The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Malliga2542, 2021-10-07 05:08:21

เล่มPro1

เล่มPro1

แบบบนั ทึกการฝกึ ปฏบิ ตั ิวิชาชพี ระหว่างเรยี น 1

ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564

นางสาวมัลลิ กา ฤทธิ เ์ ทพ

รหสั ประจำตัวนกั ศกึ ษำ 61115320115
สำขำวชิ ำดนตรีศกึ ษำ

คณะมนษุ ยศำสตรแ์ ละสงั คมศำสตร์
มหำวทิ ยำลัยรำชภัฏเทพสตรี

โรงเรยี นวินติ ศึกษาในพระราชปู ถมั ภ์
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี
สงั กัด สานกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน

ประเภทสามญั ศกึ ษา
อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

ฝ่ายฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ครู
คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเทพสตรี



แบบบันทึกการฝึกปฏบิ ตั ิวชิ าชพี ระหว่างเรียน 1

ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564

ชอ่ื นางสาวมัลลิกา ฤทธิ์เทพ
รหัสประจาตัวนกั ศึกษา 61115320115

สาขาวชิ าดนตรศี ึกษา
โรงเรียนวินิตศึกษาในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ

สยามบรมราชกุมารี
สงั กัด สานกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน ประเภทสามัญศกึ ษา

อาเภอเมือง จังหวดั ลพบรุ ี

ฝ่ายฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ครู
คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เทพสตรี



คำนำ

เอกสารฉบับนี้เป็นคู่มือประกอบการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 1 เป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสเรียนรู้และเข้าใจวิชาชีพครู ซ่ึง
ได้แก่ กระบวนการการเรียนการสอน หลักสูตร ระบบการบริหารงานการศึกษาในโรงเรียนและได้
ทางานร่วมกับผู้อื่น ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้จะสามารถพัฒนาความรู้ ความสามารถของนักศึกษาได้เป็น
อยา่ งดี

การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 1 เป็นการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูเพื่อเตรียมความ
พร้อมก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาโดยการสังเกตสภาพทั่วไปของโรงเรียน พฤติกรรมการ
เรียนรู้ของนักเรียน งานในหน้าท่ีครูผู้สอน ครูประจาชั้น การศึกษางานด้านการบริหารและบริการ
สภาพชมุ ชนและความสัมพันธ์ระหวา่ งโรงเรียนกบั ชมุ ชน

โดยเอกสารฉบับน้ีได้มีการปรับปรุงแก้ไขรายละเอียดการบันทึกงานท่ีต้องฝึกปฏิบัติต่าง ๆ ให้
สอดคล้องกับบริบทสถานการณ์ปัจจุบันในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา-2019 ซึ่ง
ทาให้นักษาไม่สามารถฝึกปฏิบัติฯ ในสถานศึกษาได้ และให้ปรับมาใช้การฝึกปฏิบัติผ่านระบบ
ออนไลนเ์ พื่อทดแทนกระบวนการต่าง ๆ

หวังว่าเอกสารฉบับนี้คงให้ประโยชน์ในการเรียนรู้และเข้าใจในวิชาชีพครูก่อนท่ีจะ ออกฝึก
ปฏิบัติงานวิชาชพี ครูในขัน้ ต่อไป

ฝา่ ยฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ครู
คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั เทพสตรี



สำรบญั

เน้ือหา หนา้

คำนำ...................................................................................................................................................... ก
สำรบญั .................................................................................................................................................. ข
กำรฝึกปฏิบตั ิวิชำชีพระหวำ่ งเรยี น 1................................................................................................1
จดุ ประสงคข์ องกำรฝึกปฏิบตั ิวิชำชีพระหว่ำงเรยี น 1...................................................................2
ขอ้ เสนอแนะในกำรฝึกและกำรใชเ้ อกสำร.......................................................................................3
กำรประเมนิ ผลกำรฝึกปฏิบตั ิวิชำชีพระหว่ำงเรยี น 1....................................................................4
เกณฑใ์ นกำรประเมนิ ผลกำรฝึกปฏิบตั ิวิชำชีพระหวำ่ งเรยี น 1...................................................5
ปว.1-1 แบบบนั ทกึ กำรสงั เกตสภำพท่วั ไปของโรงเรยี น ................................................................6
ปว.1-2 แบบบนั ทกึ กำรปฏิบตั ิงำน..................................................................................................14
ปว.1-3 แบบสมั ภำษณก์ ำรจดั กำรเรยี นรู้ (สมั ภำษณค์ รูพ่ีเลยี้ ง).............................................17
ปว.1-4 แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ ........................................................................................................18
ปว.1-5 โครงรำ่ งกำรวิจยั ในชนั้ เรยี น..............................................................................................39
ปว.1-6 แบบประเมินกำรปฏิบตั ิตนของนกั ศกึ ษำ ......................................................................45
ปว.1-7 แบบประเมนิ แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้................................................................................46
ปว.1-8 แบบประเมินดำ้ นคณุ ภำพกำรจดั กำรเรยี นกำรสอน ...................................................47
ภำคผนวก ...........................................................................................................................................51

แบบลงเวลำฝึกปฏิบตั ิวิชำชีพระหวำ่ งเรยี นของนกั ศกึ ษำ...................................................55

1

กำรฝึ กปฏบิ ัติวชิ ำชีพระหว่ำงเรียน 1

มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี เป็นมหาวิทยาลัยที่ทาหน้าที่ผลิตครูให้กับโรงเรียน

ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในท้องถิ่นเขตรับผดิ ชอบ 3 จังหวัด ได้แก่ ลพบรุ ี สระบุรี และสิงห์บุรี

การผลิตครใู ห้มีคุณภาพสามารถปฏิบัติงานในหน้าที่ครูได้เป็นอย่างดี และมีจิตวิญญาณของความเป็น

ครูขึ้นอยู่กับกระบวนการผลิต ซึ่งได้แก่ กระบวนการเรียนการสอนหลักสูตร การฝึกประสบการณ์

วชิ าชพี ครู และกระบวนการประเมินผล

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูเป็นกิจกรรมท่ีเป็นหัวใจสาคัญของการผลิตครู ในช่วงที่ฝึก

ประสบการณ์ วิชาชีพครู นักศึกษาจะมีโอกาสนาความรู้ความเข้าใจในวิชาชีพครู และวิชา

เฉพาะท่ีศึกษาในมหาวิทยาลัยไป ฝึกปฏิบัติในช้ันเรียน นอกจากนี้ยังได้เรียนรู้เก่ียวกับ

ระบบการบริหารงานการศึกษาในโรงเรียนและได้ทางาน ร่วมกับบุคคลอ่ืนกิจกรรมเหลานี้ช่วยให้

นักศกึ ษาได้พัฒนาตนเองใหม้ ีทักษะในวชิ าชีพ จนสามารถปฏิบัตหิ น้าที่ครู ได้อยา่ งมั่นใจและมีเจตคติ

ทด่ี ีตอ่ วิชาชีพ งานวิจัยหลายเรื่องท้ังในและต่างประเทศยืนยนั ตรงกันว่านักศกึ ษาท่ีประสบความสาเร็จ

ในการฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครูจะมเี จตคติท่ดี ีต่อวิชาชพี ครูและแนวโน้มจะเปน็ ครทู ดี่ ีในอนาคต

จากแผนหลักการปฏิรูปการฝึกหัดครู พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้ความสาคัญ

กับการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครู เพราะเป็นกลไกสาคัญย่ิงในการสร้างบัณฑิตครูท่ีดี มีเจตคติที่ดี

ต่อวิชาชีพครู สถาบันฝึกหัดครูควรจะต้องปรับปรุงและพัฒนางานฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ให้

เอื้ออานวยต่อการเรียนรู้งานครู จากครูท่ีเป็นแบบอย่างท่ีมีในโรงเรียนและชุมชน นอกจากนี้ควรจะ

พัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ท่ีส่งเสริมการฝึกหัดครูให้เปิ ดกว้างสู่ชุมชนขยายความร่วมมือระหว่าง

มหาวิทยาลัย ขยายแหล่งเรียนรู้ แหล่งวิทยากร และแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูอย่าง

กว้างขวาง

2

จุดประสงค์ของกำรฝึ กปฏบิ ัตวิ ชิ ำชีพระหว่ำงเรียน 1

1. เพือ่ ใหน้ ักศกึ ษามีความพรอ้ มกอ่ นออกปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษา
2. เพ่ือให้นักศึกษาได้ศึกษาสังเกตสภาพทั่วไปของโรงเรียนทั้งด้านการเรียนการสอน ด้าน
สถานท่ีและด้านกจิ กรรม
3. เพ่ือให้นักศึกษาได้บูรณาการความรู้ทั้งหมดมาใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูใน
สถานศึกษา
4. เพอ่ื ให้นกั ศกึ ษาได้ศกึ ษาและฝกึ ปฏิบตั ิการวางแผนการศึกษาผ้เู รียนโดยการสงั เกต
5. เพื่อใหน้ กั ศกึ ษาไดส้ ัมภาษณง์ านในหนา้ ที่ของครูผสู้ อน งานในหนา้ ทีข่ องครูประจาช้นั
6. เพ่ือให้นักศึกษาได้ศึกษาพฤติกรรมการจัดการเรยี นรู้ วิเคราะห์ลักษณะความแตกต่างและ
พฤติกรรมของผเู้ รยี น งานบริหารและบรกิ ารของโรงเรียน
7. เพอ่ื ให้นักศกึ ษาได้ทดลองเขียนแผนการจดั การเรียนร้วู ชิ าเอก การฝึกเป็นผชู้ ว่ ยครดู ้านการ
จัดการเรียนร้หู รือสนับสนุนการจัดการเรยี นรู้ งานธรุ การช้นั เรยี น
8. เพื่อให้นักศึกษาได้ออกแบบการวิจัยในช้ันเรียนตามบริบทของสาขาวิชาที่ศึกษา เพ่ือ
เตรยี มความพร้อมในการนาไปศกึ ษาวิจยั จรงิ เม่ือสามารถฝกึ ปฏิบัติวิชาชีพ ในสถานศกึ ษาไดต้ ามปกติ
9. เพื่อให้นกั ศึกษาได้ทาการทดลองสอนในสถานการณ์จาลองผ่านระบบออนไลน์ และมคี รูพ่ี
เล้ยี งให้คาแนะนาเพื่อปรบั ปรุงพัฒนาการสอนของนกั ศกึ ษา เพ่ือเตรียมความพรอ้ มก่อนไปทาการสอน
จรงิ ในสถานศกึ ษา

3

ข้อเสนอแนะในกำรฝึ กและกำรใช้เอกสำร

การประกอบวิชาชีพให้เกิดประสิทธิผล ไม่เพียงแต่จะเรียนรู้ในภาคทฤษฎีความรอบรู้ในด้าน
วชิ าการเทา่ นน้ั ที่สาคญั ยิ่งกว่าอนื่ ใดคือการฝกึ ภาคปฏิบัตอิ ย่างจริงจงั และต่อเน่ือง

วิชาชีพครูเป็นวิชาชีพช้ันสูง ครูเป็นผู้รับผิดชอบ “ชีวิต” ของมนุษย์ เช่นเดียวกับแพทย์มี
หน้าที่รักษาโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพดีท้ังกายและใจ แต่ครูนอกจากให้ชีวิตเหล่าน้ันมีความรู้ สามารถ
อยู่ได้ในสังคมอย่างมีความสุข มีคุณธรรม เป็นพลเมืองดีของชาติแล้วยังต้องพัฒนาให้เขาเหล่านั้นมี
คณุ ภาพชวี ิตด้วย

นักศึกษาแพทย์ทุกคนต้องฝึกในโรงพยาบาลเป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่องฉันใดนักศึกษาครูย่อม
ฝกึ ในโรงเรยี นในสถานการณจ์ ริงฉันน้นั การฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพครูตามหลักสูตรนบั เป็นโอกาสดีท่ี
ไดเ้ สริมสรา้ งคณุ ภาพในวิชาชพี ของตน

ข้อเสนอแนะต่อไปน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาและการพัฒนากระบวนการฝึกปฏิบัติ
วชิ าชีพระหวา่ งเรยี น และการปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษาอย่างยงิ่ คอื

1. ศกึ ษาเอกสารโดยตลอดทาความเขา้ ใจและปฏิบัติตามข้ันตอนของสิง่ ที่ต้องจดั ทาตามแบบ
รายงาน

2. เข้าปฐมนิเทศชีแ้ จงการดาเนินงาน และกิจกรรมตา่ ง ๆ ทกี่ าหนดมอบหมายไว้
3. ปฏิบัติงานเป็นข้ันตอนตามกาหนดการ
4. บันทึกลงในแบบฟอร์มต่างๆ ตามลาดับอย่างครบถว้ น
5. ให้ผู้รบั ผิดชอบลงชื่อในแบบบันทึกแต่ละแบบตามลาดับ (เป็นลายเซ็นต์อิเล็กทรอนิกส์ได้
แต่ตอ้ งมภาพประกอบการทากจิ กรรมตา่ ง ๆ กบั ครพู เี่ ลี้ยงประกอบในภาคผนวกดว้ ย)
6. ให้ผู้รับผิดชอบประเมินผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน เมื่อฝึกปฏิบัติวิชาชีพ
ระหว่างเรียนและบันทกึ การปฏิบตั ิงานครบถว้ นตามกาหนด
7. หลังจากโรงเรียนประเมนิ ผลการฝึกปฏบิ ัติวชิ าชีพระหว่างเรียนโดยครูพ่ีเลีย้ งแล้ว ฝ่ายฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพครูและอาจารย์ผู้สอนจะประเมินผลคร้ังสุดท้ายหลังจากครบกาหนดเวลาการ
ปฏบิ ัตงิ านวชิ าชพี ครู

4

กำรประเมนิ ผลกำรฝึ กปฏบิ ตั ิวชิ ำชีพระหว่ำงเรียน 1

การประเมินผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน ประเมินตามรายวิชาท่ีฝึกทุกปีการศึกษา
นักศึกษาต้องผ่านการฝึกเป็นข้ันตอนตามลาดับ หากไม่ผ่านในข้ันตอนใดต้องซ่อมเสริมให้ “ผ่าน” จึง
ฝกึ ในข้นั ตอ่ ไปได้

การประเมินผลการปฏิบัติงานวิชาชีพครู เป็นการประเมินผลท่ีครอบคลุมท้ังคุณลักษณะ
ความเปน็ ครแู ละเทคนิควธิ ี โดยมผี ู้ประเมินท้งั ฝ่ายมหาวิทยาลัยและโรงเรยี น

ในการประเมินผลการฝึกประสบการณ์ข้ันศึกษาสังเกตและมีส่วนร่วม นับตั้งแต่ปีการศึกษา
2542 เป็นต้นไป จะเปลี่ยนระบบการประเมินผลจาก ผ่านดีเย่ียม, ผ่าน, ไม่ผ่าน เป็น
ระบบการประเมินแบบใหเ้ กรดคอื A, B+, B, C+, C, D+, D และ E

ประเภทของแบบประเมิน
แบบประเมินผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน หรือ ปว. มีท้ังหมด 8 ชุด แบ่งเป็น 2

ประเภท คือ
1. สำหรับนักศึกษำ ปว.1-1 ถึง ปว.1-5 จะเป็นแบบบันทึกการสังเกต การสัมภาษณ์ การ

จัดทาแผนการจดั การเรยี น และการทาวจิ ัยในชั้นเรยี น ดังนี้
ปว.1-1 แบบบนั ทึกการสงั เกตสภาพท่ัวไปของโรงเรยี น
ปว.1-2 แบบบนั ทึกการปฏบิ ัติงาน
ปว.1-3 แบบสัมภาษณ์การจัดการเรียนรู้
ปว.1-4 แผนการจัดการเรยี นรู้ 3 แผน
ปว.1-5 โครงร่างการวิจยั ในช้ันเรียน
นกั ศึกษามีหน้าท่ีบันทึกผลการศึกษาสังเกตใหถ้ ูกตอ้ งตามความเป็นจริง หลังจากน้ัน

ใหค้ รูพี่เลีย้ งและอาจารยน์ ิเทศกล์ งช่อื รับรอง
2. สำหรบั ครูพี่เลี้ยงและอำจำรยผ์ ูส้ อน ปว.1-6 ถึง ปว.1-8 โดยมีรายละเอยี ด ดังน้ี
ปว.1-6 แบบประเมินการปฏิบตั ิตนของนกั ศึกษา (โดยครูพ่เี ลยี้ ง)
ปว.1-7 แบบประเมินแผนการจัดการเรยี นรู้ (โดยครูพเี่ ลี้ยง)
ปว.1-8 แบบประเมินด้านคุณภาพการจัดการเรียนการสอน (โดยครพู เี่ ลยี้ ง)
ครูพี่เลยี้ งทาการประเมินตามแบบฟอร์มแล้วส่งให้กับนักศึกษาเพื่อทาการรวบรวมใส่

ในเลม่ แบบบันทึกการฝึกปฏบิ ตั ิวชิ าชพี ระหว่างเรยี น 1

5

เกณฑ์ในกำรประเมนิ ผลกำรฝึ กปฏบิ ตั วิ ชิ ำชีพระหว่ำงเรียน 1

1. คะแนน ปว.1-6 ถึง ปว.1-8 ซ่ึงได้รับการประเมินจากครูพ่ีเล้ียงประจาโรงเรียนหน่วยฝึก

ประสบการณ์วิชาชีพครู

2. คะแนนจากการประเมินของอาจารย์ผู้สอนรายวิชาฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 1 ซึ่ง

ประกอบด้วย คะแนนจากแบบบันทึกการปฏิบัติงานของนักศึกษา แผนการจัดการเรียนรู้ งานวิจัยใน

ชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในช้ันเรียน การนาเสนอ บุคลิกภาพ และการแต่งกาย การใช้วาจา กิริยา

ทา่ ทาง และความรับผิดชอบ

3. แนวทางการให้คะแนนรายวิชาการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 1 กาหนดเกณฑ์การ

ใหค้ ะแนน ดงั นี้

3.1 อาจารย์ผู้สอน รวม 60 คะแนน

3.1.1 แบบบนั ทึกปฏิบตั ิงานของนักศึกษาในภาพรวม 30 คะแนน

3.1.2 โครงรา่ งงานวจิ ยั ในช้ันเรยี น 10 คะแนน

3.1.3 การมีส่วนรว่ มในการจดั การเรียนการสอน 10 คะแนน

3.1.4 พฤตกิ รรมการเรยี นของนกั ศึกษา 10 คะแนน

3.2 ครพู ีเ่ ลย้ี ง รวม 40 คะแนน

3.2.1 แบบประเมินการปฏบิ ัตติ นของนกั ศกึ ษา 10 คะแนน

3.2.2 แบบประเมินแผนการจัดการเรยี นรู้ 10 คะแนน

3.2.3 แบบประเมินการจดั การเรียนรู้ 20 คะแนน

รวมท้งั ส้นิ 100 คะแนน

4. นาคะแนนจากขอ้ 1 และ 2 มารวมกันแล้วประเมนิ เปน็ เกรดโดยมีเกณฑ์ ดังนี้

คดิ จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน

คะแนน 90 – 100 ได้ระดับ A

คะแนน 85 – 89 ได้ระดับ B+

คะแนน 80 – 84 ได้ระดบั B

คะแนน 75 – 79 ไดร้ ะดบั C+

คะแนน 70 – 74 ได้ระดบั C

คะแนน 65 – 69 ได้ระดับ D+

คะแนน 60 – 64 ไดร้ ะดับ D

คะแนน 0 – 59 ไดร้ ะดบั E

6

ปว.1-1

แบบบนั ทกึ กำรสังเกตสภำพทว่ั ไปของโรงเรียน

คำชแ้ี จง ให้นักศึกษาบันทึกข้อมูลการศึกษาและสังเกตสภาพทั่วไปตามความเป็นจริงของ
สถานศึกษาลงในช่องว่างตามหัวขอ้ ท่ีกาหนด

1. โรงเรียน วินิตศึกษาในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สังกัด
สานักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน ประเภทมัธยมศึกษา และเป็นโรงเรยี นการกุศลของ
วดั ในพระพทุ ธศาสนา

แห่งที่ 1 ตั้งอยู่ท่ี เลขท่ี 10 ถนนเพทราชา ตาบลท่าหิน อาเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี
รหัสไปรษณีย์ 15000 แห่งท่ี 2 ต้ังอยู่ท่ี ตาบลโพธ์ิเก้าต้น อาเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี
รหสั ไปรษณีย์ 15000
โทรศพั ท์ 0-3641-1235 , 0-3642-10888 โทรสาร 0-3642-1088 ต่อ 121

2. ปรัชญำของโรงเรยี น : อพยฺ าปชฌฺ สขุ โลเก การช่วยกนั เปน็ สุขในโลก
วิสัยทัศน์ของโรงเรียน : โรงเรียนวินิตศึกษา ในพระราชูปถัมภ์ฯ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่มี

ประสทิ ธิภาพ มุ่งเน้นพัฒนาให้ผู้เรียน มีวินัย ใฝ่คุณธรรม จริยธรรม เลศิ ลา้ วิชาการ สู่มาตรฐานสากล
บนพ้นื ฐานความเป็นไทย

3. ชือ่ ผ้บู ริหำรโรงเรยี น : พระเทพเสนาบดี
รองผูอ้ านวยการโรงเรยี น
ฝา่ ยวิชาการ นางทพิ วรรณ์ กองสทุ ธ์ใิ จ
ฝ่ายปกครอง นายภิเศก อินทร์อยู่
ฝ่ายธุรการ นางนภสั นนั ท์ ชนะพงศ์ฐิติวัสส์
ฝ่ายสมั พันธ์ชุมชน พระครวู ธิ านธรรมวิสุทธิ์
ฝ่ายกจิ การ นางสาวนติ ยา นฤชาตวิ รพันธ์

7

4. บคุ ลำกร
4.1 ครอู าจารย์

ระดับกำรศกึ ษำ สำขำวิชำ จำนวน รวม
ชำย หญงิ 1
ปรญิ ญาเอก บริหารการศกึ ษา 1- 38
ปรญิ ญาโท บริหารการศกึ ษา 165
ปรญิ ญาตรี นิติศาสตร์
วิทยาศาสตร์บญั ฑิต 204
รวม 1.ฟสิ กิ ส์
2.เคมี
3.ชวี ะวิทยา
4.เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์
ครุศาสตรบ์ ญั ฑิต
1.สงั คมศึกษา
2.ภาษาไทย
3.ภาษาอังกฤษ คบ.
4.ดนตรศี ึกษา
5.คณิตศาสตร์
6.พละศึกษา
7.จติ วทิ ยาและการแนะแนว

4.2 คนงาน มที ้งั หมด 48 คน เปน็ หญงิ 1,588 คน เป็นชาย 1,248 คน
4.3 นักเรยี น มที ้งั หมด 2,836 คน
แยกตามลาดับข้ันต่าง ๆ ไดด้ ังน้ี จำนวนห้อง จำนวนนกั เรยี น
หญิง ชำย รวม
ระดบั ชัน้ 27 536 403 939
24 526 402 928
1. มัธยมศึกษาปีท่ี 1 23 526 443 969
2. มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 74 1,588 1,248 2,836
3. มธั ยมศึกษาปที ี่ 3
รวม

8

สรปุ อตั ราสว่ นระหว่างจานวนครูอาจารยต์ ่อจานวนนกั เรียน โดยประมาณ คือ
ครอู าจารย์ 2 คน ต่อนักเรียน 40 คน

5. อำคำรสถำนที่

5.1 หอ้ งเรยี น มีทั้งหมด 74 ห้อง

5.2 หอ้ งพักครอู าจารย์ มที ้งั หมด 8 ห้อง

5.3 ห้องสง่ เสรมิ วชิ าการ มที ัง้ หมด 3 หอ้ ง คอื 1. ห้องวิชาการ 2. ห้องสานักงาน 3. ห้องทะเบียน

6. สภำพแวดล้อม
6.1 สถานท่ีสาคัญที่อยู่ใกล้โรงเรียน ได้แก่ วังนารายณ์ราชนิเวศ, วัดเชิงท่า, พิพิธภัณฑ์หอ

โสภณศลิ ป์,วดั พระศรีมหาธาตุ
6.2 สถานทใ่ี กลเ้ คียงโรงเรยี นท่ีเป็นแหลง่ วิทยาการสง่ เสรมิ การจัดการเรียนการสอน

วงั นารายณร์ าชนิเวช, พพิ ธิ ภณั ฑ์หอโสภณศิลป์, วัดพระศรมี หาธาตุ

7. สภำพของนกั เรยี น
7.1 สภาพครอบครวั (อาชีพ ฐานะทางเศรษฐกิจ)
สภาพครอบครัวของนกั เรยี นในโรงเรียนโดยรวมอย่ใู นฐานะปานกลาง
7.2 พฤตกิ รรมนกั เรียน
พฤติกรรมโดยรวมอยใู่ นเกณฑ์ดี มคี วามประพฤติเหมาะสมตามวยั

8. ภำระหน้ำที่ของครผู สู้ อน
8.1 ครปู ระจาชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2/23
8.2 งานอน่ื ๆ
ครเู วรรกั ษาความปลอดภยั กลางคนื

9

9. แผนผังแสดงบริเวณและที่ตั้งของโรงเรยี น

10

10. ประวตั ิโรงเรียน

วันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๔๘๙ พระเดชพระคุณหลวงพ่อพระพุทธวรญาณ (กิตติ บัวอ่อน ปธ.
๘) อดีตเจ้าคณะจังหวัดลพบุรีกับ คณะศิษย์ ๔ คน ได้จัดตั้งโรงเรียนวินิตศึกษาขึ้น โดยมี
วตั ถุประสงค์ เพ่ือให้เยาวชนได้รับการศกึ ษาควบคู่ไปกับการฝึกอบรม คณุ ธรรมตามหลักธรรมของ
พระพุทธศาสนา ให้สามารถประกอบสัมมาอาชีพได้ และดารงตนอยู่ในสังคมด้วยคุณธรรมอันดี เปิด
สอนต้ังแต่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ถึงมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีนักเรียน ๑๒๐ คน ครู ๗ คน ใช้
ศาลาวัดกวิศราราม และอาคารสถานที่ของวัดเป็นท่ีเรียน โดยท่านเป็นผู้อานวยการ และมี ครู
ประพันธ์ ผลฉาย เป็นครูใหญ่

May 2 0 , 1 9 4 6 Abbot Pra Buddhaworayan (Kittithinnathera) established
Winitsuksa School. There were only 120 students and 7 teachers from Mathayom 1-3

พ.ศ. ๒๔๙๒ กระทรวงศึกษาธิการให้การรับรองวิทยฐานะเทียบเท่าโรงเรียนรัฐบาล
ภายหลังจากได้ดาเนินการสอนตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษา ได้เพียง ๓ ปี และได้ย้ายสถานที่
เรียน มาสร้างอาคารถาวรดา้ นหลังวัด ซึง่ เป็นอาคารเรียนปัจจบุ ัน โดยมี อาจารยป์ ระพฒั น์ ตรี
ณรงค์ เป็นครูใหญ่คนที่ ๒ (ต่อจากอาจารย์ ประพันธ์ ผลฉาย) พร้อมกันนี้ไดเ้ ปิด สอนช้ัน ม.๔ - ม.๖
(มศ.๑ - มศ.๓ ปัจจุบัน) ในนามโรงเรียน วิทยาประสิทธ์ิ (เพราะการจะเปิดช้ันเรียนเพิ่มสูงขึ้นน้ัน
เปิดในโรงเรียนเดิมซ่ึงได้รับการรับรองวิทยฐานะแล้วไม่ได้ตามระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการใน
ขณะน้ัน) มีอาจารย์ชั้น ปานบัว เป็นครูใหญ่ โรงเรียนนี้เปิดทาการสอนไม่นาน กระทรวงศึกษาธิการก็
รับรองวิทยฐานะ เทียบเท่าโรงเรียนรัฐบาล ในปี พ.ศ. ๒๔๙๕ และหลังจากน้ันก็ยุบเป็น " วินิต
ศึกษา " แต่เพียง โรงเรียนเดียว โดยหลวงพอ่ พระพุทธวรญาณรักษาการตาแหนง่ ครูใหญ่อยู่ ๒ ปี

ตอ่ จากนัน้ อาจารยจ์ นั ทร์ บัวสนธ์ิ กด็ ารงตาแหนง่ ครใู หญ่ต่อมาจนสิน้ สุด ปกี ารศึกษา ๒๕๓๘
ชั้นเรียนเดมิ ซึ่งเคยมีตั้งแต่ ชัน้ มัธยมปที ี่ ๑ ถึงชน้ั มัธยมปที ่ี ๖ ก็เปลีย่ น เป็นตง้ั แตช่ ั้นประถมปีท่ี ๕ ถึง
มัธยมศึกษาปที ่ี ๓ ตามระบบการศึกษาทีเ่ ปล่ยี นแปลงใหม่ และได้เปดิ ช้ัน ม.ศ. ๔ ม.ศ. ๕ และ
ม.ศ. ๖

In 1949 The Ministry of Education guaranteed the high standard of Winitsuksa
School to provide education from Mathayom 1-6.

พ.ศ. ๒๔๙๓ ได้โอนเข้าเป็นสมบัตขิ องของกวศิ รารามมูลนิธิและไดโ้ อนเป็นของวัดกวิศราราม
ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ โรงเรียนวนิ ิตศึกษาจึงมีฐานะเป็นโรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา โดย
สมบูรณ์

In 1 9 8 7 The school became a private (non profit) school of Kawidsararam
Temple

11

๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๒ คณะศิษย์และพุทธศาสนิกชน ผู้มีความเคารพนับถือในหลวงพ่อ
ได้ดาเนินการสร้าง อาคารเรียน "ธรรมญาณ๘๔" ข้นึ เพื่อเป็น อนุสรณ์ และเป็นเครอ่ื งหมายแห่งความ
กตัญญูของศิษยานุศิษย์ เนื่องในโอกาสท่ีหลวงพ่อพระพุทธวรญาณเจริญอายุได้ ๘๔ ปี หรือ ๗ รอบ
อายุ

๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงรับ
โรงเรียนวินิตศึกษาไว้ใน พระราชูปถัมภ์ ตั้งแต่วันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๓๔ (หนังสือจากกองราช
เลขานุการ ในพระองค์ สานักงานเลขาธิการ สวนจิตรลดา ท่ี รล ๐๐๐๗/๔๕๕๒ ลงวันที่ ๒๑
พฤษภาคม ๒๕๓๔ ) และเสด็จมาทรงเป็นองค์ประธานเปิดอาคาร " ธรรมญาณ ๘๔ " ในวันท่ี ๒๗
มิถุนายน ๒๕๓๔
May 20, 1991 Winitsuksa School was accepted to be under patronage of Her Royal
Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn

พ.ศ. ๒๕๓๘ โรงเรียนวนิ ิตศึกษา ได้รบั เกียรติบตั รรับรองมาตรฐานคณุ ภาพการศึกษาระดับ
มัธยมศึกษา จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน กระทรวงศกึ ษาธิการ

พ.ศ. ๒๕๓๙ โรงเรียนได้จัดโครงการใช้สื่อการสอนเป็นภาษาอังกฤษ สอนบางรายวิชาเป็น
ภาษาอังกฤษ (Bilingual Programme) รวม ๖ รายวิชา คือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา
สขุ ศกึ ษา งานบ้าน พลศกึ ษา ปจั จุบันปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เปิดสอนเพิ่มเป็น ๙ รายวิชา

In 1996 Winitsuksa started the pilot project for the Bilingual Programme
พ.ศ. ๒๕๔๐ โรงเรียนวินิตศึกษา ได้รับคัดเลือกจากกระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็นโรงเรียน
เครือข่าย (Partner School) กับ Anderson Secondary School โรงเรียนอันดับ ๑ ใน ๕ ของ
ประเทศสงิ คโปรแ์ ละในอนาคตกับประเทศออสเตรเลยี
In 1997 Winitsuksa was selected by the Ministry of Education to be a member
of the Thailand & Singapore Partner School Programme
พ.ศ. ๒๕๔๒ โรงเรียนวินิตศึกษา ได้ลงนามข้อตกลงโรงเรียนพี่โรงเรียนน้อง (SISTER
SCHOOL) กับประเทศออสเตรเลีย ระหว่าง PITTWATER HOUSE SCHOOLS, AUSTRALIA กับ
WINITSUKSA SCHOOL, THAILAND
In 1999 Winitsuksa & Pittwater House School Australia signed a memorandum
to start the Sister School Programme
ปจั จุบนั โรงเรยี นวินิตศึกษา ในพระราชูปถัมภ์ฯ เปดิ ทาการสอนตงั้ แตร่ ะดับชน้ั มธั ยมศึกษาปี
ท่ี ๑ ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ รับท้ังนักเรียนชาย และนักเรียนหญิง และได้รับคัดเลือกเข้า
ร่วมโครงการพเิ ศษของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารดงั น้ี
- โครงการประกอบอาชีพอิสระระหว่างเรียนของกรมวิชาการ

12

- โรงเรียนร่วมพฒั นาหลักสูตรปรับปรุงมัธยมศึกษาตอนต้น และมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ของ
กรม วชิ าการ

- โรงเรียนนาร่องประเมินมาตรฐานคุณภาพการศึกษาเอกชนระดับมัธยมศึกษา

11. ขอ้ มลู โรงเรยี นดเี ดน่

ปี เกยี รติประวตั ิ หนว่ ยงำนที่ใหก้ ำรยกยอ่ ง

พ.ศ.๒๔๙๒ ได้รบั การรบั รองวทิ ยฐานะเทยี บเท่าโรงเรียนรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ

พ.ศ. ๒๔๙๓ ได้โอนโรงเรียน ให้เป็นสมบัติของวัดกวิศรารามมูลนิธิและ

โอนเป็นของวัดกวิศราราม ราชวรวิหาร เม่ือปี ๒๕๓๐

โรงเรียนวินิตศึกษาจึงมีฐานะเป็นโรงเรียนการกุศลของวัด

ในพระพทุ ธศาสนาตามระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการ

พ.ศ.๒๕๓๔ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรง

พระเมตตารับโรงเรยี นวินติ ศกึ ษา ไว้ในพระราชูปถัมภ์

พ.ศ.๒๕๓๘ สานักงานคณ ะกรรมการการศึกษาเอกชน รับรอง ส า นั ก บ ริ ห า ร ง า น

มาตรฐานคุณภาพการศึกษา ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า

เอกชน

พ.ศ.๒๕๔๐ โรงเรียนได้เลือกเข้าโครงการเป็นโรงเรียนเครือข่าย กับ กระทรวงศึกษาธกิ าร

Anderson Secondary School ประเทศสิงคโ์ ปร์

พ.ศ.๒๕๔๑ โรงเรียนได้ลงนามข้อตกลงเป็นโรงเรยี นพีโ่ รงเรยี นนอ้ ง กับ

Pittwater House School ประเทศออสเตรเลีย

พ.ศ.๒๕๔๘ ได้รับคัดเลือกจากกะรทรวงศึกษาธิการให้เป็นสถานศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

ทีไ่ ด้รบั รางวลั พระราชทาน ระดบั มัธยมศึกษาขนาดใหญ่

พ.ศ.๒๕๕๑ ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้ัน สานักงานรับรองมาตรฐาน

พ้ืนฐาน ด้านมธั ยมศกึ ษา แ ล ะ ป ร ะ เมิ น คุ ณ ภ า พ

การศึกษา(องคก์ ารมหาชน)

พ.ศ. ไดร้ บั การรับรองเปน็ โรงเรียนส่งเสรมิ สุขภาพ ระดบั ทอง กองสง่ เสริมสุขภาพ

สานักอนามยั

13

แผนภูมโิ ครงสรำ้ งกำรบริหำรของโรงเรียน

โครงสรำ้ งกำรบริหำรงำน ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖๔

ลงชื่อ………………………………………….ผู้บันทึก
( นางสาวมลั ลกิ า ฤทธเิ์ ทพ )

วันท่ี 3 เดือนกันยายนพ.ศ.2564

ลงชือ่ …………………………………..…….ครพู ่ีเล้ยี ง
( นายสุธี สวนทอง )

วันท่ี 3 เดอื นกนั ยายนพ.ศ.256

14

ปว.1-2

แบบบันทึกกำรปฏบิ ัติงำน

คำช้ีแจง ให้นักศึกษาบันทึกผลการปฏิบัติงานในสถานศึกษาผ่านระบบออนไลน์ทุกคร้ังที่ปฏิบัติงาน
ตามทก่ี าหนดให้

วนั ท่ี 3 เดอื นกันยายน พ.ศ.2564

งำน รำยกำรทปี่ ฏิบตั /ิ ที่ได้ สิง่ ท่ีไดร้ บั จำกกำร ลงชอ่ื
เรียนรู้ ปฏบิ ตั ิงำนนี้ ครูพีเ่ ลย้ี ง

1. บั น ทึ ก ข้ อ มู ล -ข้อมูลเกี่ยวกับ สภ าพ ท ร า บ ที่ อ ยู่ ข อ ง

เก่ียวกับสภาพทั่วไป ท่ัวไปของสถานศกึ ษา สถานศึกษา, โครงสร้าง

ของสถานศึกษา การบริหารสถานศึกษา,

ข้อมูลประชากรจานวน

นักเรียน

-วิธีการจัดการเรียนการ จัดการเรียนเรยี นการสอน

ส อ น ข อ งโรงเรีย น ใน ใน รู ป แ บ บ ก า ร เรี ย น

สถานการณโ์ ควดิ อ อ น ไล น์ ด้ ว ย โ ป ร แ ก ร ม

Microsoft them ซ่ึงมีทั้ง

การสอนสดและการอัด

เทปการสอน

วนั ที่ 8 เดอื นกันยายน พ.ศ.2564

งำน รำยกำรท่ีปฏบิ ตั /ิ ที่ได้ สง่ิ ท่ไี ดร้ ับจำกกำร ลงชื่อ
เรียนรู้ ปฏิบตั งิ ำนน้ี ครพู เ่ี ล้ยี ง

2. เรียนรู้โปรแกรม -ศึกษาวิธีการใช้โปรแกรม วิธีการใช้โปรแกรมOBS

OBS การอัดเทปการ OBS ในการอัดเทปการ ในการอัดเทปการสอน

สอน และการจัดทา สอน

แผนการสอน -เรียนรู้วิธีการอ้างอิงจาก ทราบวิธีการอ้างอิงจาก

ตั ว ช้ี วั ด จั ด แ ล ะ ท า ตั ว ชี้ วั ด จั ด แ ล ะ ท า

แผนการสอน แผนการสอน

15

วันที่ 9 เดือนกันยายน พ.ศ.2564

งำน รำยกำรทีป่ ฏบิ ัต/ิ ทไ่ี ด้ สิ่งที่ไดร้ ับจำกกำร ลงช่ือ
เรยี นรู้ ปฏบิ ตั งิ ำนน้ี ครูพี่เลี้ยง

3. จั ด ท าแ ผ น ก าร -การทาแผนการสอน -จดั ทาแผนการสอน

สอนและเรยี นรู้การคิด -คิดหัวข้อการทาวิจัยใน - การทาวจิ ัยในชั้นเรียน

หัวข้อท่ีนามาทาการ ช้ันเรียนและการนาหัวข้อ - การเขียนความเป็นมา

วจิ ัยในช้ันเรียน วิจัยม าตี คว าม ใน การ แ ล ะ ค ว าม ส าคั ญ ข อ ง

จัดทาความเป็นมาและ ปัญหา

ความสาคญั ของปัญหา

วนั ที่ 10 เดือนกนั ยายน พ.ศ.2564

งำน รำยกำรทีป่ ฏบิ ตั /ิ ทไ่ี ด้ สงิ่ ทีไ่ ดร้ ับจำกกำร ลงชอ่ื
เรียนรู้ ปฏบิ ตั ิงำนนี้ ครูพ่เี ลยี้ ง

4. ทดลองฝกึ ซ้อม -ตดิ ตง้ั โปรแกรม -รู้ วิ ธี ก า ร ส อ น อ อ น ไล น์

การสอนผา่ น Microsoft them และ ผ่านโปรแกรม Microsoft

โปรแกรม Microsoft ติดตอ่ ทางโรงเรยี นเพื่อขอ them

them รหัส ID -ร ะ บ บ ก า ร เช็ ค ช่ื อ ข อ ง

-เรียนรู้วธิ ีการสอน โ ร ง เรี ย น จ ะ เป็ น ใ น

ออนไลน์ ผ่านโปรแกรม รปู แบบ ครูประจาช้ันเป็น

Microsoft them ผู้รวมยอดการเข้าเรียน

-เรยี นรรู้ ะบบการแบ่ง ข อ งนั ก เรีย น ส่ งผ่ าน

ภาระงานในการเชค็ ช่อื ชอ่ งทางแชทออนไลน์ของ

นักเรียน กลุ่มทโ่ี รงเรียนสรา้ งข้นึ

-ทดลองสอนกบั ครพู ่ีเลีย้ ง

16

วนั ที่ 11 เดอื นกันยายน พ.ศ.2564

งำน รำยกำรที่ปฏบิ ตั /ิ ที่ได้ ส่ิงทไี่ ดร้ ับจำกกำร ลงชื่อ
เรียนรู้ ปฏิบตั ิงำนนี้ ครูพเ่ี ลี้ยง

5. ทดลองสอน -การเตรียมความพร้อม -การเตรียมความพร้อม

กอ่ นสอน ก่อนสอน

-การตั้งค่าทดสอบระบบ -การแก้ไขปัญหาเฉพาะ

ออนไลน์ หน้า

-สอนนักเรยี นชน้ั ม.2 -การใช้โปรแกรม

-ทดลองสอนกับครพู เี่ ลย้ี ง Microsoft them

ในการสอนสด

หมำยเหตุ : นกั ศึกษาสามารถออกแบบตาราง หรือเพ่มิ รายละเอยี ดได้ ตามหวั ข้อรายละเอียดความรู้
ท่ตี ้องเรียนรจู้ ากครูพ่เี ลีย้ ง

ลงช่ือ………………………………………..…………….ผูบ้ นั ทึก
( นางสาวมลั ลิกา ฤทธ์ิเทพ )

ลงชอื่ ………………………………………………..…….ครพู เ่ี ลีย้ ง
( นายสธุ ี สวนทอง )

17

ปว.1-3

แบบสัมภำษณ์กำรจดั กำรเรียนรู้ (สัมภำษณ์ครูพเี่ ลยี้ ง)

ชื่อ นายสุธี สวนทอง
โรงเรยี น วินติ ศกึ ษาในพระราชูปถมั ภ์ฯ อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี
คำช้แี จง ให้นักศึกษาสัมภาษณ์การจดั การเรยี นรู้ของครูพ่เี ลีย้ งและบันทึกลงในช่องว่างท่ีกาหนด

1. ท่านสอนกร่ี ายวชิ า วิชาอะไรบ้าง จานวนกี่ชัว่ โมงต่อสัปดาห์
- สอน 2 รายวชิ า คือวชิ าดนตรไี ทย และวิชาศิลปะ จานวน 18 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

2. ปัญหาทพ่ี บในรายวิชาท่สี อน มอี ะไรบ้าง
- อุปกรณ์กรไม่เพยี งพอต่อจานวนเด็ก พนื้ ฐานความรขู้ องเด็กไม่เทา่ กนั

3. ท่านไดด้ าเนนิ การแก้ไขอย่างไร/มเี ทคนิคใดในการดาเนินการแก้ไข
- ใหเ้ ดก็ จบั กลมุ่ กนั ใชว้ ิธกี ารเพอ่ื นชว่ ยเพ่ือน

4. ทา่ นมีขอ้ เสนอแนะอย่างไรในการดาเนินการจัดการเรียนรู้ หรอื งานดา้ นอืน่ ๆ
- ยดึ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ เนน้ ใหผ้ ู้เรยี นนาไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์

5. ทา่ นมีการแลกเปล่ยี นเรยี นร้รู ะหว่างเพ่ือนครหู รือไม่อย่างไร (PLC) ถ้ามที ่านดาเนนิ การอย่างไร
และผลการดาเนนิ การเป็นอย่างไร

- แลกเปล่ียนกบั ครูศิลปะ บูรณาการกัน โดยไปเรยี นรู้กับเพอ่ื นครูศลิ ปะเพื่อนาความรู้มาปรับ
ใชส้ อนเด็กใหเ้ กิดความหลากหลาย และ เพ่มิ เติมเสริมสรา้ งความรใู้ ห้กบั เดก็

18

ปว.1-4

แผนกำรจัดกำรเรียนรู้

แผนกำรจัดกำรเรียนร้ทู ี่ ๑

แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ รำยวิชำ ดนตรี รหสั วิชำ ศ ๒๒๑๐๑ ชน้ั มัธยมศกึ ษำปที ่ี ๒

หน่วยกำรเรยี นรทู้ ี่ ๒ เร่อื ง สัญลักษณม์ ือทำงดนตรี จำนวน ๑ ช่ัวโมง

สอนวนั ท่ี 11 เดือน กนั ยำยน พ.ศ.2564 เวลำ 13.00-15.00 น.

๑. มำตรฐำนกำรเรียนรู้

มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสรา้ งสรรคว์ เิ คราะห์ วพิ ากษว์ จิ ารณ์

คณุ คา่ ดนตรี ถ่ายทอดความรสู้ กึ ความคดิ ต่อดนตรีอย่างอิสระ ชน่ื ชม และประยุกตใ์ ช้ ใน

ชีวิตประจาวนั

๒. สำระสำคญั
สัญลักษณม์ อื ทางดนตรี สามารถบอกระดบั เสยี งท่ถี ูกตอ้ งในขณะปฏิบัติสัญลกั ษณม์ ือ

๓. มำตรฐำนตวั ชี้วัด
ศ๒.๑ ม.๒/๒ อา่ น เขยี นรอ้ งโน้ตไทยและโน้ตสากล ท่ีมเี คร่ืองหมาย แปลงเสียง

๔. เน้ือหำ

สญั ลกั ษณ์มอื ทำงดนตรี

19

สัญลกั ษณ์มือทางดนตรี ถูกคดิ ค้นขึ้นเพ่ือใชใ้ นการใหส้ ญั ญาณแกน่ กั ร้องประสานเสียงใน
โบสถ์ โดย Guide D Arezzo และพระชาวอิตาเลยี นใน ปคี ศ. 990-1050
๕. สมรรถนะของผเู้ รยี น

๑) ความสามารถในการสื่อสาร
๒) ความสามารถในการคดิ
๓) ความสามารถในการแก้ปญั หา
๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๕) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
๖. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
๑) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
๒) ซ่อื สัตยส์ ุจริต
๓) มวี ินยั
๔) ใฝ่เรยี นรู้
๕) อย่อู ย่างพอเพียง

20

๖) มงุ่ มั่นในการทางาน
๗) รักความเปน็ ไทย
๘) มจี ิตสาธารณะ
๗. กำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนรู้ (บูรณำกำร / เศรษฐกิจพอเพยี ง)
ขัน้ นำ
๑) ผสู้ อนสอบถามเพ่ือทบทวนเร่ืองระดับเสยี ง
๒) ผู้สอนอธิบายถึงความสาคัญของระดับเสียงทางดนตรี พร้อมแนะนาเทคนิคการจดจา
ระดับเสียงในวธิ ีท่แี ตกต่างกนั
ขัน้ สอน
๓) ผ้สู อนนาเสนอสัญลักษณม์ ือทางดนตรี ประวัติความเป็นมา ความสาคญั ในการใช้
สัญลักษณม์ ือทางดนตรี
๔) ให้ผู้เรียน ปฏิบัติสัญลักษณ์มือเร่ืองระดับเสียงไปพร้อมกับผู้สอน โดยใช้เพลง Twinglr
twingle little star เข้ามาประกอบการสอน
๕) ใหผ้ ู้เรยี นปฏบิ ตั สิ ญั ลักษณ์มือทางดนตรีดว้ ยตนเองเพ่ือเป็นการชว่ ยจาเร่ืองระดับเสยี ง
ขัน้ สรุป
๕) ผูส้ อนแนะนาเพม่ิ เตมิ เกยี่ วกับการปฏิบัติแบบทดสอบ และระดับเสยี งท่มี คี วามแตกต่างกัน
๖) ผ้สู อนและผเู้ รียนช่วยกนั สรปุ ประเด็นสาคญั เพือ่ ใหเ้ ข้าใจร่วมกัน ผสู้ อนสังเกตสมรรถนะ
ของผู้เรยี นและสังเกตคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
๗) ผเู้ รียนทากิจกรรมตามทีค่ รูแนะนา
๘. ส่ือหรือแหลง่ กำรเรยี นรู้
๑.เครอ่ื งดนตรี (เปียโน)
๙. กำรวดั ผลและประเมินผลกำรเรียนรู้
๙.๑ วิธกี ำรวัด
๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรียน
๒) ตรวจแบบทดสอบ
๓) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่
๔) สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
๕) สงั เกตสมรรถนะของนกั เรยี น
๖) สังเกตคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
๙.๒ เครอ่ื งมือ
๑) แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลงั เรยี น

21

๒) แบบทดสอบ
๓) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุม่
๔) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
๕) แบบสังเกตสมรรถนะของนกั เรยี น
๖) แบบสังเกตคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

๙.๓ เกณฑ์กำรประเมิน
๑) สาหรับชวั่ โมงแรกท่ีใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไมม่ ีเกณฑ์ผ่าน เก็บคะแนนไวเ้ ปรยี บเทียบ
กบั คะแนนที่ได้จากการทดสอบหลงั เรียน
๒) การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผา่ นเกณฑ์การทดสอบเกนิ ร้อยละ ๕๐
๓) การประเมนิ จากแบบตรวจใบงาน ตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมิน เร่ืองความรู้ความ
เขา้ ใจการนาไปใช้ ทักษะ และจติ พสิ ัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๔) การประเมนิ ผลจากการสงั เกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ
คอื เกินร้อยละ ๕๐
๕) การประเมนิ ผลการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล เกณฑ์ผา่ นการประเมิน ตอ้ งไม่มชี อ่ ง
ปรบั ปรุง
๖) การประเมินผลการสงั เกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กบั การประเมนิ ตาม
สภาพจรงิ
๗) การประเมินผลการสงั เกตคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องนักเรยี น คะแนนขึน้ อยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง

22

บนั ทกึ หลงั กำรสอน
เดก็ นักเรยี นใหค้ วามรว่ มมือในการทากจิ กรรม เปดิ กล้อง เปดิ ไมคพ์ ูดคุยตอบโตด้ ี ทาทา่ ทาง

สัญญาณมอื แทนตัวโนต๊ ประกอบเพลง จะมปี ญั หาของสัญญาณขัดขอ้ งในช่วงแรกๆ และปญั หาของระบบ
เสียง เด็กไม่ได้ยนิ เสยี งจากวดิ ีโอทยี่ กมาเป็นตัวอย่าง

ลงชอื่ ........................................................................
(นกั ศกึ ษา)

23

แผนกำรจัดกำรเรียนรทู้ ี่ ๓

แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ รำยวิชำ ดนตรี รหสั วชิ ำ ศ ๒๒๑๐๑ ชน้ั มัธยมศึกษำปีท่ี ๒

หน่วยกำรเรียนรทู้ ่ี ๖ เรื่อง ดนตรีอำเซียน จำนวน ๑ ชั่วโมง

สอนวันท่ี 11 เดือน กนั ยำยน พ.ศ.2564 เวลำ 14.00-15.00 น.

......................................................................................................................................................

๑. มำตรฐำนกำรเรียนรู้

มาตรฐาน ศ. ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ ิจารณ์

คณุ คา่ ดนตรี ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคดิ ต่อดนตรีอยา่ งอิสระ ชื่นชม และ

ประยุกต์ใช้ ในชีวติ ประจาวัน

มาตรฐาน ศ. ๒.๒ เข้าใจความสมั พันธ์ระหว่างดนตรี ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรมเหน็
คณุ คา่ ทางดนตรีทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล
๒. สำระสำคญั

วัฒนธรรมทางดนตรี มอี ัตลกั ษณท์ ีแ่ ตกตา่ งจากดนตรีตะวนั ตก ท้งั ในด้าน เคร่ืองดนตรี
แนวทางการบรรเลง สาเนยี ง อัตราสว่ นจงั หวะ รว่ มถงึ วัฒนธรรมดา้ นอน่ื ๆอีกด้วย
๓. ตัวชวี้ ัด

มาตรฐาน ๒/๑ เปรยี บเทยี บการใช้องค์ ประกอบดนตรที ม่ี าจากวฒั นธรรมต่างกัน
มาตรฐาน ๒/๒ บรรยายบทบาท และอิทธพิ ลของดนตรใี นวฒั นธรรมของประเทศต่างๆ
๔. เนือ้ หำ

ประเทศไทย (Thailand)
เครือ่ งดนตรี

24

ซอสำมสำย เป็นเครอื่ งดนตรไี ทยชนิดหนงึ่ จาพวกเครื่องสายมีขนาดใหญ่กวา่ ซอดว้ งหรือซออู้ และมีลกั ษณะพิเศษ
คอื มีสามสาย มคี นั ชักอิสระ กะโหลกซอมีขนาดใหญ่ นบั เปน็ เครื่องดนตรที ีม่ คี วามสง่างามชน้ิ หน่งึ ในวงเครอ่ื งสาย ผู้
เล่นจะอยู่ในตาแหนง่ ด้านหนา้ ของวง เป็นซอท่มี มี าแตโ่ บราณ มเี สยี งไพเราะ นุม่ นวล รปู รา่ งวิจติ รสวยงามกว่าซอ
ชนดิ อนื่ เป็นเคร่ืองดนตรีชั้นสูงใช้ในราชสานัก

ฆ้องวง เปน็ เครอื่ งดนตรปี ระเภทเพอรค์ ัสชนั ทาด้วยโลหะทม่ี หี ลายรูปแบบ คาว่าฆ้องน้นั มีทมี่ าจากภาษาชวา
ปรากฎการใช้ฆอ้ งในหลายชาติในทวปี เอเชีย เชน่ จนี อนิ โดนีเซีย ไทย มาเลเซีย เป็นต้น ปัจจบุ ันฆ้องเข้าไปมสี ่วนใน
ดนตรตี ะวันตกด้วยเชน่ กนั

ิขมิ แต่เดิมนั้นเปน็ เคร่อื งดนตรปี ระเทศจนี เรม่ิ เขา้ มาสปู่ ระเทศไทยในสมยั รชั การที่ 4 นักดนตรขี องไทยไดด้ ดั แปลง
แก้ไขโดยเปลยี่ นจากสายลวดมาเปน็ สายทองเหลอื งใหม้ ีขนาดโตขึน้ เทยี บเสยี งเรียงลาดับไปตลอดถึงสายตา่ สุด เสยี ง
คู่แปดมือซ้ายและมอื ขวามรี ะดับเกือบจะตรงกัน เปล่ยี นไม้ตีใหม้ ขี นาดทใ่ี หญข่ ้ึนและก้านแข็งขน้ึ หยอ่ งที่หนุนสายี
ความหนากวา่ เดิม เพ่อื ใหเ้ กดิ ความสมดลุ และเพื่อเพม่ิ เสยี งให้มีความดงั มากยิ่งขึ้น และไม่ใหเ้ สียงทอ่ี อกมามคี วาม
แข็งกรา้ วจนเกินไปให้ทาบหนังหรอื สักหลาดตรงปลายไมต้ ี ส่วนทก่ี ระทบกบั สายทาให้เกดิ ความนมุ่ นวลและไดร้ บั
ความนิยม บรรเลงรว่ มอยู่ในวงเคร่อื งสายผสมของไทยในปจั จบุ ัน

ระนำดเอก เป็นเครื่องดนตรที ว่ี ิวฒั นาการมาจากกรับ โดยการนาเอากรับทมี่ ีขนาดเล็กบา้ งใหญ่บ้าง สั้นบ้าง ยาวบา้ ง
นามารวมกนั เป็นชุมจึงมีระดบั เสียงท่แี ตกตา่ งกนั ระนาดเอกน้ีนักดนตรีนยิ มเรียกกันสนั้ ๆว่า “ระนาด” เรม่ิ มีการ
นาเอาระนาดเอกมาประสมในวงดนตรใี นสมยั กรุงศรีอยธุ ยา ส่วนประกอบของระนาดเอกมีอยู่ดว้ ยกนั 2 ส่วนใหญ่
คือ รางและผนื ระนาด หนา้ ทีใ่ นการบรรเลงระนาดเอกปสมรว่ มอยใู่ นวงมโหรี วงเครื่องสายผสมวงปพี าทยไ์ ม้นวม วง
ปพี าทย์นางหงส์ วงปพี าทย์ดึกดาบรรพ์ และวงปพี าทยม์ อญ โดยทาหน้าท่เี ปน็ ผู้นาของวง

25

ระนำดทุ้ม กาเนดิ นามยั พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว รชั การท่ี 3 แห่งกรุงรัตนโกสนิ ทร์ โดยประดิษฐข้ึนให้
เป็นเคร่อื งดนตรีทีม่ รี ะดับเสยี งงทุ้มตา่ กบั ระนาดเอกซึง่ เป็นเครอ่ื งดนตรที มี่ เี สียงสูง ระนาดทมุ้ ผสมรว่ มอยใู่ นวงมโหรี
วงปีพาทย์ไมแ้ ขง็ วงปีพาทยไ์ มน้ วม วงปีพาทยน์ างหงส์ วงปีพาทย์ดึก่าบรรพ์ และวงปีพาทยม์ อญ โดยทาหนา้ ที่
บรรเลงหยอกล้อไปกบั ระนาดเอก เดินทานองรองในทางของตนเองซงึ่ จะมจี งั หวะโยนล้อ ขัดท่ีทาให้เกดิ ความไพเราะ
และเตมิ เต็มช่องวา่ งของเสยี ง อันเป็นเอกลักษณข์ องระนาดทุม้

กลองยำว เปน็ เครื่องดนตรสี าหรบั ตดี ว้ ยมอื ตัวกลองทาดว้ ยไมม้ ลี ักษณะกลมกลวง ขงึ ดว้ ยหนงั มหี ลายชนิด ถ้าทา
ดว้ ยหนงั หน้าเดยี ว มีรปู ยาวมากใชส้ ะพายในเวลาตี เรยี กวา่ กลองยาวหรอื เถิดเทงิ เชื่อกนั ว่ากลองยาวได้แบบอยา่ ง
มาจากพมา่ เคร่อื งดนตรที ี่ใช้บรรเลงร่วมมี ฉงิ่ ฉาบเล็ก กรบั โหม่ง เรียกการเล่นชนิดนว้ี ่า “เถดิ เทงิ ” หรอื “เทงิ
กลองยาว” ทเี่ รียกเช่นนเ้ี ขา้ ใจวา่ เรียกตามเสยี งกลองทตี่ ีและตามรปู ลักษณะกลองยาว

ธงประจาชาติ
บรูไน ดำรุสซำลำม (Brunei Darussalam)
เครอื่ งดนตรี

Tawak Tawak เป็นเคร่ืองดนตรผี ลติ จากทองเหลอื ง พบทซี่ าราวกั บนเกาะบอร์เนยี ว เครอ่ื งดนตรที ท่ี าจาก
ทองเหลอื งของบรไู น ดารสุ ซาลามและท่อี ่ืน ๆ บนเกาะบอรเ์ นียวในสมยั กอ่ นนั้นโดยมากมกั จะไดร้ ับอทิ ธพิ ลจาก
ประเทศจีน เห็นได้จากการท่ีมลี วดลายด้านหน้าเปน็ รูปมงั กรและสตั วท์ ะเล ปูและปลา ขอบด้านข้างเปน็ รปู จระเจ้

26

และปลา คร้ังหน่งึ Tawak Tawak ใชเ้ ปน็ สญั ญาณเรียกคนใหม้ ารวมตวั กันไมไ่ ดใ้ ช้เปน็ สว่ นหนง่ึ ของวงมโหรี
Gamelan เหมือนเชน่ ในอนิ โดนเี ซีย

Gambus เปน็ เคร่อื งดนตรที ่มี ลี ักษณะคลา้ ยกีตาร์ มสี ายทั้งหมด 12 เส้น ดีดดว้ ยปิก๊ ไมเ่ หมือนกับเคร่ืองดนตรี
ตะวนั ตก เชน่ แมนโดลินตรงท่ี Gambus ไมม่ ลี ายสลัก การปรบั เสยี งและรูปแบบการเล่นของ Gambus นั้นมีสว่ น
คลา้ ยคลึงกับเครือ่ งดนตรขี องชาวอาหรบั

Gandang เปน็ คาท่ัวไปที่ใชแ้ สดงความหมายถงึ กลองทุกชนิด ตัวกลองมขี นาดยาว ผิวหนา้ ของกลองมีสองดา้ น ซึ่งมี
ขนาดตา่ งกนั ทามาจากหนงั แกะหรือหนังววั หนังกลองแนบชดิ ไปกบั ตวั กลองด้วยเส้นหวาย Gandang จะพบได้ท่ี
กลุ่มของ Gamelan ของชาวชวาในรฐั ยะโฮร์ Gandang มลายเู ปน็ เครอื่ งดนตรีทสี่ าคัญในการแสดงดนตรใี นโรง
มหรสพ เชน่ เดยี วกับ Gamelan

ธงประจาชาติ
มำเลเซีย (Malaysia)
เคร่อื งดนตรี

27

Serunai เป็นเคร่อื งเป่าดง้ั เดมิ ของชาวมาเลย์ เปน็ เครื่องดนตรที ี่มนี านและเลน่ โดยชุมชนชาวมาเลยใ์ นรัฐกลนั ตัน
ชายฝั่งทะเลตะวนั ออกของมาเลเซยี ตวั serunai มีรูท่ใี ช้นิ้วปดิ ขา้ งหน้า 7 รู ข้างหลงั 1 รู จะสร้างเสยี งผา่ นรตู ่าง ๆ
เป่าไปพรอ้ ม ๆ กบั การแสดงวายัง กุลิด (การเลน่ หนงั ตะลงุ ) หรือวงมโหรีหลวง

Rebab เปน็ เครอ่ื งดนตรพี ื้นเมอื งของชาวมาเลย์ประเภทเครอื่ งดดี สามสาย ส่วนโคง้ ของตัวเครื่องที่ยน่ื ออกไปเปน็ ไม้
เน้อื แขง็ รูปสามเหลย่ี ม มักจะทาจากไมข้ องต้นขนุน ดา้ นหนา้ ตวั เครอ่ื งปิดดว้ ยแผน่ กระเพาะดา้ นในของววั ใช้กอ้ น
ข้ผี ึ้งเล็กๆยดึ กับสว่ นตัวเคร่ืองดา้ นบนทางซา้ ยมอื เพอื่ ขงึ หน้าใหต้ ึง

Sape เปน็ เคร่อื งดนตรที มี่ ีลักษณะคลา้ ยกตี าร์ Sape ถูกทาใหโ้ คง้ งอด้วยลาไม้ เคร่ืองดนตรสี มยั ใหม่จานวนมาก
มกั จะมีความยาวเป็นเมตร Sape เป็นเครอ่ื งดนตรแี บบที่เรยี บง่าย เส้นแต่ละเสน้ จะเปน็ หนึ่งเสยี ง สว่ นเส้นท่ีเสริม
เขา้ มาจะถกู ดดี เพ่ือให้เกดิ เสยี งต่า ดนตรี Sape มักจะได้รับแรงบนั ดาลใจจากความฝนั

Kulintangan เป็นเครือ่ งดนตรที น่ี าเขา้ มาทางตะวันตกของซาบาหโ์ ดยชาวบรไู น แต่เปน็ เครอ่ื งดนตรโี บราณของ
ชาว Bajaus ชาว Dusun และชาว Kadazan มักใชเ้ ล่นในวนั งานเทศกาล เช่น งานแต่งงานและพธิ ีกรรมทางศาสนา
จะใช้เลน่ ร่วมกบั ฆอ้ ง (gong) พนื้ เมอื งชนิดอนื่ ๆ Kulintangan ประกอบด้วยฆอ้ งเล็ก ๆ 8-9 ลกู วางเรยี งต่อกนั ตาม
ระดบั ทานอง ผู้เล่นจะน่งั บนพืน้ หนา้ เครื่องดนตรแี ละตดี ้วยไม้ที่ถกู หมุ้ ด้วยผา้ เล็ก ๆ

28

Drum เปน็ เครอ่ื งดนตรปี ระเภทกลอง

๕. สมรรถนะของผ้เู รียน
๑) ความสามารถในการสื่อสาร
๒) ความสามารถในการคิด
๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา
๔) ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
๕) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

๖. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
๑) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
๒) ซ่ือสัตย์สุจรติ
๓) มีวินัย
๔) ใฝเ่ รียนรู้
๕) อย่อู ย่างพอเพียง
๖) มงุ่ ม่ันในการทางาน
๗) รักความเป็นไทย
๘) มจี ติ สาธารณะ

๗. กำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นรู้
นำสู่บทเรยี น

ผูส้ อนกลา่ วถึงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในดา้ นของดนตรี กม็ ีความเก่ยี วเน่อื งด้วยกนั
ขนั้ สอน

๑ ทาการแบ่งกลมุ่ ผ้เู รยี นตามจานวนคนในแตล่ ะห้อง ให้ได้ ๑๐ กลุ่มตามจานวนประเทศใน
อาเซยี น

๒ มอบหมายงานใหแ้ ต่ละกลุ่มทาส่อื การเรียนรู้ ตามประเทศทีต่ นไดร้ ับมอบหมาย โดยไม่
จากัดว่าจะทาเปน็ สื่อชนิดใด เพือ่ ให้ผู้เรยี นมีกระบวนการคิดริเร่ิม

๓ ให้ผู้เรยี นสบื ค้นขอ้ มูลในด้านตา่ งๆของประเทศที่ตนได้รับมอบหมาย เพ่อื นามาสร้างสื่อ

29

๔ ลงมือทาสื่อตามทีส่ มาชกิ กลุ่มได้ตกลงกนั และนาเสนอประเทศของตน ผา่ นส่อื การเรียนรู้
หนา้ ชนั้ เรยี น

ขัน้ สรุป
ใหน้ กั เรยี นรว่ มกันสรปุ เรื่อง โดยผสู้ อนจะแทรกเน้ือหาในส่วนทผ่ี ู้เรยี นขาดไป

๘. สื่อหรอื แหล่งการเรยี นรู้
สอ่ื จากผเู้ รยี นทท่ี ามานาเสนอ
อนิ เตอรเ์ น็ต

๙. การวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู้
๙.๑ วิธีการวดั
๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น-หลงั เรยี น
๒) ตรวจแบบทดสอบ
๓) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่
๔) สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
๕) สงั เกตสมรรถนะของนกั เรยี น
๖) สงั เกตคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

๙.๒ เคร่อื งมอื
๑) แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลงั เรยี น
๒) แบบทดสอบ
๓) แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการทางานกลมุ่
๔) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
๕) แบบสงั เกตสมรรถนะของนกั เรยี น
๖) แบบสงั เกตคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

๙.๓ เกณฑก์ ารประเมิน
๑) สาหรบั ชวั่ โมงแรกทใ่ี ชแ้ บบทดสอบก่อนเรยี นไมม่ เี กณฑผ์ ่าน เกบ็ คะแนนไว้
เปรยี บเทยี บกบั คะแนนทไ่ี ดจ้ ากการทดสอบหลงั เรยี น
๒) การประเมนิ ผลจากแบบทดสอบ ตอ้ งผ่านเกณฑก์ ารทดสอบเกนิ รอ้ ยละ ๕๐
๓) การประเมนิ จากแบบตรวจใบงาน ตอ้ งผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ เรอ่ื งความรู้
ความเขา้ ใจการนาไปใช้ ทกั ษะ และจติ พสิ ยั ทุกชอ่ งเกนิ รอ้ ยละ ๕๐
๔) การประเมนิ ผลจากการสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ ตอ้ งผ่านเกณฑก์ าร
ประเมนิ คอื เกนิ รอ้ ยละ ๕๐

30

๕) การประเมนิ ผลการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ ตอ้ งไม่
มชี ่องปรบั ปรงุ

๖) การประเมนิ ผลการสงั เกตสมรรถนะของนกั เรยี น คะแนนขน้ึ อยกู่ ับการประเมนิ
ตามสภาพจรงิ

๗) การประเมนิ ผลการสงั เกตคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องนกั เรยี น คะแนนขน้ึ อยู่
กบั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

บันทกึ หลังกำรสอน
เด็กนกั เรียนให้ความสนใจ ต้ังใจฟงั ดี จะมีปญั หาของสญั ญาณขดั ขอ้ งไปบา้ ง แต่กส็ าเร็จไปไดด้ ้วยดี

ลงชือ่ ........................................................................
(นักศึกษา)

31

แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ที่ ๙

แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ รำยวิชำ ดนตรี รหสั วชิ ำ ศ ๒๒๑๐๑ ชนั้ มธั ยมศึกษำปที ่ี ๒

หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๗ เรือ่ ง ปฏบิ ัตขิ ับร้อง๒ จำนวน ๑ ช่ัวโมง

สอนวนั ที่ 10 เดือน กนั ยำยน พ.ศ.2564 เวลำ 10.00-11.00 น.

......................................................................................................................................................

๑. มำตรฐำนกำรเรียนรู้

มาตรฐาน ศ. ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณ์

คุณคา่ ดนตรี ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคดิ ต่อดนตรีอย่างอสิ ระ ช่นื ชม และ

ประยกุ ต์ใช้ ในชีวิตประจาวนั

๒. สำระสำคัญ
ทักษะการขบั ร้อง น่ันอยู่หลากหลาย การปฏบิ ัติจะช่วยใหผ้ ู้เรยี นมีความม่นั ใจและความกลา้

แสดงออกมากข้นึ เพ่ือพฒั นาบุคลกิ ภาพของผ้เู รียนอกี ทางหนง่ึ
๓. ตวั ชี้วัด

มาตรฐาน ๒/๒ อา่ น เขียน ร้องโน้ตไทยและโน้ตสากล ที่มเี ครื่องหมายแปลงเสียง
มาตรฐาน ๒/๔ ร้องเพลง และเล่นดนตรเี ด่ียว และรวมวง
มาตรฐาน ๒/๖ ประเมนิ พฒั นาการทกั ษะทางดนตรีของตนเองหลังจากการฝึกปฏบิ ัติ
๔. เนื้อหำ

เทคนิคกำรขับร้องเพลงไทย

การขบั รอ้ งเพลงไทย เปน็ ศลิ ปะที่มีความประณีตมากแขนงหนง่ึ มเี ทคนิคต่าง ๆ มากมายทผี่ ู้
ร้องจะต้องเรยี นรแู้ ละฝกึ ปฏบิ ัติ เพ่อื ใหเ้ สยี งเพลงทอ่ี อกมามีความไพเราะ น่าฟัง และสามารถถา่ ยทอด
ความรูส้ กึ และอารมณ์ได้ถูกต้องตามบทเพลง อนั จะทาใหผ้ ู้ฟังเกิดอารมณ์คล้อยตามไปกับเสียงเพลง
นัน้ ในท่นี จี้ ะขอกล่าวถึงเพียงเทคนิคบางอยา่ งทใ่ี ชก้ ันมากในการขับร้อง ดังนี้

๑. เอื้อน หมายถึง การออกเสียงเปน็ ทานองโดยไม่มีเนื้อรอ้ ง เสียงเอ้ือนเปน็ เสยี งท่ีผา่ น
ออกมาจากลาคอโดยตรง มอี ยูม่ ากมายหลายเสยี ง และมีท่ีใช้ต่างกนั ในทนี่ จี้ ะขอกล่าวถึงเพยี งบาง
เสยี งท่ใี ชก้ นั มาก ได้แก่

32

๑) เสียงเออ เปน็ เสียงสาคัญมาก มหี นา้ ที่เป็นเสยี งนา วธิ ที าเสยี ง “เออ” เผยอรมิ
ฝีปาก
เล็กน้อย แลว้ เปล่งเสยี งออกจากคอใหด้ งั พอสมควร บังคบั เสียงใหม้ นี ้าหนกั ที่คอแรงหนอ่ ยโดยไมต่ ้อง
ขยบั คาง

๒) เสยี งเอย มีท่ใี ช้ในตอนสดุ วรรคหรือหมดเออ้ื น หรือหมดวรรคของเอื้อน จะขึน้
บทร้องวิธที าเสยี ง “เอย” มีวิธีทาเชน่ เดยี วกับเสยี ง“เออ” แตเ่ ม่ือจะใหเ้ ป็นเสยี ง “เอย” ก็ให้เน้นทม่ี ุม
ปาก ออกเสยี งทา้ ยใหเ้ ปน็ เชน่ เดียวกับตวั สะกดแมเ่ กยในภาษาไทยโดยใหป้ ลายลิน้ แตะฟันลา่ ง

๓) เสยี งเอย๋ เสียง “เอย๋ ” นีใ้ ช้ในการขบั ร้องทม่ี ลี ักษณะของบทรอ้ งเป็นบทชมหรือ
บทเกี้ยว หรือบทเพลงที่แตง่ เปน็ สร้อย เชน่ ดอกเอ๋ย อกเอ๋ย นอ้ งเอ๋ย ฯลฯ วิธที า
เสียง “เอย๋ ” เหมือนกับการทาเสยี ง “เอย” แต่ผนั เสียงใหส้ งู ข้นึ โดยไมห่ ุบปาก เปลี่ยนน้าเสยี งในช่วง
หางเสียงให้ไปทางนาสิกอยา่ งชา้ ๆพรอ้ มกับทาเสยี ง “หือ” ตอ่ ท้าย

๔) เสยี งหอื เสียง “หอื ” จะใชเ้ ฉพาะขับร้องในทางเสียงสูง มักจะใชใ้ นตอนสุดทา้ ย
ของวรรค หรอื ตอนของทานองเพลง หรอื ตามความต้องการของผู้ขับร้องท่จี ะใช้หางเสียงเพ่ือใหเ้ กดิ
ความไพเราะตามความเหมาะสม วธิ ีทาเสยี ง “หอื ” ใหเ้ ผยอรมิ ฝีปากเล็กน้อย แล้วเปล่งเสยี งออกมา
จากคอเบา ๆ พร้อมกับผนั เสียงขนึ้ ในทางสงู เร่อื ยไป ใหเ้ สยี งออกมาทางจมูกอย่างชา้ ๆ จนสดุ หาง
เสียง

๕) เสียงอือ ใชใ้ นระหวา่ งรอจังหวะ หรือสดุ วรรคหรือลงสดุ ท้ายของเพลง วิธีทา
เสยี ง “ออื ” เผยอริมฝีปากออกเลก็ น้อย เปลง่ เสียงออกจากลาคอแรงมาก ๆ โดยไม่ต้องขยบั คาง ยก
โคนลิ้นขน้ึ เลก็ น้อยเพ่ือใหเ้ สยี งออกมาท้งั ทางจมูกและทางปาก

๒. ครั่น เป็นวธิ ที าให้เสียงสะดุดสะเทือนเพื่อความเหมาะสมกบั ทานองเพลงบางตอน วิธี
ทาเสียง “ครน่ั ” เปล่งเสยี งออกจากลาคอให้แรงมาก ๆ จนเสยี งท่ีคอเกดิ ความสะเทือนเป็นระยะ ๆ
จะมากหรือน้อยขึน้ อยกู่ บั ผู้ขับร้องทีเ่ หน็ วา่ ไพเราะ น่าฟัง

๓. โปรย เสยี ง “โปรย” ใช้ได้ทัง้ การขบั ร้องและการดนตรี คือ เมือ่ ร้องจวนจะจบทอ่ นก็
โปรยเสียงใหด้ นตรสี วมรบั และเม่ือดนตรรี ับจนจะจบท่อนก็จะโปรยให้รอ้ งรับชว่ งไป คาว่า “โปรย” นี้
คล้ายกบั ศัพท์ทางดนตรวี า่ “ทอด” น่ันเอง เปน็ การผอ่ นจังหวะให้ช้าลงเม่ือจะจบเพลง หรอื เมื่อจะให้
ผูข้ ับรอ้ งร้อง

๔. ปริบ เสยี ง “ปริบ” วิธีทาเหมือนเสยี ง “คร่ัน” แตเ่ บากวา่

33

๕. เสยี งกรอก เสียง “กรอก” เป็นลกั ษณะท่เี กิดจากการทาเสยี งท่ีคอให้คล่องกลับไป
กลับมา เพื่อความเหมาะสมกับทานองเพลงบางตอน วธิ ีทาเสียง “กรอก” เผยอริมฝปี ากเลก็ น้อย
เปลง่ เสียงจากคอให้แรงพอสมควรสลับกบั เสยี งทางจมกู ทาเสียงให้กลับไปกลบั มาระหว่างคอกับ
จมกู 2–3ครั้ง หรือมากกวา่ ตามความเหมาะสม

๖. เสียงกลนื ใช้ในการร้องลงต่า คือ เมือ่ ต้องการให้เสียงตา่ ก็กลืนเสียงลงในลาคอ วธิ ที า
เสียง “กลืน” เผยอรมิ ฝปี ากเลก็ นอ้ ย เปล่งเสยี งออกจากลาคอใหแ้ รงพอสมควร ขยบั คอเลก็ น้อย
เพอื่ ให้กลนื เสียงลงไปในลาคอได้สะดวก จะกลืนเสียงมากน้อยขน้ึ อยู่กับผู้ขบั ร้องจะเหน็ สมควร

๗. หลบเสยี ง หลบเสยี ง หมายถงึ การร้องท่ีดาเนินทานองเปล่ียนจากเสยี งสูงลงมาเปน็
เสียงต่า หรือจากเสยี งต่าเป็นเสียงสูงในทนั ทที ันใดการร้องเพลงตอนใดที่เสยี งไมส่ ามารถจะรอ้ งให้
สูงข้ึนไปไดอ้ ีกแลว้ กใ็ หห้ ลบเสียงเปน็ เสียงตา่ (เสียงคแู่ ปด) โดยการผอ่ นเสยี งเดิมให้คอ่ ย ๆ เบาลงมา
หาเสยี งตา่ หรือถา้ ตอนใดเสยี งร้องน้ันจะต้องลงต่าตอ่ ไปอีก แต่เสยี งร้องไม่สามารถจะตา่ ลงไปได้อีก ก็
รอ้ งหกั เสียงให้สูงขึ้นด้วยวธี กี ารเช่นเดยี วกนั

เนอ่ื งจากการขับร้องเพลงไทยมีเทคนิคในการขบั ร้องท่สี ูงมาก ดังนน้ั เทคนิคต่าง ๆ ในการร้อง
เพื่อตบแตง่ ทานองใหไ้ พเราะ น่าฟงั ดงั กล่าวแลว้ น้ี อาจแตกต่างกนั ไปบา้ งตามสติปญั ญา
ความสามารถท่ีเห็นวา่ ไพเราะของแตล่ ะบคุ คลซึง่ ลักษณะอยา่ งนเี้ ป็นการแสดงออกถงึ ความสามารถ
ดา้ นความคดิ สรา้ งสรรคข์ องนักรอ้ งเพลงไทยทส่ี ามารถประดษิ ฐ์ทานองหรอื ทางในการร้องได้ โดยยดึ
แกนรว่ มเดียวกัน

ในส่วนของเพลงพนื้ บ้านนน้ั เทคนคิ ตา่ ง ๆ ในการร้องก็เช่นเดียวกัน เพียงแตว่ า่ การร้องกลอน
เพลงพ้ืนบ้าน จะมีการร้องเอ้ือน หรือรอ้ งคาซา้ ๆ เพื่อช่วยยดื เวลาให้คดิ กลอนได้ทัน สาหรบั การร้อง
ประกอบวงดนตรี การเอื้อนหรอื เทคนิคตา่ ง ๆ ดงั กล่าวจะเป็นแบบแผนมากข้นึ

เทคนิคกำรขับรอ้ งเพลงไทย
๑. เสียง เสยี งของคนเราเกิดจากการสั่นสะเทือนของ สายเสียง(Vocal Cord) ในลาคอ เสยี งที่
เกิดข้ึนเปน็ เพยี งเสยี งขัน้ ตน้ ไมม่ ีความดังกงั วานเพียงพอ ต้องอาศยั อวยั วะสว่ นอนื่ ๆชว่ ยปรับแต่งให้
เสยี งดังกงั วานและมรี ะดับเสยี งตา่ เสยี งกลาง เสยี งสูง บรเิ วณทีช่ ว่ ยขยายเสยี งให้ระดบั เสียงตา่ งๆ
ดงั กล่าว ไดแ้ ก่
-บริเวณลาคอและทรวงอก ชว่ ยขยายเสยี งระดับต่า
-บรเิ วณลาคอและโพรงจมูก ชว่ ยขยายเสยี งระดบั กลาง
-บรเิ วณหนา้ ผากและโพรงกะโหลกศีรษะ ชว่ ยขยายเสียงระดับสงู
ในกรณที ี่ใชเ้ สยี งดังมากเกินไป เชน่ ตะโกน หรอื เกดิ อาการเจ็บปว่ ยที่บรเิ วณที่ทาให้เกดิ เสียง ก็จะทา
ใหเ้ สียงแหบแหง้ หรอื เสยี งหายไป การที่คนเราจะมีเสยี งไพเราะนา่ ฟังหรอื ไมน่ ้ัน โดยปกติแล้วจะเป็น

34

เร่ืองของธรรมชาติที่สรา้ งขน้ึ มาให้คู่กับตัวเรา แต่การท่จี ะทาใหเ้ สยี งมีพลัง มีความดังสม่าเสมอ และ
สามารถควบคุมได้น้ัน จะตอ้ งอาศยั การฝกึ หดั ให้เกิดความเคยชิน การฝกึ เสยี งให้มีพลงั มีความดงั
สมา่ เสมอและสามารถควบคมุ ระดบั เสียงได้ตามต้องการน้ันจะตอ้ งฝึกการหายใจควบคู่ไปกบั การออก
เสยี ง
๒. รำ่ งกำยที่แขง็ แรงสมบูรณ์ รา่ งกายทแี่ ขง็ แรงสมบรู ณ์นับว่าเปน็ ส่งิ ท่จี าเป็นอีกประการหนงึ่
สาหรับการขบั ร้องเพลง โดยปกตแิ ลว้ การขับร้องเพลงจะต้องใช้พลังของเสียงกล้ามเนื้อเก่ียวกบั การ
ออกเสียงและการหายใจ ซึง่ เปรยี บเสมอื นกบั การทางานอยา่ งหน่ึงทตี่ ้องใช้พลงั ทม่ี ีอยใู่ นรา่ งกาย ถา้
รา่ งกายไมเ่ แข็งแรงสมบูรณพ์ ลงั เสยี งท่ีจะใช้ในการขับร้องก็จะไม่ดงั พอและเสยี งไม่ตอ่ เนื่อง
เทา่ ท่คี วร เสียงเพลงทอ่ี อกมากจ็ ะไม่มีความไพเราะ ในการเสรมิ สร้างให้รา่ งกายแขง็ แรงสมบรู ณน์ น้ั
มีแนวปฏบิ ัตดิ งั น้ี
๒.๑ ออกกาลังกายอย่างสมา่ เสมอ เชน่ ว่ายน้า วง่ิ เหยาะๆ กระโดดเชอื ก ฯลฯ
๒.๒ พักผ่อนนอนหลบั ให้เพยี งพอกับความต้องการของรา่ งกาย (ไม่มากหรือน้อยเกินไป)
๒.๓ รบั ประทานอาหารท่ีมีคุณค่าต่อรา่ งกาย
๒.๔ ไมเ่ สพสิง่ เสพยต์ ิดทุกชนิด
๒.๕ พยายามหลกี เลี่ยงการอย่ใู นสถานที่ที่มมี ลพิษ
๓. สมำธิ สมาธิในท่ีนี้ หมายถงึ การทาจิตใจใหจ้ ดจ่อกับสิ่งท่ีกาลังกระทาอยู่ เช่น กาลงั จะเรม่ิ ร้อง
เพลงแตใ่ นขณะนั้นจติ ใจวอกแวก ไม่ไดจ้ ดจ่อกับเสียงดนตรี ทานอง และจังหวะของเพลง ก็จะทาให้
การร้องเพลงไม่ดีเท่าทีค่ วร ในกรณที ี่เริม่ ฝึกหดั รอ้ งเพลงใหมๆ่ ถ้าไมม่ ีสมาธแิ ล้วก็จะมปี ัญหาในการ
ร้องเพลงมาก เพราะจะไม่สามารถจบั จงั หวะเสียงของดนตรแี ละทานองเพลงได้ จะทาใหก้ ารขบั รอ้ ง
เพลงไมล่ งจงั หวะเสยี งร้องขดั กบั เสยี ง ดนตรี หรอื รอ้ งผิดทานองผดิ ระดับเสยี ง

แนวปฏิบตั ใิ นกำรขบั ร้อง
การขับร้องเพลงไทย (เดิม) จะต่างไปจากการขับร้องเพลงตามแนวสากลอยู่บ้าง

กล่าวคือ การขับร้องเพลงไทยมีการเอ้ือนทานองเพลงคลุกเคล้าไปกับคาร้องโดยตลอด ผู้ขับร้อง
จะต้องรู้จักหลักการใส่อารมณ์และความรู้สึกลงไปในการเอ้ือนทานองร้อง รู้จักแต่งลีลาในการขับร้อง
ให้สละสลวย โดยสรุปแลว้ การขับรอ้ งเพลงไทยและการขบั ร้องเพลงตามแนวสากลก็จะมแี นวปฏิบัติท่ี
คลา้ ยคลงึ กัน
แนวปฏบิ ัติในการขบั ร้องเพลงมีดังนี้
๑. ศึกษาทานองเพลงให้เขา้ ใจว่าเป็นเพลงประเภทใด ใหอ้ ารมณอ์ ย่างไร เช่น อารมณโ์ ศกเศรา้
สนกุ สนาน หรอื เปน็ เพลงที่ตอ้ งการความสงา่ ผ่าเผย หรือปลุกใจให้ฮึกเหิมเขม้ แขง็ เป็นตน้ ในการขับ
ร้องเพลงนัน้ จะต้องใส่อารมณ์ให้ถกู ต้องเหมาะสมกบั ทานองเพลงนน้ั ๆ

35

๒. ศกึ ษาคาร้องให้เข้าใจว่ามีความหมายอย่างไร ตรงไหนควรเนน้ เสียงหรือทอดเสียงตรงไหนควรใช้
สาเนยี งการรอ้ งอย่างไรจึงจะไดอ้ ารมณท์ ี่เหมาะสมกับบทเพลง
๓. ปรบั จิตใจและอารมณข์ องผู้ขับรอ้ งให้คลอ้ ยตามอารมณ์ของเพลง ถ้าผขู้ บั รอ้ งสามารถเข้าถึงบท
เพลงขบั ร้องดว้ ยความรูส้ ึกที่เป็นไปตามบทเพลงจริงๆกจ็ ะสามารถโน้มนา้ วจิตใจของผู้ฟังให้คล้อยตาม
ได้
๔. แสดงทา่ ทางและสีหน้าให้เขา้ กบั บรรยากาศของเพลง อย่าขับร้องด้วยกริ ยิ าอาการท่เี ฉยเมย ไม่
แสดงกริ ิยาท่าทางมากจนเกินไป และขณะท่ีขับร้องเพลงไม่ความลว้ ง แคะ แกะ เกา
๕. ร้องให้ถูกต้องตามคาร้อง ทานอง และร้องให้ตรงตามจงั หวะ ในกรณีทเ่ี ปน็ เพลงไทย (เดมิ ) จะต้อง
เออ้ื นให้ถกู ต้องตามทานองเพลง
๖. รอ้ งใหต้ รงตามระดบั เสียงของทานองเพลง ไม่ควรหลบเสยี ง
๗. ร้องใหเ้ ต็มเสียง ออกเสยี งพยัญชนะและอกั ขระให้ถูกต้องชดั เจน
๘. แบง่ วรรคตอนของการหายใจใหถ้ ูกต้องเหมาะสมกับบทเพลงนั้นๆ

กำรฝึกหำยใจ
การที่จะร้องเพลงให้เกดิ ความไพเราะ นอกจากต้องร้องให้ถูกทานอง ถูกจังหวะ ถูกอักขระวิธี
แล้ว ยังต้องรจู้ ักทอดเสียงนน้ั ยาว หนกั เบา ดว้ ยเทคนคิ ต่างๆได้ดีอกี ดว้ ย การทีจ่ ะขับร้องให้ไพเราะ
และถูกตอ้ งน้ีอยู่ที่การฝกึ ใช้ลม ฝกึ การหายใจ และรู้จักแบ่งวรรคตอนของเพลงอีกด้วย
การทีจ่ ะตอ้ งร้องเพลงเสยี งสูงๆ และยาวไดโ้ ดยไม่ขาดตกบกพร่อง ตอ้ งอาศัยปอดและอวยั วะการออก
เสยี งท่ีแขง็ แรง การฝกึ ใหใ้ ชอ้ วยั วะเหล่านัน้ ได้คลอ่ งแคลว่ และมปี ระสทิ ธิภาพทาได้ดังน้ี คือ
๑. ฝึกหัดหายใจด้วยท้อง โดยตามปกติคนเราจะหายใจด้วยปอด แต่ในการฝึกขับร้องนีใ้ ห้สูดลมเข้า
ไปในช่องท้องด้วย เมอื่ สูดลมเขา้ ไปถกู วธิ ที ้องจะป่องออกมาเล็กนอ้ ย ใหอ้ ัดลมเขา้ ไวใ้ หม้ ากท่สี ุด
๒. คอ่ ยๆ ระบายลมออกมาทางปากช้าๆจนหมด แลว้ จึงสูดลมเขา้ ไปใหม่
๓. การทจี่ ะอัดลมไว้ได้มากและระบายลมได้สมา่ เสมอเป็นเวลานาน ควรนง่ั หรอื ยนื ตัวตรง ศีรษะต้ัง
ตรง
๔. เม่ือฝกึ การหายใจเขา้ และเกบ็ ลมไว้ไดม้ าก ตลอดจนร้จู ักวธิ รี ะบายลมออกมาอย่างสม่าเสมอได้
แลว้ ใหร้ ะบายลมออกมาด้วยการออกเสียงด้วย เช่น ออกเสียงวา่ เออ...... หรอื ลา.... นานๆ โดย
การนับหรือเคาะจงั หวะไปด้วย
๕. สมรรถนะของผเู้ รยี น

๑) ความสามารถในการส่อื สาร
๒) ความสามารถในการคดิ
๓) ความสามารถในการแกป้ ัญหา

36

๔) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ
๕) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
๖. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
๑) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
๒) ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ
๓) มวี นิ ยั
๔) ใฝ่เรยี นรู้
๕) อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
๖) มงุ่ มนั่ ในการทางาน
๗) รกั ความเป็นไทย
๘) มจี ติ สาธารณะ

๗. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (บูรณาการ / เศรษฐกิจพอเพียง)
ขนั้ นา
ผสู้ อนชถ้ี งึ ความสาคญั ของการฝึกปฏบิ ตั ขิ บั รอ้ ง ในดา้ นต่างๆ พรอ้ มแนะนาแนวเพลง

ต่างๆ
ขนั้ สอน
๑ ใหผ้ เู้ รยี นจบั ค่๒ู เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามมนั่ ใจในขณะการปฏบิ ตั ิ
๒ ใหโ้ จทย์ ผเู้ รยี นโดยการใหเ้ ลอื กเพลงทต่ี นเองชน่ื ชอบและมคี วามถนดั นามาขบั รอ้ ง

เป็นคู่
๓ ผสู้ อนนาเสนอวธิ กี าร เทคนิคในการขบั รอ้ ง เพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นเอาไปใชใ้ นการปฏบิ ตั ขิ บั

รอ้ งของตน
๔ ใหผ้ เู้ รยี นออกมาแสดงหน้าชนั้ เรยี น หลงั แสดงจบ ผสู้ อนแจง้ ถงึ ขอ้ ควรปรบั ปรุงเพ่อื ให้

ผเู้ รยี นไดท้ ดลองแกไ้ ข
ขนั้ สรปุ
ใหผ้ เู้ รยี นอภปิ รายถงึ สง่ิ ทไ่ี ดจ้ ากการปฏบิ ตั ขิ บั รอ้ งน้ี

๘. ส่ือหรือแหล่งการเรยี นรู้
ชุดอุปกรณ์การรอ้ งเพลง

๙. การวดั ผลและประเมินผลการเรยี นรู้
๙.๑ วิธีการวดั
๑) ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น-หลงั เรยี น

37

๒) ตรวจแบบทดสอบ
๓) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุม่
๔) สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล
๕) สงั เกตสมรรถนะของนกั เรยี น
๖) สงั เกตคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
๙.๒ เครื่องมอื
๑) แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลงั เรยี น
๒) แบบทดสอบ
๓) แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการทางานกลมุ่
๔) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
๕) แบบสงั เกตสมรรถนะของนกั เรยี น
๖) แบบสงั เกตคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

๙.๓ เกณฑก์ ารประเมิน
๑) สาหรบั ชวั่ โมงแรกทใ่ี ชแ้ บบทดสอบก่อนเรยี นไม่มเี กณฑผ์ ่าน เกบ็ คะแนนไว้
เปรยี บเทยี บกบั คะแนนทไ่ี ดจ้ ากการทดสอบหลงั เรยี น
๒) การประเมนิ ผลจากแบบทดสอบ ตอ้ งผ่านเกณฑก์ ารทดสอบเกนิ รอ้ ยละ ๕๐
๓) การประเมนิ จากแบบตรวจใบงาน ตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ เรอ่ื งความรู้
ความเขา้ ใจการนาไปใช้ ทกั ษะ และจติ พสิ ยั ทุกช่องเกนิ รอ้ ยละ ๕๐
๔) การประเมนิ ผลจากการสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม ตอ้ งผา่ นเกณฑก์ าร
ประเมนิ คอื เกนิ รอ้ ยละ ๕๐
๕) การประเมนิ ผลการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ ตอ้ งไม่
มชี ่องปรบั ปรงุ
๖) การประเมนิ ผลการสงั เกตสมรรถนะของนกั เรยี น คะแนนขน้ึ อยกู่ บั การประเมนิ
ตามสภาพจรงิ
๗) การประเมนิ ผลการสงั เกตคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องนกั เรยี น คะแนนขน้ึ อยู่
กบั การประเมนิ ตามสภาพจรงิ

38

บนั ทึกหลังกำรสอน
เด็กนกั เรยี นมีทงั้ กล่มุ ท่สี นใจเรียนและไม่สนใจเรยี น มปี ญั หาของสัญญาณขดั ข้องไปบา้ ง
ลงช่อื ........................................................................
(นกั ศกึ ษา)

39

ปว.1-5

โครงร่ำงกำรวจิ ยั ในช้ันเรียน

1. ชื่อเรอ่ื ง ความพงึ พอใจของนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 ที่มตี ่อการเรียนวชิ าดนตรี ในรูปแบบการ
เรียนการสอนออนไลน์

2. ควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปัญหำ
เนื่องด้วยสถานการณ์ของโรคระบาด COVID-19 ท่ีได้เข้ามาส่งผลกระทบต่อการพัฒนา

ประเทศอย่างไม่ทันต้ังตัว ซ่ึงยังได้ส่งผลต่อระบบจัดการทางด้านการศึกษา กล่าวคือ การเรียนการ
สอนได้หยุดชะงักลงตามประกาศตามมาตรการฉุกเฉินของประเทศ รวมถึงสถานบันการศึกษาต่างๆ
ยังได้แสดงถึงความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือกับองค์กรโลก เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่
ระบาดของโรคติดต่อชนดิ นีใ้ ห้เป็นแนวทางเดียวกัน แตเ่ นื่องด้วยเทคโนโลยีท่ีก้าวหนา้ ของโลกปัจจุบัน
ท่ีสามารถสรรค์สร้างตัวช่วยท่ีให้ระบบของการเรียนการสอนยังสามารถดาเนินต่อไป โดย
กระทรวงศึกษาธิการไดใ้ ห้การสนบั สนุนและเปดิ โอกาสให้สถาบนั การศึกษาไดอ้ อกนโยบายใหผ้ ู้สอนได้
ทาการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ (Online Learning) เพื่อเป็นการจัดการกับระบบ
การศึกษาในช่วงสถานการณ์วิกฤตินี้ในเบ้ืองต้น ซ่ึงมีวัตถุประสงค์ให้ระบบการเรียนการสอนได้
เดินหน้าต่อไปได้อย่างต่อเน่อื ง

การเรียนการสอนออนไลน์ (Online Learning) ท่ีกาลงั เป็นกระแสนิยมของยุคศตวรรษท่ี 21
ซ่ึงได้ถูกนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียนในยุคสมัยน้ีและยังเป็นอีกวิธีการหนึ่งท่ีถูก
นามาใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพิ่มศักยภาพในการจดั การเรยี นการสอนในห้วงวกิ ฤตการแพร่ระบาด
ของไวรัสในปัจจุบัน ซ่ึงการใช้การเรียนการสอนออนไลน์น้ัน ผู้สอนสามารถสร้างบทบาทในการ
กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความสนใจในบทเรียนและสามารถติดตามงานมอบหมายได้อย่างสะดวกข้ึน
สามารถส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างผูส้ อนกบั ผู้เรียนได้ รวมถึงเป็นการเปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นกล้าท่ีจะ
ซกั ถามผู้สอนได้ทุกท่ีทุกเวลาเมื่อเกิดข้อคาถาม และยังเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบต่อ
งานท่ีได้รับมอบหมายมากข้ึน เน่ืองจากผู้สอนสามารถทวงถามความคืบหน้าของงานท่ีมอบหมายได้
ตลอดเวลา และการใช้สื่อช่วยสอนสามารถทาได้สะดวกมากข้ึน เน่ืองจากนวัตกรรม เทคโนโลยี และ
ความก้าวล้าของมนษุ ย์ ได้สรา้ งสรรค์โปรแกรมสาเร็จรูปทตี่ อบสนองสามารถใช้ในการจัดการเรยี นการ
สอน และยังรองรับการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ (Phonpakdee, 2020)

วิชาดนตรี จัดอยู่ในสาระท่ี 2 ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ซึ่งกล่าวถึงท้ังดนตรีไทย ดนตรี
สากล และดนตรีพ้ืนบ้าน ประกอบอยู่ใน 2 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออก
ทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อ

40

ดนตรีอย่างอิสระ ชืน่ ชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน และ มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสัมพันธ์
ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิ
ปญั ญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ในแตล่ ะมาตรฐานประกอบด้วย ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรู้
แกนกลางมาให้ ซึ่งตัวชี้วัดจะระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และ ปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่
ละระดับช้ันซ่ึงสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นาไปใช้
ในการกาหนดเนื้อหา จัดทาหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สาคัญสาหรับการ
วดั ประเมินผล เพ่ือตรวจสอบคุณภาพของผเู้ รียน ซ่งึ ในหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน 2551
นี้ ได้ปรับตัวชีว้ ัดแทนผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวัง (ธารงศักด์ิ ธารงเลศิ ฤทธ์ิ, 2551 อา้ งถึงใน สุภชั ชา โพธ์ิ
เงนิ , 2554)

จากความสาคัญดังกล่าว การจัดการเรียนการสอนวิชาดนตรี ในรูปแบบออนไลน์จึงมี
ความสาคัญอย่างยิ่ง ผู้วิจัยจึงได้ทาการวิจัยเร่ือง ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ที่มี
ต่อการเรียนวิชาดนตรี ในรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ เพ่ือท่ีจะนาผลความพึงพอใจของ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ที่มีต่อการเรียนวิชาดนตรี ในรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ ไป
พฒั นา ปรบั ปรงุ แกไ้ ข ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากยิ่งขนึ้

3. วัตถุประสงค์ของกำรวจิ ัย
1. เพ่ือศึกษาความพงึ พอใจของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ทมี่ ีต่อการเรียนวิชาดนตรี ใน

รปู แบบการเรียนการสอนออนไลน์

4. ขอบเขตของกำรวิจัย
ประชำกร
ประชากรในการศึกษาครั้งน้ีเปนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนวินิตศึกษาในพระ
ราชูปถัมภ์ฯ จังหวัดลพบุรี ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 จานวน 24 หองเรียน จานวน
นกั เรยี นทัง้ สิ้น 928 คน
กลุ่มตัวอยำ่ ง
กลมุ ตวั อย่างที่ใชในการศึกษาคนควาครง้ั นี้ เปนนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 2/6 โรงเรียนวินิต
ศึกษาในพระราชูปถัมภ์ฯ จังหวัดลพบุรี ในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2564 โดยการเลือกแบบ
เจาะจง จานวน 30 คน
เนอ้ื หา
เน้ือหากลมุ่ สาระศลิ ปะ รายวชิ าดนตรี ม.2

41

ระยะเวลำ
ในการวิจัยครั้งผูวิจยั ได้ใชเวลา ในการทาการทดลองใน ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564

5. นิยำมศัพทเ์ ฉพำะ
การเรียนการสอนออนไลน์ หมายถึง นวัตรกรรมทางการศึกษาที่เปล่ียนแปลงวิธีเรียนที่

เป็นอยู่เดิมเป็นการเรียนท่ีใช้เทคโนโลยีที่ก้าวหน้า เช่น อินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ต
ดาวเทียม ดังนั้นจึงหมายรวมถึงการเรียนทางไกล การเรียนผ่านเว็บ ห้องเรียนเสมือนจริง ซึ่งมี
จุดเช่อื มโยงคอื เทคโนโลยีการสอื่ สารเป็นสื่อกลางของการเรียนรู้

6. ประโยชน์ทคี่ ำดว่ำจะได้รบั
1. เพื่อนาผลความพงึ พอใจของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ทม่ี ตี ่อการเรยี นวชิ าดนตรี ใน

รูปแบบการเรยี นการสอนออนไลน์ ไปพฒั นา ปรับปรุงแก้ไข ให้มปี ระสิทธภิ าพมากยง่ิ ข้ึน

7. สมมติฐำนกำรวิจัย
1. นักเรียนที่เรียนวชิ าดนตรี ผ่านระบบออนไลน์ จะมีความพงึ พอใจ อยู่ใน ระดับมากขึน้ ไป

กรอบแนวคิดในกำรวิจัย

ตัวแปรต้น ตัวแปรตำม

การเรยี นการสอนออนไลน์ ความพึงพอใจท่มี ีตอ่ การเรียนวิชาดนตรี
ในรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์

8. เอกสำรงำนวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง
วิจิตร สมบัติวงศ์ (2549) การวิจัยคร้ังนี้ มีความมุงหมายเพ่ือศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

วิทยาศาสตร และความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่ไดรับการเรียนรูผ่านสื่อ
อิเล็กทรอนิกส(E-Learning) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2549 โรงเรียนวัดนอยนพคุณ เขตดุสติ
กรุงเทพมหานคร จานวน 30 คน ไดมาจากการเลือกแบบ เจาะจง (Purposive Sampling) เคร่อื งมือ
ที่ใช้ในการวิจัย ไดแก บทเรียนผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (E-Learning) เรื่องพันธะเคมี แบบทดสอบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน มาตราสวนประมาณคา 5

42

ระดบั จานวน 18 ขอ ประกอบดวย 3 ดาน ไดแก ดานรปู แบบการเรยี นรู ดานประโยชนของการเรยี น
รู และดานองคประกอบทมี่ ตี อการเรียนรู้

ธนัชชา บินดุเหล็ม (2561) การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์.เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน.เรื่องรายได้ประชาชาติ.รายวิชา หลักเศรษฐศาสตร์.ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชนั้ สูงปีท่ี.1.ที่ได้รับการสอนโดยการเรียนออนไลน์กับการเรยี นการสอนแบบปกติเครื่องมือท่ีใช้ในการ
วิจัยคือแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้การเรียนการสอนแบบปกติกับการเรียนแบบออนไลน์ กลุ่ม
ตัวอย่างคือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีท่ี 1 สาขางานการบัญชี จ านวน 30 คน
สถิติที่ใช้คือ ค่าเฉล่ีย ( ̅ ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) สถิติ dependent Samples t–test และ
Independent Samples t–test

วิชญ์ บุญรอด (2564) งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์วชิ าปฏิบัติดนตรี โดยใช้เทคนิค6Ts และ 2) ประเมินความเหมาะสมของการจัดการเรียนการ
สอนออนไลน์วิชาปฏิบัติดนตรี โดยใช้เทคนิค 6Ts กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัย ได้แก่ ผู้เช่ียวชาญและผู้มี
ความรู้ความสามารถท่ีมีประสบการณ์ในด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาปฏิบัติดนตรี จานวน
12 คน โดยการสัมภาษณ์เพื่อนาข้อมูลมารวบรวม วิเคราะห์ และพัฒนาการจัดการเรียน การสอนใน
คร้ังน้ี เครื่องมือในการวิจัย ผู้วิจัยได้ใช้ลักษณะรูปแบบออนไลน์ท้ังหมด ซ่ึงประกอบไปด้วย 1)แบบ
สัมภาษณ์ประสบการณ์ของผู้เชี่ยวชาญ และ 2) แบบประเมินความเหมาะสมของการเรียนการสอน
ออนไลนว์ ิชาปฏบิ ัติดนตรโี ดยใชเ้ ทคนิค 6Ts

9. วิธีดำเนนิ กำรวจิ ยั
ประชำกร
ประชากรในการศึกษาคร้ังน้ีเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 โรงเรียนวินิตศึกษาในพระ
ราชูปถัมภ์ฯ จังหวัดลพบุรี ในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 จานวน 24 หองเรียน จานวน
นกั เรียนทงั้ สิน้ 928 คน
กล่มุ ตวั อยำ่ ง
กลมุ ตัวอย่างท่ีใชในการศึกษาคนควาครั้งน้ี เปนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2/6 โรงเรียนวนิ ิต
ศึกษาในพระราชูปถัมภ์ฯ จังหวัดลพบุรี ในภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2564 โดยการเลือกแบบ
เจาะจง จานวน 30 คน

เครื่องมือที่ใชใ้ นกำรวิจยั
1. แบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมตี อ่ การเรยี นวชิ าดนตรี ในรูปแบบการเรยี นการสอน
ออนไลน์

43

กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู
ผูวิจยั เกบ็ รวบรวมขอมูล มีรายละเอยี ดดงั น้ี
1. ศึกษาการเรยี นการสอนรายวิชาดนตรี
2. การศกึ ษาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ไดแ้ ก่ แนวคดิ ทฤษฎี เอกสาร และงานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วข้อง
กบั การเรียนการสอนออนไลน์ วชิ าดนตรี
3. วิเคราะหขอมูลพ้ืนฐาน เปนการศึกษาเพื่อวเิ คราะห จำกแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมี
ตอ่ การเรียนวิชาดนตรี ในรปู แบบการเรียนการสอนออนไลน์

กำรวเิ ครำะห์ข้อมลู
ผูวจิ ยั วเิ คราะหขอมูล มรี ายละเอียดดงั น้ี
6.1 วิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการ เอกสาร และงานวิจัยท่ี

เกี่ยวข้อง
6.2 วิเคราะหเน้อื หา (content analysis) โดยผวู ิจยั วเิ คราะหจากแบบแบบสอบถาม

ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนวชิ าดนตรี ในรูปแบบการเรยี นการสอนออนไลน์ โดยใช้ดชั นคี วาม
สอดคลอ้ ง (IOC) คานวณค่าตามสตู ร

IOC = ∑R

N

∑R = ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผทู้ รงคณุ วุฒิ

N = จานวนผ้ทู รงคุณวุฒิ
นาข้อมูลท่ีรวบรวมความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิมาคานวณหาค่า IOC โดยใช้ดัชนีความ
สอดคล้อง (IOC: Index of Item Objective Conguence) ของผู้เช่ียวชาญมาคานวณค่าดัชนีความ
สอดคลอ้ ง ผ้วู ิจัยได้กาหนดคา่ IOC ไวด้ งั นี้
ข้อคาถามทมี่ คี ่า IOC ตงั้ แต่ 0.5-1.0 ถอื ว่าใชไ้ ด้
ข้อคาถามทม่ี ีค่า IOC ตา่ กว่า 0.5 ควรพจิ ารณาปรบั ปรงุ หรือตดั ท้ิง
และเลอื กข้อทมี่ ีค่าดัชนีความสอดคลอ้ งตง้ั แต่ 0.5 ข้นึ ไป

6.2.1 แบบประเมินความพึงพอใจทมี่ ีตอ่ การเรยี นวิชาดนตรี ในรูปแบบการเรียนการ
สอนออนไลน์
โดยมกี ารกาหนดเกณฑก์ ารประเมินความพึงพอใจ แบง่ เปน็ 5 ระดับ ดงั นี้

44

ระดับ 5 หมายถงึ พึงพอใจมากทสี่ ุด
ระดับ 4 หมายถงึ พงึ พอใจมาก
ระดบั 3 หมายถงึ พงึ พอใจปานกลาง
ระดับ 2 หมายถึง พงึ พอใจน้อย
ระดบั 1 หมายถึง พงึ พอใจน้อยทสี่ ดุ

สรปุ ผลการประเมนิ ใชว้ ิธหี าค่าคะแนนเฉลี่ย โดยกาหนดผลการประเมินระดับความพึงพอใจ
ตอ่ คมู่ ือการปฏบิ ตั ิขมิ เบ้ืองตน้ มีระดบั คะแนนเฉลีย่ ของผูต้ อบแบบประเมิน ดังน้ี

คะแนนเฉล่ยี 1.00-1.50 แสดงวา่ มีความพึงพอใจน้อยทสี่ ดุ
คะแนนเฉลย่ี 1.51-2.50 แสดงวา่ มคี วามพึงพอใจน้อย
คะแนนเฉลยี่ 2.51-3.50 แสดงว่ามคี วามพึงพอใจปานกลาง
คะแนนเฉลี่ย 3.51-4.50 แสดงว่ามีความพึงพอใจมาก
คะแนนเฉลี่ย 4.51-5.00 แสดงว่ามีความพึงพอใจมากที่สดุ
6.3 นาข้อมลู ที่ได้ทง้ั หมดไปสังเคราะห์และพัฒนาการเรียนการสอนวิชาดนตรี

12. เอกสำรอำ้ งอิง
วจิ ิตร สมบัติวงศ์. (2549). การศกึ ษาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนและความพึงพอใจของนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปท่ี 4 ที่ไดรบั การเรียนรูผ่านสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนิกส (E-Learning). สารนิพนธกศ.ม. (การ
มัธยมศกึ ษา). กรุงเทพฯ: บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. อาจารยท่ีปรกึ ษาสารนพิ นธ์
: รองศาสตราจารย ดร.ชตุ ิมา วัฒนครี ี
ธนัชชา บนิ ดุเหล็ม. (2561). ผลของการสอนแบบออนไลนท์ ม่ี ีต่อผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของ
นักเรียนระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชัน้ สงู ปที่ 1. สงขลา. มหาวิทยาลยั หาดใหญ่
วิชญ์ บญุ รอด. (2564). การเรยี นการสอนออนไลนว์ ชิ าปฏบิ ัติดนตรี โดยการประยกุ ตใ์ ช้
เทคนคิ 6Ts ของ Richard Allington. พษิ ณโุ ลก: มหาวทิ ยาลัยนเรศวร
ชมพูนุช จูฑะเศรษฐ์, และสรุ พงษ์ บ้านไกรทอง. (2564). แนวทางการสอนทฤษฎดี นตรีไทย สาหรบั
นักเรยี นระดบั ช้นั มัธยมศึกษาตอนต้น. สบื คน้ 17 กนั ยายน 2564, จาก https://bsru.net/แนว
ทางการสอนทฤษฎดี นตรี

45

ปว.1-6

แบบประเมนิ กำรปฏิบตั ิตนของนักศึกษำ


Click to View FlipBook Version