The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือพนักงาน[1]

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aommick04, 2021-03-23 04:08:00

คู่มือพนักงาน[1]

คู่มือพนักงาน[1]

ค่มู ือพนักงาน

EMPLOYEE HANDBOOK

BKPG

บรษิ ทั บ.ี เค.พลาสเตอร์ แอนด์ ยปิ ซมั่ คอรป์ อเรชนั่ จากดั
BK PLASTER AND GYPSUM CORPORATION CO.,LTD.
96/1 หมู่ 5 ต.บอ่ โพง อ.นครหลวง จ.พระนครศรอี ยธุ ยา 13260

โทร.035-724489 แฟกซ์ 035-724450

“The Expert in Gypsum & Calcium”

คานา

ค่มู อื พนกั งานฉบบั น้ี จดั ทาขน้ึ โดยรวบรวมระเบยี บขอ้ บงั คบั สวสั ดกิ ารต่าง ๆ ของบรษิ ทั ฯ เพอ่ื
เป็นแนวทางปฏบิ ตั ิของพนักงาน บรษิ ทั บเี ค พลาสเตอร์ แอนด์ ยปิ ซมั่ คอร์ปอเรชนั่ จากดั ซ่งึ เน้ือหา
ภายในเล่ม ประกอบด้วยแนวทางปฏิบตั ิตงั้ แต่เข้าสู่องค์กร เช่น ประวตั ิความเป็นมาของบริษัท ฯ
นโยบายคุณภาพ นโยบายสงิ่ แวดล้อมรวมถึง กฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ในการทางาน ซ่ึงสอดคล้องกบั
พระราชบญั ญตั คิ ุม้ ครองแรงงาน พ.ศ.2541 รวมถงึ สว่ นทไ่ี ดร้ บั การแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ

วตั ถุประสงค์ในการจดั ทาคู่มอื พนักงานฉบบั น้ีก็เพ่อื ให้พนักงานเข้าใจนโยบายของบรษิ ัท ฯ
หลกั การบรหิ ารงานบุคคลและบทบาทหน้าทข่ี องพนักงานเอง ในฐานะทเ่ี ป็นทรพั ยากรอนั มคี ่าสงู สุดของ
องค์กร โดยรายละเอยี ดต่าง ๆ ในคู่มอื ฉบบั น้ี บรษิ ทั ฯ อาจพจิ ารณาปรบั ปรุงแก้ไขหรอื เพิม่ เติมให้
เหมาะสมกบั สถานการณ์ เพอ่ื ใหก้ ารดาเนินการตา่ ง ๆ มปี ระสทิ ธภิ าพมากขน้ึ

บรษิ ทั ฯ หวงั เป็นอย่างยงิ่ ว่า คู่มอื พนักงานฉบบั น้ีจะเป็นประโยชน์แก่พนักงานทุกท่าน หาก
พนกั งานไดศ้ กึ ษาอยา่ งละเอยี ด และปฏบิ ตั ติ ามอย่างถูกตอ้ งแลว้ พนกั งานจะสามารถอยรู่ ว่ มกบั องคก์ รน้ี
อยา่ งมคี วามสขุ และมคี วามเจรญิ มนั่ คงในชวี ติ การงานสบื ไป

ดว้ ยความปรารถนาดี
สว่ นทรพั ยากรบคุ คลและธรุ การ

หมวดที่ สารบญั
หน้า
1. ประวตั ิความเป็นมาของบริษทั
2. ระเบยี บ ข้อบงั คบั เก่ียวกบั การทางาน 1
3
บทท่ี 1 คานิยาม 3
บทท่ี 2 หลกั เกณฑก์ ารว่าจา้ ง การทดลองงาน 3

และการโยกยา้ ยเปลย่ี นแปลงตาแหน่งหน้าท่ี 4
บทท่ี 3 วนั เวลาทางานปกตแิ ละเวลาพกั 5
บทท่ี 4 วนั หยุดและหลกั เกณฑก์ ารหยดุ 5
บทท่ี 5 การทางานลว่ งเวลาและการทางานในวนั หยุด 5
บทท่ี 6 วนั และสถานทจ่ี ่ายค่าจา้ ง ค่าลว่ งเวลา และค่าทางานในวนั หยุด 6
บทท่ี 7 วนั ลา และหลกั เกณฑก์ ารลา 8
บทท่ี 8 วนิ ยั และการลงโทษทางวนิ ยั 10
บทท่ี 9 ความผดิ ทางวนิ ยั ระเบยี บการลงโทษ 15
บทท่ี 10การรอ้ งทุกข์ 16
บทท่ี 11การพน้ สภาพการเป็นพนกั งาน 17
บทท่ี 12การจ่ายค่าชดเชย 18
3. ผลประโยชน์และสวสั ดิการ 18
บทท่ี 1 เงนิ รางวลั ประจาปี (โบนสั ) 18
บทท่ี 2 การประกนั สุขภาพ การประกนั ชวี ติ
19
และการประกนั อุบตั เิ หตกุ ลมุ่ พนกั งาน 19
บทท่ี 3 เงนิ มรณะสงเคราะหแ์ ละเงนิ ชว่ ยเหลอื กรณเี สยี ชวี ติ 19
บทท่ี 4 เคร่อื งแบบพนกั งาน 19
บทท่ี 5 ค่าเบย้ี เลย้ี ง ค่าทพ่ี กั และคา่ ใชจ้ ่ายตา่ ง ๆ 19
บทท่ี 6 บา้ นพกั พนกั งาน 19
บทท่ี 7 การเขา้ เยย่ี มไข/้ คลอดบตุ ร 20
บทท่ี 8 เงนิ ชว่ ยเหลอื กรณีประสบภยั ธรรมชาติ 20
บทท่ี 9 อบรม/สมั มนา/ดงู าน 21
บทท1่ี 0 กฬี า ท่องเทย่ี ว สงั สรรคป์ ระจาปี
4. การพฒั นาและการฝึ กอบรมพนักงาน

1

ประวตั ิ บริษทั บีเค พลาสเตอร์ แอนด์ ยิปซมั่ คอรป์ อเรชนั่ จากดั เครือบีเคจี

BKG เป็นกลุ่มบรษิ ทั ท่อี ยู่ในกลุ่ม “นาสนิ พฒั นา” ซ่ึงกลุ่มนาสนิ พฒั นาดาเนินธุรกิจหลายด้าน
เชน่ ธุรกจิ เหมอื งแร่ , ธุรกจิ ทา่ เรอื , ธุรกจิ โรงแรม เป็นตน้

- ปี 2516 ท่านประธาน ฯ คุณอนิ ทร์ คงพฒั นะโยธนิ ไดก้ ่อตงั้ หจก.นาสนิ พฒั นา โดยดาเนิน
ธรุ กจิ ดา้ นเหมอื งแร่ยปิ ซมั ในจงั หวดั นครสวรรค์

- ปี 2543 กลุ่มนาสนิ ไดก้ ่อตงั้ บรษิ ทั AP Grinding Industry (เอพี ไกรนด์ด้งิ อนิ ดสั ตร้ี) ใน
อาเภอนครหลวง จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา เพอ่ื ดาเนนิ ธุรกจิ ในการแปรรปู แร่ยปิ ซมั่ ใหเ้ ป็น
สนิ คา้ อุตสาหกรรม ซง่ึ นบั เป็นจุดเรม่ิ ตน้ ของเครอื BKG

- ปี 2544 บรษิ ทั AP Grinding Industry (เอพี ไกรนด์ด้งิ อนิ ดสั ตร้ี) ได้เปลย่ี นช่อื เป็นบรษิ ทั
บ.ี เค พลาสเตอร์ แอนด์ ยปิ ซมั คอรป์ อเรชนั่ จากดั เพอ่ื ดาเนินธรุ กจิ ผลติ ปูนพลาสเตอรแ์ ละ
ยปิ ซมั อตุ สาหกรรม อยา่ งเตม็ รปู แบบ

- ปี 2546 ก่อสรา้ งโรงงานแหง่ ทส่ี อง ทต่ี าบลท่งุ ทอง อาเภอหนองบวั จงั หวดั นครสวรรค์ เพอ่ื
ผลติ ยปิ ซมั เพอ่ื การเกษตร

- ปี 2548 กอ่ ตงั้ บรษิ ทั แมกซ์ อนิ โนเวชนั่ จากดั โดยสรา้ งโรงงานทต่ี าบลโคกตูม อาเภอเมอื ง
จงั หวดั ลพบุรี

- ปี 2550 โรงงานทงั้ หมด ไดร้ วมกลุม่ เป็นเครอื BKG ทม่ี ศี กั ยภาพสงู ในการดาเนินธรุ กจิ ดา้ น
แปรรูป แร่ยปิ ซมั และแคลเซยี มคารบ์ อเนต เพอ่ื อตุ สาหกรรมก่อสรา้ ง , เกษตร , และ
เคมภี ณั ฑ์

2

ประวตั ิเครอื บีเคจี

ปัจจบุ นั เครอื BKG ประกอบดว้ ยกลมุ่ บรษิ ทั ฯ ทงั้ หมด 5 บรษิ ทั ฯ คอื
1. บรษิ ทั บี เค พลาสเตอร์ แอนด์ ยปิ ซมั คอรป์ อเรชนั่ จากดั ประกอบดว้ ย โรงงานทอ่ี าเภอนคร

หลวง จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา ผลติ สนิ คา้ หลกั 3 กลุ่ม คอื ปนู พลาสเตอรใ์ นรปู แบบตา่ ง ๆ ,
ผลติ แร่ยปิ ซมั และป๋ ุยเมด็

โรงงานทต่ี าบลทุ่งทอง อาเภอหนองบวั จงั หวดั นครสวรรค์ ผลติ ยปิ ซมั เพอ่ื สง่ เป็น
วตั ถดุ บิ ในการผลติ สนิ คา้ ใหแ้ กโ่ รงงานอ่นื ๆ ในเครอื รวมทงั้ ผลติ แรย่ ปิ ซมั บดสาเรจ็ รปู และ
ยปิ ซมั เพอ่ื การเกษตร

2. บรษิ ทั บเี ครงุ่ เรอื งพชื ผล จากดั
ทาธุรกจิ ดา้ นการจาหน่ายผลติ ภณั ฑข์ องเครอื BKG ทเ่ี กย่ี วกบั ดา้ นการเกษตรกรรม เชน่ ป๋ ุย
ธาตอุ าหาร, ธาตอุ าหารเสรมิ สาหรบั พชื

3. บรษิ ทั บเี คจี เฟอรต์ ไิ ลเซอร์ จากดั
ปัจจุบนั เคร่อื งจกั รของ บเี คจี เฟอรต์ ไิ ลเซอร์ ไดต้ ดิ ตงั้ อยภู่ ายในโรงงานอาเภอนครหลวง จงั หวัด
พระนครศรอี ยธุ ยา ผลติ ป๋ ยุ เมด็ จากแร่ยปิ ซมั

4. บรษิ ทั แมก็ ซอ์ นิ โนเวชนั่ จากดั (เปลย่ี นชอ่ื เป็น บรษิ ทั บี เค มเิ นอรลั จากดั ในปัจจุบนั ) ทต่ี งั้
โรงงาน ณ ตาบลโคกตมู อาเภอเมอื ง จงั หวดั ลพบรุ ี , ผลติ สนิ คา้ แร่แคลเซยี มคารบ์ อเนต เป็น
หลกั

5. บรษิ ทั แมก็ ซค์ รเี อชนั่ จากดั (เปลย่ี นช่อื เป็น บรษิ ทั บี เค จี เคมคิ ลั จากดั ในปัจจุบนั ) ผลติ
สนิ คา้ ของตกแต่งจากปูนพลาสเตอร์ เครอ่ื งจกั รตดิ ตงั้ อย่ภู ายในเขตโรงงานนครหลวง

นโยบายคณุ ภาพ

“ คณุ ภาพคน คุณภาพงาน
คุณภาพบรกิ าร คณุ ภาพสนิ คา้
มงุ่ มนั่ พฒั นาเพอ่ื ลกู คา้ ของเรา “

3

หมวดท่ี 1 ระเบยี บ ข้อบงั คบั เก่ียวกบั การทางาน

บทท่ี 1 คานิยาม

➢ บริษทั

หมายถงึ บรษิ ทั บี เค พลาสเตอร์ แอนด์ ยปิ ซมั คอรป์ อเรชนั่ จากดั หมายความรวมถงึ กรรมการผมู้ ี

อานาจกระทาการแทนบรษิ ทั หรอื ผทู้ ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

➢ กรรมการผ้จู ดั การ

หมายถงึ กรรมการผจู้ ดั การหรอื ผทู้ ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

➢ ผ้บู งั คบั บญั ชา

หมายถงึ ผู้บงั คบั บญั ชาทุกระดบั ชนั้ ท่ไี ด้รบั มอบหมายให้ดาเนินการต่าง ๆ ภายในขอบเขตท่ไี ด้รบั

มอบหมาย

➢ ส่วนทรพั ยากรบุคคล

หมายถงึ ผจู้ ดั การสว่ นทรพั ยากรบุคคลหรอื ผทู้ ไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

➢ พนักงาน

หมายถงึ บุคคลทบ่ี รษิ ทั ตกลงว่าจา้ งใหท้ างานกบั บรษิ ทั และไดร้ บั ค่าตอบแทนจากบรษิ ทั

➢ พนักงานรายเดือน

หมายถงึ พนักงานทบ่ี รษิ ทั ตกลงว่าจ้างโดยกาหนดจ่ายค่าจา้ งเป็นรายเดอื นโดยรวมค่าจา้ งในวนั หยุด

และวนั ลาตา่ ง ๆ ตามทก่ี ฎหมายหรอื บรษิ ทั ฯ กาหนดใหไ้ ดร้ บั ค่าจา้ ง

➢ พนักงานท่ีมีกาหนดเวลาจ้างแน่นอน

หมายถงึ พนักงานท่บี รษิ ทั ตกลงว่าจ้างเขา้ ทางานอนั มลี กั ษณะเป็นครงั้ คราวเป็นงานจร เป็นไ ปตาม

ฤดกู าล หรอื เป็นงานตามโครงการทม่ี ใิ ช่งานปกตขิ องบรษิ ทั โดยมรี ะยะเวลาเรมิ่ ต้นและสน้ิ สุดทแ่ี น่นอน

ซ่ึงงานนัน้ ต้องเสร็จส้นิ ภายในเวลาไม่เกนิ สองปี ทงั้ สองฝ่ ายทาสญั ญาเป็นหนังสอื ไว้แต่เรมิ่ จ้าง เม่อื

สญั ญาจา้ งสน้ิ สดุ ลงตามกาหนดระยะเวลานนั้ พนกั งานไมม่ สี ทิ ธไิ ดร้ บั ค่าชดเชย

บทที่ 2 หลกั เกณฑก์ ารว่าจ้าง การทดลองงานและการโยกย้ายเปล่ียนแปลงตาแหน่งหน้าที่

บรษิ ทั ฯ จะว่าจา้ งพนักงานตามประเภทของงานและความเหมาะสมของงานซ่งึ มคี ุณสมบตั ไิ ม่
ขดั ต่อลกั ษณะการใชแ้ รงงานกฎหมายแรงงานโดยเปิดโอกาสใหม้ กี ารสมคั รงานเท่าเทยี มกนั ทุกคน การ
คดั เลอื กบุคคลเขา้ ทางานบรษิ ทั ฯ จะพจิ ารณาจากความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และการศกึ ษา
ของผสู้ มคั รเป็นเกณฑใ์ นการพจิ ารณา โดยตอ้ งมคี ณุ สมบตั ดิ งั น้ี

2.1 มอี ายุไม่ต่ากว่า 18 ปีบรบิ ูรณ์ในวนั ทร่ี บั เขา้ ทางานเวน้ แต่จะไดอ้ นุญาตเป็นพเิ ศษเป็นกรณี
ไป

2.2 มรี ่างกายแขง็ แรงสมบูรณ์ ไม่เป็นโรคตดิ ตอ่ รา้ ยแรง โรคทส่ี งั คมรงั เกยี จ หรอื ตดิ ยาเสพตดิ
2.3 มคี ุณวฒุ กิ ารศกึ ษา วทิ ยฐานะและมคี วามรคู้ วามสามารถตามทบ่ี รษิ ทั ตอ้ งการ
2.5 ไม่เป็นบคุ คลลม้ ละลาย หรอื มหี น้สี นิ ลน้ พน้ ตวั

2.6 ไมเ่ ป็นผทู้ เ่ี คยถกู ลงโทษไลอ่ อก ปลดออก เลกิ จา้ งโดยมคี วามผดิ หรอื ไดร้ บั เงนิ คา่ ชดเชย 4
2.7 คุณสมบตั อิ ่นื ๆ ตามทบ่ี รษิ ทั กาหนด
หากปรากฏในภายหลงั ว่าพนกั งานขาดคณุ สมบตั หิ รอื ใหข้ อ้ มลู เป็นเทจ็ หรอื ประการใด ๆ กต็ าม
บรษิ ทั ฯ มสี ทิ ธเิ ลกิ จา้ งพนกั งานไดท้ นั ที
➢ การทดลองงาน
บุคคลทผ่ี า่ นการคดั เลอื กเขา้ มาทางานกบั บรษิ ทั ฯ จะตอ้ งทดลองงานกอ่ นเป็นระยะเวลาไม่เกนิ
119 วนั ระหว่างการทดลองงานหากพนักงานมผี ลการปฏบิ ตั งิ านไม่เป็นไปตามมาตรฐานท่กี าหนดไว้
หรอื มคี วามประพฤติ หรอื มเี หตุใด ๆ ทไ่ี มเ่ หมาะสม บรษิ ัทจะไมพ่ จิ ารณาผ่านทดลองงานและจะเลกิ จ้าง
โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า และไม่จ่ายค่าชดเชยแต่อย่างใด หากพนักงานมผี ลงานเป็นไปตามท่ี
บรษิ ทั กาหนดบรษิ ทั จะพจิ ารณาผา่ นการทดลองงานและแจง้ ใหพ้ นกั งานทราบเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร และ
นบั อายงุ านตงั้ แตว่ นั แรกเรม่ิ ทดลองงาน
➢ การโยกยา้ ยเปลย่ี นแปลงตาแหน่งหน้าทก่ี ารงาน
กรณมี คี วามจาเป็นหรอื เพอ่ื ความเหมาะสมหรอื เพอ่ื ประสทิ ธภิ าพในการทางาน บรษิ ทั ฯ ขอ
สงวนสทิ ธกิ ารโยกยา้ ยสบั เปลย่ี นตาแหน่งหน้าทก่ี ารงาน

บทท่ี 3 วนั เวลาทางานปกติและเวลาพกั

➢ วนั ทางานปกติ คอื วนั จนั ทรถ์ งึ วนั เสาร์

➢ เวลาทางานปกติ

สานกั งานกลางกรงุ เทพ ฯ วนั จนั ทร์ ถงึ วนั ศุกร์

โรงงานนครหลวง วนั จนั ทร์ ถงึ วนั เสาร์

เวลาทางานปกติ

สานกั งานกลางกรุงเทพฯ ระหว่าง 08.00 – 17.00 น.

โรงงานนครหลวง ระหวา่ ง 08.00 – 17.00 น.

งานกะ กะท่ี 1 ระหว่าง 08.00 – 17.00 น.

กะท่ี 2 ระหว่าง 20.00 – 05.00 น.

พนกั งานในสว่ นงานอน่ื ๆ ทไ่ี ม่อาจกาหนดเวลาทางานไดแ้ น่นอนผบู้ งั คบั บญั ชาจะกาหนดตาม

ความเหมาะสมแต่ไม่น้อยกว่า/ไม่เกนิ กว่าวนั ละ 8 ชวั่ โมง

➢ เวลาพกั เวลาพกั ปกตริ ะหว่างเวลา 12.00 – 13.00 น.

งานกะหรอื พนกั งาน ทไ่ี มส่ ามารถพกั ไดต้ ามเวลาดงั กล่าวผบู้ งั คบั บญั ชาพจิ ารณากาหนดให้

พนกั งานผลดั เปลย่ี นกนั หยุดพกั ตามความ

การบนั ทกึ เวลาทางาน พนกั งานทกุ คนมหี น้าทต่ี อ้ งบนั ทกึ เวลาทางานดว้ ยตนเองเม่อื เขา้ ทางาน

และเลกิ งาน ยกเวน้ พนกั งานทไ่ี ดร้ บั อนุญาตไมต่ อ้ งบนั ทกึ เวลาทางาน

5

บทที่ 4 วนั หยดุ และหลกั เกณฑ์การหยุด
➢ วนั หยุดประจาสปั ดาห์

สานกั งานกรุงเทพ คอื วนั เสารแ์ ละวนั อาทติ ย์
โรงงานนครหลวง คอื วนั อาทติ ย์

พนักงานในส่วนทไ่ี ม่สามารถหยุดตามกาหนดไดใ้ ห้พจิ ารณาตามลกั ษณะความจาเป็นของงาน
โดยกาหนดใหพ้ นกั งานผลดั เปลย่ี นวนั หยดุ ตามความเหมาะสมหลงั จากทางานมาแลว้ 6 วนั
➢ วนั หยดุ ตามประเพณี ปีละไม่น้อยกว่า 13 วนั รวมวนั แรงงานแห่งชาตดิ ว้ ย
➢ วนั หยดุ พกั ผอ่ นประจาปีบรษิ ทั กาหนดใหพ้ นกั งานซง่ึ ทางานตดิ ต่อกนั มาแลว้ ครบ 1 ปี บรบิ รู ณ์ มี
สทิ ธหิ ยุดพกั ผอ่ นประจาปีไดใ้ นปีทางานถดั ไป โดยไดร้ บั คา่ จา้ งเท่ากบั วนั ทางานปกตติ ามอายงุ าน
ดงั น้ี

1. อายุงานครบ 1 ปี แต่ไม่ครบ 3 ปี ใหห้ ยุดไดป้ ีละ 6 วนั ทางาน
2. อายงุ านครบ 3 ปี ขน้ึ ไป ใหห้ ยดุ ไดป้ ีละ 10 วนั ทางาน
พนกั งานตอ้ งยน่ื แบบขอลาหยดุ ตามทก่ี าหนดตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชาตามลาดบั ชนั้ ล่วงหน้าอย่างน้อย
1 วนั และไดร้ บั อนุญาตโดยถูกตอ้ งแลว้ จงึ หยุดงานได้ มเิ ช่นนัน้ บรษิ ทั ถอื ว่าขาดงาน บรษิ ทั มสี ทิ ธไิ ม่
อนุญาตการขอหยดุ ประเภทน้ไี ดต้ ามความจาเป็นและเหมาะสมโดยคานงึ ถงึ ผลเสยี หายทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ

บทที่ 5 การทางานลว่ งเวลาและการทางานในวนั หยุด
บรษิ ทั จะใหพ้ นกั งานทางานล่วงเวลาหรอื ทางานในวนั หยดุ ตามความจาเป็น โดยไดร้ บั คา่ ทางาน

ลว่ งเวลาหรอื คา่ ทางานในวนั หยุดตามหลกั เกณฑ์ ดงั น้ี
➢ คา่ ทางานลว่ งเวลา

1. วนั ทางานปกตไิ ดร้ บั ค่าทางานล่วงเวลาไม่น้อยกวา่ 1.5 เท่า ของอตั ราค่าจา้ งปกติ
2. วนั หยดุ ไดร้ บั คา่ ทางานลว่ งเวลาไม่น้อยกว่า 3 เท่า ของอตั ราค่าจา้ งปกติ
➢ ค่าทางานในวนั หยุด
1. พนกั งานรายเดอื นจะไดร้ บั ค่าทางานในวนั หยดุ ไม่น้อยกว่า 1 เทา่ ของคา่ จา้ งปกติ
2. พนกั งานรายวนั จะไดร้ บั คา่ ทางานในวนั หยุดไมน่ ้อยกว่า 2 เท่าของค่าจา้ งปกติ

บทท่ี 6 วนั และสถานที่จา่ ยค่าจ้าง
บรษิ ทั จะจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวนั หยุด และผลตอบแทนอ่นื ๆ ทุกวนั ท่ี 30 ของ

เดอื นโดยผ่านธนาคาร หากกาหนดการจา่ ยตรงกบั วนั หยุด บรษิ ทั จะเล่อื นวนั จ่ายใหเ้ รว็ ขน้ึ อกี 1 วนั

6

บทท่ี 7 การลาและหลกั เกณฑก์ ารลา

บรษิ ทั กาหนดการลาประเภทตา่ ง ๆ ไวด้ งั น้ี

1. ลากจิ 2. ลาป่วย

3. ลาเพอ่ื ทาหมนั 4. ลาคลอด

5. ลาเพอ่ื การฝึกอบรม 6. ลาอปุ สมบท

7. ลาเพอ่ื รบั ราชการทหารเน่อื งจากการเรยี กพลเพอ่ื ตรวจสอบวชิ าทหารหรอื เพอ่ื ทดลองความ

พรงั่ พรอ้ ม

8. ลาประเภทอน่ื ๆ

9. การหยุดงานเน่อื งจากเจบ็ ป่วยจากการทางาน

➢ ลากิจ

1. ลากิจปกติ

1.1 พนกั งานรายเดอื นมสี ทิ ธลิ ากจิ โดยไดร้ บั ค่าจา้ งปีละไม่เกนิ 6 วนั ทางาน

1.2 พนกั งานรายวนั ขอลากจิ ไดโ้ ดยไม่ไดร้ บั ค่าจา้ งปีละไมเ่ กนิ 6 วนั ทางาน

2. ลากิจฉุกเฉิน

พนักงานรายเดอื นและรายวนั มสี ทิ ธลิ ากจิ ฉุกเฉินโดยได้รบั ค่าจ้างได้ปีละไม่เกนิ 3 วนั

ทางานเกย่ี วกบั กรณี

2.1 บคุ คลในครอบครวั หรอื ญาตใิ กลช้ ดิ เสยี ชวี ติ

2.2 ญาตใิ กลช้ ดิ ป่วยหนกั และบา้ นพกั อย่หู ่างไกลจากบรษิ ทั

2.3 ครอบครวั ของพนกั งาน หรอื ของบดิ า มารดา ภรรยา หรอื สามปี ระสบภยั พบิ ตั ติ ่าง

ๆ เชน่ ไฟไหมบ้ า้ น อทุ กภยั น้าทว่ มบา้ น เป็นตน้

พนักงานต้องย่นื ใบลาตามแบบ พรอ้ มหลกั ฐานต่อผู้บงั คบั บญั ชาล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วนั และ

ไดร้ บั อนุญาตโดยถูกตอ้ งแลว้ จงึ หยุดงานไดก้ รณีมคี วามจาเป็นฉุกเฉินอย่างยงิ่ ทไ่ี ม่สามารถลาล่วงหน้า

ได้ พนกั งานตอ้ งรบี หาทางตดิ ต่อผูบ้ งั คบั บญั ชาหรอื ผเู้ ก่ยี วขอ้ งเพอ่ื ขอ อนุญาตและช้แี จงเหตุผลการลา

ใหบ้ รษิ ทั ทราบโดยเรว็ และเม่อื พนักงานกลบั เขา้ ทางานตามปกตแิ ลว้ ต้องรบี ดาเนินการย่นื ใบลาพร้อม

หลกั ฐานในทนั ที

➢ ลาป่ วย

พนกั งานลาป่วยไดเ้ ทา่ ทป่ี ่วยจรงิ โดยรบั คา่ จา้ งเทา่ กบั วนั ทางานปกตปิ ีละไม่เกนิ 30 วนั ทางาน

พนักงานท่ีลาป่ วยตงั้ แต่ 3 วนั ทางาน ติดต่อกนั ต้องนาใบรับรองแพทย์แผนปัจจุ บันชนั้ หน่ึง หรอื

สถานพยาบาลของราชการมาแสดงพนักงานท่ีลาป่ วยต้องเขียนใบลาต่อผู้บังคบั บญั ชาในวนั แรกท่ี

กลบั มาปฏบิ ตั งิ าน เม่อื พนกั งานป่วยไม่ว่ากรณีใด พนกั งานต้องแจง้ ใหบ้ รษิ ทั ทราบโดยเรว็ ทส่ี ุด ซง่ึ อาจ

เป็นโดยทางโทรศพั ท์ จดหมาย หรอื วธิ อี ่นื ใด โดยพนักงานต้องถอื ปฏิบตั ติ ามขอ้ น้ีอย่างเคร่งครดั หาก

พนกั งานไมป่ ฏบิ ตั บิ รษิ ทั ถอื ว่าเป็นการขาดงาน

7

➢ ลาเพอื่ ทาหมนั

พนกั งานมสี ทิ ธลิ าเพอ่ื ทาหมนั และ/หรอื เน่อื งจากการทาหมนั ไดโ้ ดยไดร้ บั คา่ จา้ งตามระยะเวลาท่ี
แพทยแ์ ผนปัจจุบนั ชนั้ หน่ึงกาหนด และมใี บรบั รองแพทยเ์ ป็นหลกั ฐาน พนกั งานตอ้ งเขยี นใบลาเสนอต่อ
ผบู้ งั คบั บญั ชาลว่ งหน้าไมน่ ้อยกวา่ 7 วนั และไดร้ บั อนุญาตโดยถูกตอ้ งแลว้ จงึ หยุดงานได้
➢ ลาคลอด

พนกั งานหญงิ มสี ทิ ธลิ าคลอดครรภห์ น่งึ ไม่เกนิ 90 วนั โดยบรษิ ทั จ่ายค่าจา้ งตลอดระยะเวลาทล่ี า
แต่ไม่เกนิ 45 วนั โดยย่นื ใบลาล่วงหน้าต่อผู้บงั คบั บญั ชาในกรณีทพ่ี นักงานไม่สามารถขออนุญาตจาก
ผบู้ งั คบั บญั ชา โดยตรงเป็นการล่วงหน้าได้ ใหส้ มาชกิ ในครอบครวั หรอื เพ่อื นร่วมงาน แจง้ การลาคลอด
แทนไดภ้ ายใน 3 วนั หลงั จากการหยุดงานเพอ่ื ลาคลอด
➢ ลาเพอ่ื การฝึ กอบรม

พนกั งานมสี ทิ ธลิ าเพอ่ื การฝึกอบรมหรอื พฒั นาความรคู้ วามสามารถของตนไดโ้ ดยไม่ไดร้ บั ค่า
จา้ งในกรณีต่อไปน้ี

1. การแรงงานและสวสั ดิการสงั คม รวมทงั้ การฝึกอบรมหรอื พฒั นาเก่ยี วกบั ทกั ษะเพ่อื เพิ่ม
ประสทิ ธภิ าพในการทางาน

2. การสอบวดั ผลทางการศกึ ษาทท่ี างราชการจดั หรอื อนุญาตใหจ้ ดั ขน้ึ
3. การฝึกอบรมหรอื พฒั นาความรคู้ วามสามารถตอ้ งมโี ครงการหรอื หลกั สตู รและช่วงเวลาจดั ท่ี

แน่นอนพนกั งานตอ้ งเขยี นใบลาเสนอต่อผบู้ งั คบั บญั ชาล่วงหน้าไม่น้อยกวา่ 7 วนั ก่อนวนั ลา
โดยระบุเหตทุ ล่ี าโดยชดั แจง้ และไดร้ บั อนุญาตโดยถกู ตอ้ งแลว้ จงึ หยุดงานได้
➢ ลาเพ่ือรบั ราชการทหาร เน่อื งจากเรยี กพลเพอ่ื ตรวจสอบ เพอ่ื ฝึกวชิ าทหารหรอื เพอ่ื ทดลองความ
พรงั่ พรอ้ มตามกฎหมายว่าดว้ ยการรบั ราชการทหาร
พนกั งานตอ้ งแสดงหมายเรยี กและเขยี นใบลาเสนอต่อผบู้ งั คบั บญั ชาทนั ทที ไ่ี ดร้ บั หมายเรยี ก
และเม่อื ไดร้ บั อนุญาตโดยถูกตอ้ งแลว้ จงึ หยุดงานไดก้ ารลาตามขอ้ น้ีใหไ้ ดร้ บั ค่าจา้ งเตม็ ตลอดระยะเวลา
ทล่ี าแต่ไม่เกนิ 60 วนั ต่อปี เวน้ แต่ทางราชการทหารจะกาหนดเป็นอย่างอ่นื เม่อื กลบั จากราชการทหาร
แลว้ ใหพ้ นกั งานนาหลกั ฐานทเ่ี ก่ยี วขอ้ งมามอบใหบ้ รษิ ทั ภายใน 7 วนั นับแต่วนั สน้ิ สุด หากนาหลกั ฐาน
มาแสดงไม่ไดใ้ หถ้ อื เป็นการขาดงานและอาจถูกพจิ ารณาโทษทางวนิ ัยพนักงานทถ่ี ูกเกณฑ์ทหารบรษิ ทั
ถอื วา่ พนกั งานพน้ สภาพการเป็นพนกั งานทนั ที
➢ ลาอปุ สมบท

พนกั งานชายทม่ี อี ายงุ านครบ 3 ปี ขน้ึ ไปมสี ทิ ธขิ อลาอุปสมบทไดไ้ มเ่ กนิ 14 วนั ทางานโดยได้
รบั ค่าจ้างพนักงานมีสิทธิลาอุปสมบทได้เพียงครงั้ เดียวตลอดระยะเวลาท่ีเป็นพนักงานของบรษิ ัท
พนักงานต้องย่ืนใบแจ้งความประสงค์ขอลาอุปสมบทภายในเดือนมกราคมของทุกปีเม่อื ได้รับการ
พจิ ารณาให้ลาได้แล้วพนักงานต้องเขยี นใบลาเสนอต่อผู้บงั คบั บญั ชาล่วงหน้าอย่างน้อย 15 วนั และ
ไดร้ บั อนุญาตแลว้ จงึ หยุดงานได้ พนักงานต้องนาหลกั ฐานการลาสกิ ขาบทหรอื เอกสารอ่นื ทท่ี างวดั ออก
ใหเ้ พอ่ื รบั รองการอุปสมบทมาแสดงต่อผูบ้ งั คบั บญั ชาในวนั แรกทก่ี ลบั มาทางานตามปกตหิ ากพนักงาน
ไมส่ ามารถนาหลกั ฐานมาแสดงบรษิ ทั ถอื ว่าเป็นการแสดงเจตนาทุจรติ และจะพจิ ารณาโทษทางวนิ ยั

8

➢ ลาประเภทอื่น

การลาประเภทอ่นื ไม่ว่ากรณใี ดนอกจากทร่ี ะบไุ ว้ ใหเ้ สนอขออนุญาตต่อกรรมการผจู้ ดั การหรอื ผู้
ไดร้ บั มอบหมายเป็นกรณไี ป
➢ การหยุดงานเน่ืองจากประสบอนั ตรายหรือเจบ็ ป่ วยจากการทางาน

ใหพ้ นกั งานหยุดพกั รกั ษาตวั ไดต้ ามทแ่ี พทยแ์ ผนปัจจุบนั ชนั้ หน่งึ กาหนดโดยมหี นงั สอื รบั รองเป็น
หลกั ฐานบรษิ ทั จะพจิ ารณาสทิ ธปิ ระโยชน์ใหพ้ นกั งานทต่ี อ้ งหยดุ งานเพราะเหตุตามขอ้ น้ี ใหเ้ ป็นไปตาม
ระเบยี บ หลกั เกณฑท์ บ่ี รษิ ทั กาหนดไว้ การหยดุ งานตามขอ้ น้ไี มถ่ อื เป็นการลาป่วย และไม่นาไปรวม
คานวณกบั การลาอ่นื ใด ซง่ึ มผี ลต่อการพจิ ารณาปรบั เงนิ เดอื นประจาปี

การลาทกุ กรณี พนกั งานตอ้ งเขยี นใบลาตามแบบทก่ี าหนดตามความเป็นจรงิ โดยเสนอขออนุมตั ิ
ผบู้ งั คบั บญั ชาทม่ี อี านาจและหากพนกั งานผใู้ ดเจตนาหรอื กระทาการใด ๆ ทใ่ี ชส้ ทิ ธลิ าเพอ่ื ตนเองหรอื
ผอู้ น่ื โดยมชิ อบบรษิ ทั ถอื วา่ พนกั งานนัน้ ขาดงานในวนั ทไ่ี มไ่ ดม้ าทางานและจงใจฝ่าฝืนระเบยี บขอ้ บงั คบั
ของบรษิ ทั โดยจะถกู พจิ ารณาลงโทษทางวนิ ยั ตามควรแก่กรณี และอาจจะพจิ ารณาไม่จ่ายเงนิ ค่าจา้ งใน
วนั ลาทไ่ี มไ่ ดร้ บั การอนุมตั ทิ ถ่ี อื ว่าเป็นการขาดงานดว้ ย

บทที่ 8 วินัยและการลงโทษทางวินัย
การดแู ลใหพ้ นกั งานปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บวนิ ยั ของบรษิ ทั เป็นหน้าทโ่ี ดยตรงของหวั หน้างานหากมี

การฝ่าฝืนใหห้ วั หน้างานหารอื กบั สว่ นทรพั ยากรบคุ คลและธุรการ เพอ่ื พจิ ารณาลงโทษดว้ ยความ
รอบคอบและเป็นธรรมกรณีดงั ต่อไปน้ี ถอื เป็นความผดิ ทางวนิ ัย

1. มาทางานสายหรอื กลบั กอ่ นเวลาทก่ี าหนดไวโ้ ดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากผบู้ งั คบั บญั ชา
2. นอนหรอื หลบั ในระหว่างเวลาปฏบิ ตั หิ น้าทห่ี รอื นางานอ่นื ทไ่ี ม่ใชง่ านของบรษิ ทั มาทาในเวลา

ปฏบิ ตั หิ น้าท่ี
3. ขาดงานโดยไม่มเี หตุผลอนั สมควรหรอื หยดุ งานโดยไม่ไดร้ บั อนุญาต
4. ออกนอกบรเิ วณบรษิ ทั ระหวา่ งเวลางาน เวน้ แตไ่ ดร้ บั อนุญาตจากผบู้ งั คบั บญั ชา
5. แสดงกริ ยิ าหรอื วาจาหยาบคาย ลว่ งเกนิ เหยยี ดหยามบุคคลภายนอกผมู้ าตดิ ตอ่ งานกบั

บรษิ ทั รวมถงึ ผบู้ งั คบั บญั ชาหรอื พนกั งานดว้ ยกนั
6. สบั เปลย่ี นบตั รบนั ทกึ เวลา ลงเวลาของผอู้ ่นื ของตนเองโดยเจตนาทุจรติ บนั ทกึ บตั รลงเวลา

เขา้ -ออกแทนผอู้ ่นื หรอื ยนิ ยอมใหผ้ อู้ น่ื บนั ทกึ บตั ร หรอื แกไ้ ขขอ้ ความในบตั รบนั ทกึ เวลาโดย
ไมไ่ ดร้ บั อนุญาต
7. ละทง้ิ หน้าท่ี ละเลยหน่วงเหน่ยี วงานโดยไม่มเี หตผุ ลอนั สมควร
8. เสพสรุ า สง่ิ มนึ เมาหรอื ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษหรอื นาสงิ่ ของดงั กลา่ วเข้ามาในบรเิ วณสถานท่ี
ทางานของบรษิ ทั หรอื เขา้ มานสถานทท่ี างานในลกั ษณะมนึ เมา
9. นาสงิ่ ของผดิ กฎหมายเขา้ มาในบรเิ วณบรษิ ทั
10. นาสงิ่ ของ อุปกรณ์ เคร่อื งมอื หรอื ผลติ ภณั ฑข์ องบรษิ ทั ไปใชใ้ นกจิ การสว่ นตวั หรอื นาออก
นอกทท่ี าการบรษิ ทั โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต

9

11. ฝ่าฝืนหรอื ไม่ปฏบิ ตั ติ ามกฎ ขอ้ บงั คบั ระเบยี บ ประกาศ คาสงั่ ของบรษิ ทั หรอื ของ
ผบู้ งั คบั บญั ชาทช่ี อบดว้ ยหน้าทแ่ี ละกฎหมาย

12. ปกป้อง ไม่ลงโทษผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาเม่อื ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชากระทาผดิ วนิ ยั
13. ยแุ หย่ แพรข่ า่ วอกุศลเพอ่ื กอ่ ใหเ้ กดิ ความแตกแยกในหม่พู นกั งาน
14. ทะเลาะววิ าท หรอื ยวั่ ยุ หรอื ทา้ ทายใหเ้ กดิ การตอ่ สู้
15. ทารา้ ยร่างกายซง่ึ กนั และกนั หรอื ทารา้ ยบคุ คลอน่ื ในสถานทท่ี างาน
16. ใหถ้ อ้ ยคา หรอื ขอ้ ความอนั เป็นเทจ็ ตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชา
17. เลน่ การพนนั ในสถานทท่ี างาน หรอื ในบรเิ วณบรษิ ทั
18. ขม่ ขู่ หรอื ใชอ้ านาจหน้าทบ่ี งั คบั หรอื แสดงอทิ ธพิ ลใด ๆ ใหพ้ นกั งานอ่นื เกดิ ความเกรงกลวั

เพอ่ื ประโยชน์สว่ นตวั หรอื ของผอู้ น่ื
19. แสดงนสิ ยั หรอื ความประพฤตหิ รอื แสดงตนเป็นอนั ธพาล
20. ทาลาย ต่อเตมิ หรอื แกไ้ ขขอ้ ความในประกาศหรอื คาสงั่ หรอื ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ของบรษิ ทั
21. พกพา หรอื นาอาวุธ หรอื วตั ถรุ ะเบดิ ใด ๆ เขา้ มาในสถานทท่ี างานโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตเป็น

ลายลกั ษณ์อกั ษรจากผบู้ งั คบั บญั ชา
22. เจตนาทาลายช่อื เสยี ง และความเช่อื ถอื ของบรษิ ทั ในทกุ กรณี
23. กระทาการใด โดยเจตนา ประมาทเลนิ เล่อขาดความระมดั ระวงั อนั อาจเป็นเหตใุ หบ้ รษิ ทั

ไดร้ บั ความเสยี หาย
24. รบั สนิ บนจากผอู้ ่นื หรอื แสวงหาผลกาไรจากบรษิ ทั โดยมชิ อบ
25. การใชอ้ านาจสงั่ ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาทางานใหต้ นเองในเวลางาน
26. กา้ วกา่ ยการปฏบิ ตั หิ น้าทข่ี องผอู้ น่ื หรอื เขา้ ไปในเขตปฏบิ ตั งิ านทต่ี นไม่มหี น้าทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
27. เปิดเผยความลบั ของบรษิ ทั
28. แกไ้ ข ปลอมแปลงเอกสารของบรษิ ทั
29. ไมแ่ ต่งชดุ เครอ่ื งแบบพนกั งานตามทบ่ี รษิ ทั กาหนดหรอื ไม่ตดิ บตั รพนกั งานตามทก่ี าหนด

ในขณะปฏบิ ตั หิ น้าท่ี
30. นาบคุ คลภายนอกซง่ึ ไมม่ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั บรษิ ทั เขา้ มาในบรษิ ทั โดยไมม่ เี หตุผลอนั สมควร

หรอื ไม่ไดร้ บั อนุญาตจากผบู้ งั คบั บญั ชา
31. การกระทาใด ๆ หรอื ก่อตวั ดาเนินงานเขา้ มสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารงานในนามของบุคคลหรอื

นติ บิ ุคคลใดทม่ี วี ตั ถุประสงคท์ างธุรกจิ คลา้ ยคลงึ กบั บรษิ ทั หรอื กระทาการขดั ตอ่ ผลประโยชน์
ของบรษิ ทั ไมว่ ่าโดยตรงหรอื โดยออ้ ม
32. ปฏบิ ตั ฝิ ่าฝืนกฎแห่งความปลอดภยั ในการทางาน
33. สบู บุหรใ่ี นบรเิ วณทห่ี า้ มสบู บุหร่ี
34. ก่อกวนความสงบสขุ ในสถานทท่ี างาน หรอื ผพู้ กั อาศยั ในอาคารบา้ นพกั ของบรษิ ทั
35. ไมช่ ว่ ยรกั ษาความสะอาดสานกั งาน บรเิ วณโรงงานและบา้ นพกั ของบรษิ ทั
36. ทาการเรย่ี ไรใด ๆ ในสถานทข่ี องบรษิ ทั หรอื บรเิ วณโรงงานโดยไม่ไดร้ บั อนุญาต

10

37. การกระทาใด ๆ นอกไปจากทก่ี ล่าวขา้ งตน้ หากโดยธรรมเนียมหรอื จารตี ประเพณโี ดยสามญั

สานึกของบุคคลทวั่ ไปถอื ว่าเป็นความผดิ แลว้ ใหถ้ อื วา่ การกระทานนั้ ๆ เป็นความผดิ ทางวนิ ัย
บทที่ 9 ความผิดทางวินัย , ระเบยี บการลงโทษ และผ้มู ีอานาจในการสงั่ พิจารณาลงโทษ

1. บรษิ ทั ฯ ไดก้ าหนดบทลงโทษสาหรบั พนกั งานทไ่ี ดก้ ระทาความผดิ วนิ ยั ทุจรติ ฝ่าฝืน

ระเบยี บ คาสงั่ หรอื ขอ้ บงั คบั ของบรษิ ทั ฯ ไวด้ งั ต่อไปน้ี

1.1.ตกั เตอื นดว้ ยวาจา พรอ้ มกบั ตดั คะแนนความประพฤติ

1.2.ตกั เตอื นเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร พรอ้ มกบั ตดั คะแนนความประพฤติ

1.3.ใหพ้ กั งานชวั่ คราว โดยไม่จ่ายเงนิ ค่าจา้ งในระหว่างพกั งาน พรอ้ มกบั ตดั คะแนนความ

ประพฤติ

1.4.ใหอ้ อก 1.5 เลกิ จา้ ง (โดยไมจ่ ่ายเงนิ คา่ ชดเชยใด ๆ)

ทงั้ น้บี รษิ ทั ฯ จะพจิ ารณาลงโทษพนกั งาน ตามความรา้ ยแรงของการกระทาความผดิ

2. พนกั งานทก่ี ระทาความผดิ ทางวนิ ยั ตามทไ่ี ดก้ าหนดไวใ้ นขอ้ น้ีจะไดร้ บั การตกั เตอื นเป็นลาย

ลกั ษณ์อกั ษร พรอ้ มทงั้ ตอ้ งถูกตดั คะแนนความประพฤตดิ ว้ ย

ลาดบั ที่ ความผิดทางวินัย ตดั

คะแนน

1. ประทบั บตั ร เขา้ -ออก แทนเพอ่ื น (พนกั งานจะถูกลงโทษทงั้ ผกู้ ระทาและ 5

เจา้ ของบตั ร

2. มาทางานสายเกนิ กว่าเวลาทก่ี าหนดไว้ 5 ครงั้ 3

3. ขาดงานไปโดยพละการ 1 วนั โดยไม่ไดร้ บั อนุญาตจากผบู้ งั คบั บญั ชาหรอื 3

เปลย่ี นวนั หยุดโดยพละการ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตจากผบู้ งั คบั บญั ชาล่วงหน้า

4. ปฏบิ ตั งิ านโดยไม่เอาใจใสต่ อ่ กฎรกั ษาความปลอดภยั ของบรษิ ทั ฯ 5

5. ปฏบิ ตั งิ านสะเพรา่ ขาดความระมดั ระวงั ทาใหเ้ กดิ ความเสยี หายแก่ทรพั ยส์ นิ 5

ของบรษิ ทั ฯ

6. ละเลยคาสงั่ ใหท้ างานล่วงเวลา หรอื ใหท้ างานในวนั หยุดหรอื ใหท้ างาน 3

ล่วงเวลาในวนั หยดุ

7. ไม่สวมเคร่อื งแบบและหรอื ตดิ บตั รประจาตวั พนกั งานตามระเบยี บของบรษิ ทั ฯ 2

8. สบู บหุ ร่ี และหรอื ทาใหเ้ กดิ ประกายไฟ ในสถานทท่ี างานและหรอื ในสถานท่ี 5

หา้ มสบู บหุ ร่ี

9. นอนหลบั ในชวั่ โมงทางาน 5

10. รบกวนพนกั งานอ่นื ซง่ึ กาลงั ปฏบิ ตั หิ น้าทอ่ี ยู่ 3

11. โยกยา้ ย หรอื เปลย่ี นแปลงทอ่ี ย่อู าศยั โดยไม่แจง้ ใหส้ ว่ นบคุ คล/ธุรการทราบ 2

12. ฝ่าฝืน ระเบยี บทวั่ ไปเกย่ี วกบั การปฏบิ ตั งิ าน ดงั ทไ่ี ดร้ ะบไุ วใ้ นบทท่ี 8 โดย 5

ตงั้ ใจ

13. กระทาความผดิ อ่นื ๆ ซง่ึ พนกั งานระดบั บรหิ าร เหน็ ชอบทจ่ี ะใหล้ งโทษภายใต้ 3

มาตรการน้ไี ด้

11

3. พนกั งานทก่ี ระทาความผดิ ทางวนิ ยั ตามทก่ี าหนดไวใ้ นขอ้ น้ี จะไดร้ บั การลงโทษใหพ้ กั งาน

เป็นการชวั่ คราว เป็นเวลา 1 ถงึ 5 วนั โดยไม่จา่ ยเงนิ ค่าจา้ งใหใ้ นระหว่างการพกั งาน พรอ้ ม

ทงั้ ตอ้ งถกู ตดั คะแนนความประพฤตดิ ว้ ย

ลาดบั ท่ี ความผิดทางวินัย ตดั คะแนน

1. กระทาความผดิ ทไ่ี ดก้ าหนดไวใ้ นขอ้ 2 ซา้ เป็นครงั้ ทส่ี องซง่ึ 10

ไดร้ บั การตกั เตอื นเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรแลว้ ในครงั้ ทห่ี น่ึง

2. ละทง้ิ งานในหน้าท่ี ไปในระหวา่ งชวั่ โมงทางาน 10

3. ละเลยต่อคาสงั่ อนั ชอบดว้ ยกฎหมายของผบู้ งั คบั บญั ชา ใน 10

การปฏบิ ตั งิ าน

4. ละเลย ไม่เอาใจใส่ หรอื ฝ่าฝืนคาสงั่ ของผบู้ งั คบั บญั ชาหรอื 10

ขอ้ บงั คบั เกย่ี วกบั การทางาน ซง่ึ เป็นเหตทุ าใหเ้ กดิ ความ

เสยี หาย ตอ่ การปฏบิ ตั งิ านและทรพั ยส์ นิ หรอื ช่อื เสยี งของ

บรษิ ทั ฯ

5. นาทรพั ยส์ นิ หรอื ผลติ ภณั ฑข์ องบรษิ ทั ฯ มาใชป้ ระโยชน์ 10

สว่ นตวั

6. ขาดความระมดั ระวงั ในการปฏบิ ตั งิ าน จนเป็นเหตุใหต้ นเอง 10

และหรอื ผอู้ ่นื ไดร้ บั อนั ตรายหรอื บาดเจบ็ หรอื ทาใหท้ รพั ยส์ นิ

ของบรษิ ทั ฯ เสยี หาย

7. มาทางานสายเป็นนิสยั หรอื เป็นประจา โดยไม่มเี หตุผลอนั 5

ควร หรอื ขาดงานเป็นเวลา 2 วนั ตดิ ต่อกนั โดยไมแ่ จง้ ให้

บรษิ ทั ฯ ทราบล่วงหน้าและโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตล่วงหน้า

8. ทาการปิดประกาศหรอื นาเอกสาร ทม่ี ไิ ดร้ บั อนุญาต มาตดิ 5

บนกระดานและหรอื บรเิ วณสถานท่ี ปิดประกาศของบรษิ ทั ฯ

และหรอื ทาการถอดถอน เคลอ่ื นยา้ ย เปลย่ี นแปลง เพมิ่ เตมิ

ขอ้ ความในสงิ่ พมิ พห์ รอื ประกาศหรอื คาสงั่ ของบรษิ ทั ฯ โดย

ไม่ไดร้ บั อนุญาตจากพนกั งานระดบั บรหิ าร

9. ปฏเิ สธทจ่ี ะใหพ้ นกั งานรกั ษาความปลอดภยั และหรอื ยาม 5

รกั ษาการตรวจคน้ กอ่ น เขา้ – ออก บรเิ วณบรษิ ทั ฯ

10. แจง้ เทจ็ ในการลาป่วย 10

11. กระทาความผดิ อ่นื ๆ ซง่ึ พนักงานระดบั บรหิ าร เหน็ ชอบทจ่ี ะ 5

ใหล้ งโทษภายใตม้ าตรการน้ีได้

12

4. พนกั งานทก่ี ระทาความผดิ ทางวนิ ยั ตามทก่ี าหนดไวใ้ นขอ้ น้ี บรษิ ทั จะพจิ ารณาเลกิ จา้ งโดย

ทนั ที และไม่จ่ายเงนิ ค่าชดเชยใด ๆ ทงั้ สน้ิ

ลาดบั ที่ ความผิดทางวินัย

1. กระทาความผดิ ทไ่ี ดก้ าหนดไวใ้ นขอ้ 2 ซา้ เป็นครงั้ ทส่ี าม หรอื ในขอ้ ท่ี 3 ซ้า

เป็นครงั้ ทส่ี อง ซง่ึ ไดร้ บั การตกั เตอื นเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรแลว้

2. แสดงวาจา หรอื กริ ยิ าหยาบคาย ไม่สุภาพ กา้ วรา้ ว ต่อผบู้ งั คบั บญั ชา

3. ขาดความสามารถทจ่ี ะปฏบิ ตั งิ านใหส้ าเรจ็ ลลุ ่วงไปตามหน้าทท่ี ไ่ี ด้

รบั ผดิ ชอบและตามคาสงั่ ของบรษิ ทั ฯ

4. กลา่ วหาใหร้ า้ ยป้ายสบี รษิ ทั ฯ ในทส่ี าธารณะ โดยไม่มมี ูลความจรงิ โดยมี

เจตนาทจ่ี ะใหบ้ รษิ ทั ฯ ไดร้ บั ความเสยี หาย

5. เจตนาแกไ้ ขการบนั ทกึ เวลาทางาน หรอื บตั รประทบั ตราเวลาทางาน ตาม

วนั ทางานปกติ การทางานล่วงเวลา การทางานในวนั หยุด และการทางาน

ลว่ งเวลาในวนั หยุด

6. เป็นผกู้ อ่ เหตุ และหรอื เป็นผรู้ ว่ มกอ่ เหตุ ทะเลาะววิ าท ทารา้ ยร่างกาย ขเู่ ขญ็

หรอื ชกั จงู ใหก้ อ่ เหตุทะเลาะววิ าท ระหว่างพนกั งานดว้ ยกนั เองหรอื กระทา

ต่อผบู้ งั คบั บญั ชาในบรเิ วณบรษิ ทั ฯ หรอื สถานทท่ี าการของบรษิ ทั ฯ ทงั้ ใน

และนอกเวลา

7. มคี วามเกยี จครา้ นในการทางาน ขาดงานตดิ ต่อกนั บ่อยครงั้ หรอื ขาดงาน

ตดิ ต่อกนั เป็นเวลา 3 วนั ทางาน โดยไม่มเี หตผุ ลอนั ควรหรอื โดยไมไ่ ดร้ บั

อนุญาตลว่ งหน้า

8. เขา้ ทางานในหน้าท่ี ในขณะทม่ี อี าการมนึ เมา เน่อื งจากด่มื เคร่อื งดองของ

เมาและหรอื เสพยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ก่อนเขา้ มาทางาน หรอื ด่มื เครอ่ื งดองของ

เมาและหรอื ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ ในขณะทก่ี าลงั ทางานในหน้าท่ี

9. พกพา หรอื นาเอา อาวุธ เคร่อื งกระสุนปืน วตั ถุระเบดิ เครอ่ื งดองของเมา

ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษและหรอื สงิ่ ของทผ่ี ดิ กฎหมายทุกชนิดและทกุ ประเภท เขา้

มาภายในบรเิ วณบรษิ ทั ฯ หรอื สถานทท่ี าการของบรษิ ทั โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต

10. การกระทาความผดิ ตามกฎหมาย และไดร้ บั คาพพิ ากษาถงึ ทส่ี ุดใหจ้ าคกุ

11. เล่นการพนนั รวมทงั้ การเล่นแชรแ์ ละสงิ่ ทผ่ี ดิ กฎหมายทกุ ชนดิ และทุก

ประเภทภายในบรเิ วณบรษิ ทั ฯ หรอื สถานทท่ี าการของบรษิ ทั ฯทงั้ ในขณะท่ี

กาลงั ทางานหรอื เลกิ การทางานแลว้ กต็ าม

12. จงใจกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย หรอื ทาลายทรพั ยส์ นิ ของบรษิ ทั ฯ หรอื ของ

ผบู้ งั คบั บญั ชาหรอื ของพนกั งานผู้รว่ มงาน

13. ลกั ขโมย หรอื ฉ้อโกงเงนิ หรอื ทรพั ยส์ นิ หรอื ผลติ ภณั ฑ์ ของบรษิ ทั ฯหรอื ของ

ผบู้ งั คบั บญั ชา หรอื ของพนกั งานผรู้ ว่ มงาน

13

ลาดบั ที่ ความผิดทางวินัย
14.
15. นา พา หรอื เคลอ่ื นยา้ ย เอกสาร สงิ่ ตพี มิ พ์ และหรอื ความลบั ตา่ ง ๆ ของ
16. บรษิ ทั ฯ ไปเปิดเผยใหบ้ คุ คลภายนอกไดร้ บั รู้ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต
17. ทจุ รติ หรอื กระทาความผดิ ตามกฎหมาย โดยเจตนารา้ ยตอ่ บรษิ ทั ฯและหรอื
18. ผบู้ งั คบั บญั ชา
ใหข้ อ้ มลู อนั เป็นเทจ็ และหรอื ปลอมแปลงเอกสารสาคญั ทเ่ี ป็นสว่ นประกอบ
19. ในการสมคั รเขา้ ทางานกบั บรษิ ทั ฯ และทาใหบ้ รษิ ทั ฯ หลงผดิ ในขอ้ มลู นนั้
20. ปลอมแปลงเอกสารทางราชการ
21. นา พา หรอื เคลอ่ื นยา้ ยทรพั ยส์ นิ ของบรษิ ทั ฯ หรอื ของผบู้ งั คบั บญั ชาหรอื
ของพนกั งานผรู้ ว่ มงาน ออกจากบรเิ วณบรษิ ทั ฯ หรอื สถานทท่ี าการของ
บรษิ ทั ฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาตหรอื โดยไมถ่ ูกตอ้ งตามระเบยี บเพอ่ื
ผลประโยชน์สว่ นตวั และทาใหบ้ รษิ ทั ฯ หรอื ผบู้ งั คบั บญั ชา หรอื พนกั งาน
ผรู้ ่วมงาน ไดร้ บั ความเสยี หาย
ประมาท เลนิ เลอ่ จนเป็นเหตใุ หบ้ รษิ ทั ฯ ไดร้ บั ความเสยี หายอย่างรา้ ยแรง
ทาลายทรพั ยส์ นิ ทุกชนิดของบรษิ ทั ฯ หรอื ของผบู้ งั คบั บญั ชา หรอื ของ
พนกั งานผรู้ ่วมงาน
กระทาความผดิ รา้ ยแรงอ่นื ๆ ซง่ึ พนกั งานระดบั บรหิ าร เหน็ ชอบทจ่ี ะให้
ลงโทษทางวนิ ัย ภายใตม้ าตรการน้ี

5. การตดั คะแนนความประพฤติ
5.1.ถา้ พนกั งานถกู ตดั คะแนนความประพฤติ ตงั้ แต่ 10 แตไ่ ม่เกนิ 19 คะแนน ภายใน 1 ปี
พนกั งานจะไม่มสี ทิ ธไิ์ ดร้ บั การพจิ ารณาดงั น้ี
- ปรบั และหรอื เลอ่ื นตาแหน่ง ในปีนนั้ (ถา้ ม)ี
5.2.ถา้ พนกั งานถูกตดั คะแนนความประพฤติ ตงั้ แต่ 20 แต่ไมเ่ กนิ 29 คะแนน ภายใน 1 ปี
- ปรบั และหรอื เลอ่ื นตาแหน่ง ในปีนนั้ (ถา้ ม)ี
- เงนิ ปันผลประจาปี ในปีนนั้ (ถา้ ม)ี
เกณฑก์ ารพจิ ารณาจ่ายเงนิ ปันผล กรณีทม่ี กี ารถูกตดั คะแนนความประพฤติ
1. กรณีทค่ี ะแนนความประพฤตขิ องเดอื นมกราคม-เดอื นมถิ ุนายนไม่เกนิ 19
คะแนน มสี ทิ ธไิ์ ดร้ บั เงนิ ปันผลของเดอื นมกราคม-เดอื นมถิ นุ ายนตามปกติ
2. กรณีคะแนนความประพฤตขิ องเดอื นมกราคม-เดอื นมถิ ุนายนเกนิ 19
คะแนนจะไม่มสี ทิ ธไิ ดร้ บั เงนิ ปันผลเดอื นมกราคม-มถิ นุ ายนรวมถงึ ของ
เดอื นกรกฎาคม-เดอื นธนั วาคมดว้ ย

14

3. กรณีคะแนนความประพฤติของเดอื นมกราคม-เดอื นมถิ ุนายนไม่เกนิ 19
คะแนนมสี ทิ ธไิ์ ดร้ บั เงนิ ปันผลของเดอื นมกราคม-เดอื นมถิ ุนายนตามปกติ
(ตามข้อ1)แต่ถ้าคะแนนตามข้อ 1 รวมกับคะแนนฯ ช่วงระหว่างเดือน
กรกฎาคม-เดอื นธนั วาคมเกนิ 19 คะแนน จะไม่มสี ทิ ธไิ ดร้ บั เงนิ ปันผลของ
เดอื นกรกฎาคม-เดอื นธนั วาคม

6. ผมู้ อี านาจการสงั่ พจิ ารณาลงโทษ
เพอ่ื ใหก้ ารพจิ ารณาลงโทษพนกั งาน ตามขอ้ 1 ดงั กลา่ วขา้ งตน้ เป็นไปโดยยตุ ธิ รรมถกู

ตอ้ งและเหมาะสมกบั สภาพความผดิ ดงั นนั้ บรษิ ทั ฯ ในฐานะนายจา้ ง จงึ มอบหมายอานาจหน้าท่ี
ใหบ้ ุคคลผดู้ ารงตาแหน่งต่อไปน้ี เป็นผมู้ อี านาจพจิ ารณาลงโทษพนกั งาน ทไ่ี ดก้ ระทาความผดิ
ระเบยี บขอ้ บงั คบั ทไ่ี ดก้ าหนดไวต้ ามขนั้ ตอนขา้ งตน้ ดงั น้ี

6.1.หวั หน้าแผนก หวั หน้าสว่ น หรอื ผจู้ ดั การสว่ นในแต่ละหน่วยงาน มอี านาจ
6.1.1. ตกั เตอื นดว้ ยวาจา
6.1.2. ตกั เตอื นเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร

6.2.หวั หน้าแผนก หวั หน้าสว่ น หรอื ผจู้ ดั การสว่ น ในแตล่ ะหน่วยงาน รว่ มกบั หวั หน้าสว่ น
บคุ คล/ธุรการและหรอื ผจู้ ดั การสว่ นทรพั ยากรบคุ คลมอี านาจสงั่ พกั งานพนกั งานไดเ้ ป็น
การชวั่ คราว

6.3.หวั หน้าแผนก หวั หน้าสว่ น หรอื ผจู้ ดั การสว่ นในแต่ละหน่วยงาน ร่วมกบั หวั หน้าสว่ น
บคุ คล/ธุรการ หรอื ผจู้ ดั การสว่ นทรพั ยากรบุคคล รว่ มกบั ผจู้ ดั การทวั่ ไปและหรอื ผูช้ ่วย
กรรมการผจู้ ดั การหรอื กรรมการผจู้ ดั การมอี านาจสงั่ เลกิ จา้ งพนกั งานได้

7. การพกั งานระหว่างทาการสอบสวนหาความผดิ
ในกรณีทพ่ี นกั งานถูกกลา่ วหาว่ากระทาความผดิ บรษิ ทั ฯมสี ทิ ธสิ์ งั่ พกั งานพนกั งานทถ่ี ูก

กล่าวหาว่ากระทาความผดิ ในระหว่างการสอบสวนหาขอ้ เทจ็ จรงิ ได้ ทงั้ น้ีไม่เกนิ ระยะเวลา 7 วนั
ในระหว่างการพกั งานดงั กล่าว บรษิ ทั ฯ จะจ่ายเงนิ ใหก้ บั พนกั งานในอตั รารอ้ ยละหา้ สบิ

ของค่าจา้ งในวนั ทางานทพ่ี นกั งานไดร้ บั กอ่ นถกู สงั่ พกั งาน
เม่อื การสอบสวนเสรจ็ สน้ิ แลว้ ปรากฏวา่ พนกั งานไมม่ คี วามผดิ บรษิ ทั ฯ จะจ่ายค่าจา้ งให้

กบั พนกั งานถกู สงั่ พกั งานเป็นตน้ ไป โดยใหค้ านวณเงนิ ทบ่ี รษิ ทั ฯ จ่ายใหก้ บั พนกั งานตามวรรค
เป็นสว่ นหน่งึ ของคา่ จา้ งตามวรรค 3 น้ี พรอ้ มดว้ ยดอกเบย้ี รอ้ ยละสบิ หา้ ตอ่ ปี
8. อายุความของการลงโทษทางวนิ ยั

กรณที พ่ี นกั งานกระทาความผดิ แลว้ ไดร้ บั การลงโทษทางวนิ ัย หนงั สอื แจง้ การลงโทษ
หรอื การลงโทษตามความผดิ นนั้ ๆดว้ ยวธิ กี ารใดๆกต็ าม จะมอี ายุความ 2 ปี นบั แต่วนั ทร่ี ะบุ
การลงโทษตามความผดิ นนั้ ๆ

15

บทที่ 10 การร้องทกุ ข์

การรอ้ งทุกข์ หมายถงึ การรอ้ งเรยี นของพนกั งานตอ่ บรษิ ทั ในเรอ่ื งทเ่ี หน็ ว่าไมไ่ ดร้ บั ความเป็น
ธรรมหรอื มกี ารปฏบิ ตั ทิ ไ่ี ม่ถูกตอ้ งการละเลยไม่ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ บงั คบั การทางานผรู้ อ้ งทุกขต์ อ้ งปฏบิ ตั ติ าม
ขนั้ ตอนหรอื กระบวนการรอ้ งทุกขท์ บ่ี รษิ ทั กาหนดขอบเขตการรอ้ งทกุ ข์ พนกั งานมสี ทิ ธริ อ้ งทกุ ขไ์ ดใ้ น
เร่อื งดงั น้ี

1. สภาพการจา้ ง เช่น เงอ่ื นไขการจา้ ง หรอื การทางานวนั และเวลาทางาน ค่าจา้ ง สวสั ดกิ าร
และการเลกิ จา้ ง เป็นตน้

2. สภาพการทางาน เช่น การปกครองบงั คบั บญั ชา การสงั่ และมอบหมายงานการปฏบิ ตั ทิ ไ่ี ม่
เหมาะสมของบรษิ ทั หรอื ผบู้ งั คบั บญั ชาต่อพนกั งานหรอื พนกั งานดว้ ยกนั และสง่ิ แวดลอ้ มใน
การทางานเป็นตน้

3. สทิ ธปิ ระโยชน์ตา่ ง ๆ เชน่ คา่ ตอบแทนพเิ ศษ เป็นตน้
4. การดาเนินการดงั ต่อไปน้ไี ม่ถอื วา่ เป็นการรอ้ งทกุ ข์

4.1.เรอ่ื งนอกเหนอื จากทร่ี ะบไุ วข้ า้ งตน้
4.2.การบรหิ ารงานของบรษิ ทั หรอื ฝ่ายจดั การ
4.3.หนงั สอื รอ้ งทกุ ขท์ ไ่ี ม่ระบุช่อื นามสกลุ ของผรู้ อ้ งทกุ ขแ์ ละไม่ลงลายมอื ชอ่ื ของผรู้ อ้ งทุกข์
4.4.บตั รสนเทห่ ์ ใบปลวิ แถลงการณ์ หรอื หนงั สอื แสดงความคดิ เหน็ ต่าง ๆ
5. วธิ กี ารรอ้ งทกุ ข์
5.1.การรอ้ งทกุ ขด์ ว้ ยวาจาพนกั งานอาจนาปัญหาหรอื เร่อื งทต่ี อ้ งการจะรอ้ งทกุ ขไ์ ป

ปรกึ ษาหารอื กบั ผบู้ งั คบั บญั ชาหรอื สว่ นทรพั ยากรบคุ คล เพอ่ื ขอความเหน็ หรอื หาขอ้ ยุติ
ของปัญหาได้
5.2.การรอ้ งทุกขเ์ ป็นหนงั สอื
5.3.เม่อื รอ้ งทุกขแ์ ลว้ ยงั ไม่อาจยุตปิ ัญหาได้ ผรู้ อ้ งทุกขม์ สี ทิ ธอิ ุทธรณ์ขอ้ รอ้ งทุกขไ์ ด้
6. กระบวนการยุตขิ อ้ รอ้ งทุกข์
6.1.การรอ้ งทุกขด์ ว้ ยวาจา หากสามารถทาความเขา้ ใจหรอื ตกลงกนั ไดใ้ หถ้ อื วา่ ยุติ หากตก
ลงกนั ไม่ไดใ้ หผ้ รู้ อ้ งทุกขร์ อ้ งทุกขเ์ ป็นหนงั สอื ต่อไป
6.2.การรอ้ งทกุ ขเ์ ป็นหนงั สอื ใหย้ น่ื ภายใน 5 วนั ทางานนบั แต่ทราบผลการพจิ ารณาในขนั้ ท่ี
1 มฉิ ะนนั้ จะถอื ว่าเร่อื งยุติ เมอ่ื ไดร้ บั คารอ้ งทุกขแ์ ลว้ ผบู้ งั คบั บญั ชาจะพจิ ารณาและแจง้
ใหพ้ นกั งานทราบผลภายใน 15 วนั และรายงานใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาทราบตามลาดบั ชนั้
ตอ่ ไป
6.3.การอทุ ธรณ์ขอ้ รอ้ งทุกขห์ ากพนกั งานไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั คาตดั สนิ เบอ้ื งตน้ ของผบู้ งั คบั บญั ชา
สามารถอุทธรณ์ต่อกรรมการผจู้ ดั การไดภ้ ายใน 7 วนั ทางานนบั แตว่ นั ทร่ี บั ทราบผลการ
ตดั สนิ กรรมการผจู้ ดั การจะพจิ ารณาวนิ ิจฉยั คาอทุ ธรณ์และแจง้ ใหพ้ นกั งานทราบภาย
ใน 30 วนั นบั แต่รบั คาอทุ ธรณ์ คาวนิ ิจฉยั ของกรรมการผจู้ ดั การถอื เป็นทส่ี ุด

16

7. บรษิ ทั จะใหค้ วามคุม้ ครองผรู้ อ้ งทกุ ขแ์ ละผทู้ เ่ี ก่ยี วขอ้ ง โดย
8.1.บรษิ ทั ฯจะปกปิดชอ่ื ผรู้ อ้ งทุกขแ์ ละผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งเป็นความลบั
8.2.เรอ่ื งทร่ี อ้ งทกุ ขถ์ อื วา่ เป็นเร่อื งเฉพาะตวั บรษิ ทั จะปกปิดเป็นความลบั เวน้ แต่ผรู้ อ้ งทุกขจ์ ะ
ยนิ ยอมหรอื ตกลงใหเ้ ปิดเผย
8.3.บรษิ ทั ฯ จะไม่นาเร่อื งรอ้ งทุกขไ์ ปประกอบการพจิ ารณาสทิ ธปิ ระโยชน์หรอื การ
ประเมนิ ผลงานหรอื ฟ้องรอ้ งหรอื ดาเนินคดี เวน้ แต่ปรากฏว่าการรอ้ งทุกขน์ นั้ เป็นเทจ็
กลนั่ แกลง้ ผอู้ น่ื ใหร้ า้ ยผอู้ ่นื ทาใหเ้ สยี หาย
8.4.การรอ้ งทกุ ขเ์ ป็นเทจ็ กลนั่ แกลง้ ผอู้ ่นื ใหร้ า้ ยผอู้ ่นื ทาใหผ้ อู้ ่นื เสยี หายถอื วา่ เป็นความผดิ
ทางวนิ ยั ดว้ ย

บทที่ 11 การพ้นสภาพการเป็นพนักงาน

พนกั งานจะพน้ สภาพการเป็นพนกั งานของบรษิ ทั ในกรณีดงั น้ี
1. ตาย
2. ลาออก
3. เกษยี ณอายุ
4. ปลดออก/เลกิ จา้ ง
5. ถูกลงโทษทางวนิ ยั ถงึ ขนั้ เลกิ จา้ ง
➢ การลาออก

พนกั งานทป่ี ระสงคจ์ ะลาออกตอ้ งยน่ื หนงั สอื ตามแบบกาหนดต่อผบู้ งั คบั บญั ชาล่วงหน้าอย่าง
น้อย 30 ก่อนถงึ วนั ทพ่ี นกั งานประสงคจ์ ะลาออก
➢ เกษียณอายุ

พนกั งานทงั้ ชายและหญงิ จะครบเกษยี ณเม่อื อายคุ รบ 60 ปี บรบิ ูรณ์ จะพน้ สภาพการเป็น
พนกั งาน ตงั้ แตว่ นั ท่ี 1 มกราคมขอปีถดั ไป
➢ ปลดออก / เลิกจ้าง

บรษิ ทั จะพจิ ารณาปลด / เลกิ จา้ งพนกั งานออกจากงานโดยใหไ้ ดร้ บั ค่าชดเชยในกรณตี อ่ ไปน้ี
1. ยุบหน่วยงานหรอื ลดอตั รากาลงั
2. เจบ็ ป่วย หรอื สขุ ภาพไม่แขง็ แรง หรอื ถงึ ขนั้ ทพุ พลภาพหรอื แพทยแ์ ผนปัจจุบนั ชนั้ หน่ึงลง

ความเหน็ วา่ เป็นโรคเรอ้ื รงั หรอื เป็นโรคตดิ ตอ่ รา้ ยแรงอาจเป็นอนั ตรายต่อพนกั งานอ่นื
3. หย่อนสมรรถภาพในหน้าทห่ี รอื ไรค้ วามสามารถหรอื จติ ฟัน่ เฟือน
4. การประสบอนั ตรายหรอื การเจบ็ ป่วยเน่อื งจากการทางานทต่ี อ้ งใชเ้ วลาในการรกั ษาตวั นาน

เกนิ กวา่ 1 ปีขน้ึ ไป แต่ทงั้ น้ใี หอ้ ย่ใู นดลุ พนิ ิจของบรษิ ทั ดว้ ย
5. ในกรณอี ่นื ๆ ทบ่ี รษิ ทั พจิ ารณาเหน็ สมควร
พนกั งานทพ่ี น้ สภาพของบรษิ ทั ไม่วา่ กรณีใด จะตอ้ งสง่ มอบงานและทรพั ยส์ นิ ของบรษิ ทั ทอ่ี ยใู่ น
ความครอบครองหรอื ในความรบั ผดิ ชอบใหเ้ ป็นทเ่ี รยี บรอ้ ยก่อนวนั พน้ สภาพการเป็นพนกั งานจะมผี ล

17

บทท่ี 12 การจ่ายค่าชดเชย

บรษิ ทั จะจ่ายค่าชดเชยใหพ้ นกั งานทถ่ี กู เลกิ จา้ งโดยไม่มคี วามผดิ ตามหลกั เกณฑ์ ดงั น้ี
1. ทางานครบ 120 วนั แต่ไมค่ รบ 1 ปี ไดร้ บั ไม่น้อยกวา่ ค่าจา้ งสุดทา้ ย 30 วนั
2. ทางานครบ 1 ปี แตไ่ มค่ รบ 3 ปีไดร้ บั ไม่น้อยกวา่ ค่าจา้ งสดุ ทา้ ย 90 วนั
3. ทางานครบ 3 ปี แตไ่ ม่ครบ 6 ปี ไดร้ บั ไม่น้อยกวา่ คา่ จา้ งสดุ ทา้ ย 180 วนั
4. ทางานครบ 6 ปี แตไ่ มค่ รบ 10 ปีไดร้ บั ไม่น้อยกว่าค่าจา้ งสดุ ทา้ ย 240 วนั
5. ทางานครบ 10 ปี ขน้ึ ไปมสี ทิ ธไิ ดร้ บั ไม่น้อยกวา่ ค่าจา้ งสุดทา้ ย 300 วนั

18

หมวดที่ 2 ผลประโยชน์และสวสั ดิการ

บทท่ี 1 เงินรางวลั ประจาปี (เงินปันผล)

บรษิ ทั จะจ่ายเงนิ ปันผลใหแ้ กพ่ นกั งานตามผลประกอบการปีละ 2 ครงั้ ดงั น้ี
ครงั้ ท่ี 1 ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านเดอื นมกราคม ถงึ เดอื นมถิ นุ ายน จา่ ยเงนิ ปันผลใน

เดอื นกรกฎาคม
ครงั้ ท่ี 2 ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ านเดอื นกรกฎาคมถงึ เดอื นธนั วาคมจ่ายเงนิ ปันผลใน

เดอื นมกราคม ของปีถดั ไป

บทท่ี 2 ประกนั อบุ ตั ิเหตุประกนั ชีวิต ประกนั สขุ ภาพ และการตรวจร่างกายประจาปี

บรษิ ทั ไดจ้ ดั ใหม้ กี รมธรรมป์ ระกนั ภยั กลุ่มใหแ้ กพ่ นกั งาน โดยพนกั งานมสี ทิ ธไิ ดร้ บั การคุม้ ครอง

ดงั น้ี

ตารางผลประโยชน์ เคลมได้

ประกนั ชวี ติ 50,000

ประกนั อบุ ตั เิ หตุ แบบมรณกรรมและสญู เสยี อวยั วะ (แขน ขา ตา) และทุพพลภาพ 50,000

อย่างถาวรโดยขยายความคุม้ ครอง :

- การถูกฆาตกรรม ลอบทารา้ ย เมาสุรา รวมถงึ การขบั ขห่ี รอื โดยสาร

รถจกั รยานยนต์

ประกนั ทุพพลภาพทงั้ หมดอย่างถาวรเน่อื งจากอุบตั เิ หตหุ รอื เจบ็ ป่วย 50,000

ประกนั สขุ ภาพ (ผปู้ ่วยใน) รกั ษาในโรงพยาบาลต่อเน่อื ง 6 ชวั่ โมง

ก. ค่าหอ้ งและคา่ อาหาร/วนั (สงู สดุ 31 วนั ) 500

คา่ หอ้ งพกั ผปู้ ่วยหนกั (ไอ.ซ.ี ย)ู (สงู สุด 7 วนั ) 1,000

ข. ค่ารกั ษาพยาบาลอน่ื ๆ 9,000

(รวมถงึ ค่ารกั ษาพยาบาลตอ่ เน่อื งแบบผปู้ ่วยนอกภายใน 31 วนั หลงั จากออก

โรงพยาบาลแลว้ )

(คา่ รถพยาบาล/ตอ่ การเจบ็ ป่วย/ตอ่ เทย่ี ว และรวมอยใู่ น ข.) 500

ค. ค่าแพทยผ์ ่าตดั (แบบแยกประเภทการผา่ ตดั ) 9,500

ง. ค่าเยย่ี มของแพทย/์ วนั (1 ครงั้ /วนั สูงสดุ 31 วนั ) 250

จ. คา่ รกั ษาพยาบาลผปู้ ่วยนอกฉุกเฉิน(กรณอี บุ ตั เิ หต)ุ 2,000

(เขา้ รกั ษาภายใน 24 ชวั่ โมงนบั จากเกดิ อุบตั เิ หตุและรวมการรกั ษาตอ่ เน่อื ง

ภายใน

31 วนั )

ฉ. ค่าปรกึ ษาแพทยผ์ เู้ ชย่ี วชาญเฉพาะโรค(รวมอยใู่ น ข หรอื ค แลว้ แต่กรณ)ี 2,000

ผลประโยชน์ผปู้ ่วยนอก (คลนิ กิ ) ( 1ครงั้ /วนั , 30 ครงั้ /ปีกรมธรรม์ ) 300

19

บรษิ ทั ฯ จดั ใหม้ กี ารตรวจสุขภาพประจาปีใหก้ บั พนกั งานทกุ ปี ในช่วงปลายปี

บทที่ 3 กรณีพนักงานหรือญาติสนิทเสียชีวิต

กรณีพนกั งานหรอื บดิ ามารดา บตุ ร ภรรยา หรอื สามขี องพนกั งานเสยี ชวี ติ บรษิ ทั จะมกี าร

ร่วมงานศพและมเี งนิ ชว่ ยทาบญุ พรอ้ มจดั พวงหรดี เคารพศพดงั น้ี

1. คา่ พวงหรดี 1 พวง ราคา 500 บาท

2. เงนิ ทาบุญงานศพ จานวน 3,000 บาท

รวม 3,500 บาท

บทท่ี 4 เครอื่ งแบบพนักงาน

บรษิ ทั จดั สวสั ดกิ ารเคร่อื งแบบพนกั งานใหก้ บั พนกั งานซง่ึ ผ่านทดลองงานแลว้ ตามหลกั เกณฑ์
ดงั น้ี

1. บรษิ ทั ฯ จะแจกเครอ่ื งแบบพนกั งาน จานวน 3 ตวั ต่อคน ต่อปี
2. เม่อื พนกั งานไดร้ บั เครอ่ื งแบบพนกั งานแลว้ ตอ้ งสวมใสเ่ ครอ่ื งแบบทบ่ี รษิ ทั กาหนดใหม้ า

ปฏบิ ตั งิ าน เพอ่ื ความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย กาหนดใสเ่ ครอ่ื งแบบ วนั จนั ทร์ – วนั ศุกร์ และ
วนั เสารช์ ุดสุภาพ
3. บรษิ ทั ขอสงวนสทิ ธใิ์ นการกาหนดจานวน รูปแบบหรอื สขี องเคร่อื งแบบพนกั งาน ทงั้ น้เี พอ่ื
ความเหมาะสม

บทท่ี 5 ค่าเบยี้ เลี้ยง ค่าท่ีพกั และค่าใช้จ่ายต่าง ๆ

กรณีเดนิ ทางไปปฏบิ ตั หิ น้าทต่ี ่างจงั หวดั หรอื ตา่ งประเทศ พนกั งานสามารถเบกิ เบย้ี เลย้ี งค่าทพ่ี กั
และคา่ ใชจ้ ่ายต่าง ๆ ไดต้ ามระเบยี บของบรษิ ทั

บทที่ 6 บ้านพกั พนักงาน

บรษิ ทั ไดจ้ ดั ใหม้ บี า้ นพกั พนกั งานเพอ่ื เป็นการอานวยความสะดวกในการทางาน ใหก้ บั พนกั งาน
ในสว่ นของโรงงาน โดยพนกั งานจะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บการใชบ้ า้ นพกั พนกั งานอย่างเคร่งครดั

บทท่ี 7 การเข้าเยีย่ มไข้ / คลอดบุตร

1. กรณีพนกั งานเจบ็ ป่วยตอ้ งเขา้ รบั การรกั ษาเป็นคนไขใ้ นโรงพยาบาลจะมกี ระเชา้ และสง่
ตวั แทนเยย่ี มไข้

2. กรณีพนกั งานหญงิ หรอื ภรรยาพนกั งานชายคลอดบตุ ร จะมี กระเชา้ /ของขวญั มอบใหเ้ พอ่ื
แสดงความยนิ ดี

บทที่ 8 เงินช่วยเหลอื กรณีประสบภยั ธรรมชาติ

กรณที พ่ี นกั งานประสบภยั ธรรมชาติ บรษิ ทั จะจดั ความช่วยเหลอื ใหแ้ กพ่ นกั งานในรูปแบบและ
อตั ราทเ่ี หมาะสม เพอ่ื บรรเทาความเดอื ดรอ้ นและลดความตงึ เครยี ดใหแ้ ก่พนกั งานและครอบครวั

20

บทท่ี 9 อบรม/สมั มนา/ดงู าน
เพอ่ื เปิดโอกาสใหพ้ นกั งานไดศ้ กึ ษาเรยี นรู้ บรษิ ทั ไดม้ นี โยบายใหพ้ นกั งานไดร้ บั การ อบรม

สมั มนา และศกึ ษาดงู านตามสถานทต่ี า่ ง ๆ อนั จะเป็นประโยชน์ต่อพนกั งานทจ่ี ะนาความรทู้ ไ่ี ดม้ าพฒั นา
องคก์ รใหเ้ จรญิ กา้ วหน้า อกี ทงั้ พฒั นาทกั ษะและฝีมอื ในการทางานรวมทงั้ การนาความรทู้ ไ่ี ดร้ บั มา
ถ่ายทอดสเู่ พอ่ื นพนกั งานเพ่อื ช่วยในการพฒั นาความคดิ และหลกั การปฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ประโยชน์ต่อไป

บทท่ี 10 กีฬา ท่องเที่ยว สงั สรรคป์ ระจาปี
1. กฬี า บรษิ ทั ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารแขง่ ขนั กฬี าภายในเครอื BKG ประจาทุกปี เพอ่ื เป็นการประสาน
ความสมั พนั ธแ์ ละก่อใหเ้ กดิ ความรกั ความสามคั คแี ก่พนกั งานในบรษิ ทั และพนกั งานจาก
บรษิ ทั ในเครอื อกี ทงั้ เป็นการสง่ เสรมิ ใหพ้ นกั งานใชเ้ วลาว่างในการฝึกซอ้ มกฬี าอนั จะเกดิ
ประโยชน์ต่อสุขภาพของพนกั งานเองและยงั เป็นการใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ จะได้
ห่างไกลจากยาเสพตดิ และอบายมขุ ทงั้ ปวง
2. ทอ่ งเทย่ี ว บรษิ ทั ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารท่องเทย่ี วและทศั นะศกึ ษาประจาปีใหแ้ ก่พนกั งาน เพ่อื เป็น
การพกั ผ่อนหยอ่ นใจเป็นประจาทกุ ปี
3. งานเลย้ี งสงั สรรค์ บรษิ ทั ไดจ้ ดั ใหม้ งี านเลย้ี งสงั สรรคป์ ระจาปี ใหแ้ กพ่ นกั งานทุก ๆ ปี ในชว่ ง
เทศกาลปีใหม่ เพอ่ื ใหพ้ นกั งานในบรษิ ทั และพนกั งานในบรษิ ทั ในเครอื ไดพ้ บปะสงั สรรค์
และไดท้ าความรจู้ กั กนั เพอ่ื ความสมานสามคั คี

21

หมวดท่ี 4 การพฒั นาและการฝึ กอบรมพนักงาน

บรษิ ทั ตระหนกั อยเู่ สมอว่า พนกั งานของบรษิ ทั ฯทกุ คน คอื ทรพั ยากรอนั มคี ่ายงิ่ ของบรษิ ทั จงึ มี
นโยบายสง่ เสรมิ ใหพ้ นกั งานของบรษิ ทั ไดพ้ ฒั นาความรู้ ทกั ษะ ตลอดจนเทคโนโลยดี า้ นตา่ ง ๆ เพอ่ื ให้
พนกั งานทาหน้าทไ่ี ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และพฒั นาสายงานอาชพี สตู่ าแหน่งหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบทส่ี งู ขน้ึ
ได้ ซง่ึ บรษิ ทั ในเครอื BKG ทุกบรษิ ทั จะดาเนินการพฒั นาศกั ยภาพพนกั งานของตนโดยใชโ้ ครงสรา้ งใน
การพฒั นาพนกั งานทเ่ี ป็นมาตรฐานเดยี วกนั ซง่ึ เราเรยี กว่า Development Path to Excellence หรอื
“เสน้ ทางการพฒั นาสคู่ วามเป็นเลศิ ” รปู แบบและหลกั สตู รทบ่ี รษิ ทั เลอื กสรรมาน้จี ะสรา้ งความมนั่ ใจ ไดส้ ง่
พนกั งานจะสามารถพฒั นาศกั ยภาพของตนเพอ่ื เตบิ โตไปอย่างมนั่ คงกบั เครอื BKG

TQM

QC
KSS

5S
Training / SD
Standardize Work
Quality of Life

การอบรมตาม “เสน้ ทางการพฒั นาสคู่ วามเป็นเลศิ ” ทบ่ี รษิ ทั จดั ใหพ้ นกั งานมรี ายละเอยี ดดงั น้ี

22

คณุ ภาพชวี ติ (Quality of Life)
สรา้ งพนกั งานเป็นคนดี มคี ุณค่าและรบั ผดิ ชอบตอ่ สว่ นรวม
- อบรมคุณภาพชวี ติ (Quality of Life Training)
- อบรมค่ายคณุ ธรรม (Virtue Camp)
- กจิ กรรมเพอ่ื สงั คม (Quality of Life Club)

อบรมมาตรฐานการทางาน (Standardize Work) ใหพ้ นกั งานมที กั ษะในการทางานตามมาตรฐานของ
แตล่ ะตาแหน่งงาน

อบรมและพฒั นาทกั ษะ (Training / Skill Development)คนเป็นทรพั ยากรทม่ี คี ณุ ค่า ถา้ ไดร้ บั การพฒั นา
ทกั ษะและถงึ ศกั ยภาพออกมาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์อย่างเตม็ ท่ี

- อบรมดา้ นเทคนคิ (Technical)
- การบรหิ ารจดั การ (Management)
- ความปลอดภยั และสง่ิ แวดลอ้ ม (Safety / Environment)
- ภาษาและคอมพวิ เตอร์ (Language / Computer)
- คณุ ภาพและบรกิ าร (Quality and Service)

การพฒั นาอยา่ งต่อเน่อื ง (Continuous Improvement)
- 5 ส (5 S) สรา้ งวนิ ยั การทางาน (Discipline)
- ขอ้ เสนอแนะ (KSS) สรา้ งนักคดิ ทส่ี รา้ งสรรค์ (Creative Thinking )
- ควิ ซี (QC) แกป้ ัญหาอย่างเป็นระบบ (Systematic Problem Solving)
- บรหิ ารคุณภาพองคร์ วม (TQM Total Quality Management)


Click to View FlipBook Version