The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เทอม 1 (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kamoncanok22pp, 2022-04-12 02:43:30

ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เทอม 1 (1)

ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เทอม 1 (1)

การพูดและเขียนแสดงความรู้สึ ก

การพูดและการเขียนแสดงความรู้สึก คือ การที่ผู้พูดสื่อสารต่อผู้ดู ผู้ฟัง

และผู้เขียนสื่อสารต่อผู้อ่านในโอกาสต่าง ๆ เช่น การแสดงความยินดี
แสดงความเสียใจ ฯลฯ

การพูดและการเขียนแสดงความรู้สึก เป็นทัศนะส่วนตัวของผู้พูด
ผู้เขียน อาจเหมือนหรือมีการเตรียมตัวล่วงหน้ าและไม่เหมือนกับผู้ใดก็ได้

เราสามารถแบ่งออกเป็น ๒ ลักษณะ คือ ไม่มีการเตรียมตัวล่วงหน้ า
ซึ่งต้องใช้ปฏิภาณไหวพริบในทันทีทันใด

ข้อควรปฏิบัติในการพูดแสดงความรู้สึ ก

๑. คิดก่อนพูดว่าพูดกับใคร โอกาสใด สถานที่ไหน ลำดับเรื่องที่จะพูด
เช่น ทักทาย แนะนำตัวพูดแสดงความรู้สึก

๒. ควบคุมอารมณ์และความรู้สึกให้พอเหมาะพอควร
๓. ใช้คำและภาษาสุภาพให้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล ตลอดจน

ออกเสี ยงให้ชัดเจน
๔. พูดตรงประเด็น มีสาระ ไม่เยิ่นเย้อและตรงเวลา
๕. ใช้สีหน้ า ท่าทางและแววตา ให้สอดคล้องกับเรื่องที่แสดงความรู้สึก
๖. แต่งกายสุภาพ เรียบร้อย เพื่อเสริมบุคลิกภาพ

ส่วนการเขียน ควรคำนึ งถึงการใช้ภาษาและมารยาทการเขียนให้

มากกว่าการพูด เนื่ องจากการเขียนจะสามารถใช้ในการอ้างอิงได้ตลอด

เวลา



โวหาร หมายถึง สำนวนในการพูดหรือขียนหนั งสือ เพื่ออธิบายให้ผู้รับสารเกิดความ

เข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง

สำนวนโวหาร แบ่งออกเป็น ๕ ประเภท
๑. บรรยายโวหาร - อธิบายเรื่องราวต่างๆ ชัดเจน ตรงไปตรงมา

ตัวอย่างบรรยายโวหาร
ปลาทูมีคุณค่าทางอาหารมากมาย ทั้งกรดไลโนเลอิกซึ่งเป็นตัวควบคุมระดับ

คอเลสทอรอล ไตรกลีเซอไรด์ในกระแสเลือด และกรดโคโคซาเซ็กชิโนอิก
(ดีเอซเอ) ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของเซลล์สมอง

๒. พรรณนาโวหาร - มุ่งให้เห็นภาพและอารมณ์
ตัวอย่างพรรณนาโวหาร

ความงดงามของธรรมชาติทำให้มนุษย์เกิดสุขทางใจ ไม่ว่าจะเป็นพระอาทิตย์ยามเช้าที่

ส่องแสงเรื่อๆ ทางทิศตะวันออก เสียงนกร้อง เสียงไก่ขัน ดอกไม้หลากสี ทะเลสีคราม

น้ำตกกระเซ็นกระทบกับโขดหิน หรือความร่มรื่นของต้นไม้ในป่าใหญ่

๓. เทศนาโวหาร - การสอน ซักจูงให้คล้อยตามอย่างมีเหตุผล
ตัวอย่างเทศนาโวหาร

มีสลึงพึ่งบรรจบให้ครบบาท อย่าให้ขาดสิ่งของต้องประสงค์ จงมักน้ อยกินน้ อยค่อย

บรรจง อย่าจ่ายลงให้มากจะยากนาน

๔. สาธกโวหาร - อธิบายด้วยการยกตัวอย่าง
ตัวอย่างสาธกโวหาร

หากเราไม่ท้อถอยต่ออุปสรรค มีความเพียรเป็นที่ตั้ง เราย่อมประสบความสำเร็จ

เช่น พระมหาชนกที่มีความเพียรในการว่ายน้ำถึง ๗ วัน ๗ คืนอย่างไม่ย่อท้อ

๕. อุปมาโวหาร - การกล่าวเปรียบเทียบ
ตัวอย่างอุปมาโวหาร

ชาวนาเปรียบเสมือนกระดูกสันหลังของชาติ เพราะเป็นผู้ปลูกข้าวให้คนไทยได้รับ

ประทาน

๑.

๒.
๓.

๔.
๕.
๖.













!

๑. อัญประกาศ ๒. สัญประกาศ ๓. นขลิขิต





_______________ _______________ _______________

๔. ไปยาลใหญ่ ๕. ยัติภังค์




_______________ _______________

๖. มหัพภาค ๗. ไปยาลน้ อย ๘. ทับ
_______________



_______________ _______________

๙. อัศเจรีย์ ๑๐. เสมอภาค




_______________ _______________

๑๑. จุลภาค ๑๒. ปรัศนี




_______________ _______________

"...................." __________ (...............)
ฯลฯ - ฯ .

/!
=, ?

๑. ...................... ใช้เขียนไว้ข้างหลังข้อความที่เป็นคำถาม
๒. ..................... ใช้คั่นระหว่างตัวเลข เพื่อแบ่งความหมายของ

ตัวเลขที่อยู่ข้างหน้ าและข้างหลัง
๓. ..................... ใช้คั่นคำหลาย ๆ คำที่เรียงกันไป
๔. ..................... ใช้บอกคำอุทานหรือแสดงความรู้สึก ซึ่งแสดง

อาการต่าง ๆ
๕. ..................... ใช้เขียนคั่นกลาง เพื่อแสดงความข้างหน้ ากับ

ข้างหลังว่ามีส่ วนเท่ากัน
๖. ...................... ใช้เขียนท้ายคำเพื่อละคำที่รู้จักกันดีแล้วนั้ นให้

สั้ นลงเวลาอ่านต้องอ่านคำเต็มทั้งข้อความ

"...................." __________ (...............)
ฯลฯ - ฯ .

/!
=, ?

๗. ...................... ใช้สำหรับขีดท้ายส่วนแรกของคำกับส่วนท้าย
ของคำที่อยู่อีกบรรทัดหนึ่ งเพื่อให้รู้ว่าเป็นคำ
เดียวกันหรือถ้าใช้กับตัวเลขจะแทนคำว่าถึง

๘. ....................... ใช้เขียนหลังคำหรือข้อความที่ยังไม่จบ
ยังมีคำหรือข้อความประเภทเดียวกันอีก

๙. ....................... ใช้คั่นข้อความที่ต้องการให้อ่านข้อความที่
อยู่ในวงเล็บ ซึ่งต้องการอธิบายหรือขยาย
ความที่นอกเหนื อจากข้อความข้างหน้ า

๑๐. ...................... ใช้คั่นข้อความที่เป็นคำพูดของผู้อื่นหรือ
ยกมาจากที่อื่น

๑๑. ...................... ใช้ขีดไว้ใต้คำหรือข้อความที่สำคัญเพื่อสังเกต
ได้ชัดเจน

๑๒. ...................... ใช้จบข้อความในประโยคและกำกับอักษรย่อ























..............
..............
..............
..............

..............
..............
..............
..............
..............
..............







..............................
..............................
..............................
..............................
..............................
..............................
..............................
..............................
..............................
..............................









..............
..............
..............
..............
..............

..............
..............
..............
..............

..............




Click to View FlipBook Version