The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2.สรุปโครงการวิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายนุรอัสวาน สิงหะ, 2022-05-11 05:46:32

2.สรุปโครงการวิทยาศาสตร์

2.สรุปโครงการวิทยาศาสตร์

บนั ทกึ ข้อความ

สว่ นราชการ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอสุไหงปาดี

ที่ ศธ ๐๒๑๐.๔๐๑๓/ ๐๙๕ วันท่ี ๑๕ เดอื น กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๕

เร่ือง สรปุ ผลการจดั โครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ นักศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน กศน.

อำเภอสไุ หงปาดี ประจำภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

เรยี น ผู้อำนวยศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุไหงปาดี

๑. เร่อื งเดิม ตามที่ ผู้อำนวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอ
สุไหงปาดี ได้มอบหมายให้ ข้าพเจ้า นายสมบูรณ์ มามะ ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย รับผิดชอบงานการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน ดำเนินการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ นักศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กศน.
อำเภอสไุ หงปาดี ประจำภาคเรียน ท่ี ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ นัน้

๒. ข้อเท็จจริง ในการน้ี ข้าพเจ้า นาสมบูรณ์ มามะ ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย ได้ดำเนินการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ นักศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดีประจำ
ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ระหว่างวันท่ี ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕ ณ ศูนย์เครือข่ายห้องสมุดประชาชน
อำเภอสุไหงปาดี เสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว จึงได้จัดทำรายงานผลการจัดโครงการดังกล่าว ตามที่แนบมาพร้อม
บันทึกฉบับน้ี

๓. ขอ้ กฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง คำสั่งสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการที่ ๔๘๙/๒๕๕๑
เร่ืองมอบให้ผู้อำนวยการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ และ
ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เขต ปฏบิ ตั ิราชการแทน ข้อ ๑

๔. ข้อเสนอแนะ -

จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ

ลงชื่อ
( นายสมบรู ณ์ มามะ)
ครผู ู้ชว่ ย

ความเหน็ ผอู้ ำนวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสุไหงปาดี
............................................................................................................................. .................................................

(นางหทยั กาญจน์ วฒั นสทิ ธิ์)
ผู้อำนวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสุไหงปาดี

คำนำ

ตามทร่ี ัฐบาลมีนโยบายด้านการศกึ ษา เพอื่ สร้างโอกาสทางการศึกษาและกระจายโอกาสทางการศึกษา
ในสังคมไทย โดยคำนึงถึงการสร้างความเสมอภาค ความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นแก่ประชากรทุกกลุ่ม รวมถึงผู้
ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้บกพร่องทางกาย/ทางการเรียนรู้ ชนกลุ่มน้อย โดยสนับสนุนการจัด
การศึกษาตามวัยและพัฒนาการอย่างมีคุณภาพต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และการจัด
การศึกษาชุมชนเพื่อมุ่งให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรูแ้ ละการศึกษาตลอดชีวิต น้ัน สำนักงาน กศน. จึงได้กำหนด
นโยบายดา้ นการจัดการศกึ ษานอกระบบ แผนงานสนับสนุนการจัดการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน โดยสนบั สนุน ๑) ค่า
เล่าเรียน ๒) ค่าหนังสือเรียน และ ๓) ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนอย่างท่ัวถึง เพื่อเพ่มิ โอกาสในการรับ
การศึกษาที่มีคุณภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เพ่ือให้การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนดำเนินตามนโยบาย
ดังกล่าวอย่างมีประสิทธิภาพ จึงกำหนดกรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ซึ่งเป็นกิจกรรมท่ีให้
สถานศึกษาจัดเพ่ิมเติมจากการเรียนปกติให้กับนักศึกษา กศน. ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ รวมไปถงึ ตอบสนองจุดเน้น นโยบายแนวทางหลกั การดำเนินงาน

การจัดโครงการติวเข้มเติมความรู้นักศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา
๒๕๖๔ ในคร้ังนี้ ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจาก คณะครู เจ้าหน้าที่ กศน.อำเภอสุไหงปาดี ขอขอบคุณผู้มี
สว่ นเกยี่ วขอ้ งทกุ ท่านไว้ ณ โอกาสน้ี และหวงั วา่ สรปุ โครงการ ชุดนจี้ ะเป็นประโยชนแ์ ก่ผอู้ า่ น และผ้เู กย่ี วขอ้ งใน
ทกุ ระดบั

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุไหงปาดี
กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕

สารบัญ หนา้

เร่ือง ก

คำนำ ๑
สารบัญ ๔
๑๐
บทที่ ๑ บทนำ ๑๒
บทที่ ๒ เอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ยี วข้อง ๑๖
บทท่ี ๓ วธิ กี ารประเมินโครงการ
บทที่ ๔ ผลการประเมนิ โครงการ ๑๘
บทที่ ๕ สรุปผลการประเมนิ อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ ๑๙
ภาคผนวก
- ภาพถา่ ยกจิ กรรม ๒๓
- โครงการตวิ เข้มเติมความรู้นกั ศึกษาขน้ั พื้นฐาน ๒๔
- กำหนดการดำเนินโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ๒๖
นกั ศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดี
- คำสัง่ แต่งตงั้ คณะทำงานโครงการฯ
- แบบประเมินโครงการ

***************************

บทที่ ๑

บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญของการประเมิน
แผนการศึกษาแห่งชาติฉบับปัจจุบัน (พ.ศ.2560-2579 )มจี ุดมุ่งหมายในการขบั เคลื่อนภายใต้

วิสัยทัศน์ให้คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข
สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21 ด้วยระบบและ
กระบวนการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพและประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ
ทักษะ และสมรรถนะ ที่สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.
2553 และยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579 ) เพ่ือพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และ
คุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมือผนึกกำลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืน ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง ท่ีสำคัญคือเพื่อนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง และ
ความเหลื่อมลำ้ ภายในประเทศลดลง

การจัดการศึกษาในอนาคตของประเทศไทยเป็นการมองภาพอนาคตท่ีจะเกิดข้ึนท้ังในลักษณะ ที่พึง
ประสงค์และไม่พึงประสงค์ ควบคู่กันทั้งนี้เพื่อวางแนวทางการศึกษาในอนาคตให้สอดคล้องกับสภาพสังคม ท่ี
เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วตามกระแสของโลกาภิวัฒน์ เทคโนโลยีสารสนเทศอันมีอิทธิพลทำให้การศึกษาของ
ประเทศไทยต้องเปลี่ยนไป โดยรวมท่ี “คน” เป็นศูนย์กลางของการพัฒนา ซึ่งจะเป็นการพัฒนาท่ียั่งยืน
มีดุลยภาพ ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดล้อม สำหรับองค์การทางการศึกษาหรือสถานศึกษา
ทุกแห่ง จำเป็นต้องปรับตัวให้ก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงในยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge based
economy) และสังคมฐานความรู้ (Knowledge based society) ได้อย่างมีประสิทธิภ าพ ดังน้ั น
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงกำหนดให้สถานศึกษาจัดการเรียนการสอน
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ท่ีมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซ่ึงเป็นกำลังของชาติให้เป็น
มนุษย์ที่มีความสมดุลท้ังด้านร่างกายความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึด
มั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน
รวมท้ัง เจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็น
สำคญั บนพ้ืนฐานความเชื่อวา่ ทกุ คนสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองไดเ้ ต็มตามศักยภาพ
วัตถปุ ระสงค์ของการประเมิน

1.เพอ่ื ใหก้ ลมุ่ เปา้ หมายมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับการทำโครงงานวิทยาศาสตร์

๒ เพอ่ื ใหก้ ลุ่มเป้าหมายมีทกั ษะในกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อยา่ งครบถว้ น สมบรู ณ์

3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงในกระบวนการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองโดย

อาศยั วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ และสามารถนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้

ขอบเขตของการประเมิน
การประเมินโครงการคร้ังน้ีเป็นการประเมินความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการทำโครงงาน

วทิ ยาศาสตร์ มที กั ษะในกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์อยา่ งครบถว้ น สมบรู ณ์ และเรยี นรู้จากประสบการณ์ตรง

ในกระบวนการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ และสามารถนำไปใช้ใน

ชีวติ ประจำวนั ได้

นิยามศัพท์เฉพาะ
ความหมายของความรู้
ความรู้ (Knowledge) ยังหมายถึงการใช้ข้อมูลและสารสนเทศที่มี คุณค่าซึ่งมีการนำ

ประสบการณ์วิจารณญาณความ คิดค่านิยม และ ปัญหาของมนุษย์มาวิเคราะห์ เพื่อนำไปใช้ ในการทำงาน
หรือ การแก้ปัญหาความรู้จะช่วยตอบคำถามว่า“อย่างไร” (How Questions)ทำให้เข้าใจรูปแบบของ
ความสมั พันธ์

ความรู้ (Knowledge) จะเป็นภูมิปัญญา หรือ Wisdom เม่ือความรู้นั้นนำไปใช้เพ่ือการ
ตัดสินในประเด็นที่สำคัญหรือระบุว่าความรู้ที่ผ่านการปฏิบัติ และ พิสูจน์ว่า ได้ผลมาอย่างยาวนานซ่ึง การ
นำเอาข้อมูลมากองรวมกันไม่ได้ทำให้เกิดข่าวสารมา กองรวมกัน ไม่ได้เป็นความรู้ การนำเอาความรู้มากอง
รวมกันไม่ได้ เป็นปัญญาเพราะข่าวสารความรู้ปัญญามีอะไรที่มากกว่า การนำเอาส่วนประกอบต่าง ๆ
I. Nonaka (1994)

ความรู้(Knowledge) ท่ีชัดแจ้ง หรือ ที่เขียนระบุไว้หมายถึง ความรู้ที่สามารถถ่ายโอนใน
ภาษาที่เปน็ ทางการและเป็นระบบในทางกลบั กนั ความรูฝ้ ังลึกน้ันมีลักษณะที่ขึ้นกบั บุคคลซง่ึ ทำให้การระบุอย่าง
เป็นทางการและการสื่อสารทำได้ลำบาก Benjamin S. Bloom (ออนไลน์] th.Wikipedia.org/wiki/
ความรู้) ความรู้หมายถึงเรอื่ งที่เกีย่ วกับการระลึกถึงสิ่งเฉพาะวิธกี าร และกระบวนการต่างๆโดยเน้นในเรื่องของ
กระบวนการทางจิตวทิ ยาของความจำ อันเปน็ กระบวนการที่เชอื่ มโยงเก่ียวกบั การจัดระเบยี บ

ประเภทของความรู้
แนวคิดในการแบ่งประเภทความรู้ท่ีน่าสนใจและ ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายเป็นของ

Michel Polanyi และ Ikujiro Nonaka โดยเปน็ แนวคิดท่แี บ่งความรอู้ อกเป็น ๒ ประเภท คอื

ทฤษฎีเกย่ี วกับกระบวนการความร้(ู Knowledge Process)
การค้นหาความรู้ (Knowledge Identification)

เป็นการค้นหาว่าองค์กร ของเรามีความรู้ อะไรอยู่บ้างอยู่ในรูปแบบใดอยู่ที่ใคร และ ความรู้อะไรท่ี
อ งค์ ก รเป็ น ต้ อ งมี เพ่ื อ ท ำให้ บ ร รลุ เป้ าห ม าย ก ารค้ น ห าค ว าม รู้ส าม ารถ ใช้ เค ร่ือ งมื อ ที่ รีย ก
ว่า Knowledge mapping หรือ การทำและ แผนท่ีความรู้เพ่ือ จัดอันดับ ความสำคัญทำให้มองเห็น
ภาพ รวมของคลังความรู้ของ องคก์ รบุคลากรทราบว่า มีความรู้ อะไรและสามารถหาได้จากทีไ่ หน นอกจากน้ี
ยงั ใช้เป็นพ้ืนฐานในการต่อยอดความรู้ในเร่ืองต่าง ๆ อย่างเปน็ ระบบ

บทที่ ๒

เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวข้อง

เอกสารแนวคิด ทฤษฎีท่เี กยี่ วกับการประเมินโครงการ
การประเมินโครงการค่ายวชิ าการพัฒนาผเู้ รียนสาระการเรียนรู้ขนั้ พืน้ ฐานผปู้ ระเมนิ ได้ทบทวนเอกสาร

ที่เกี่ยวข้อง ทใี่ ช้ในการประเมิน ดงั นี้
๑. การจดั กิจกรรมเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รียน
๒. แนวคดิ เกยี่ วกบั การนิเทศการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย กศน.
๓. งานวจิ ยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

๑. กรอบการจดั กจิ กรรมเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น
เพ่ือให้สถานศึกษาได้จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นไปในแนวทางเดียวกันอย่างมี

ประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธิผล คุม้ ค่า เกิดประโยชน์สงู สุดตอ่ ผู้เรียน ดังนี้
๒.๑ กิจกรรมพัฒนาวิชาการ เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีพ้ืนฐานความรู้เพียงพอกับ

การศกึ ษาในแต่ละระดบั และพัฒนาผู้เรียนใหม้ คี วามรู้ ความสามารถทางดา้ นวิชาการเพิ่มมากข้นึ ในรายวิชาตาม
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือวิชาอน่ื ๆ ตามความต้องการของนกั ศึกษา กศน. ซง่ึ วิทยากรหรอื ผสู้ อนควรเป็น
ผู้ที่มีความรู้หรือประสบการณ์ในการสอนวิชานั้น ๆ โดยตรง อาจจะเป็นบุคคลภายนอกหรือครู กศน. ได้ตาม
ความเหมาะสม ส่วนจานวนนกั ศึกษา กศน. ทร่ี ่วมกิจกรรมให้อยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของผู้บริหารสถานศกึ ษา

๒.๒ กิจกรรมพฒั นาทักษะชีวติ เป็นการจดั กิจกรรมเสริมเพิม่ เติมจากการเรยี นปกตใิ นสาระทกั ษะการ
ดำเนินชีวิต หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เน่ืองจากสังคม
ปัจจุบันมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม ข่าวสารข้อมูล และเทคโนโลยี มีการแข่งขัน
และความขัดแย้งมากข้ึนจึงมีความจำเป็นท่ีสถานศึกษาต้องจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตให้กับผู้เรียน เพื่อให้มี
ความรู้ ความเข้าใจ มีเจตคติ ค่านิยมที่ถูกต้องและมีทักษะหรือความสามารถพื้นฐานท่ีจาเป็นในการเผชิญ
ปัญหาท่ีเกิดขึ้นในชีวิต อาทิเช่น ปัญหายาเสพติดการต้ังครรภ์ไม่พึงประสงค์ เพศสัมพันธ์ ทะเลาะวิวาท
ครอบครัวแตกแยก ความรุนแรง ความเครียด ภัยพิบัติ เป็นต้น รวมทั้งมีคุณสมบัติท่ีพึงประสงค์ในการอยู่
ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข และสามารถนำความรูจ้ ากการเข้าร่วมกจิ กรรมไปปรับใช้ในชีวิตประจา
วันได้อย่างเหมาะสม

๒.๓ กิจกรรมที่แสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ เป็นการ
จัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียน มีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติท่ีดี มีความรักและ
ภาคภูมิใจในชาติไทย และแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ตลอดจน
ทะนุบำรุงและปฏิบัติตามหลักธรรมทางศาสนาที่นับถือ การส่งเสริมโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริการ
เทดิ ทูนและปกปอ้ งสถาบนั พระมหากษัตรยิ แ์ ละพระบรมวงศานวุ งศ์

๒.๔ กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนา
ผู้เรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยสามารถนำไปประยุกต์ให้เกิดผล
ในทางปฏบิ ัติในการดำรงชวี ติ ประจำวันทงั้ ต่อตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ

๒.๕ กิจกรรมลูกเสือ และกิจกรรมอาสายุวกาชาด เป็นกิจกรรมเพ่ือพัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนให้
ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตอาสา มีความเสียสละในการช่วยเหลือผู้อื่น บำเพ็ญ
ประโยชน์ต่อสังคมและชุมชน โดยดำเนินการจัดกิจกรรมลูกเสือ กศน. และกิจกรรมอาสายุวกาชาด หรืออาจ
ดำเนินการร่วมกับสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจกรรมนักเรียน
กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงาน ยวุ กาชาด สภากาชาดไทย เป็นตน้

๒.๖ กิจกรรมกฬี าและสง่ เสรมิ สขุ ภาพ เปน็ การจดั กิจกรรมเพือ่ พฒั นาผเู้ รียนไดม้ ีโอกาสออกกาลังกาย
และเล่นกีฬาเพ่ือสขุ ภาพ พลานามัยท่ดี ี สรา้ งนิสัยความมีน้าใจเป็นนกั กีฬาและใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชน์ เป็น
การสร้างความรัก ความสามัคคีในหมู่คณ ะ ให้รู้จักรู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย และเป็นการสร้างสัมพันธภาพอันดี
ระหวา่ งนกั ศึกษา กศน.

๒.๗ กิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เป็นกิจกรรมเพื่อ
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะใน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เช่น การจัดอบรมความรู้ในด้านต่างๆ
ทีเ่ กย่ี วกับ ICT เปน็ ต้น

๒.๘ กิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรู้สู่ประชาคมโลก เป็นการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรู้ให้กับผู้เรียน
ในด้านการศึกษา เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ความม่ันคง และการเมือง เพื่อเข้าสู่ประชาคมโลก เช่น การ
เปลีย่ นแปลงโครงสร้างประชากรไปสูส่ ังคมสูงวัย ทักษะของประชากรในศตวรรษท่ี ๒๑ ที่ท่ัวโลกต่างต้องเผชิญ
กบั ความท้าทายและม่งุ พฒั นาประเทศไปสูก่ ารพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมยุค ๔.๐ เปน็ ต้น

๒.๙ กิจกรรมจิตอาสา กศน. “เราทาความดีด้วยหัวใจ” เป็นกิจกรรมท่ีหน่วยงาน/สถานศึกษาใน
สงั กดั สำนักงาน กศน. จัดข้ึน หรือร่วมกับหนว่ ยงานอ่ืน ๆและร่วมกับประชาชนทุกหมู่เหล่าท่ีมีจิตอาสาบำเพ็ญ
สาธารณประโยชน์ในพ้ืนที่ต่าง ๆ เพ่ือบรรเทาความเดือดร้อน และแก้ไขปัญหาให้แก่ประชาชน ไม่ว่าจะเป็น
ปัญหาน้ำท่วมในเขตชุมชน ปัญหาการจราจรและอื่น ๆเพื่อสืบสานพระราชปณิธานพระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ท่ีทรงห่วงใยปัญหาน้ำท่วมและปัญหาการจราจรในเขตพื้นท่ี
กรุงเทพมหานครและจังหวดั ต่าง ๆ และสอดคล้องกับพระบรมราโชบายของสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว รัชกาลท่ี ๑๐
เป็นการพฒั นาสภาพแวดล้อมและความเปน็ อยูใ่ นชมุ ชนให้มีสภาพที่ดีขึ้น

๒.๑๐ กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และพฒั นาทักษะการเรยี นรู้ เป็นกจิ กรรมทส่ี ง่ เสริมให้ผู้เรยี นมีทกั ษะ
การอ่าน การเรียนรู้ เสริมสร้างนิสัยรักการอ่าน และการเรียนรู้ เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว
ชุมชนและสังคม อนั จะนำไปสู่สังคมแหง่ การเรียนรตู้ ลอดชวี ิต

๒.๑๑ กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะอาชีพ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ศึกษา
เรียนรู้ ฝกึ ทกั ษะและฝึกปฏบิ ตั ิด้านอาชพี ท่ตี นเองสนใจ เพอ่ื เปน็ ทางเลือก และวางแผนการประกอบอาชีพ และ
การศึกษาตอ่ ในอนาคต

๒.๑๒ กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เป็นกจิ กรรมที่สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้ ดว้ ยการปลูกฝัง
คุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี และเอกลักษณ์ของชาติ ให้เกิดความรักและความ
ภาคภมู ิใจ สบื สานวัฒนธรรมและประเพณีท้องถนิ่ อยู่รว่ มกนั ในสงั คมได้อย่างมีความสุข

๒.๑๓ กิจกรรมการเรียนรู้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
และกฎหมายที่เก่ียวข้องในชีวิตประจำวัน เป็นกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง
เก่ียวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และกฎหมายท่ีเก่ียวข้องใน
ชวี ติ ประจาวัน เช่น กฎหมายรฐั ธรรมนูญ กฎหมายการเลอื กตั้ง สิทธหิ น้าท่พี ลเมอื ง กฎหมายที่เกย่ี วขอ้ งกับการ
คุ้มครองผู้บรโิ ภค เปน็ ต้น

๒.๑๔ กจิ กรรมเสรมิ สร้างความสามารถพิเศษ เป็นกิจกรรมเพ่ือพัฒนาผู้เรียนที่มคี วามสามารถพเิ ศษ
หรือมีพรสวรรค์ในด้านต่าง ๆ ให้มีโอกาสและกล้าแสดงออกถึงทักษะ ความรู้ ความสามารถ ความคิด
สร้างสรรค์ และจินตนาการ ในแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสม และพัฒนาความสามารถพิเศษหรือพรสวรรค์ไปใช้
ประโยชน์ต่อการดารงชีวติ ของตนเอง เป็นการส่งเสริมสนบั สนนุ การศึกษาตลอดชวี ติ โดยการจัดต้ังชมรมตา่ ง ๆ
เช่น ชมรม TO BE NUMBER ONE การจดั ต้ังศนู ย์เพื่อนใจวัยร่นุ เปน็ ต้น

๒. แนวคดิ เกีย่ วกับการนิเทศการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กศน.
๑. การนิเทศจะต้องอยู่บนพ้ืนฐาน ปรัชญา และหลักการของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัย สอดคลอ้ งกับนโยบายและจดุ เน้นการดำเนินงานของของสำนักงาน กศน. และสถานศึกษา
๒. การนิเทศ กศน. ควรเป็นกระบวนการทำงานท่ีเป็นระบบ เช่น แผนงานโครงการกิจกรรมและ

เทคนิคต่างๆ ในการนิเทศ ควรต้ังอยู่บนเจตคติและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ผลของการนิเทศจะต้องถูกต้อง
สมบรู ณเ์ ชื่อถอื ได้ สามารถสะท้อนคุณภาพการจัด กศน. ของสถานศึกษาไดต้ รงตามสภาพจริง

๓. การนิเทศ กศน. เปน็ กระบวนการทำงานร่วมกับผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปฏบิ ัตงิ านที่
เกี่ยวข้องและเครือข่าย ที่มุ่งส่งเสริมคุณภาพชีวิต เพื่อให้เขาได้พัฒนาศักยภาพของตนได้อย่างเต็มที่เคารพ
ศกั ดส์ิ ิทธขิ์ องความเป็นมนุษย์ อดทนตอ่ ความแตกตาง คามหลากหลายให้ความเท่าเทียมกนั เสมอภาคกนั ความ
เปน็ อสิ ระ สรา้ งบรรยากาศท่เี ป็นประชาธปิ ไตย การมีสว่ นร่วมและการทำงานเปน็ ทมี

๔. การนิเทศ กศน. จะต้องมีการประเมินผลการนิเทศอย่างเป็นระบบ ทั้งด้านปัจจัยการนิเทศ
กระบวนการนิเทศ และผลที่เกิดจากการนิเทศ และนำผลการประเมินมาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงการ
ดำเนินงานนิเทศ เพื่อพัฒนาการนเิ ทศการศกึ ษาใหม้ คี ุณภาพ
ความสำคัญของการนเิ ทศการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั

การนเิ ทศเปน็ งานสำคญั และจำเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องดำเนินควบคูไ่ ปกับการบริหารเพราะการนิเทศเป็น
ส่วนหน่ึงของการบริหาร องค์ประกอบของการบริหารย่อมขึ้นอยู่กับคน เงิน วัสดุ และการจัดการ การท่ีจะ
บริหารคนให้มีประสิทธิภาพในการทำงาน ผู้บรหิ ารจะต้องมีเทคนคิ ที่เหมาะสม เทคนิคในการบรหิ ารอย่างหน่ึง
คือ การนิเทศเพ่ือส่งเสริมให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพ สามารถใช้เงิน วัสดุได้อย่างคุ้มค่า มีหลักการ
จดั การท่ีดี ดังน้ัน การที่จะควบคุมการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงานที่กำหนดไว้ ผู้บริหารต้อง
ใช้เทคนิคการบริหารงานและการนิเทศควบคู่กัน การนิเทศการศึกษาเป็นความพยายามในการแนะนำ กระตุ้น
ให้กำลังใจช่วยเหลือของผู้เช่ียวชาญด้านการศึกษา เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษาสามารถจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนให้มีคุณภาพ หรือปรับปรุงกระบวนการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีการสูญเปล่าทาง
การศึกษาน้อยที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีการจัด
กจิ กรรมการศึกษาท่ีหลากหลายใหบ้ รกิ ารแก่กลุ่มเปา้ หมายประเภทต่างๆ และไมไ่ ดส้ งั กดั สำนักงาน กศน. ทำ

ให้เห็นความจำเป็นของการนิเทศการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือให้บุคลากร
ทางการศึกษา สถานศึกษาทุกประเภทเข้าใจนโยบายปรัชญาการจัด กศน. ที่สามารถสนองความต้องการของ
กลมุ่ เป้าหมายผเู้ รียนในทิศทางที่ถูกต้องและเหมาะสมกับสภาพพื้นท่ีการจัดกจิ กรรม กศน.
จดุ มุ่งหมายของการนิเทศการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

๑. เพ่ือส่งเสรมิ ให้สถานศึกษาบริหารหลักสูตรจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการศึกษา
พฒั นาสื่อนวตั กรรมและเทคโนโลยแี ละการนเิ ทศภายในอย่างมีคุณภาพ

๒. ส่งเสรมิ ให้สถานศกึ ษามีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามมาตรฐาน กศน.
๓. เพื่อให้คำปรึกษา เสนอแนะ เป็นที่พึ่งในการพัฒนาวิชาการของสถานศึกษา และสำนักงาน กศน.
จงั หวัด
๔. เพื่อประสาน สนับสนุนและเผยแพร่งานทางด้านวิชาการแก่สถานศึกษาและสำนักงาน กศน.
จงั หวดั
(อ้างถึง อัญชลี ธรรมะวิธกี ุล : ๒๕๕๓)
๓. งานวิจัยท่เี กีย่ วข้อง
กิจจา เวสประชุม ได้กล่าวถึงขอบข่ายของการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรวิชาชีพประกอบไปด้วย
งานดังนี้
๑. หลักสูตร ได้แก่ การจดั การศึกษาวิชาชีพระยะสั้นให้ประสบผลสำเร็จและเกิดผลประโยชน์สูงสุดได้
นน้ั หลกั สตู รควรควรมีความเหมาะสมหลายๆ ดา้ น
๒. กิจกรรมการเรียนการสอน คือพฤติกรรมที่เกิดร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียนจึงจะกอ่ ให้เกิดการ
เรยี นรแู้ ละทกั ษะเพอ่ื ให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ท่ตี ั้งไว้
๓. วิทยากร เป็นบุคคลสำคัญท่ีจะถ่ายทอดวิชาความรู้ มีความชัดเจนในเนื้อหาวิชามีประสบการณ์
ทางการสอนมคี วามสามารถในการปรับเนือ้ หาวิชาตามสภาพของผูเ้ รียน
๔. สื่อการเรยี นการสอน ในการเรียนการสอนวิชาชีพน้ันสื่อการสอนมคี วามสำคัญเป็นอยา่ งมากเพราะ
นอกจากจะเป็นการสร้างความสนใจให้กับผู้เรียนเกิดความอยากเรียนรู้แล้วยังช่วยให้ผู้เรียนเรียนได้ดีและ
รวดเร็วขน้ึ
๕. การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผลมีข้ึนก็เพื่อจะได้ทราบข้อบกพร่องในการเรียนการ
สอนว่าบรรลุเป้าหมายหรือไม่ส่ิงใดสมควรแก้ไขและส่ิงใดควรแก้ไขและปรับปรุงเพ่ือให้การเรียนการสอน
วิชาชพี ได้ผลจริง
สอดคลอ้ งกบั อัญชลี ธรรมะวิธีกุล ทีก่ ลา่ วถงึ การนิเทศการจัดการเรยี นการสอนหลักสูตรวิชาชีพจะตอ้ ง
อยู่บนพ้ืนฐาน ปรัชญา และหลักการของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สอดคล้องกับ
นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานของสำนักงาน กศน. และสถานศึกษาโดยมีกระบวนการทำงานท่ีเป็นระบบ
มีกระบวนการทำงานร่วมกับผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปฏิบัติงานที่เก่ียวข้องและเครือข่าย ซึ่ง
จะตอ้ งมกี ารประเมินผลการนเิ ทศอย่างเป็นระบบ ท้งั ด้านปัจจัยการนเิ ทศ กระบวนการนิเทศ

บทที่ ๓

วธิ ีการประเมินโครงการ

การประเมินผลโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ นักศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กศน.
อำเภอสุไหงปาดี ประจำภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ผู้ประเมนิ มวี ธิ ีการประเมินผลโครงการ ดังตอ่ ไปน้ี

ประชากรกลมุ่ ตัวอย่าง
ประชากรในการประเมินครั้งน้ีได้แก่ ผู้เข้าร่วมโโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำโครงงาน

วทิ ยาศาสตร์ นักศึกษาขั้นพื้นฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดี ประจำภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ จำนวน
๑๒๐ คน

เครอื่ งมือที่ใช้ในการประเมิน
เครื่องมือท่ีใช้ในการประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ นักศึกษาขั้น

พื้นฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดี ประจำภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ได้แก่ แบบประเมินความพึงพอใจ
ของผู้เข้าร่วมโครงการต่อการเรียนรู้ เกี่ยวกับโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
นักศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดีประจำภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โดยแบ่งเป็น ๓ ตอน
ดังน้ี

ตอนที่ ๑ แบบประเมนิ เก่ยี วกับข้อมลู ท่วั ไปของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ
ตอนที่ ๒ แบบประเมินเกี่ยวกับความพึงพอใจ / ความรู้ความเข้าใจ / การนำไปใช้ ต่อการเข้าร่วม
โครงการของผู้เขา้ ร่วมโครงการ
ตอนท่ี ๓ แบบประเมนิ เกีย่ วกับข้อเสนอแนะอื่นๆ

การวิเคราะห์ขอ้ มลู
การวิเคราะหข์ ้อมูลในการจัดกิจกรรมในคร้งั นี้ ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือหาค่าสถิติต่าง ๆ โดยใช้

โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สำเร็จรปู ซึ่งมขี ั้นตอนในการดำเนินการ และใช้เกณฑ์สัมบรู ณใ์ นการแปลความหมาย
การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับ โดยการหาค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

(Standard Deviation) เพื่อทราบระดับความพึงพอใจในการจัดโครงการดังกล่าว ซ่ึงใช้เกณฑ์สัมบูรณ์ในการ
แปลความหมาย ดงั น้ี
(รศ.ดร.บญุ ชม ศรสี ะอาด )

คา่ เฉลี่ย ๔.๕๑ - ๕.๐๐ แปลความวา่ พงึ พอใจมากทส่ี ดุ
ค่าเฉลี่ย ๓.๕๑ - ๔.๕๐ แปลความว่า พงึ พอใจมาก
คา่ เฉล่ยี ๒.๕๑ - ๓.๕๐ แปลความวา่ พึงพอใจปานกลาง
คา่ เฉลีย่ ๑.๕๑ - ๒.๕๐ แปลความว่า พึงพอใจน้อย
คา่ เฉลย่ี ๑.๐๐ - ๑.๕๐ แปลความว่า พงึ พอใจน้อยท่ีสุด
การสร้างและตรวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมือ
แบบสอบถามฉบบั นี้ ผู้ประเมนิ ได้สรา้ งขึน้ เอง มขี ั้นตอนในการสรา้ ง ดงั นี้

๑. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง เก่ียวกับการนิเทศการศึกษาเพ่ือเรียนรู้ โครงงาน
วิทยาศาสตร์ นักศึกษาขั้นพื้นฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดีประจำภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ จากนั้น
นำมากำหนดกรอบแนวคิดทใี่ ช้ในการประเมนิ กำหนดนยิ าม และเพ่อื ใชเ้ ปน็ แนวทางในการสร้างแบบสอบถาม

๒. ศึกษาหลกั สูตรการจัดการศึกษาตอ่ เนื่อง และนำมาเป็นแนวทางในการจัดทำแบบประเมินความพึง
พอใจของผู้เขา้ ร่วมโครงการ

๓. สร้างแบบสอบถามเกี่ยวกับการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
นักศึกษาขั้นพื้นฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดี ประจำภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ และตรวจสอบเน้ือหา
ของแบบสอบถามว่าครอบคลุมวัตถุประสงค์หรือไม่ จากนั้นนำไปให้ที่ปรึกษาตรวจสอบแบบสอบถาม แล้ว
นำมาปรบั ปรงุ ตามคำแนะนำของที่ปรึกษา

๔. นำแบบสอบถามที่ปรับปรุงตามคำแนะนำของที่ปรึกษา ให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบความตรงตาม
เน้อื หา (Content Validity) จากนัน้ ปรับปรงุ แกไ้ ขตามคำแนะนำของผู้เชย่ี วชาญ
การเกบ็ และรวบรวมขอ้ มูล

ผปู้ ระเมินได้ดำเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมูล โดยมีขนั้ ตอนดงั นี้
๑. วิทยากรดำเนินการบรรยาย สาธิต และปฏิบัติการโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำโครงงาน
วิทยาศาสตร์ นักศึกษาข้ันพื้นฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดี ประจำภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โดยมี
จำนวนช่ัวโมงครบตามหลักสูตร
๒. เมื่อดำเนินโครงการครบตามหลักสูตรแล้ว ผู้ประเมินให้ผู้เข้าร่วมโครงการทำแบบสอบถามจำนวน
๑๒๐ ชุด โดยมแี บบสอบถามทีไ่ ดร้ ับกลับคนื มาและมีความสมบรู ณ์ จำนวน ๑๒๐ ชุด
การวเิ คราะหข์ ้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับการประเมินครั้งนี้แบ่งการวิเคราะห์ออกเป็น ๓ ตอน คือตอนที่ ๑ แบบ
ประเมนิ เก่ียวกับข้อมูลท่ัวไปของผู้เข้าร่วมโครงการ ตอนที่ ๒ แบบประเมินเกีย่ วกับความพึงพอใจ/ความรคู้ วาม
เข้าใจ/การนำไปใช้ ตอ่ การเข้าร่วมโครงการของผู้เขา้ ร่วมโครงการ ตอนท่ี ๓ แบบประเมินเกี่ยวกับข้อเสนอแนะ
อ่นื ๆ
สถิติทใี่ ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล
ผู้ประเมินเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์เพ่ือให้สอดคล้องกับลักษณะของข้อมูลและตอบวัตถุประส งค์
ดงั นี้
๑. ข้อมลู ทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถามได้แก่ เพศ อายุ วิเคราะหข์ ้อมลู โดยใช้คา่ ความถี่ร้อยละ
๒. ข้อมูลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าเฉล่ีย (Mean) ค่า
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
๓. ข้อมลู ท่เี ปน็ คำถามปลายเปิด ไดท้ ำการวเิ คราะห์เน้อื หา (Content Analysis)

บทที่ ๔

ผลการประเมินโครงการ

การนำเสนอผลการประเมินโครงการ ผู้ประเมินได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เข้าร่วมโครงการ โดยวิธีใช้

แบบประเมินความพึงพอใจ จำนวน ๑๒๐ ชุด มีผู้ส่งแบบประเมินความพึงพอใจกลับคืนจำนวน ๑๒๐ ชุด คิด

เป็นร้อยละ ๑๐๐ ทัง้ น้ีในการนำเสนอผลการประเมินโครงการ แบ่งเป็น ๓ ตอน ดังน้ี

ตอนที่ ๑. แสดงผลการวิเคราะห์ความถ่รี ้อยละ (Valid Percent) ของข้อมูลท่ัวไปของผเู้ ข้าร่วมโครงการ

อบรมเชิงปฏบิ ัติการการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ นักศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดี ประจำภาค

เรียนที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

ตารางที่ ๑ แสดงข้อมลู ของกลุ่มตัวอยา่ งผู้เขา้ รว่ มโครงการจำแนกตามเพศ

เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ

หญิง ๕๕ ๔๕.๘๓

ชาย ๖๕ ๕๔.๕๗

รวม ๑๒๐ ๑๐๐.๐๐

จากตารางที่ ๑ แสดงวา่ กลุ่มตวั อยา่ งผเู้ ข้ารว่ มโครงการจำแนกตามเพศ ท่ีตอบคำถามมากทีส่ ุด คือเพศ

ชาย คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕๔.๕๗ และทต่ี อบน้อยท่สี ุด คอื เพศหญิง คิดเปน็ รอ้ ยละ ๔๕.๘๓ ตามลำดับ

ตารางที่ ๒ แสดงข้อมลู ของกลมุ่ ตัวอยา่ งผู้เข้ารว่ มโครงการจำแนกตามอายุ

อายุ จำนวน (คน) ร้อยละ

ตำ่ กวา่ ๑๕ ปี - -

๑๕ - ๓๙ ปี ๑๒๐ ๑๐๐.๐๐

๔๐ - ๕๙ ปี - -

๖๐ ปีขึน้ ไป - -

รวม ๑๒๐ ๑๐๐.๐๐

จากตารางที่ ๒ แสดงว่ากลุ่มตวั อยา่ งผเู้ ข้าร่วมโครงการจำแนกตามอายุ ทต่ี อบคำถามมากที่สุด คือชว่ ง

อายุ ๑๕ - ๓๙ ปี คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

ตารางท่ี ๓ แสดงข้อมูลของกล่มุ ตวั อยา่ งผู้เข้าร่วมโครงการจำแนกตามการศึกษา

การศกึ ษา จำนวน (คน) ร้อยละ

ตำ่ กวา่ ประถมศึกษา --

ประถมศกึ ษา --

มัธยมศึกษาตอนตน้ --

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๑๒๐ ๑๐๐.๐๐

รวม ๑๒๐ ๑๐๐.๐๐

จากตารางที่ ๓ แสดงว่ากลุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการจำแนกตามการศึกษา ท่ีตอบคำถามมากท่ีสุด
คอื มกี ารศึกษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐

ตารางท่ี ๔ แสดงข้อมูลของกลุ่มตัวอยา่ งผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการจำแนกตามอาชพี

อาชีพ จำนวน (คน) รอ้ ยละ

เกษตรกร --

รบั จ้าง --
ธุรกจิ สว่ นตวั --
อน่ื ๆ (ระบุ นักศึกษา) ๑๒๐ ๑๐๐.๐๐

รวม ๑๒๐ ๑๐๐.๐๐

จากตารางท่ี ๔ แสดงวา่ กลุ่มตวั อยา่ งผู้เข้ารว่ มโครงการจำแนกตามอาชีพ ทต่ี อบคำถามมากทสี่ ุด คอื มี
อาชีพนกั ศึกษา คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐
ตอนท่ี ๒. แสดงผลคา่ เฉลีย่ และคา่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของข้อมูลความสำคัญของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ

อบรมเชิงปฏิบัติการการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ นักศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดี

ประจำภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
ตารางท่ี ๕ แสดงระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ต่อการเข้าร่วมโครงการของ

กลมุ่ ตวั อยา่ งทเ่ี ข้าร่วมโครงการ

รายการ ˉx S.D. ระดบั ความสำคัญ

ดา้ นวทิ ยากร ๔.๕๐ .๒๔๓ มากทสี่ ุด
ดา้ นสถานท/่ี สื่ออุปกรณ/์ ระยะเวลา ๔.๖๓ .๓๓๖ มากทส่ี ุด
ด้านความรู้ท่ีได้รับ/การนำความรู้ไปใช้
๔.๔๒ .๒๖๒ มากที่สุด

คา่ เฉล่ยี ๔.๕๑ .๒๘๐ มากทสี่ ุด

จากตารางท่ี ๕ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจพบว่า สรปุ ระดับความพงึ พอใจ ความรคู้ วามเข้าใจ และ
การนำไปใช้ ต่อการเข้าร่วมโครงการ จากการดำเนินการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำโครงงาน
วิทยาศาสตร์ นักศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดี ประจำภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
โดยภาพรวมอยูใ่ นระดับมากท่ีสุด เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าข้อที่ (๒) ด้านความรู้ที่ไดร้ ับ/การนำความรู้ไปใช้
มคี ่าเฉลีย่ สงู สุด ส่วนข้อที่ (๒) ดา้ นสถานท/่ี สอื่ อุปกรณ/์ ระยะเวลา มีค่าเฉลยี่ ต่ำสดุ

๒.๑ แสดงผลค่าเฉลยี่ และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของข้อมูลความสำคัญของผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ

อบรมเชิงปฏิบัติการการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ นักศึกษาขั้นพื้นฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดี ประจำภาค
เรยี นท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ จำแนกในภาพรวม และรายข้อของแต่ละด้าน

ตารางท่ี ๕.๑ แสดงระดบั ความพึงพอใจ/ความรู้ความเขา้ ใจ/การนำไปใช้ ต่อการเข้ารว่ มโครงการของ
กลมุ่ ตวั อยา่ งที่เขา้ ร่วมโครงการ ดา้ นวทิ ยากร

ข้อท่ี ด้านวทิ ยากร X S.D. ระดบั ความคดิ เหน็

๑ วิทยากรมาให้ความร้ตู รงตามเวลา ๔.๗๐ .๔๙๖ มากทส่ี ุด
๒ วทิ ยากรมาใหค้ วามร้คู รบตามหลกั สตู รกำหนด ๔.๓๐ .๔๖๒ มากทส่ี ดุ

๓ ความสามารถในการถ่ายทอดความรขู้ องวิทยากร ๔.๔๐ .๔๕๑ มากท่สี ุด

๔ เนื้อหาวิชาท่ีจัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของท่าน ๔.๖๐ .๕๑๔ มากที่สดุ
เพียงใด มากที่สดุ

รวม ๔.๕๐ .๒๔๓

จากตารางที่ ๕.๑ ผลการประเมินความพึงพอใจพบว่า ผู้ตอบแบบประเมินความพงึ พอใจ ส่วนใหญ่ให้
ความคิดเห็นระดับความพึงพอใจเก่ียวกับวิทยากร จากการดำเนินการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำ
โครงงานวิทยาศาสตร์ นักศึกษาข้ันพื้นฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดี ประจำภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
โดยภาพรวมและรายข้ออยู่ในระดับมากทสี่ ุด เมื่อพิจารณารายข้อพบว่าข้อที่ (๑) วิทยากรมาใหค้ วามรู้ตรงตาม
เวลา มีค่าเฉล่ียสงู สุด สว่ นขอ้ ที่ (๒) วทิ ยากรมาให้ความรูค้ รบตามหลักสูตรกำหนดมคี ่าเฉลี่ยต่ำสุด

ตารางที่ ๕.๒ แสดงระดับความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ต่อการเข้าร่วมโครงการของ
กลุ่มตัวอยา่ งทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ ดา้ นสถานที/่ สื่ออปุ กรณ์/ระยะเวลา

ขอ้ ที่ ดา้ นสถานท/่ี ส่ืออปุ กรณ/์ ระยะเวลา X S.D. ระดบั ความคดิ เหน็

๑ สถานท่ีเรยี นเหมาะสมเพียงใด ๔.๕๔ .๖๐๕ มาก
มากที่สดุ
๒ จำนวนสื่อ/อุปกรณ์การฝึกประกอบการเรียนเพียงพอ ๔.๖๓ .๔๕๑
มาก
เพียงใด

๓ ระยะเวลาในการเรียน/ กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด ๔.๗๒ .๔๑๘

รวม ๔.๖๓ .๓๓๖ มากท่ีสุด

จากตารางที่ ๕.๒ ผลการประเมินความพึงพอใจพบว่า ผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจ ส่วนใหญ่ให้

ความพึงพอใจด้านสถานท่ี/สื่ออุปกรณ์/ระยะเวลา จากการดำเนินการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำ

โครงงานวิทยาศาสตร์ นักศึกษาข้ันพื้นฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดี ประจำภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

โดยภาพรวมและรายข้ออยู่ในระดับมากท่ีสุด เมื่อพิจารณารายข้อพบว่าข้อท่ี (๓) ระยะเวลาในการเรียน/

กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีค่าเฉล่ียสูงสุด ส่วนข้อท่ี (๓) ระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มี

ค่าเฉลี่ยต่ำสดุ

ตารางท่ี ๕.๓ แสดงระดบั ความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนำไปใช้ ตอ่ การเขา้ รว่ มโครงการของ

กลมุ่ ตัวอย่างท่ีเขา้ ร่วมโครงการ ด้านความรู้ทไี่ ด้รับ/การนำความรูไ้ ปใช้

ด้านความรู้ทีไ่ ด้รับ/การนำความรไู้ ปใช้ xˉ S.D. ระดบั ความสำคัญ

๑.ทา่ นไดร้ ับความร/ู้ ทักษะจากการเข้าร่วมโครงการ/กจิ กรรมมากเพยี งใด ๔.๕๓ .๔๗๐ มากที่สดุ

๒.ท่านสามารถนำความร้/ู ทักษะท่ีได้ ไปใช้ไดม้ ากเพยี งใด ๔.๓๑ .๔๙๒ มากที่สดุ

๓.ทา่ นได้รับโอกาสในการเรยี นร้เู ทา่ เทียมกันเพยี งใด ๔.๔๐ .๔๙๘ มากทส่ี ุด

๔.ความรู้ท่ีไดร้ บั คุ้มคา่ กบั เวลา และความตงั้ ใจเพียงใด ๔.๒๓ .๔๘๘ มากทส่ี ุด

๕.ท่านพึงพอใจต่อหลักสูตรนีเ้ พยี งใด ๔.๔๒ .๔๙๒ มากทส่ี ุด

คา่ เฉล่ยี ๔.๔๒ .๒๖๒ มากท่ีสุด

จากตารางที่ ๕.๓ ผลการประเมินความพึงพอใจพบวา่ ผู้ตอบแบบประเมินความพงึ พอใจ ส่วนใหญ่ให้

ความพึงพอใจ เกี่ยวกับความรู้ที่ได้รับ/การนำความรู้ไปใช้ จากการดำเนินการจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ

การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ นักศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดี ณ ห้องสมุดประชาชนอำเภอ

สุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส โดยภาพรวมและรายข้ออยู่ในระดับมากท่ีสุด เม่ือพิจารณารายข้อพบว่าข้อที่ (๑)

๑.ท่านได้รบั ความร/ู้ ทักษะจากการเข้าร่วมโครงการ/กจิ กรรมมากเพียงใด มีค่าเฉล่ียสูงสดุ ส่วนขอ้ ที่ (๔) ความรู้

ท่ีไดร้ บั ค้มุ ค่ากบั เวลา และความตง้ั ใจเพียงใด มคี า่ เฉล่ยี ต่ำสดุ

ตอนที่ ๓. แสดงผลการวิเคราะห์ของขอ้ เสนอแนะอ่ืนๆ ของผู้เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร
การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ นักศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดี ประจำภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา
๒๕๖๔

- อยากให้มีโครงการในลักษณะนี้อีก เนื่องจากเป็นเรื่องที่สำคัญ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการ
สอบตอ่ ไปได้

บทที่ ๕
สรุปผลการประเมนิ อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ

ในการประเมินคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ของการประเมิน คือ 1.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ

เกี่ยวกับการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ๒ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่าง

ครบถว้ น สมบรู ณ์3 เพอื่ ใหก้ ล่มุ เป้าหมายเรียนรู้จากประสบการณต์ รงในกระบวนการแสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง

โดยอาศัยวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ และสามารถนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้

รูปแบบที่ใช้ในการประเมินได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจ โดยประเมินในด้าน ๑.ด้านด้าน
วิทยากร ๒.ด้านสถานท่ี/สื่ออุปกรณ์/ระยะเวลา ๓.ด้านความรู้ท่ีได้รับ/การนำความร้ไู ปใช้ ในการประเมินใน
ครั้งน้ีเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ นักศึกษาขั้น
พื้นฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดี จำนวน ๑๒๐ คน โดยเคร่ืองมือที่ใช้ประเมินได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจ
เก่ียวกับการความรู้ ความเข้าใจ การเห็นความสำคัญของการทำฝึกทำแบบทดสอบได้แม่นยำท่ีถูกต้อง และทำ
การเก็บข้อมลู โดยให้ผู้เข้าร่วมโครงการกรอกข้อมูลหลังจากเสร็จส้ินการเรียนรู้ครบตามกิจกรรมท่ีกำหนด สถิติ
ที่ใชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูลได้แก่ ค่าความถีร่ ้อยละ สถติ คิ ่าเฉลยี่ (Mean) และคา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation)
สรปุ ผลการประเมนิ โครงการ

ในการประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ นักศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กศน.
อำเภอสุไหงปาดี ประจำภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔จากผลการวิเคราะห์ข้อมูล สรุปเป็นประเด็นสำคัญ
ได้ดงั นี้

ตอนท่ี ๑ ข้อมูลท่วั ไปของผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจ
จากผลการประเมินพบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
นักศึกษาข้ันพื้นฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดี ประจำภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย
คิดเป็นร้อยละ ๕๔.๕๗ และท่ีตอบน้อยท่ีสุด คือเพศหญิง คิดเป็นรอ้ ยละ ๔๕.๘๓ ตามลำดับ มีช่วงอายุ ๑๕ -
๓๙ ปี คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐ การศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐
ตอนที่ ๒ ข้อมูลแสดงความสำคัญของระดบั ความพึงพอใจ/ความรู้ความเขา้ ใจ/การนำไปใช้ ต่อการเข้า
ร่วมโครงการ
จากผลการประเมินความพึงพอใจพบว่า สรุประดับความพึงพอใจ ความรู้ความเข้าใจ และการนำไปใช้ ต่อการ
เข้าร่วมโครงการ จากการดำเนนิ การจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ นักศกึ ษาขั้น
พ้ืนฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดี ประจำภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด
เม่ือพิจารณารายด้านพบว่าขอ้ ที่ พบว่าข้อท่ี (๑) ๑.ท่านได้รับความร้/ู ทักษะจากการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม
มากเพียงใด มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ส่วนข้อที่ (๔) ความรู้ที่ได้รับคุ้มค่ากับเวลา และความตั้งใจเพียงใด มีค่าเฉล่ีย
ต่ำสุด

ตอนที่ ๓. ข้อมูลแสดงข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ของผ้เู ข้ารว่ มโครงการ จากผลการประเมินพบวา่ ผู้ตอบแบบ
ประเมินความพึงพอใจ ให้เหตุผลควรอยากให้มีโครงการในลักษณะนี้อีก เนื่องจากเป็นเร่ืองที่สำคัญ และ
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการสอบต่อไปได้

การอภปิ รายผล
ในการประเมินโครงการในครั้งนี้ สามารถอภิปรายผลตามลำดับของวัตถุประสงค์ของการประเมิน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ นักศึกษาขั้นพื้นฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดี
ประจำภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ มีประเด็นที่น่าสนใจนำมาอภปิ รายผล ดังน้ี
๑. ข้อสังเกตจากการดำเนินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ นักศึกษาขั้น
พื้นฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดี ประจำภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ พบว่าส่วนใหญ่กลุ่มเปา้ หมายจะนำ
ความรไู้ ปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตดีขน้ึ
๒. ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถนำความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจำวนั

ภาคผนวก

ภาพกจิ กรรม
โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ นกั ศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กศน.

อำเภอสุไหงปาดี ประจำภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
วันที่ ๑๐ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๕

ณ ศนู ยเ์ ครือข่ายห้องสมดุ ประชาชนอำเภอสไุ หงปาดี



















คำสั่งศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอสไุ หงปาดี
ที่ ๑๐๕ / ๒๕๖๕

เร่อื ง แต่งต้งั คณะกรรมการโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์นกั ศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
กศน.อำเภอสไุ หงปาดี

…………………………………………………………….…………………………………………………..…………
ด้วย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุไหงปาดี ได้ดำเนินการจัดกิจกรรม

โครงการอบรมการทำโครงงานวิทยาศาสตรน์ ักศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน กศน.อำเภอสไุ หงปาดี ระหว่างวนั ที่ 1๐ เดือน

กุมภาพันธ์ พ.ศ. 256๕ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำโครงงาน

วิทยาศาสตร์ มีทักษะในกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างครบถว้ น สมบรู ณ์ และเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง

ในกระบวนการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ และสามารถนำไปใช้ใน

ชีวิตประจำวนั ได้

เพื่อให้การดำเนินงานสำเร็จตามวัตถุประสงค์ อาศัยอำนาจตามคำส่ังท่ี ๔๘๙/๒ ๕๕ ๑

ลงวันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๕๑ เร่ืองมอบอำนาจให้ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัยอำเภอและผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขต ปฏิบัติราชการแทน

ข้อ ๑ จงึ แต่งตงั้ คณะทำงาน ดงั ต่อไปน้ี

๑. คณะกรรมการอำนวยการ มีหน้าท่ี วางแผน ใหค้ ำปรึกษา อำนวยความสะดวกและแก้ไขปัญหา

โครงการใหด้ ำเนินไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย ประกอบด้วย

๑.๑ นางหทัยกาญจน์ วัฒนสิทธิ์ ผอ. กศน.อำเภอสไุ หงปาดี ประธานกรรมการ

๑.2 นางมัทมา แวนาแว ครผู ู้ชว่ ย กรรมการ

1.3 นายนูรอิสวาน สงิ หะ ครผู ู้ชว่ ย กรรมการ

๑.๔ นายสมบูรณ์ มามะ ครูผู้ชว่ ย กรรมการและเลขานกุ าร

2. ฝา่ ยวชิ าการ มหี น้าที่ จดั ทำเอกสารประกอบการอบรมตามโครงการ ประกอบดว้ ย

๒.๑ นางสาวโนรม์ รี ร์ า ดะแซ ครผู ู้ชว่ ย หวั หนา้ คณะทำงาน

๒.๒ นางมทั มา แวนาแว ครผู ชู้ ่วย คณะทำงาน

2.3 นางสาววาทณิ ี ศรีจรสั ครูผชู้ ่วย คณะทำงาน

2.4 นางสาวมธุรา วจอี สิ มยั ครอู าสาฯ คณะทำงาน

3. คณะกรรมการฝ่ายรบั ลงทะเบยี น มีหน้าท่ี ประสานงานกับผู้ที่เก่ียวขอ้ ง ต้อนรับ และจัดทำบัญชี

ลงทะเบียนและรบั ลงทะเบียนผเู้ ข้ารบั การอบรม ประกอบด้วย

3.๑ นางยามลี ะห์ สงิ หะครู กศน.ตำบลรโิ ก๋ หัวหน้าคณะทำงาน

3.๒ นายอาหามะ ตาเยะ กศน.ตำบลสากอ คณะทำงาน

3.๓ นางมารยี านา อบั ดลุ เลาะ ครูอาสาฯ ปอเนาะ คณะทำงาน

3.๔ นางสาวจันทิรา สือแม กศน.ตำบลโต๊ะเดง็ คณะทำงาน

3.๕ นางสาวรุสนีดา ยนู ุ๊ กศน.ตำบลกาวะ คณะทำงาน
3.๖ นางสุทธิดา อดุ มเพช็ ร์ กศน .ตำบ ลสุไห งป าดี คณะทำงานและ
เลขานุการ

4. ฝ่ายยานพาหนะและอาคารสถานท่ี เคร่ืองเสียง มีหน้าที่ ประสานงานการขอใช้สถานที่

ทำหนังสือขอใช้สถานท่ี และจัดเตรียมสถานท่ีให้ความพร้อมในการดำเนินโครงการตามที่ได้วางไว้

ประกอบด้วย

4.๑ นายสมบูรณ์ มามะ ครูผูช้ ว่ ย หวั หนา้ คณะทำงาน

4.๒ นายนรุ อสั วาน สิงหะ ครผู ู้ชว่ ย คณะทำงาน

4.๓ นายอัลนากิฟท์ ดารอเดร์ ครูผชู้ ว่ ย คณะทำงาน

4.๔ นายมูฮมั หมัดอัสรี ยูโซะ ครูผชู้ ่วย คณะทำงาน

4.๕ นางสาวนูรไอนี ตาเยะ ครผู ู้ช่วย คณะทำงาน

4.๖ นายอาหามะ ตาเยะ ครู กศน.ตำบลสากอ คณะทำงาน

4.๗ นายนิไยลานี บินนเิ ดง็ ครอู าสาฯ คณะทำงาน

4.๘ นางมธุรา วจีอิสมยั ครอู าสาฯ คณะทำงาน

4.๙ นางยามลี ะห์ สงิ หะ ครู กศน.ตำบลริโก๋ คณะทำงานและเลขานุการ

5. ฝ่ายประชาสัมพันธ์และเทคโนโลยี มีหน้าท่ี บันทึกภาพกิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการและ

จัดทำข่าวสารขอ้ มลู ประกอบด้วย

5.๑ นางยไู นดะห์ มะเก ครูผชู้ ว่ ย หวั หนา้ คณะทำงาน

5.๒ นายอัลนากิฟท์ ดารอเดร์ ครูผู้ช่วย คณะทำงาน

5.๓ ว่าที่ร้อยตรีสหัฐ มะดาแฮ ครูอาสาฯประจำปอเนาะ คณะทำงานและเลขานุการ

6. ฝ่ายพธิ ีกรและวิทยากร มหี น้าที่ เปน็ พิธกี รและเป็นวิทยากรตามกำหนดการในโครงการฯ

ประกอบด้วย

6.๑ นางสาวมธรุ า วจอี ิสมัย ครอู าสาฯ พิธีกรดำเนนิ รายการ

6.๒ นางสาวโนร์มีรร์ า ดะแซ ครูผู้ชว่ ย หวั หน้าวทิ ยากร

6.3 นางมัทมา แวนาแว ครผู ชู้ ว่ ย วิทยากร

6.4 นางยูไนดะห์ มะเก ครผู ู้ช่วย วิทยากร

6.5 นายอัลนากฟิ ท์ ดารอเดร์ ครูผชู้ ว่ ย วิทยากร

6.6 นางสาววาทณี ี ศรีจรสั ครผู ู้ช่วย วทิ ยากร

6.7 นายนรุ อัสวาน สงิ หะ ครผู ชู้ ่วย วิทยากร

6.8 นางรจนา นิลวัตน์ ครูผชู้ ว่ ย วิทยากร

6.9 นายสมบรู ณ์ มามะ ครผู ชู้ ่วย วทิ ยากร

6.10 นายมูฮัมหมัดอัสรี ยูโซะ ครูผู้ช่วย วิทยากร

6.๑1 นางแวนรู ไอนี ตาเยะ ครูผู้ช่วย วิทยากร

7. ฝ่ายอาหารและเคร่ืองดื่ม มีหน้าที่ ประสานงานจัดหาอาหารและเคร่ืองด่ืม สำหรับผู้เข้าร่วม

โครงการและบริการวิทยากร ประกอบด้วย

7.๑ นางยามีละห์ สิงหะ ครู กศน.ตำบลริโก๋ หัวหนา้ คณะทำงาน

7.๒ นางมารียานา อบั ดลุ เลาะ ครอู าสาฯ ปอเนาะ คณะทำงาน

7.๓ นางสาวจันทริ า สือแม กศน.ตำบลโตะ๊ เด็ง คณะทำงาน
7.๔ นางสาวรุสนดี า ยูนุ๊
7.๕ นางสาวรุสสะลีนา ยาเส็ง กศน.ตำบลกาวะ คณะทำงาน
7.๖ นางอาฟสิ า ตาเล๊ะ
7.๗ นางสุทธิดา อุดมเพ็ชร์ บรรณารกั ษ์ คณะทำงาน

เลขานุการ พนักงานบรกิ าร คณะทำงาน

ก ศ น .ต ำบ ล สุ ไห งป าดี ค ณ ะท ำงาน แล ะ

8. ฝ่ายการเงินและพัสดุ มีหน้าท่ี จัดหาวัสดุ อุปกรณ์และอำนวยความสะดวกในการดำเนิน

ตามโครงการฯ ประกอบด้วย

8.๑ นางรจนา นลิ วัตน์ ครผู ชู้ ่วย หวั หน้าคณะทำงาน

8.๒ นางสาวกันภิรมย์ แสงฉายศุภกลุ เจ้าหนา้ ท่ีพสั ดุ คณะทำงาน

8.๓ นางแวนูรไอนี ตาเยะ ครูผชู้ ่วย คณะทำงานและเลขานกุ าร

9. ฝ่ายประเมินผลโครงการ มีหน้าที่ ติดตามผลผู้รบั การอบรมหลังจบโครงการ จัดทำแบบประเมิน

ความพงึ พอใจและรวบรวมขอ้ มูลมาสรปุ รายงาน เพี่อนำข้อเสนอแนะมาปรับปรงุ คร้งั ต่อไป ประกอบด้วย

๙.๑ นายสมบูรณ์ มามะ ครูผู้ชว่ ย หัวหนา้ คณะทำงาน

๙.๒ นางมทั มา แวนาแว ครผู ูช้ ว่ ย คณะทำงาน

๙.๓ นางสาววาทิณี ศรจี รัส ครูผู้ชว่ ย คณะทำงานและเลขานกุ าร

ขอให้ผู้ท่ีรับการแต่งต้ังปฏิบัติหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมายด้วยความเอาใจใส่อย่างเคร่งครัด เพ่ือให้บรรลุ
วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการและเกดิ ผลดตี ่อทางราชการ

ท้งั นี้ ตัง้ แตว่ นั ที่ 2๔ มกราคม ๒๕๖๕ ถงึ วันที่ ๑๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕

ส่ัง ณ วนั ท่ี 2๔ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๕

(นางหทยั กาญจน์ วัฒนาสิทธ์ิ)
ผู้อำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสุไหงปาดี

แบบประเมนิ ความพึงพอใจของผเู้ รียนตอ่ การเรยี นรู้

โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์นกั ศึกษาข้นั พน้ื ฐาน กศน.อำเภอสุไหงปาดี

ประจำภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

วนั ท่ี 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565

สถานทจี่ ดั ณ ศูนย์เครือข่ายหอ้ งสมุดประชาชนอำเภอสุไหงปาดี จังหวดั นราธวิ าส

*********************************************

คำอธิบาย แบบประเมนิ ฉบบั น้ีมที งั้ หมด 3 ตอน ขอใหผ้ ตู้ อบแบบประเมนิ ตอบให้ครบทง้ั 3 ตอน เพ่ือใหก้ ารดำเนนิ โครงการ/

กิจกรรมเปน็ ไป

ตามวัตถุประสงค์และเพ่ือเป็นประโยชน์ในการนำไปใชต้ อ่ ไป

ตอนท่ี 1 สถานภาพทัว่ ไป
คำชีแ้ จง โปรดทำเครอื่ งหมาย ✓ลงในชอ่ ง  หนา้ ขอ้ ความ

1. เพศ

 หญงิ  ชาย

2. อายุ

 ต่ำกวา่ 15 ปี  15-39 ปี  40-59 ปี  60 ปขี ้นึ ไป

3. การศกึ ษา

 ต่ำกวา่ ประถมศึกษา  ประถมศึกษา  มัธยมศกึ ษาตอนตน้  มธั ยมศึกษาตอนปลาย  อนื่ ๆ

.........................4. อาชีพ

 เกษตรกร  รับจ้าง  ธรุ กิจส่วนตวั  อื่นๆ (ระบ)ุ ..........................................................

ตอนที่ 2 ระดับความพงึ พอใจ / ความรูค้ วามเข้าใจ / การนำไปใช้ ตอ่ การเข้ารว่ มโครงการ
คำช้แี จง โปรดทำเครอื่ งหมาย ✓ ลงในช่องท่ตี รงกับความพึงพอใจของท่านเพยี งระดับเดยี ว

ระดบั ความพงึ พอใจ

ที่ ประเดน็ การถาม 54 32 1

ดา้ นวทิ ยากร ดีมาก ดี พอใช้ ต้อง ตอ้ ง
1 วิทยากรมาใหค้ วามรู้ตรงตามเวลา ปรับปรงุ ปรบั ปรงุ
2 วิทยากรมาให้ความรูค้ รบตามหลกั สูตรกำหนด เร่งดว่ น
3 ความสามารถในการถา่ ยทอดความรขู้ องวทิ ยากร
4 เน้อื หาวชิ าท่จี ัดการเรยี นรตู้ รงตามความต้องการของท่านเพยี งใด
ด้านสถานท/่ี สื่ออปุ กรณ์/ระยะเวลา
5 สถานทเี่ รียนเหมาะสมเพยี งใด
6 จำนวนสื่อ/อุปกรณ์การฝึกประกอบการเรยี นเพียงพอเพยี งใด
7 ระยะเวลาในการเรยี น/ กจิ กรรมเหมาะสมเพยี งใด
ดา้ นความรูท้ ไ่ี ด้รบั /การนำความร้ไู ปใช้
8 ทา่ นได้รับความร/ู้ ทักษะ จากการเขา้ ร่วมโครงการ/กจิ กรรมมากเพยี งใด

ระดบั ความพงึ พอใจ

ที่ ประเด็นการถาม 54 3 2 1

ดีมาก ดี พอใช้ ต้อง ต้อง
ปรับปรุง ปรับปรงุ
เร่งดว่ น

9 ท่านสามารถนำความรู/้ ทกั ษะที่ได้ ไปใชไ้ ด้มากเพยี งใด

10 ทา่ นไดร้ บั โอกาสในการเรียนรู้เทา่ เทียมกันเพียงใด

11 ความร้ทู ีไ่ ด้รบั คมุ้ ค่ากบั เวลา และความตงั้ ใจเพียงใด

12 ท่านพงึ พอใจต่อหลกั สตู รนเี้ พียงใด

ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………

ผูจ้ ดั ทำ

ทปี่ รึกษา หมนี หวงั ประธานกรรมการสถานศึกษา
วัฒนสทิ ธิ์ ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอสไุ หงปาดี
๑. นายไพโรจน์ กรรมการสถานศึกษาและเลขานุการ
๒. นางหทัยกาญจน์
ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอสไุ หงปาดี
สนบั สนุนข้อมูล วัฒนสิทธ์ิ ครผู ู้ชว่ ย
มามะ
๑. นางหทยั กาญจน์ ครผู ู้ชว่ ย
๒. นายสมบรู ณ์

เรียบเรยี ง/ทาน/ตน้ ฉบบั /จัดพมิ พ์

นายสมบรู ณ์ มามะ

บรรณานุกรม

อัญชลี ธรรมะวิธกี ลุ .(ออนไลน์). การนิเทศการศึกคษำานนอำกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

เข้าถึงไดจ้ าก : https : //panchalee.wordpress.com/2009/07/29/nfe-supervision
(วนั ท่สี ืบคน้ ข้อมลู : ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๙)
รศ.ดร.บญุ ชม ศรีสะอาด การแปลผลเมอ่ื ใช้เครอื่ งมือรวบรวมข้อมูลแบบมาตราสว่ นประมาณคา่
เขา้ ถงึ ได้จาก https : // www.watpon.com/boonchom/05.doc
(วนั ทส่ี ืบคน้ ข้อมลู : ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๙)
กลุ่มแผนงาน สำนักงาน กศน. (ออนไลน์). การจัดการศึกษาตอ่ เนื่อง.
เขา้ ถึงไดจ้ าก:http://203.146.15.79/ROS/index.php/2015-03-31-08-45-49/2015-04-02-02-
54-10/2015-04-02-16-46-42 (วันทีส่ ืบค้นข้อมูล : ๑๒ กรกฎาคม๒๕๕๙)




Click to View FlipBook Version