจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษตาม
กรอบมาตรฐานความสามารถภาษาสากล CEFR ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ

∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞

15

แบบทดสอบ

เรอ่ื ง กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR
(The common European Framework of Reference for Language : CEFR)

คำชแ้ี จง แบบทดสอบฉบบั น้ีเปน็ แบบทดสอบแบบเลือกตอบ จำนวน 10 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน
ใช้เวลาในการทำแบบทดสอบ 10 นาที โดยเลอื กคำตอบทีถ่ ูกทสี่ ดุ เพยี งคำตอบเดียว

1. ข้อใดคือความหมายของ CEFR
1) The Common English Framework of Reference for Languages
2) The Common English Framework of Reliability for Languages
3) The Common European Framework of Reference for Languages
4) The Common European Framework of Reliance for Languages

2. กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR จำแนกผูเ้ รยี นกีก่ ลมุ่ หลักและกร่ี ะดับความสามารถ
1) 2 กลมุ่ หลกั และ 4 ระดบั ความสามารถ
2) 3 กลมุ่ หลกั และ 6 ระดับความสามารถ
3) 3 กลมุ่ หลักและ 9 ระดับความสามารถ
4) 2 กลุ่มหลักและ 6 ระดบั ความสามารถ

3. ขอ้ ใดเป็นหนึ่งในกลุ่มหลักของ CEFR
1) Amateur User
2) Independent User
3) Intermediate User
4) Native User

4. ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถูกต้องเกยี่ วกบั การเรียนการสอนภาษาอังกฤษแบบ CLT
1) เปน็ การเรยี นการสอนท่เี ร่ิมต้นจากการฟัง
2) เป็นการเรียนการสอนท่คี ำนงึ ถงึ ธรรมชาติของการเรียนรูภ้ าษา
3) CLT ยอ่ มาจาก Communicative-Linguistic Lexical Tasks
4) การเรียนการสอนแบบ CLT เป็นการเรียนการสอนที่มีลักษณะการเรียนรู้ที่ใกล้เคียงกับ
การเรียนรู้ภาษาไทยในครัง้ แรกสำหรบั ผเู้ รียนคนไทย

5. กระทรวงศึกษาธิการกำหนดให้ใชก้ รอบอา้ งอิงความสามารถทางภาษาของสหภาพยุโรป (CEFR)
เป็นกรอบความคดิ หลัก ในดา้ นใด
1) การออกแบบหลกั สูตรและการพฒั นาการเรียนการสอน
2) การทดสอบและการวดั ผล
3) การพัฒนาครู
4) ถูกทุกข้อ

16

6. ข้อใดต่อไปนี้กลา่ วถูกต้องเกี่ยวกบั เป้าหมายการพัฒนาระดับความสามารถทางภาษาของผูเ้ รียนใน
ระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานทีก่ ระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดไว้
1) ผู้สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา (ป.6) และผู้สำเร็จการศึกษาภาคบังคับ (ม.3) มีระดับ
ความสามารถทางภาษาตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR เหมอื นกนั
2) ผู้สำเร็จการศึกษาภาคบังคับ (ม.3) มีระดับความสามารถทางภาษาตามกรอบความสามารถ
ทางภาษาสากล CEFR ที่ A2 เทา่ น้ัน
3) ท้งั ผสู้ ำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา (ป.6) และผู้สำเร็จการศึกษาภาคบังคับ (ม.3) ถูกจัดไว้
ในกล่มุ ผใู้ ชภ้ าษาขน้ั เดียวกันคอื เปน็ ผใู้ ชภ้ าษาขั้นปานกลาง
4) ผ้สู ำเร็จการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน (ม.6/ปวช.) มรี ะดับความสามารถทางภาษาอย่ใู นระดบั ผู้ใช้ภาษา
ขน้ั พิเศษ (C)

7. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ีกลา่ วไม่ถกู ตอ้ ง
1) CEFR คือ แบบทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษสากล
2) กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สามารถปรบั ใชไ้ ด้ในหลายบริบทและภาษา
3) ผสู้ ำเร็จการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา (ป.6) ต้องมีความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษ เมื่อ
เทยี บกับกบั กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR อยใู่ นระดับ A1
4) CEFR เป็นแนวทางแก่ครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับระดับ
ความสามารถของผู้เรยี นทีก่ ำหนดไว้ในแต่ละระดับ โดยที่คุณภาพของผู้เรียนยงั คงเป็นไปตาม
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พ.ศ. 2551

8. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการยกระดับความสามารถในการจัดการเรียนการสอนของครูให้
สอดคล้องกบั วธิ ีการเรียนรู้ทเี่ น้นการสอื่ สาร (CLT) และเป็นไปตามกรอบความคิดหลกั CEFR
1) การประเมินความรู้พื้นฐานภาษาอังกฤษสำหรับครู ไม่ควรทำอย่างต่อเนื่องเพราะจะเป็นการเพ่ิม
ภาระงานให้กับครแู ละจะทำให้ครูทำงานในมือไดอ้ ยา่ งไมเ่ ต็มประสิทธภิ าพ
2) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของครูและความสามารถในการสอนมีความสำคัญอย่างมาก
ตอ่ ความสำเรจ็ ในการเรียนภาษาอังกฤษของผเู้ รยี น
3) การเรียนรู้จากการเลียนแบบและการปฏิสัมพันธ์เป็นหนึ่งในลักษณะการเรียนรู้ที่ต้องอาศัย
เพอ่ื ให้การเรยี นภาษาอังกฤษของผู้เรียนเรยี นไดด้ ีและมีประสิทธิภาพ
4) การจัดการเรียนรู้ควรนำระดับความสามารถทางภาษาและคำอธิบายความสามารถทางภาษา
ที่กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR กำหนดไว้แต่ละระดับมาพิจารณาการจัด
กระบวนการเรยี นการสอน

17

9. “ผู้เรียนสามารถเข้าใจข้อความยาวๆ ที่ซับซ้อนในหัวข้อที่หลากหลาย เข้าใจความหมายแฝงได้
สามารถแสดงความคิดของตนได้อย่างเป็นธรรมชาติ โดยไม่ต้องหยุดคิดหาคำศัพท์และสามารถใช้
ภาษาได้ถูกกาลเทศะตามลักษณะของการปฏิสัมพันธ์ สังคม และสถานการณ์ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ” ข้อความข้างต้นเป็นความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถ
ทางภาษาสากล CEFR ในระดบั ใด
1) A1
2) B1
3) B2
4) C1

10. น.ส.รอี านนา่ กำลงั เรียนอยชู่ ั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ท่ีโรงเรียนแอลเอพิทยาคม ตามเป้าหมายการพัฒนา
ระดับความสามารถทางภาษาของผู้เรยี นของกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR แลว้ ควร
ต้องมรี ะดบั ความสามารถภาษาองั กฤษเปน็ อย่างนอ้ ยอยทู่ ่รี ะดับใด
1) A1
2) A2
3) B1
4) C2

∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞

18

แนวตอบคำถามทบทวนความเขา้ ใจ

เร่อื ง กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR
(The common European Framework of Reference for Language : CEFR)

1. จงอธิบายความหมายและความสำคญั ของกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR
แนวตอบ CEFR ย่อมาจาก The common European Framework of Reference for

Languages เป็นการกำหนดมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษของประชากรของประเทศใน
กลมุ่ สหภาพยโุ รป เพื่อให้โรงเรยี นทุกๆ โรงเรียน ในแต่ละประเทศที่เปน็ ชาตสิ มาชกิ ในสหภาพยโุ รปได้
ออกแบบหลักสูตรและอำนวยการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษที่มุ่งเน้นในการพัฒนา “ทักษะ
การใช้ภาษาอังกฤษ (English Proficiency)” ให้กับประชากรของตนเอง เพื่อให้ประชากรของทุก ๆ
ประเทศในสหภาพยุโรปสามารถใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยนวัฒนธรรม
และองค์ความรู้ต่าง ๆ ตลอดจนสามารถประสานงานเพื่อดำเนินธุรกรรมและธุรกิจใดๆ ร่วมกันได้
อย่างมีประสิทธิภาพ โดยปัจจุบันกรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษาสากล CEFR นั้น ถือว่าเป็น
มาตรฐานในการพฒั นาหลักสตู รการเรียนภาษาอังกฤษที่ได้รับการยอมรบั จากทวั่ โลก

2. CEFR จำแนกผูใ้ ชภ้ าษาออกเป็นก่ีกลุ่มและก่รี ะดับความสามารถ
แนวตอบ CEFR ได้จาํ แนกผู้เรียนออกเปน็ 3 กลุ่มหลัก และแบง่ เป็น 6 ระดับความสามารถ

ดงั น้ี กลมุ่ A: A1 และ A2 , กลมุ่ B: B1 และ B2 , และ กลุ่ม C: C1 และ C2

3. ผูส้ ำเรจ็ การศกึ ษาภาคบังคบั (ม.3) ควรไดร้ ะดบั ความสามารถทางภาษา CEFR ใด
แนวตอบ A2

4. ในฐานะครูภาษาอังกฤษจะสามารถสง่ เสริมใหน้ กั เรียนมีความสามารถทางภาษาตามกรอบ
ความสามารถทางภาษาสากล CEFR ไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง
แนวตอบ
1) ครูควรมีความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกับจดุ มุ่งหมายและวธิ ีการสอนภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาที่สอง
เพอ่ื ความเขา้ ใจในวธิ ีการสอนและกจิ กรรมที่เหมาะสมกบั นักเรยี น
2) ครูควรนำเทคนคิ มที่ไดศ้ ึกษามาประยกุ ต์ใช้ในจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษ รวมถึง
การสร้างบรรยากาศในชน้ั เรยี นเพ่ือให้นักเรยี นเกิดความชอบและกระตือรือร้นทจี่ ะเรียนภาษาอังกฤษ
3) ครูควรเปน็ แบบอยา่ งที่ดีในการใชภ้ าษาอังกฤษทงั้ ในและนอกชัน้ เรยี น

19

5. ครูจะสามารถพัฒนาตนเองทางใดบ้างเพ่ือสง่ เสริมการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษตาม
กรอบมาตรฐาน ความสามารถดา้ นภาษาองั กฤษที่เปน็ สากลให้มีประสทิ ธภิ าพ
แนวตอบ
1) ครูควรเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการสอนภาษาอังกฤษทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ฟัง พูด

อา่ น เขียน และ ไวยากรณ์เพอื่ การสื่อสารอยา่ งสม่ำเสมอ
2) ครูควรศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น เพื่อนำความรู้มาต่อยอดการจัดการเรียนการสอน

ภาษาอังกฤษใหม้ ีประสิทธภิ าพมากขนึ้ ท้งั นข้ี ึน้ อยูก่ บั ความพรอ้ มของแต่ละบคุ คล
3) ครูควรศึกษาสื่อ วิธีการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษจากแหล่งข้อมูลที่ทันสมัย เชน่

เว็บไซตภ์ าษาองั กฤษทม่ี ีความทันสมยั และน่าเช่ือถือ
4) ครูควรแลกเปลี่ยนข้อมูลการจัดการเรียนการสอนกับเพื่อนร่วมงานเพื่อหาพัฒนาจุดเด่น

แก้ไขจดุ ดอ้ ยในการจัดการเรยี นการสอนอย่างสม่ำเสมอ

∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞

20

เฉลยแบบทดสอบ

เรอื่ ง กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR
(The common European Framework of Reference for Language : CEFR)

1. 3) The Common European Framework of Reference for Languages
2. 2) 3 กลมุ่ หลักและ 6 ระดบั ความสามารถ
3. 2) Independent User
4. 3) CLT ย่อมาจาก Communicative-Linguistic Lexical Tasks
5. 4) ถกู ทุกข้อ
6. 2) ผ้สู ำเร็จการศกึ ษาภาคบังคับ (ม.3) มรี ะดบั ความสามารถทางภาษาตามกรอบ

ความสามารถทางภาษาสากล CEFR ที่ A2
7. 1) CEFR คือ แบบทดสอบความสามารถทางภาษาองั กฤษสากล
8. 1) การประเมนิ ความรู้พนื้ ฐานภาษาอังกฤษสำหรบั ครู ไม่ควรทำอยา่ งต่อเน่ืองเพราะจะเป็น

การเพ่มิ ภาระงานให้กบั ครู และจะทำให้ครูทำงานในมอื ไดอ้ ยา่ งไม่เต็มประสทิ ธิภาพ
9. 4) C1
10. 3) B1

∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞

21

ตอนท่ี 2

การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
(Communicative Language Teaching : CLT)

หลักการสอนภาษาอังกฤษแนวสื่อสารนับว่าเป็นการสอนภาษาอังกฤษที่เน้นในเรื่องของ
ความหมาย (Meaning) มากกว่ารูปแบบทางภาษา (Form) เน้นการใช้ภาษาเพื่อการสนทนาจาก
สถานการณ์จริงโดยเลือกใชภ้ าษาได้เหมาะสมกับบริบทเปน็ สำคัญ ไม่เนน้ การท่องกฎเกณฑ์ทางภาษา
หรือไวยากรณ์แต่เรียนรู้เพื่อใช้ภาษาสื่อความหมายเทียบเท่ากับการเรียนรู้โครงสร้าง เสียง และ
คำศัพท์ มีการทำแบบฝึกหัดทางภาษา (Drill) แต่ไม่ได้เน้นหนักมากเหมือนวิธีการสอนแบบตรง
(Direct Method) และแบบเนน้ ไวยากรณ์ เนน้ การออกเสยี งได้อยา่ งถูกต้องมากกวา่ การพยายามออก
เสยี งใหเ้ หมือนกับเจ้าของภาษา มกี ารฝกึ การใชภ้ าษาครบทั้งส่ีทักษะสื่อสาร ให้ความสำคัญกับผู้เรียน
ด้านการส่ือสารคลอ่ งแคล่ว (Fluency) มากกวา่ ความถูกต้องของการใช้ภาษา (Accuracy) มีการแกไ้ ข
ในเรื่องของข้อผิดพลาดการใช้ภาษาของผู้เรียน (Error Correction) โดยพยายามให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
และแก้ไขข้อผิดพลาดทางภาษาด้วยตนเอง ผู้สอนจะกระตุ้นด้วยการสร้างสถานการณ์หรือ

22

สภาพแวดล้อมต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนใช้ภาษาสื่อสารออกมาให้ได้มากที่สุด ซึ่งกิจกรรมการสื่อสาร
(Communicative Activities) เป็นกิจกรรมที่ผู้สอนนำมาใช้ในการสอนภาษาอังกฤษแนวสื่อสาร โดย
แบ่งประเภทของกิจกรรมสื่อสารออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ 1) กิจกรรมเพื่อการสื่อสาร (Functional
Communication Activities) เป็นกิจกรรมที่ผู้สอนฝึกให้ผู้เรียนพัฒนาและใช้ภาษาอังกฤษสื่อสาร
ความหมายตามหน้าท่ขี องภาษา (Function) และ 2) กจิ กรรมปฏสิ ัมพนั ธ์ในสงั คม (Social Interaction
Activities) เป็นกิจกรรมที่ผู้สอนให้ผู้เรียนพัฒนาและใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารกับบุคคลในสังคมต่างๆ
เช่น กิจกรรมการสนทนา การโต้วาที การอภิปราย การแสดงละคร สถานการณ์จำลอง บทบาทสมมติ
(ธปู ทอง กวา้ งสวาสด,์ิ 2549, หน้า 2-5)

ความหมายของการสอนภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอื่ สาร

การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (Communicative Language Teaching : CLT)
เปน็ แนวคดิ ในการสอนภาษาที่มงุ่ เนน้ ความสำคัญของตัวผู้เรยี น ใหผ้ ูเ้ รยี นไดใ้ ช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร
ในชีวิตประจำวันได้จริง มีการจัดลำดับการเรียนรู้เป็นขั้นตอนตามกระบวนการใช้ความคิดของผู้เรยี น
ซึ่งเชื่อมระหว่างความรู้ทางภาษา ทักษะทางภาษา และความสามารถในการส่ือสารเพื่อให้ผู้เรียนต้อง
คำนึงถึงการสอ่ื สารในชวี ิตจริง กิจกรรมและภาระงานต่าง ๆ ทเ่ี กยี่ วข้องกบั การสื่อสารจริง สอื่ ทใี่ ช้เป็น
สือ่ จรงิ แต่ไม่ไดล้ ะเลยความร้ดู ้านไวยากรณ์ เมื่อเกิดความผดิ พลาดทางดา้ นไวยากรณเ์ พียงเลก็ น้อยแต่
ยังสามารถสือ่ สารได้ ครูผู้สอนไม่ควรขัดจงั หวะโดยการแก้ไขให้ถูกต้องทันที ควรแก้ไขเมื่อความผิดพลาดนัน้
ทำให้เกิดความไม่เข้าใจหรือสื่อสารไม่ประสบความสำเร็จเทา่ นัน้ ทั้งนี้เพื่อทำให้ผู้เรียนมีเจตคติทีด่ ีตอ่
การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (Davies and Pearse, 2000, p 208 ; Brown, 2001, p 5 ;
Richard, 2006, p 2)

องค์ประกอบของค์วามสามารถในการส่ือสารไว้ 4 องคป์ ระกอบ (Canale and Swain, 1980
อา้ งถงึ ในสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน, ม.ป.ป. หน้า 37 - 38) ดงั น้ี

1. ความสามารถทางด้านไวยากรณ์หรือโครงสร้าง (Linguistic competence and
Grammatical competence) หมายถึง ความรู้ด้านภาษา ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับคำศัพท์ โครงสร้าง
ของคำ ประโยค ตลอดจนการสะกดและการออกเสยี ง

2. ความสามารถด้านสังคม (Sociolinguistic competence) หมายถึง การใช้คำและ
โครงสร้างประโยคได้เหมาะสมตามบริบทของสังคม เช่น การขอโทษ การขอบคุณ การถามทิศทาง
และขอ้ มลู ตา่ ง ๆ และการใช้ประโยค คำสัง่ เปน็ ตน้

3. ความสามารถในการใช้โครงสร้างภาษาเพื่อการส่ือความหมายด้านการพูดและเขียน
(Discourse competence) หมายถึง ความสามารถในการเชื่อมระหว่างโครงสร้างภาษากับ
ความหมายในการพดู และการเขยี นตามรปู แบบและสถานการณท์ ี่แตกต่างกนั

23

4. ความสามารถในการใช้กลวธิ ใี นการส่ือความหมาย (Strategic competence) หมายถึง
การใช้เทคนิคเพื่อให้การติดต่อสื่อสารประสบความสำเร็จโดยเฉพาะการสื่อสารด้านการพูด เช่น
การใชภ้ าษาทา่ ทาง (Body language) การขยายความโดยใช้คำศพั ทอ์ ื่นแทนคำท่ีผูพ้ ูดนึกไม่ออก เป็นต้น

หลกั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอื่ สาร

การจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสารมหี ลักสำคัญ ดงั น้ี
1. ผเู้ รียนไดร้ ับการฝึกฝนรปู แบบภาษาท่ีเรยี นจะใช้ได้ในสถานการณ์ท่ีมคี วามหมายครูต้อง
บอกให้ผู้เรียนทราบถึงจุดมุ่งหมายของการเรียน การฝึกการใช้ภาษาเพื่อให้การเรียนภาษาเป็นสิ่งที่มี
ความหมายต่อผู้เรียนให้ผู้เรียนรู้สึกว่าเมื่อเรยี นแล้วสามารถทำบางอย่างได้เพิม่ ขึ้น สามารถสื่อสารได้
ตามทีต่ นตอ้ งการ
2. จดั การเรยี นการสอนแบบบรู ณาการหรือทักษะสัมพันธ์ (Integrated skill) คือ ใชท้ ักษะ
ภาษาทั้ง 4 ประกอบด้วย กรยิ าท่าทางท่ีควรจะไดท้ ำพฤติกรรมเช่นเดยี วกับในชีวติ จริง
3. ฝึกสมรรถภาพด้านการสื่อสาร (Communicative competence) คือ ผู้เรียนทำ
กิจกรรมใช้ภาษามีลักษณะเหมือนในชีวิตประจำวันให้มากที่สุดเพื่อให้ผู้เรยี นนำไปใช้ได้จริง กิจกรรม
การหาข้อมูลท่ีขาดหายไป (Information gap) ผู้เรียนทำกจิ กรรมนีจ้ ะไมท่ ราบขอ้ มูลของอีกฝ่ายหน่ึง
จำเป็นต้องสื่อสารกันจึงทราบข้อมูล สามารถเลือกใช้ข้อความที่เหมาะสมกับบทบาท สถานการณ์
สำนวนภาษาในรปู แบบตา่ ง ๆ (Function)
4. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้ใช้ความรู้ รวมทั้งประสบการณ์ที่ได้รับ
สามารถแสดงความเห็น หรือระดมสมอง (Brainstorming activity) ฝึกการทำงานกลุ่มแสดงบทบาท
สมมติ (Role Play) เกมจำลองสถานการณ์ (Simulation) การแก้ปญั หา (Problem solving)
5. ฝึกผู้เรียนให้ใช้ภาษาในกรอบของค์วามรู้ทางด้านหลักภาษา ( Grammatical
competence) ความรเู้ กย่ี วกบั กฎเกณฑ์ของภาษา ส่อื สารได้คลอ่ งแคล่ว (Fluency) เนน้ การใชภ้ าษา
ตามสถานการณ์ (Function)

5.1 จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนตามศกั ยภาพ
5.2 ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นตัวของตัวเอง มีความรับผิดชอบและสนับสนุนให้ศึกษาหา
ความร้นู อกช้นั เรียน
5.3 ผสู้ อนตอ้ งจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สนองคว์ ามสนใจของผู้เรียน
5.4 ใหโ้ อกาสผู้เรยี นพดู แสดงความคิดเห็นตามท่ตี ้องการ
5.5 ต้องช่วยชี้แนะ นำทางผู้เรียนให้คำแนะนำในระหว่างการดำเนินกิจกรรมพร้อมกับ
ตรวจความก้าวหน้าทางการเรยี นของผเู้ รียน

24

ข้อสรุป 10 ประการในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (Ten core assumptions
of current Communicative Language Teaching, Richards, 2006, pp 22 - 23) ดงั น้ี

1. Interaction: การเรยี นรภู้ าษาทีส่ องจะเกิดข้นึ ได้ง่ายถ้าผู้เรียนได้ปฏิสัมพันธ์หรือส่ือสาร
ในภาษานัน้ อย่างมีความหมาย

2. Effective tasks: กจิ กรรมภาษาหรือแบบฝึกหัดท่ีมีคุณภาพในชั้นเรียนจะทำให้ผู้เรียนมี
โอกาสที่จะสื่อความหมายในภาษา เพิ่มพูนแหล่งการเรียนรู้ภาษา สังเกตการณ์ใช้ภาษาและมีส่วนใน
การรว่ มสื่อสาร

3. Meaningful Communicative: การสอื่ สารจะมคี วามหมายก็ตอ่ เมื่อผ้เู รียนสื่อสารเรื่อง
เกย่ี วข้องกบั ตน น่าสนใจและน่ามีสว่ นรว่ ม

4. Integration of Skills: การสื่อสารเป็นกระบวนการเน้นภาพรวม (holistic process) ที่
ต้องใชท้ ั้งทักษะทางภาษาและหลายรปู แบบ

5. Language Discovery/Analysis/ Reflection: การเรียนภาษาเกิดจากการทำกิจกรรม
การเรียนรู้แบบอุปนัย (Inductive learning) คือ ผ่านกระบวนการค้นพบกฎและรูปแบบของภาษา
ดว้ ยตนเอง จากกจิ กรรมการเรียนรู้ทสี่ อนกฎและรูปแบบของภาษา (Deductive learning)

6. Accuracy &Fluency: การเรียนภาษาเป็นการเรียนรู้ที่ค่อยเป็นค่อยไปที่ผู้เรียนเรียนรู้
จากการใช้ภาษาและจากการลองผิดลองถูกในภาษาถึงแม้จะเป็นเรื่องธรรมดาที่เกิดขึ้นในการเรียนรู้
แต่เป้าหมายปลายทางของการเรียนภาษา คือ การมีความสามารถในการใช้ภาษาอย่างถูกต้องและ
เหมาะสม

7. Individuality: ผเู้ รยี นแต่ละคนมหี นทางพัฒนาภาษาของตนเอง และมอี ัตราการพัฒนา
ทไ่ี ม่เทา่ กันและมคี วามต้องการและแรงจงู ใจในการเรียนภาษาทต่ี ่างกัน

8. Learning and Communication Strategies: การเรียนภาษาที่มีประสิทธิภาพขึ้นอยู่
กับกลยทุ ธ์ในการเรียนและกลยุทธ์การสือ่ สารทีม่ ีประสิทธภิ าพ

9. Teacher as a facilitator: บทบาทของผู้สอนในห้องเรียน คือ ผู้ช่วยสร้างบรรยากาศ
ในการเรียนรู้ สร้างโอกาสให้ผูเ้ รียนได้ฝึกภาษา ให้ผลสะท้อนกลับในการใชภ้ าษา การเรียนภาษาของ
ผเู้ รยี นและแบง่ ปันการเรยี นรซู้ ึ่งกันและกัน

10. Collaboration & Sharing atmosphere: ห้องเรียนเปรียบเสมือนชุมชนที่ผู้เรียน
สามารถเรยี นรู้ละแบง่ ปนั การเรียนรซู้ ึ่งกันและกัน

ลอตตี้ เบเคอร์ และ เจเน็ต ออร์ (Lottie Baker & Janet Orr, 2014 อ้างถึงในสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน, ม.ป.ป. หนา้ 40 - 41) ได้สรปุ การสอนภาษาเพื่อการสื่อสารตาม
หลกั ทฤษฎแี ละงานวิจัยไว้ 4 ประการ ดงั น้ี

25

1. เน้นการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพด้วยความถูกต้องและคล่องแคล่ว (A focus on
effective communication with accuracy and fluency) ความสามารถในการสื่อสารเป็น
เป้าหมายของการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารและการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพนั้นสัมพันธ์กับความถูกต้อง
ในด้านไวยากรณ์ และคำศพั ทซ์ ่ึงตอ้ งคว์ บค่ไู ปกบั ความคล่องแคลว่ ในการพูดและการเขียน

2. ความกล้าใช้ภาษาในการร่วมกิจกรรมกลุ่ม (Risk – taking in co-operative groups)
กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือกันแสดงถึงการเพิ่มปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งผ้เู รยี น ซงึ่ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้
ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ซึ่งกิจกรรมกลุ่มนั้นมีความสำคัญยิง่ ตอ่ การเริม่ ใช้ภาษาของนักเรียนที่ประหม่า
ในการพูดต่อหน้ากลุ่มใหญ่ กิจกรรมในกลุ่มเล็ก ๆ นั้นสร้างแรงจูงใจในการใช้ภาษาและกระตุ้น
นักเรยี นให้กล้าเสย่ี งในการใช้คำศพั ทแ์ ละโครงสรา้ งภาษาใหม่

3. เช่อื มโยงกบั ความหมายและบริบท (Connected to meaning and context) ในการสอน
ภาษาเพื่อการสื่อสารนั้น นักเรียนจะมีพัฒนาการทางภาษาด้วยการใช้ภาษาในชีวิตจริงสอดคล้องกับ
ทฤษฎีทางสังคมวัฒนธรรมของวายกอทสกี (Vygotsky) ที่ได้ให้ข้อสรุปเกี่ยวกับการสอนภาษาเพื่อ
การสอ่ื สารไว้ว่า “วิธีท่ีดที สี่ ดุ ท่จี ะเรียนรู้และสอนภาษา คือ การปฏิสมั พันธ์ทางสังคม ภาระงานด้านภาษา
ควรเชื่อมโยงกับบริบทของชวี ิตจรงิ ท่มี คี วามหมายตอ่ นักเรยี น

4. ทักษะการคิดวิเคราะห์ (Critical thinking skill) ทักษะการคิดวิเคราะห์มีความสำคัญ
มากข้นึ สำหรบั นกั เรยี นในทุกสาขาวชิ า ไม่เพียงแตด่ า้ นภาษาเท่าน้ัน ทฤษฎกี ารคดิ ท่รี ู้จักกันแพร่หลาย
คือ ทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคิดของบลูม (Blooms taxonomy) ซึ่งนักเรียนจำเป็นต้องรู้จักทักษะ
การคิดในระดับสงู และระดับล่าง ทักษะในระดับลา่ ง คอื การจำและความเข้าใจ เชน่ การจดจำคำศัพท์
ใหม่และเข้าใจวลีพื้นฐาน ทักษะในระดับสูง คือ การสังเคราะห์ ประเมินผล เช่น การรวบรวมข้อมูล
ย่อยในการเล่าเรื่อง หรือการแสดงความคิดเห็น และการตัดสินด้วยเหตผุ ล ทักษะการคิดวิเคราะห์ มี
ความสำคัญอย่างย่ิงต่อการสอนภาษาเพ่ือการสื่อสาร เพราะภาระงานด้านการส่ือสารนั้น ต้องบูรณาการ
ทั้งทักษะระดับล่างและระดับที่สูงขึ้น ในการสร้างภาษาใหม่นั้นนักเรียนต้องจดจำคำศัพท์ใหม่
สงั เคราะห์ความคดิ และประเมนิ ทางเลือกท่ีดีทีส่ ุดในการสื่อสาร

ขัน้ ตอนการเรียนการสอนภาษาองั กฤษเพอื่ การสอ่ื สาร

ขัน้ ตอนการเรียนการสอนตามแนวการสอนเพ่ือการสื่อสารในท่ีนี้ขอกล่าววธิ ีการสอนแบบ 3P
หรือ P – P – P ซึ่งมีขั้นตอน 3 ขั้นตอน ดังริชาร์ด (Richard, 2006, p 8) และสุมิตรา อังวัฒนกุล
(2540, หนา้ 112 - 115) ได้สรปุ ขัน้ ตอนวิธีสอนภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสาร ดังน้ี

1. ขั้นนำเสนอ (Presentation) เป็นการให้ตัวป้อนทางภาษา (Language Input) แก่
นกั เรียนซึง่ จดั เปน็ ขนั้ การสอนที่สำคัญข้ันหนึ่ง ในขั้นนี้ครูจะนำเสนอเน้ือหาใหม่ โดยมงุ่ เน้นให้นักเรียน
ไดร้ บั รูแ้ ละทำความเขา้ ใจเก่ียวกับความหมายและรูปแบบภาษาทใี่ ช้กันจรงิ โดยทั่วไป รวมทั้งวิธีการใช้

26

ภาษาไม่ว่าจะเป็นด้านการออกเสียง ความหมาย คำศัพท์ และโครงสร้างไวยากรณ์ที่เหมาะสมกับ
สถานการณต์ า่ ง ๆ ควบคู่กันไป

2. ขั้นฝกึ ปฏบิ ตั ิ (Practice) เป็นการฝกึ ใหผ้ เู้ รียนมีความแมน่ ยำในรปู แบบภาษาเพ่ือจะได้
สามารถนำไปใช้ในการสื่อสารต่อไป หลังจากที่ผู้เรียนได้รับรู้รูปแบบภาษาว่าเป็นอย่างไรและสื่อ
ความหมายอย่างไรในขั้นนำเสนอไปแล้ว ในขั้นนี้ควรเป็นการฝึกที่เน้นความหมาย (Meaningful drills)
เพราะผู้เรยี นมคี วามจำเป็นในการใชภ้ าษาเพ่อื สือ่ ความหมาย การฝึกเน้นความหมายหลายแบบ เช่น
ฝกึ การแลกเปล่ียนข้อมูล (Information gap) การแสดงบทบาทสมมุติ (Role play) ฝึกดว้ ยการเล่นเกม
ท่มี ีการควบคมุ การใช้ภาษา เป็นต้น

3. ขั้นนำไปใช้ (Production) เป็นการฝึกใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร เปรียบเสมือนการถ่าย
โอนการเรียนรู้ภาษาจากสถานการณ์ในช้นั เรยี นไปสู่การนำภาษาไปใช้จริง การฝกึ ใชภ้ าษาเพื่อการส่ือสาร
โดยทั่วไป มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้ลองใช้ภาษาในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่จำลองสถานการณ์จริงหรือที่เป็น
สถานการณจ์ ริงดว้ ยตนเอง โดยครูผสู้ อนเปน็ เพียงผู้แนะนำแนวเท่าน้ัน สว่ นผู้เรียนมีหน้าที่ในการผลิต
ภาษากิจกรรมทใี่ หผ้ ูเ้ รียนปฏิบัติควรเป็นกิจกรรมทใี่ หผ้ เู้ รยี นมีความต้องการและมีจุดมุง่ หมายในการสื่อสาร
และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกใช้ภาษาหรือเนื้อหาด้วยตนเองมากที่สุด อีกทั้งผู้เรียนควรจะได้
ประเมินผลการสื่อสารของตนจากผลสะท้อนกลับของผู้ร่วมสือ่ สารด้วย เพื่อให้การสื่อสารเหมือนจรงิ
มากที่สุด

หลังจากผู้เรียนได้ฝึกฝนและเข้าใจการใช้ภาษาได้พอสมควรแล้ว ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียน
นำความรู้และทักษะภาษาที่มีไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้อย่างอิสระ (Free Practice) ในกิจกรรม
สื่อสารต่าง ๆ เช่น บทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง เกมทางภาษา การสำรวจ การหาข้อมูล ซ่ึง
รปู แบบการสอน 3P น้ี มีแนวคดิ พ้ืนฐานว่าภาษาเป็นเคร่ืองมือท่ีใช้ในการสื่อสาร ดังน้นั เปา้ หมายของ
การสอนภาษา คือ ให้ผู้เรยี นภาษาสามารถสื่อสารได้อย่างเหมาะสมในบรบิ ทต่าง ๆ ทางสงั คม (Social
Context) หรือสถานการณ์สื่อสารในชีวิตจริงทีม่ ีความแตกต่างและหลากหลาย (ธนกร สุวรรณพฤฒิ,
2558, หน้า 3) เมื่อตระหนกั ถึงปญั หาทีผ่ ู้เรยี นไม่สามารถใช้ภาษาส่ือสารได้ แม้จะมีความรู้หลกั ภาษา
และโครงสร้างทางภาษาเป็นอย่างดี แต่ไม่สามารถพูดคุยสื่อสารหรือใช้ภาษาที่ไม่เหมาะสมกับบริบท
หรือสถานการณ์นั้น ๆ หลักสูตรการเรียนการสอนภาษาจึงมีเป้าหมายของการสอนให้ผู้เรียนสามารถ
ส่ือสารไดใ้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ เชน่ การใชภ้ าษาตามหัวเร่ืองและหนา้ ทีภ่ าษา (Notional-Functional
Language) ซึ่งเป็นหลักสูตรเน้นความจำเป็นต้องใช้ภาษาของผู้เรียนในสถานการณ์ชีวิตจริง การจัด
กิจกรรมตามความสนใจของผู้เรียนและการใช้ภาษาของผู้เรียน มีลักษณะใกล้เคียงกับสถานการณ์
ส่ือสารท่ีเกิดข้นึ จรงิ (Authenticity) เพอื่ เตรยี มความพร้อมแกผ่ ู้เรียนในการใช้ภาษานอกช้ันเรียนและ
ฝึกใช้ภาษาสื่อความหมายโดยมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นจนกระทั่งสามารถใช้ภาษาไ ด้อย่างคล่องแคล่ว
ถกู ตอ้ งและเหมาะสมกบั บริบท (Savignon, 1991, p 266)

27

แนวทางการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร

แนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร (Communicative Teaching Approach) (สำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน, ม.ป.ป., หน้า 41-42) เป็นแนวการสอนทีม่ ุ่งเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ
เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ฝึกการใช้ภาษาในสถานการณ์จริงที่มีโอกาสพบ ใน
ชีวติ ประจำวันและยังให้ความสำคัญกับโครงสร้างไวยากรณ์ แนวการเรยี นการสอนภาษาเพ่ือการสื่อสารให้
ความสำคัญกับการใช้ภาษา (Use) มากกว่าวิธีใชภ้ าษา (Usage) นอกจากนี้ ยังให้ความสำคัญในเรื่อง
ความคล่องแคล่วในการใช้ภาษา (Fluency) และความถูกต้องของการใช้ภาษา (Accuracy) การจัด
การเรยี นการสอน จึงเน้นหลักสำคญั ดงั ตอ่ ไปนี้

1. ต้องให้ผู้เรียนเรียนรู้ว่ากำลังทำอะไร เพื่ออะไร ผู้สอนต้องบอกให้ผู้เรียนทราบถึง
ความมงุ่ หมายของการเรยี นและการฝกึ ใช้ภาษา เพื่อให้การเรียนภาษาเปน็ ส่ิงท่มี คี วามหมายตอ่ ผู้เรียน

2. การสอนภาษาโดยแยกเป็นส่วนๆ ไม่ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้ดี
เท่ากับการสอนในลักษณะบูรณาการในชีวิตประจำวัน การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารจะต้องใช้ทักษะ
หลายทกั ษะบูรณาการรว่ มกันไป ผเู้ รียนควรจะไดฝ้ กึ ฝนและใช้ภาษาในภาพรวม

3. ต้องให้ผเู้ รียนได้ทำกิจกรรมการใช้ภาษาทมี่ ลี ักษณะเหมือนในชวี ิตประจำวันให้มากทีส่ ุด
4. ต้องให้ผู้เรียนฝึกการใช้ภาษามากๆ การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทำกิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ
ใหม้ ากทสี่ ุดที่จะเปน็ ไปได้
5. ผู้เรียนตอ้ งไม่กลวั วา่ จะใช้ภาษาผดิ
ริชาร์ด (Richard, 2006, pp 27-30) ได้เสนอวิธีการสอนเพื่อการสื่อสารอีก 2 วิธี ที่เน้น
กระบวนการ คือ แนวการสอนภาษาโดยใช้เนื้อหาเปน็ ฐาน Content-Based Instruction (CBI) และ
แนวการสอนทยี่ ึดภาระงานเปน็ ฐาน Task-Based Instruction (TBI) โดยมรี ายละเอียดดงั นี้
1. แนวการสอนภาษาโดยใช้เน้ือหาเป็นฐาน (Content-Based Approach) เปน็ แนวการสอน
ที่เน้นเนื้อหาสาระการเรียนรู้มาบูรณาการกับจุดหมายของการสอนภาษา กล่าวคือ ให้ผู้เรียนใช้ภาษา
เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และในขณะเดียวกันก็พัฒนาการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารไปด้วย ดังนั้น การคัดเลือก
เนื้อหาที่นำมาให้ผู้เรียนได้เรียนจึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง เพราะเนื้อหาที่คัดเลือกมาจะต้องเอื้อต่อ
การบูรณาการการสอนภาษาทัง้ 4 ทักษะ คือ ฟัง พูด อ่าน เขียน นอกจากนี้ยังช่วยให้ผูเ้ รียนสามารถ
พัฒนากระบวนการคิดวเิ คราะห์ สามารถตดิ ตาม ประเมนิ คา่ ข้อมลู และพฒั นาการเขียนเชิงวิชาการที่
เกี่ยวของกับเรื่องนั้นๆ ได้ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ภาษาในลักษณะองค์รวม (Whole Language
Learning)
2. แนวการสอนที่ยึดภาระงานเป็นฐาน (Task-Based Approach) เป็นการเรียนรู้ภาษาที่
เกิดจากการปฏิสัมพันธ์ในขณะที่ทำภาระงานให้สำเร็จ ความรู้ด้านคำศัพท์และโครงสร้างจะเป็นผลท่ี
ได้จากการฝึกใช้ภาษาในขณะทำกิจกรรม นิยมนำแนวคิดนี้ไปใช้กับนักเรียนในระดับประถมศึกษา

28

เพราะเชื่อว่าการเรียนรู้ภาษาเกิดจากกระบวนการที่นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติงานจนลุล่วงตาม
จุดมุ่งหมายท่กี ำหนดไว้

องค์ประกอบกระบวนการเรียนการสอนตามแนวการสอนภาษาอังกฤษเพอื่ การสือ่ สาร

กระบวนการเรียนการสอนตามแนวการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
นั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ 3 ประการ คือ กิจกรรม เทคนิคการสอน และบทบาทของผู้เรียนและ
ครูผ้สู อน (สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน, ม.ป.ป. หน้า 43-45)

1. กิจกรรม เปน็ องคป์ ระกอบทมี่ คี วามสำคญั มากในกระบวนการสอนภาษาเพื่อการส่ือสาร
เพราะเป็นส่วนที่ช่วยให้ผู้เรียนมีโอกาสได้ใช้ภาษาในการสื่อสารที่สมจริงในห้องเรียน ริชาร์ด
(Richards, 2006, p 68) กล่าวว่า กิจกรรมที่ดีนั้นจะขึ้นอยูกับลักษณะของกิจกรรมและลักษณะของ
การจดั กิจกรรม

1.1 ลกั ษณะของกจิ กรรมที่เอือ้ ตอ่ การเรียนการสอนภาษาเพื่อการส่อื สาร มีดังน้ี
1.1.1 กิจกรรมสอดคลองกับจุดประสงค์บทเรยี น
1.2.1 กจิ กรรมมจี ดุ มุ่งหมายในการใชภ้ าษาเพอ่ื สอ่ื ความหมาย
1.1.3 กิจกรรมทำใหเ้ กิดความจำเป็นทจ่ี ะส่อื ความหมาย
1.14 กจิ กรรมเปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นรบั รู้ผลของการสื่อความหมาย
1.1.5 กจิ กรรมน่าสนใจเเละท้าทาย
1.1.6 กิจกรรมเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนมโี อกาสเลือกตามความตอ้ งการ
1.1.7 กิจกรรมเปดิ โอกาสให้ผ้เู รยี นได้ใชค้ วามรแู้ ละประสบการณท์ ี่มีอยู่
1.1.8 กิจกรรมฝกึ ใหผ้ ู้เรยี นมกี ลยุทธ์การเรียนรู้

1.2 ลักษณะของการจัดกิจกรรม การจัดกิจกรรมในการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเพอื่
การสื่อสารนั้นสามารถทำได้หลายลักษณะก่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์หลายรูปแบบในชั้นเรียน เช่น
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน - บทเรียน ผู้เรียน - ผู้เรียน ผู้เรียน - ครูผู้สอน ที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้ฝกึ ใช้
ภาษาในรูปแบบตา่ ง ๆ ลกั ษณะการจัดกิจกรรม ดงั น้ี

1.2.1 การจัดกิจกรรมรายบุคคล (Individual work) เป็นกิจกรรมที่ฝึกพึ่งตนเองใน
การเรียนรู้ (Autonomous learning) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกทำกิจกรรมตามลีลาการเรียนรู้
Learning style) ในรูปแบบที่ตนต้องการ ในเวลาที่เหมาะสมกับตนเองและสามารถทำได้นอกชั้น
เรียน กิจกรรมที่เหมาะสมกับกิจกรรมรายบุคคล ได้แก่ การอ่านหนังสือนอกเวลา การเล่นเกมต่าง ๆ
เช่น เกมปริศนาอกั ษรไขว้ เกมสร้างคำ เป็นต้น

1.2.2 การจัดกิจกรรมแบบคู่ (Pair work) เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนมปี ฏสิ ัมพันธ์
ระหว่างผู้เรียนด้วยกันที่จะต้องคิดและทำร่วมกัน (Collaborative learning) ทำให้เกิดการใช้ภาษาใน
สถานการณ์ที่เหมือนจรงิ อย่างไรกต็ าม ระหว่างทำกิจกรรมครูผูส้ อนจะเปน็ ผู้ควบคุม คอยให้ความชว่ ยเหลือ

29

เมอื่ ผเู้ รียนตอ้ งการ กจิ กรรมท่เี หมาะสมกบั กจิ กรรมรายคู่ ไดแ้ ก่ การถามหาขอ้ มลู ท่ตี นขาดหายไปจากค่ขู อง
ตน (Information gap) การแสดงบทบาทสมมติ (Role-play) เป็นต้น

1.2.3 การจัดกิจกรรมแบบกลุ่ม (Group work) เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมี
ภาวะอิสระ (Autonomy) ลดการพ่ึงครูผู้สอน จำนวนผเู้ รยี นในแต่ละกลุ่มขึ้นอยลู่ ักษณะงานแต่ไม่ควรเกิน
6 คน กิจกรรมที่เหมาะสมกับกิจกรรมแบบกลุ่ม ได้แก่ การอภิปราย (Discussion) การอ่านและฟัง
ส่วนต่าง ๆ ของเรื่องราวแล้วนำส่วนเหล่านี้มาปะติดปะต่อกัน (Jigsaw reading/listening) การช่วย
หาข้อมูลเพื่อมาทำโครงงานการเลน่ เกมตา่ ง ๆ เช่น เกมตอ่ คำ เกมยี่สบิ คำถาม เป็นต้น

1.2.4. การจัดกิจกรรมแบบทำร่วมกันทั้งชั้น (Class work) เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้
ผู้เรียนมีปฏิสมั พันธ์กับครูผู้สอน เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนทำพร้อมกันทั้งห้อง ครูผู้สอนสามารถชี้นำและ
ควบคุมกิจกรรมได้มากกว่ากิจกรรมที่จัดในลักษณะอื่น กิจกรรมที่เหมาะสมกับกิจกรรมแบบทำ
รวมกันทั้งชั้น ได้แก่ การฝึกออกเสียงคำ ฝึกการอ่านออกเสียง การทำตามคำสั่ง การอภิปรายแสดง
ความคดิ เห็น เป็นต้น

2. เทคนิคการสอน เป็นองค์ประกอบท่ีสำคัญมากในกระบวนการเรียนการสอนเพ่ือการสื่อสาร
เพราะเทคนิคการสอนที่เหมาะสมจะช่วยให้การเรียนการสอนเพื่อการสื่อสารประสบความสำเร็จ
เทคนคิ การสอนท่มี ีประสิทธิภาพ ไดแ้ ก่

2.1 ให้ผู้เรียนได้พบและได้ใช้ภาษาในการสื่อสารให้มากที่สุด การสื่อสารที่สมจริง คือ
การทผี่ ้เู รยี นม่งุ ความสนใจไปทสี่ ารที่สือ่ ออกมาหรือสารที่ต้องการส่ือออกไป ไมใ่ ช่มงุ่ ท่ตี ัวภาษา

2.2 ใช้อุปกรณและสื่อการสอนที่ช่วยให้ผู้เรยี นเข้าใจภาษาได้ง่ายขึ้น สื่อตามแนวการสอน
CLT ประกอบดว้ ย

2.2.1 เนื้อหา (Text-based materials) คือ แบบเรียนที่จัดกิจกรรมเน้นการสอน
CLT เชน่ มีกิจกรรมให้ผเู้ รยี นแสดงบทบาทสมมติ กิจกรรมคู่หรือกิจกรรมกลุ่ม

2.2.2 งาน/กิจกรรม (Task-based materials) คือ สื่อที่เน้นการทำกิจกรรมและ
ภาระงานที่เนน้ ใหผ้ เู้ รียนได้ทำงานกลุ่มเพื่อใหเ้ กิดกระบวนการเรียนรู้

2.2.3 สอ่ื จรงิ (Realia/Authentic materials) คอื สื่อท่ใี ชจ้ รงิ ในชวี ติ ประจำวนั เช่น
ปา้ ยประกาศ โฆษณา รปู ภาพ แผนท่ี แผนพบั และหนงั สือพิมพ์ เป็นต้น

2.3 หาวิธีการที่ทำให้ผู้เรียนไม่รู้สึกเครียดระหว่างเรียนและสร้างบรรยากาศที่ทำให้
ผูเ้ รียนไมอ่ ายเวลาตอบผิด

2.4 ศึกษาความสนใจของผู้เรียนและแทรกสิ่งที่ผู้เรียนสนใจไว้ในบทเรียนด้วยและ
ครูผสู้ อนควรเรียนรู้ด้วยว่าผู้เรียนชอบทำงานกับผู้ใด

2.5 เนน้ กระบวนการเรยี นรูข้ องผู้เรยี น (Process) มากกว่าผลงานการเรียนรู้ (Product)
3. บทบาทของครูผู้สอนและผู้เรียน ริชาร์ด (Richards, 2006, p 5) ได้เสนอบทบาทครู
และผู้เรียนทีต่ ้องปรับเปลย่ี นในการจัดการเรียนการสอนภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร ดังนี้

30

3.1 บทบาทครูผู้สอน (Teacher’s role) ครูมีบทบาทเป็นผู้เตรียมและดำเนินการจัด
กจิ กรรมเพ่อื การส่ือสารใหผ้ ู้เรยี นไดม้ โี อกาสใชภ้ าษาให้มากทส่ี ดุ ครผู ู้สอนจะควบคมุ การเรียนในช่วงท่ี
มกี ารฝกึ รูปแบบภาษาเทา่ นั้น แตใ่ นช่วงท่ีใหผ้ เู้ รียนใชภ้ าษาครผู ู้สอนจะลดบทบาทลงเป็นเพียงผู้กำกับ
รายการคอยให้ความสะดวกตลอดจนให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้เรียนต้องการเท่านั้น ครูจะกระตุ้นให้
กำลังใจ ช่วยเหลือให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารให้ได้ความหมายและถูกต้องตามหลัก
ไวยากรณ์ อันเป็นการเชื่อมช่องว่างระหว่างความสามารถทางไวยากรณ์ Grammar competence)
และความสามารถทางด้านส่ือสาร (Communicative competence) ของผูเ้ รียน และครูผสู้ อนจะไม่
ขัดจังหวะในขณะที่ผู้เรียนกำลังใช้ภาษาถึงแม้ว่าผู้เรียนจะใช้ภาษาไม่ถูกต้องก็ตาม แต่ครูจะช่วย
อธบิ ายและให้ความช่วยเหลอื ก็ต่อเมอ่ื การส่อื สารของผ้เู รียนชะงักงัน อยา่ งไรก็ตาม ครผู สู้ อนยงั คงเปน็
แหล่งความรู้ (Resource) ให้ผู้เรียนเมื่อเขาต้องการเป็นผู้เตรียมผู้เรียนให้พร้อมก่อนการเรียนรู้
รวมทั้งเป็นผู้ให้ข้อมูลทางภาษาแก่ผู้เรียนครูผู้สอนต้องพยายามใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารใน
ห้องเรียนให้มากที่สุด เป็นผู้สรา้ งบรรยากาศในห้องเรยี นให้ผู้เรียนอยากเรยี นรู้ นอกจากนี้ครูผู้สอนยัง
เปน็ ผู้ประเมินผลการเรียนร้แู ละให้ข้อมูลสะท้อนกลบั แก่ผู้เรยี นอกี ดว้ ย

3.2 บทบาทผู้เรียน (Learner’s role) ในการเรียนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารผู้เรียนมี
บทบาทสำคญั ในห้องเรียนมากกวาครูผ้สู อน ผเู้ รียนเป็นผ้มู สี ว่ นร่วมในการเรียนรู้ไดล้ งมือใช้ภาษาด้วย
ตนเองโดยการเเลกเปลี่ยนข้อมูลกับเพื่อน การช่วยเหลือซึ่งกันและกันทำให้เกิดการเรียนรู้จากการทำ
กิจกรรมกลมุ่ ร่วมกันและผู้เรียนพยายามเรียนรดู้ ว้ ยตนเองเพมิ่ ขนึ้ โดยนำสิ่งทตี่ นเรยี นร้ใู นห้องเรียนเป็น
เครื่องมือช่วยในการหาความรู้เพิ่มเติมนอกห้องเรียน เช่น การอ่านหนังสือภาษาอังกฤษ การเรียนรู้
เพิ่มเติมในสิ่งที่ตนสนใจจากห้องสมุดอินเทอร์เน็ต เป็นต้น นอกจากนี้ผู้เรียนยังสามารถประเมินผล
การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง และสามารถใหข้ อ้ มลู ย้อนกลบั แกเ่ พื่อนร่วมชั้นเรียนได้อกี ด้วย

∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞

31

คำถามทบทวนความเข้าใจ

เรือ่ ง การสอนภาษาองั กฤษเพอื่ การสื่อสาร
(Communicative Language Teaching : CLT)

คำชี้แจง จงคำถามเพ่ือทบทวนความเขา้ ใจ
1. จุดมุ่งหมายของการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (Communicative Language
Teaching: CLT) คอื อะไร
2. จงยกตัวอย่างสื่อจริง (Authentic Materials) ที่นำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษ
3. ขนั้ ตอนการสอนรปู แบบ 3P (PPP Teaching Model) ได้แกข่ ้ันใดบา้ ง
4. กิจกรรมกลุ่มมีความจำเป็นในการจัดกิจกรรมในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
หรอื ไม่ อย่างไร
5. จงยกตัวอย่างบทบาทของครูในการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (Communicative
Language Teaching : CLT)

∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞

32

แบบทดสอบ

เรอ่ื ง การสอนภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสาร
(Communicative Language Teaching : CLT)

คำชแ้ี จง แบบทดสอบฉบับน้เี ปน็ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ จำนวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน
ใชเ้ วลาในการทำแบบทดสอบ 10 นาที โดยเลอื กคำตอบท่ีถูกทสี่ ดุ เพียงคำตอบเดยี ว

1. ข้อใดกลา่ วไม่ถูกต้องเก่ียวกบั การสอนภาษาเพือ่ การสือ่ สาร
1) เป็นแนวคิดในการสอนภาษาทมี่ ุ่งเนน้ ความสำคญั ของตวั ผเู้ รียน
2) คำนึงถึงการให้ผเู้ รยี นไดฝ้ กึ การสื่อสารผา่ นกจิ กรรมทเ่ี ก่ียวข้องกับการสอ่ื สารจริง
3) แม้จะเกดิ ความผิดพลาดด้านไวยากรณเ์ ลก็ น้อย แตย่ งั สามารถสอื่ สารได้ ครผู ูส้ อนควร
ขดั จงั หวะทุกคร้งั และแกใ้ หถ้ ูกตอ้ งทันที
4) การสรา้ งเจตคติท่ีดตี ่อการใช้ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสารของผู้เรยี นเปน็ สิง่ สำคัญต่อ
ความสำเรจ็ ในการเรยี นการสอน

2. ขอ้ ใดต่อไปน้ีไม่ใช่หน่ึงในองค์ประกอบ 4 อย่างของความสามารถในการสื่อสารของคเนลและสเวน
(Canale and Swain, 1980)
1) ความสามารถทางด้านไวยากรณ์หรือโครงสรา้ ง
2) ความสามารถด้านสังคม
3) ความสามารถในการสรา้ งโครงสร้างภาษาเพอ่ื ส่อื ความหมายด้านการพดู และเขยี น
4) ความสามารถในการใชภ้ าษาได้อย่างคล่องแคล่วและถูกต้อง

3. กระบวนการเรียนการสอนตามแนวการสอนภาษาอังกฤษเพอื่ การสื่อสารทม่ี ีประสิทธิภาพขึ้นอยู่กับ
องค์ประกอบที่สำคญั ขอ้ ใด
1) กิจกรรมและเทคนิคการสอน
2) บทบาทของผ้เู รียนและครผู ูส้ อน
3) การวดั ผลประเมนิ ผล
4) ถกู ทกุ ขอ้

4. แนวการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือการสอ่ื สาร ควรเปน็ ไปตามขอ้ ใด
1) เน้นการทอ่ งจำคำศัพท์
2) ควรสอนโดยเจา้ ของภาษา
3) ความถกู ต้องของไวยากรณแ์ ละโครงสร้างเป็นสิ่งสำคัญ
4) ฝกึ การใชภ้ าษาในสถานการณ์จรงิ ที่มโี อกาสพบในชีวิตประจำวนั

33

5. ข้อใดกล่าวถกู ตอ้ งเก่ยี วกับแนวทางการจัดการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือการส่อื สาร
1) การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารที่ดี ผู้สอนควรให้ผู้เรียนเรียนรู้เสมอว่า
กำลังทำอะไรและเพ่ืออะไร
2) เปน็ แนวการเรยี นการสอนภาษาทใ่ี หค้ วามสำคัญกับโครงสรา้ งภาษามากกวา่ การใช้ภาษา
3) หลักสำคัญอย่างหนึ่งคือการสอนภาษาโดยแยกเป็นส่วนๆ จะทำให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ดีกว่า
การเรียนรแู้ บบบรู ณาการหลายทกั ษะรวมๆกนั ไป
4) ไมม่ ขี อ้ ใดถูก

6. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้องเก่ียวกับแนวการสอนภาษาเพ่ือการสื่อสารที่ยึดภาระงานเป็นฐาน
(Task-based Approach)
1) เป็นการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนได้ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และในขณะเดียวกันก็
พฒั นาการใชภ้ าษาเพื่อการสือ่ สารไปดว้ ย
2) เปน็ การเรียนการสอนท่ีทำให้ผู้เรยี นเกดิ การเรยี นรภู้ าษาอย่างอิสระ
3) เป็นแนวการสอนท่มี ักถกู นำไปใช้กบั นักเรียนระดบั อดุ มศกึ ษา
4) เปน็ การเรยี นรู้ภาษาท่เี กดิ จากการคดิ ข้นั สงู

7. วธิ กี ารสอนแบบ 3Ps หรอื P-P-P ประกอบด้วยข้นั ตอนใด
1) Purpose, Practice, Production
2) Purpose, Process, Presentation
3) Presentation, Practice, Production
4) Practice, Process, Presentation

8. “ครูผู้สอนควรเป็นเพียงผู้แนะแนวทางเท่านั้น ในขณะที่ผู้เรียนมีหน้าที่หลักในการผลิตภาษาและ
เรียนรู้” จากขัน้ ตอนสุดทา้ ยของวิธกี ารสอนแบบ 3Ps หรอื P-P-P คำกล่าวขา้ งตน้ ถูกต้องหรอื ไม่
1) ถกู เพราะเป็นข้นั ตอนท่ีเปรียบเสมือนการถ่ายโอนความรู้ท่ีได้ฝึกฝนจากในชั้นเรยี นไปสู่การนำ
ภาษาไปใช้จรงิ
2) ถูก เพราะครูผู้สอนในการเรียนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารมีหน้าหลักในการกระตุ้นและ
คอยให้กำลงั ใจผเู้ รยี นเทา่ น้ัน
3) ผิด เพราะในช่วงที่ผู้เรียนใช้ภาษา หน้าที่ของครูคือการเป็นผู้ประเมินผลการเรียนรู้และให้
ข้อมูลสะท้อนกลับแก่ผู้เรียน ครูผู้สอนจึงจะต้องคอยขัดจังหวะนักเรียนเสมอ เมื่อนักเรียน
กำลงั ใช้ภาษาอย่างไมถ่ กู ตอ้ ง เพอ่ื ไม่ใหน้ ักเรยี นใชภ้ าษาอย่างผดิ ๆ
4) ผิด เพราะครูมีบทบาทเป็นผู้เตรียมและดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อฝึกการสื่อสาร จึงจะต้อง
เป็นผู้กำกบั ควบคมุ โดยเฉพาะในข้นั ตอนการเรยี นขั้นสดุ ทา้ ยใหด้ ีทส่ี ุด

34

9. ข้อใดจดั เปน็ ตัวอยา่ งของลกั ษณะการจดั กิจกรรมทเี่ ออ้ื ตอ่ การเรยี นการสอนภาษาเพ่อื การสือ่ สาร
1) กจิ กรรมที่กอ่ ใหเ้ กิดปฏสิ มั พันธร์ ะหวา่ งผู้เรยี น-บทเรียน
2) กจิ กรรมทกี่ อ่ ให้เกดิ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผ้เู รยี น-ผูเ้ รยี น
3) กจิ กรรมที่กอ่ ให้เกิดปฏิสมั พันธร์ ะหวา่ งผเู้ รยี น-ครผู ู้สอน
4) ถกู ทกุ ขอ้

10. ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถูกต้องเกีย่ วกบั กระบวนการการเรียนการสอนภาษาองั กฤษเพือ่ การสื่อสาร
1) เปน็ การเรียนการสอนท่ีผเู้ รียนมีบทบาทสำคัญในหอ้ งเรียนมากกว่าครผู สู้ อน
2) การศกึ ษาความสนใจของผเู้ รียนและการเรยี นรวู้ ่าผู้เรียนชอบทำงานกับผู้ใดเป็นหน่ึงในเทคนิค
การสอนเพ่ือการส่ือสาร
3) สร้างการเรียนการสอนที่ทำให้ผู้เรียนได้สัมผัสกับและได้ใช้การสื่อสารที่สมจริงที่ผู้เรียนมุ่ง
ความสนใจไปท่ีความถูกต้องของตัวภาษามากกว่าสารท่ีต้องการจะส่ือ
4) ในชว่ งท่ีผู้เรยี นฝึกใชภ้ าษา ครจู ะเข้ามาช่วยเหลอื ก็ตอ่ เม่ือการสือ่ สารของผูเ้ รยี นชะงักงัน

∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞

35

แนวตอบคำถามทบทวนความเข้าใจ

เร่ือง การสอนภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร
(Communicative Language Teaching : CLT)

1. จุดมุ่งหมายของการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (Communicative Language
Teaching: CLT) คอื อะไร
แนวตอบ การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (Communicative Language Teaching :
CLT) เป็นแนวคิดในการสอนภาษาที่มุ่งเน้นความสำคัญของตัวผู้เรียน ให้ผู้เรยี นไดใ้ ช้ภาษาอังกฤษ
เพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้จริง มีการจัดลำดับการเรียนรู้เป็นขั้นตอนตามกระบวนการใช้
ความคิดของผู้เรยี นซึ่งเช่ือมระหว่างความรู้ทางภาษา ทกั ษะทางภาษาและความสามารถในการสื่อสาร
เพื่อให้ผู้เรียนต้องคำนึงถึงการสื่อสารในชีวิตจริง กิจกรรมและภาระงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
การสื่อสารจริง สื่อที่ใช้เป็นสื่อจริง แต่ไม่ได้ละเลยความรู้ด้านไวยากรณ์ เมื่อเกิดความผิดพลาด
ทางด้านไวยากรณ์เพียงเล็กนอ้ ยแตย่ งั สามารถสือ่ สารได้ ครูผูส้ อนไม่ควรขัดจังหวะโดยการแก้ไขให้
ถูกต้องทันที ควรแก้ไขเมื่อความผิดพลาดนั้นทำให้เกิดความไม่เข้าใจหรือสื่อสารไม่ประสบ
ความสำเร็จเทา่ น้นั ท้ังนี้เพือ่ ทำใหผ้ เู้ รียนมเี จตคตทิ ีด่ ตี อ่ การใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร

2. จงยกตัวอย่างสื่อจริง (Authentic Materials) ที่นำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษ
แนวตอบ สื่อจริง (Authentic Materials) คือ สื่อที่มิได้สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ในการเรียนการสอน
โดยเฉพาะ แต่มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการสื่อสารในชีวิตจริงและในสถานการณ์ที่เป็นจริงใน
ชีวิตประจำวัน ได้แก่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร โฆษณา การ์ตูน คำแนะนำ วิธีใช้อุปกรณ์ ฉลากยา
พยากรณอ์ ากาศ ข่าว โฆษณา คลิปวิดีโอ เพลง ภาพยนตร์ ฯลฯ

3. ขน้ั ตอนการสอนรปู แบบ 3P (PPP Teaching Model) ไดแ้ ก่ขัน้ ใดบา้ ง
แนวตอบ ขั้นที่ 1 การนำเสนอ (Presentation) ขนั้ ที่ 2 การฝึกปฏบิ ัติ (Practice) และข้ันที่ 3

การนำไปใช้ (Production)

4. กิจกรรมกลุ่มมคี วามจำเป็นในการจดั กจิ กรรมในการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร
หรือไม่ อย่างไร
แนวตอบ การจัดกิจกรรมในการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารน้นั สามารถทำได้
หลายลักษณะก่อใหเ้ กิดปฏิสัมพันธห์ ลายรปู แบบในช้ันเรียน เช่น ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผเู้ รียน - บทเรียน
ผเู้ รยี น - ผเู้ รียน ผ้เู รยี น - ครผู สู้ อน ท่ีจะชว่ ยให้ผเู้ รยี นไดฝ้ ึกใชภ้ าษาในรูปแบบต่างๆ

36

5. จงยกตัวอย่างบทบาทของครูในการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (Communicative
Language Teaching : CLT)
แนวตอบ
- ผูด้ ำเนนิ การหรือผู้อำนวยการเรียนรู้ (organizer, facilitator) เตรยี มและดำเนินการจดั กิจกรรม
- ผ้แู นะนำ (guide) ขั้นตอนและกจิ กรรมตา่ ง ๆ
- ผู้วจิ ัยและผ้เู รียน (researcher, learner) เรยี นรู้พฤติกรรมการเรยี นของนักเรียนแต่ละคน
นอกจากนี้ครูอาจมีบทบาทอ่ืน ๆ เชน่ ผใู้ ห้คำปรึกษา(counselor) ผูจ้ ัดการกระบวนการกลุ่ม
(group process manager) ครูตามแนวการสอนแบบCLT เป็นครูที่เป็นศูนย์กลางน้อยที่สุด
(less teacher centered) นั่นคือครูมีหน้าที่ดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อการสื่อสารและในช่วงท่ี
นกั เรียนทำกิจกรรมครูจะกระตนุ้ ให้กำลังใจช่วยเหลือใหผ้ ู้เรียนสามารถใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสารให้
ได้ความหมายและถูกตอ้ งตามหลกั ไวยากรณ์ อันเป็นการเชื่อมชอ่ งวา่ งระหว่างความสามารถทาง
ไวยากรณ์ (grammar competence) และความสามารถทางดา้ นการส่ือสาร (communicative
competence) ของผ้เู รียน

∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞

37

เฉลยแบบทดสอบ

เร่อื ง การสอนภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสาร
(Communicative Language Teaching : CLT)

1. 3) แม้จะเกดิ ความผดิ พลาดด้านไวยากรณ์เลก็ น้อย แตย่ งั สามารถส่อื สารได้ ครผู ูส้ อนควร
ขดั จงั หวะทุกครงั้ และแก้ใหถ้ ูกต้องทนั ที

2. 4) ความสามารถในการใชภ้ าษาไดอ้ ย่างคล่องแคล่วและถูกต้อง
3. 4) ถูกทกุ ข้อ
4. 4) ฝกึ การใชภ้ าษาในสถานการณ์จริงทม่ี โี อกาสพบในชวี ติ ประจำวัน
5. 1) การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ่อื การส่ือสารท่ดี ี ผูส้ อนควรใหผ้ ูเ้ รยี นเรยี นรเู้ สมอ

วา่ กำลงั ทำอะไรและเพอ่ื อะไร
6. 1) เปน็ การเรียนการสอนทใี่ หผ้ ู้เรยี นได้ใช้ภาษาเป็นเครือ่ งมอื ในการเรียนรแู้ ละใน

ขณะเดียวกันก็พัฒนาการใชภ้ าษาเพ่ือการสอื่ สารไปดว้ ย
7. 3) Presentation, Practice, Production
8. 1) ถกู เพราะเป็นขน้ั ตอนท่ีเปรียบเสมอื นการถ่ายโอนความร้ทู ี่ไดฝ้ กึ ฝนจากในชั้นเรยี นไปสู่

การนำภาษาไปใชจ้ รงิ
9. 4) ถกู ทุกข้อ
10. 3) สรา้ งการเรียนการสอนท่ที ำให้ผู้เรียนไดส้ มั ผัสกบั และไดใ้ ชก้ ารสอื่ สารที่สมจริงทผ่ี ูเ้ รยี นมงุ่

ความสนใจไปทคี่ วามถกู ต้องของตวั ภาษามากกว่าสารท่ตี ้องการจะส่ือ

∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞

38

ตอนที่ 3

การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรเู้ พื่อความสามารถในการสอื่ สาร
(Communicative Lesson Design)

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน (ม.ป.ป. หน้า 47 - 48) กล่าวถึงการสอน
ทักษะการฟงั พูด อ่าน เขยี น ดงั นี้

การสอนทักษะการฟังภาษาอังกฤษ

การออกแบบกิจกรรมเพ่ือสงเสริมทักษะการฟัง ครูควรคำนึงถึงสถานการณ์หรือบริบทโดยเลือก
เนือ้ หา และออกแบบกิจกรรมที่หลากหลาย น่าสนใจ มขี ้อควรพจิ ารณา 2 ประการ คอื

1. สถานการณ์ในการฟัง สถานการณ์ที่ก่อให้เกิดการฟังภาษาอังกฤษได้นั้น ควรเป็น
สถานการณ์ของการฟังที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง สถานการณ์จริงหรือสถานการณ์จำลองในห้องเรียน ซึ่งอาจ
เป็น การฟังคำสั่งครูการฟังเพื่อนสนทนา การฟังบทสนทนาจากบทเรียน การฟังรายการวิทยุ โทรทัศน์
วีดิทัศน์

39

2. กิจกรรมในการสอนฟัง แบ่งเป็น 3 กิจกรรม คือ กิจกรรมก่อนการฟัง (Pre - listening)
กิจกรรมระหว่างการฟังหรือขณะที่สอนฟัง (While - listening) และกิจกรรมหลังการฟัง (post-
listening) แตล่ ะกจิ กรรมอาจใชเ้ ทคนิค ดงั นี้

2.1 กจิ กรรมก่อนการฟงั (Pre - listening) ผูเ้ รียนจะฟังขอความได้อยา่ งเขา้ ใจ ควรต้องมี
ข้อมูลบางส่วนเกี่ยวกับข้อความที่ฟัง โดยครูผู้สอนอาจใช้กิจกรรมนำให้ผู้เรียนไดม้ ีข้อมูลบางส่วนเพ่ือ
ช่วยสร้างความเข้าใจในบริบทก่อนการรับฟังสารที่กำหนดให้ เช่น การใช้รูปภาพ อาจให้ผู้เรียนดู
รูปภาพที่เกี่ยวกับเรื่องที่จะฟัง สนทนา อภิปราย หรือหาคำตอบเกี่ยวกับภาพนั้นๆ การเขียนรายการ
คำศัพท์ อาจจะให้ผู้เรยี นจัดทำรายการคำศพั ท์เดิมทรี่ ู้จักโดยใชว้ ธิ กี ารเขียนบนั ทึกคำศัพท์ท่ีได้ยินขณะ
รับฟังสาร หรือการขีดเส้นใต้ หรือวงกลมล้อมรอบคำศัพท์ในสารที่อ่านและฟังไปพร้อมๆกัน การอ่าน
คำถาม อาจใหผ้ เู้ รียนอ่านคำถามท่เี ก่ียวของกบั เรื่องราวในสารทจ่ี ะฟัง เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นได้ทราบแนวทาง
วา่ จะได้ฟงั เกี่ยวกบั เรอ่ื งใด เปน็ การเตรยี มตวั ล่วงหนา้ เกี่ยวกบั ข้อมลู ประกอบการฟังและคน้ หาคำตอบ
ที่จะไดจ้ ากการฟังสารนน้ั ๆ การทบทวนคำศัพท์ทเี่ กยี่ วข้อง อาจทบทวนคำศัพท์จากความรู้เดิมท่ีมีอยู่
แล้วซึ่งจะปรากฏอีกในสารที่จะได้ฟัง เป็นการช่วยทบทวนข้อมูลส่วนหนึ่งของสารที่จะได้เรียนรู้ให้มี
จากการฟงั

2.2 กิจกรรมระหวา่ งการฟงั หรือกิจกรรมขณะท่ีสอนฟัง (While - listening) เป็นกิจกรรม
ที่ให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติในขณะที่ฟังสารนั้นๆ กิจกรรมนี้มิใช่การทดสอบการฟัง แต่เป็นการฝึกทักษะ
การฟังเพ่ือความเข้าใจ

2.3 กิจกรรมหลังการฟัง (post-listening) เป็นกิจกรรมที่มุ่งให้ผู้เรียนได้ฝึกการใช้ภาษา
ภายหลังจากที่ได้ฝึกปฏิบัติกิจกรรมระหว่างการฟังแล้ว เช่น อาจฝึกทักษะการเขียนสำหรับผู้เรียน
ระดับต้น โดยให้เขียนตามคำบอก (Dictation) ประโยคที่ได้ฟังมาแล้วเป็นการตรวจสอบความรู้
ความถูกต้องของการเขียนคำศัพท์ สำนวน โครงสร้างไวยากรณ์ ของประโยคนั้นๆ หรือฝึกทักษะ
การพูดสำหรับผู้เรียนระดับสูงโดยการให้อภิปรายเกี่ยวกับสารที่ได้ฟังหรืออภิปรายเกี่ยวกับอารมณ์
หรือเจตคติของผ้พู ดู

การสอนทกั ษะการพดู ภาษาอังกฤษ

ในการจัดการเรียนการสอนการพูดภาษาอังกฤษควรจัดให้เหมาะสม โดยออกแบบกิจกรรม
เพื่อเสริมทักษะการพูดจากง่ายไปหายากเพื่อลดความวิตกกังวลของนักเรียน กิจกรรมควรเป็นที่
ยอมรับของเจ้าของภาษาด้วย นักเรียนควรได้รับการส่งเสริมพฒั นาการทางการพูดที่เหมาะสมและได้
ฝึกบ่อยๆ เพื่อการสื่อสารถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดและความต้องการของตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจโดยใช้
น้ำเสียง อากัปกิริยาซึ่งเป็นอวัจนภาษาด้วยและพูดให้ถูกต้องและชัดเจนขึ้น การสอนทักษะการพูด
ภาษาองั กฤษมีข้ันตอนและกจิ กรรมตา่ งๆ กัน ดงั ตอ่ ไปนี้

40

1. ขั้นบอกจุดประสงค์และขั้นเสนอเนื้อหา ครูควรจะบอกให้นักเรียนรู้ถึงสิ่งที่จะเรียนโดย
การตั้งคำถาม เล่าเรื่อง หรือใช้สื่อต่างๆ ช่วงหลังจากนำเสนอเนื้อหาซึ่งอยูในรูปบริบทครูจะต้องให้
นักเรียนสังเกตลักษณะของภาษา ความหมายของข้อความที่จะพูด เช่น ผู้พูดเป็นใคร พูดเกี่ยวกับ
อะไร สถานท่พี ูด และจดุ ประสงค์ในการพดู

2. ข้ันการฝึก การฝึกจะกระทำทันทหี ลังจากเสนอเน้ือหา อาจจะฝกึ พูดพรอ้ มๆ กนั หรือเป็น
คู่โดยการฝึกเริ่มจากการฝึกโดยมกี รอบหรือการควบคมุ ต่อมาก็ลดการควบคุมลงจนนักเรียนสามารถ
ใชภ้ าษาได้

3. ขั้นถ่ายโอน เป็นขั้นตอนที่นำความรู้ท่ีได้มาใช้ในรูปแบบการใช้ภาษาอย่างอิสระใกล้เคียง
กบั สถานการณ์ที่เปน็ จริง เชน่ การทำบทบาทสมมติ การนำเสนอ การสาธติ เปน็ ต้น

การสอนทักษะการอา่ น

การแบง่ ประเภทการอ่านแบ่งได้ 2 ประเภทคือ
1. การอ่านออกเสียง (Oral Reading) เป็นการอ่านเพื่อฝึกความถูกต้อง (Accuracy) และ
ความคลอ่ งแคลว่ (Fluency)
2. การอ่านในใจ (Silent Reading) เป็นการอ่านเพื่อรับร้แู ละทำความเข้าใจในส่ิงท่ีอ่านซ่ึง
เป็นการอ่านอย่างมีจุดมุ่งหมาย เช่นเดียวกับการฟัง ต่างกันที่การฟังใช้การรับรู้จากเสียงที่ได้ยิน
ในขณะทก่ี ารอ่านจะใช้การรับรูจ้ ากตัวอักษรที่ผ่านสายตา
ทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเป็นทักษะที่สามารถฝึกฝนให้นักเรียนเกิดความชำนาญและมี
ความสามารถเพิ่มพูนขึ้นได้ ด้วยเทคนิควิธีการโดยเฉพาะครูผู้สอนจึงควรมีความรู้และเทคนิคในการสอน
ทักษะการอ่านให้แก่นักเรียนเพื่อให้การอ่านแต่ละลักษณะประสบผลสำเร็จ วิธีการสอนการอ่านควร
เนน้ การสอื่ สารอยา่ งมีความหมาย ครูควรจดั กิจกรรมใหน้ กั เรียนอ่านเพ่ือสื่อสารอย่างมีความหมาย ไม่
ใช้อา่ นเพอื่ ตอบคำถามท้ายบทแต่เพยี งอย่างเดยี ว วิธีสอนอ่านเพื่อการสอ่ื สารจึงเนน้ เทคนิค ดงั ตอ่ ไปน้ี

(1) การเติมขอ้ มลู ทข่ี าดหายไป (Information Gap)
(2) การอ่านเพอ่ื แกป้ ญั หา (Problem Solving)
(3) การอา่ นเพอ่ื ถ่ายโอนขอ้ มูล (Information Transfer)
บทอ่านทนี่ ำมาใช้สอนควรเปน็ เอกสารจรงิ (Authentic Material) เอกสารจรงิ คือ เอกสารที่
ไม่ได้เขียนขึ้นมาเพื่อจุดประสงค์ในการสอนภาษาโดยตรง เพราะบทอ่านที่เขียนขึ้นเพื่อเป็นเครื่องมือ
ในการสอนศัพท์และไวยากรณ์ จะมีลักษณะที่ไม่เป็นธรรมชาติ เนื่องจากผู้เขียนจะคำนงึ ถึงโครงสร้าง
หรือหลักไวยากรณ์ที่ต้องการสอนมากเกินไป บทอ่านที่เป็นเอกสารจริงซึ่งใช้ในชีวิตประจำวัน ได้แก่
โฆษณา ข่าว ฉลากยา หรือป้ายประกาศ เป็นต้น และในการนำเอกสารจริงมาใช้ไม่ควรแกไ้ ขให้ภาษา

41

ง่ายขึ้น สรุปหรือย่อเพราะจะทำให้ข้อความผิดไปจากเดิมเนื่องจากเอกสารที่ผู้อ่านจะได้พบใน
ชีวิตประจำวนั นน้ั ไม่มใี ครมาปรบั ระดบั ความยากงา่ ยให้

การสอนทักษะเขียน

การสอนเขียนภาษาอังกฤษเป็นการฝึกทักษะการเขียนอย่างเป็นระบบที่ถูกต้อง อันเป็น
รากฐานสำคัญในการเขียนเพื่อการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพในระดับสูงได้ต่อไป ดังนั้น สิ่งที่ครู
ต้องคำนึงถึงให้มากที่สุด คือ ต้องให้นักเรียนมีข้อมูลเกี่ยวกับคำศัพท์ (Vocabulary) ไวยากรณ์
(Grammar) และเนื้อหา (Content) อย่างเพียงพอทจ่ี ะเป็นแนวทางใหน้ กั เรียนสามารถคดิ และเขยี นได้

การสอนการเขียนควรคำนึงถึงองค์ประกอบด้านเนื้อหา (Content) ข้อความที่ผู้เขียน
ต้องการสื่อให้กับผู้อ่าน รูปแบบ (Form) การวางรูปแบบของการเขียนไวยากรณ์ Grammar) การใช้
กฎไวยากรณ์ และโครงสร้างประโยคต่างๆ ลีลาในการใช้ภาษา (Style) การเลือกใช้ศัพท์ สำนวน
เพื่อให้เกิดอรรถรสทางภาษา กลไกทางภาษา (Mechanics) การใช้เครือ่ งหมายวรรคตอน การสะกดคำศพั ท์
และการใช้อักษรตัวเล็กและใหญ่ได้อย่างถูกต้อง (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,
ม.ป.ป. หน้า 54 - 58)

1. กจิ กรรมการเขยี น การสอนการเขียนอาจแบง่ ได้เป็น 4 ลกั ษณะ ดังน้ี
1.1 การเขียนแบบคัดลอก (Mechanical Copying) คือการลอกคำ ข้อความ หรือประโยคโดย

ไม่ต้องสร้างภาษาของตนเอง มักเป็นกิจกรรมที่ใช้กับนักเรียนในระดับต้นๆ เช่น การคัดลายมือ
การเขียนตามรอยประ การโยงภาพและข้อความท่ีเข้าค่กู ันแล้วลอกข้อความจัดลำดับตัวอกั ษรแลว้ เขียน
คำให้ถูกต้อง หรือจัดลำดับประโยคและเขียนข้อความที่ถูกต้อง (Mechanical Copying) เป็นการฝึก
เขียนโดยการคัดลอกคำ ประโยคหรอื ข้อความท่ีกำหนดให้ ในขณะทเี่ ขยี นคดั ลอก นักเรียนจะเกิดการเรียนรู้
การสะกดคำ การประกอบคำเข้าเป็นรูปประโยคและอาจเป็นการฝึกอ่านในใจไปพร้อมกัน ข้อเสียของ
การเขียนในลักษณะนี้ คือในบางกิจกรรมนักเรียนอาจลอกคำ ข้อความหรือประโยค โดยไม่เข้าใจ
ความหมายและกิจกรรมการเขียนแบบนี้ไม่ได้เอื้อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการสร้างภาษาของตนเอง
ลักษณะกิจกรรมแบบนี้อาจไม่ท้าทายความสามารถของนักเรียน ครูจึงควรพิจารณาไม่ควรจัดกิจกรรม
การเขยี นในแบบน้ีมากเกินไป

1.2 การเขยี นแบบควบคุม (Controlled Writing) เปน็ กิจกรรมในการสอนทักษะการเขียนท่ี
มุ่งเนน้ ในเร่ืองความถูกต้องของรูปแบบ โดยครใู ห้เนื้อหาและรูปแบบภาษาสำหรับนักเรียนใช้ในการเขียน
ครูจะเป็นผู้กำหนดส่วนที่เปลี่ยนแปลงให้นักเรียน นักเรียนจะถูกจำกัดในด้านความคิดอิสระ
สร้างสรรค์ เช่น การเปลี่ยนรูปทางไวยากรณ์ คำศัพท์ในประโยค รูปแบบประโยคที่ต้องใช้ตัวอย่างยอ่ หน้า
สำหรบั เลยี นแบบหรอื ข้อความสำหรับเติมให้สมบูรณ์ ขอ้ ดีของการเขยี นแบบควบคุมน้ี คือการป้องกัน
มใิ หน้ ักเรยี นเขยี นผิดต้งั แตเ่ ริม่ ต้น

42

1.3 การเขียนแบบกึ่งควบคุม (Less – Controlled Writing) เปน็ แบบฝึกเขยี นทม่ี ีการควบคุม
น้อยลง และนักเรียนมีอิสระในการเขียนมากขึ้น การฝึกการเขียนในลักษณะนี้ ครูจะกำหนดเค้าโครง
หรือรูปแบบ แล้วให้นักเรียนเขียนต่อเติมส่วนที่ขาดหายไปใหส้ มบูรณ์ วิธีการนี้ชว่ ยให้นักเรยี นพัฒนา
ทักษะความสามารถในการเขยี นไดม้ ากข้นึ อนั จะนำไปสกู่ ารเขียนอยา่ งอิสระได้ในโอกาสต่อไป

1.4 การเขียนแบบอิสระ (Free Writing) เป็นแบบฝึกเขียนที่ไม่มีการควบคุมแต่อย่างใด
นักเรียนมีอิสรเสรีในการเขียน เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิด จินตนาการอย่างกว้ างขวาง
การเขียนในลักษณะนี้ครูจะกำหนดเพียงหวั ข้อเรื่องหรือสถานการณ์แล้วใหน้ ักเรียนเขียนเรื่องราวตาม
ความคิดของตนเอง วิธีการนี้ช่วยให้นักเรียนพัฒนาทักษะความสามารถในการเขียนได้เต็มที่ข้อจำกัดของ
การเขียนลักษณะนี้ คือนักเรียนมีข้อมลู ที่เป็นคลังคำ โครงสร้างประโยค ไวยากรณ์เป็นองคค์ วามรูอ้ ยู่
ค่อนขา้ งน้อย ส่งผลให้การเขยี นอย่างอสิ ระนี้ไม่ประสบผลสำเร็จเทา่ ทค่ี วร กิจกรรมการเขียน เชน่ การเขียน
ความเรียงที่ครูกำหนดหวั ข้อให้หรือเขียนบทสนทนาเมื่อนักเรยี นไดช้ ้ินงานจากการฝึกทักษะการเขียน
การตรวจงานเขียนเป็นสิ่งทค่ี รตู อ้ งดำเนนิ การตอ่ ไปซ่งึ ครคู วรคำนงึ ถึงส่ิงต่อไปน้ี

1.4.1 การให้ระดับคะแนน A, B, C หรือ /7, /8 ,…/10 การให้คะแนนแบบนี้เป็นการประเมิน
การเขียนโดยรวม ไม่ควรเน้นเฉพาะความถูกต้องทางไวยากรณ์เป็นเกณฑ์แต่ยังต้องดูว่านักเรียน
สามารถใช้ภาษาสื่อความคิดได้ชดั เจนหรือไม่และพัฒนาความคิดและเรือ่ งราวที่เขียนดีเหมาะสมมาก
น้อยเพียงไร

1.4.2 การแสดงความคิดเห็นต่อการเขียน (good, fair, needs improvement,
careless) ครูพึงตระหนักว่าการแสดงความคดิ เห็นต่องานเขียนของนักเรียนเป็นการชี้ใหน้ กั เรียนเห็น
ทั้งจุดเด่นและข้อด้อย ครูควรกล่าวชมสิ่งที่นักเรียนเขียนดีแล้วและคอยชี้ให้เห็นจุดที่ยังบกพร่องให้
คำแนะนำทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อการปรบั ปรุงแกไ้ ข

กิจกรรมการจัดกจิ กรรมการเรียนรภู้ าษาองั กฤษเชงิ รกุ (Active Learning)

ในการจัดการเรียนการสอนที่เผยแพร่ในปลายศตวรรษที่ 20 ที่เรียกว่าการเรียนรู้ที่เน้น
บทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้เรียนหรือ “การเรียนรู้เชิงรุก” (Active Learning) ซึ่งหมายถึง
รูปแบบการเรียนการสอนทีม่ ุ่งเน้นส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้และบทบาทในการเรียนรู้
ของผู้เรียนใช้กิจกรรมเป็นฐาน นำกิจกรรมเป็นทีต่ ั้งเพือ่ ที่จะฝึกหรือพัฒนาผู้เรยี นให้เกดิ การเรียนรู้ให้
บรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่กำหนด (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2562,
หนา้ 5-6)

ความสำคัญของการสอนภาษาอังกฤษโดยใชก้ ิจกรรม
1. ส่งเสริมให้ผเู้ รยี นมีความตื่นตัวและกระตือรอื รน้ ดา้ นการร้คู ิด
2. กระตนุ้ ให้เกดิ การเรยี นรู้จากตวั ผู้เรียนเองมากกว่าการฟังผู้สอนในห้องเรียนและการท่องจำ


Click to View FlipBook Version