The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ban Nonsawan School, 2021-08-08 02:06:19

Nonsawan Model เพื่อส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรสายงานสอนในโรงเรียนอย่างเป็นระบบ

Nonsawan Model

NONSAWAN MODEL
เพื่อสง่ เสรมิ การพัฒนาบคุ ลากรสายงานสอนในโรงเรยี นอยา่ งเปน็ ระบบ

จัดทาโดย
นางธัญสรณ์ ไหมทอง
ผูอ้ านวยการโรงเรยี นบ้านโนนสวรรค์

โรงเรียนบา้ นโนนสวรรค์ ตาบลเกาะแกว้ อาเภอสาโรงทาบ
สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 1

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ปีพุทธศักราช 2564

คานา

แบบเสนอผลงานการบรู ณาการแนวคดิ สกู่ ารปฏิบัตทิ ่ดี ี ด้านการบรหิ ารจดั การ โรงเรยี น
คณุ ภาพวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. เรอื่ ง NONSAWAN MODEL เพ่ือ
ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรสายงานสอนในโรงเรยี นอย่างเป็นระบบ ฉบับน้ีมรี ายละเอียดของตวั ชีว้ ดั รายการ
ตรวจสอบ และเกณฑ์การประเมินใน 2 ด้าน ไดแ้ ก่ (1) ตัวชวี้ ัดในการบรหิ ารจัดการโรงเรียนคณุ ภาพฯ สสวท.
ซงึ่ ประกอบดว้ ย(1.1) วิสัยทัศน์ พนั ธกิจ เปา้ หมายท่สี ง่ เสริมการเปน็ โรงเรียนคุณภาพฯ สสวท. และ (1.2) การ
ดาเนินการเพ่ือพัฒนาการบริหารการจัดการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ คณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี องสถานศึกษา
ได้แก่ (1.2.1) หลกั สูตรสถานศกึ ษา (1.2.2) การพัฒนาศักยภาพบุคลากร (1.2.3) การสง่ เสรมิ สนบั สนุนการ
จดั การเรียนรู้ สื่อ และแหล่งเรยี นรู้ และ (1.2.4) การสง่ เสริมการพัฒนาโรงเรยี นคุณภาพฯ สสวท.รว่ มกับ
เครอื ข่าย และ (2) ตัวชี้วดั รายการตรวจสอบและเกณฑ์การประเมนิ แนวปฏิบตั ิท่ีดี ซ่ึงประกอบดว้ ย (2.1) ช่ือ
แนวปฏิบตั ทิ ี่ดี (Good Practice) (2.2)ความสาคัญและความเปน็ มา (2.3) เป้าประสงคแ์ ละตัวชว้ี ัดความสาเร็จ
ของแนวปฏบิ ตั ทิ ี่ดี (2.4) กลยุทธ์และการดาเนินการพัฒนาแนวปฏบิ ัติที่ดี (2.5) การนิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล
ตามเปา้ ประสงคแ์ ละตวั ชวี้ ัดความสาเรจ็ ระหว่างการดาเนินการของแนวปฏิบัติทดี่ ี (2.6) ผลลัพธ์ ผลกระทบ
และคณุ ภาพของแนวปฏิบัติท่ีดี และ (2.7)แนวทางการพฒั นาตอ่ ยอดแนวปฏิบตั ิท่ดี ี เพ่ือนาเสนอผลงานการ
บรู ณาการแนวคิดสู่การปฏบิ ตั ิที่ดดี า้ นการบรหิ ารจดั การโรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตรค์ ณิตศาสตร์และ
เทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท.

โรงเรียนบ้านโนนสวรรคข์ อขอบคุณคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผูป้ กครอง ผนู้ าชุมชน
เครือข่ายบรหิ ารสถานศึกษาสาโรงทาบ สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 1 หน่วยงาน
ท่เี ก่ยี วข้องท้ังภาครฐั และเอกชน ท่ีใหก้ ารสนับสนุนการบริหารการศกึ ษาใหส้ าเรจ็ เพ่ือมุ่งสกู่ ารเปน็ โรงเรียน
คณุ ภาพวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท.

โรงเรยี นบา้ นโนนสวรรค์

สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1

สารบญั

เร่ือง หน้า
คานา ก

สารบญั ข

ผลงานการบูรณาการแนวคดิ ส่กู ารปฏิบัตทิ ่ดี ดี า้ นการบรหิ ารจดั การ 1
ตอนที่ 1 1
2
1.1 ขอ้ มลู พืน้ ฐานของโรงเรียน 5
1.2 วสิ ยั ทัศน์ พันธกจิ เป้าหมายที่ส่งเสรมิ การเปน็ โรงเรยี นคณุ ภาพฯ สสวท.
ตอนท่ี 2 การดาเนินการเพือ่ พฒั นาการบริหารจดั การเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี 5
ของสถานศึกษา 9
2.1 ดา้ นหลกั สูตรสถานศึกษา 10
2.2 ดา้ นการพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากร 10
2.3 ดา้ นการสง่ เสริมสนับสนุนการจัดการเรยี นรู้ ส่ือ และแหล่งเรยี นรู้ 12
2.4 ดา้ นบรหิ ารจดั การเพื่อส่งเสริมการพฒั นาโรงเรยี นคณุ ภาพฯ สสวท.รว่ มกับเครอื ขา่ ย 12
ตอนท่ี 3 แนวปฏบิ ตั ิที่ดี 12
3.1 ชอ่ื แนวปฏบิ ัตทิ ด่ี ี (Good Practice) 14
3.2 ความสาคญั และความเป็นมา 15
3.3 เป้าประสงค์และตวั ชวี้ ัดความสาเร็จของแนวปฏบิ ตั ิที่ดี 19
3.4 กลยทุ ธ์และการดาเนินการพฒั นาแนวปฏิบัตทิ ด่ี ี
3.5 การนเิ ทศ ติดตาม ประเมินผลตามเป้าประสงค์และตวั ชี้วดั ความสาเรจ็ ระหว่าง 20
27
การดาเนินการของแนวปฏบิ ัติทดี่ ี
3.6 ผลลัพธ์ ผลกระทบและคุณภาพของแนวปฏิบัตทิ ีด่ ี
3.7 แนวทางการพฒั นาต่อยอดแนวปฏิบตั ิทด่ี ี

ภาคผนวก

แบบเสนอผลงานการบรู ณาการแนวคดิ สกู่ ารปฏิบัตทิ ่ดี ี ด้านการบริหารจัดการ
โรงเรียนคณุ ภาพวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท.
ประกอบด้วยเนอื้ หาและคาอธบิ ายการเขยี น ดังนี้

ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลพื้นฐานของโรงเรยี น วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ เปา้ หมายทสี่ ่งเสริมการเป็นโรงเรียนคณุ ภาพฯ สสวท.

1.1 ข้อมูลพ้ืนฐานของโรงเรยี น

ช่ือโรงเรียนบา้ นโนนสวรรค์ ตาบลเกาะแกว้ อาเภอสาโรงทาบ จงั หวัดสุรนิ ทร์

สงั กัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมสรุ นิ ทร์เขต 1

จานวนนกั เรียน 172 คน จานวนครู 14 คน

ท่ดี นิ เปน็ ท่ีราชพสั ดุ มีเนื้อท่ี 20 ไร่ 1 งาน 34 ตารางวา

เปดิ สอนระดับชัน้ อนบุ าล 2 ถงึ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ระดับทจ่ี ัดการศึกษา

 ประถมศึกษา  มธั ยมศกึ ษา

 ขยายโอกาส  ท้งั ประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษา

ขนาด

 เลก็  กลาง

 ใหญ่  ใหญ่พเิ ศษ

ทีอ่ ย่ตู ิดต่อทางไปรษณีย์ตง้ั อยู่เลขที่ 176 หม่ทู ่ี 7 ตาบลเกาะแก้ว อาเภอสาโรงทาบ จังหวดั สุรินทร์
รหัสไปรษณยี ์ 32170
โทรศัพท์ 044-569029
เว็บไซตข์ องโรงเรียน : www.bannonsawan.ac.th
เฟสบคุ๊ : https://web.facebook.com/sns.nonsawan (โนนสวรรค์ สาโรงทาบ)
ปที ่ีเขา้ ร่วมโครงการโรงเรยี นคุณภาพฯ สสวท. พ.ศ. 2563
ช่อื – นามสกลุ ของครูผู้ประสานงาน นางพัชราวลัย ดวงดี
อีเมลของครผู ู้ประสานงาน [email protected]
เบอร์โทรศัพท์ของครูผูป้ ระสานงาน 093-4217318

1.2 วิสัยทศั น์ พันธกิจ เปา้ หมายทส่ี ่งเสรมิ การเป็นโรงเรียนคุณภาพฯ สสวท.
โรงเรียนบา้ นโนนสวรรค์ สังกดั สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมสุรนิ ทรเ์ ขต 1 ได้ดาเนนิ การ

บริหารจัดการศึกษายดึ หลักการบรหิ ารงานโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน (School Based Management :SBM) ได้
กาหนดทศิ ทางในการบริหารจัดการสถานศึกษาใหม้ ีคุณภาพไดม้ าตรฐาน นาหลกั การบริหาร
ตา่ ง ๆ เชน่ หลกั ธรรมาภบิ าล (Good Governance) หลักการสรา้ งทีมงาน การบรหิ ารจัดการ
ความรู้ (KM) วงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (P D C A) หลกั การนเิ ทศแบบกลั ยาณมิตร ทีเ่ หมาะสมมาใชเ้ พ่ือ
ใหเ้ กดิ ประสิทธิผลอย่างมีประสิทธภิ าพมากทีส่ ดุ ไดน้ าหลักของรปู แบบการบรหิ ารโรงเรียนแบบมสี ว่ นร่วมมา
เชอ่ื มโยงเป็นวงจรเชิงระบบ 5D MODEL ดังน้ี

1. การกระจายอานาจ (Decentralization : D1 ) เปน็ การมอบอานาจผู้ใต้บังคบั บัญชาปฏิบตั ิ หนา้ ท่ี
ตามภาระความรับผิดชอบ โดยอาศัยหลกั ธรรมาภบิ าล (Good governance)

2. การพัฒนา (Development : D2) พัฒนาบคุ ลากรเพ่ือเพ่มิ ขีดความสามารถในการปฏิบัตงิ าน
3. การปฏิบัติ (Do : D3) ลงมือปฏบิ ัตงิ านโดยใชห้ ลกั การปฏบิ ตั เิ ชงิ คณุ ภาพตามวงจรคุณภาพของ
เดมมิ่ง (Deming Circle : PDCA)
4. การกากับติดตาม (Direction : D4) เปน็ การประเมนิ เพื่อปรับปรงุ และพฒั นาด้วยการนเิ ทศที่ดี
5. การมรี ะเบียบวินยั (Discipline : D5) ปฏิบตั ิตามระเบยี บวินัยอยา่ งเคร่งครัด
โดยมีข้ันตอนในการทางาน ดังน้ี
1) รว่ มกนั วเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มโรงเรยี น (SWOT Analysis) ท่ีมีผลตอ่ การบริหารจดั การ
เรียนรู้ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ดา้ นจุดแขง็ จดุ อ่อน โอกาสและส่ิงท้าทาย ครอบคลุมทั้ง
ปัจจัยภายในและภายนอก
2) กาหนดเปา้ หมายท่ีชัดเจนเพ่อื นาทีมไปสูค่ วามสาเรจ็ รว่ มกัน
3) สรา้ งรูปแบบการทางานอย่างมีสว่ นร่วม กาหนดยุทธศาสตร์ในการพฒั นาให้เป็นรูปธรรม
4) ปฏิบัตงิ านร่วมกนั อย่างเป็นระบบ โดยใช้วงจรเดมมิง่ (PDCA) ในการดาเนนิ งานทกุ คร้ัง
5) บรหิ ารจดั การภายใต้หลักธรรมาภิบาล จดั ให้มกี ารนเิ ทศ ปรับปรงุ และพัฒนางานให้
ครอบคลุมหลกั การเพ่ือให้เกดิ ความเชอ่ื มน่ั และศรัทธาในการดาเนินการบริหารสถานศกึ ษา
จากรปู แบบและข้ันตอนการปฏิบัตทิ ีไ่ ดก้ าหนดไวข้ า้ งต้น ได้จัดทาแผนพฒั นาการศึกษา
ขนั้ พื้นฐานระยะ 3 ปี แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปี และแผนโครงการพฒั นาคุณภาพสถานศึกษาท่ีส่งเสรมิ ทักษะ
การเรียนรทู้ างวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี จะนาไปส่วู ิสยั ทศั น์ พันธกิจ พันธกิจ จดุ เนน้ และ
การขบั เคล่ือนนโยบายส่กู ารปฏิบตั ิดังน้ี

1. วสิ ัยทศั น์
โรงเรยี นบา้ นโนนสวรรคจ์ ดั การศึกษาใหผ้ ูเ้ รยี นมคี วามรู้ค่คู ุณธรรมมีคณุ ภาพไดม้ าตรฐานระดับสากล

บนพื้นฐานความเป็นไทย ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. พนั ธกจิ

1. พัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาใหท้ นั ต่อการเปลี่ยนแปลง และความต้องการพฒั นาผู้เรยี น
ในศตวรรษท่ี 21

2. จดั การศกึ ษาเน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ ใหผ้ ูเ้ รียนเปน็ ผเู้ รยี นรู้ ผู้รว่ มสร้างสรรคน์ วัตกรรม พลเมอื ง
ท่เี ขม้ แข็ง มีความเป็นไทย ยดึ หลักคณุ ธรรมตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมีความสามารถตาม
มาตรฐานการศึกษา พัฒนาสู่ระดบั สากล

3. สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนมีทักษะความเป็นเลิศทางวชิ าการ และรกั การทางาน
4. สง่ เสรมิ พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรฐานวชิ าชีพช้ันสงู
5. ใช้ระบบประกนั คุณภาพภายในพฒั นาการบริหาร และจัดการให้มคี ณุ ภาพ เกดิ ประสทิ ธิภาพ
6. บรู ณาการการบรหิ าร และจดั การเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้เปน็ “โรงเรียคณุ ภาพประจา
ตาบล”
3. เป้าหมาย
1. เตรียมความพร้อมเดก็ ปฐมวยั ใหพ้ รอ้ มทั้งดา้ นรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญา
2. พฒั นาหลักสูตร การจัดการศึกษา ยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน ให้มีคุณภาพ ทันต่อการ
เปล่ยี นแปลง และความต้องการพฒั นาในศตวรรษท่ี 21
3. จัดการศึกษาโดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั เพ่ิมโอกาสให้เด็กด้อยโอกาส ให้นักเรียนไดเ้ รียนรู้
อย่างมีคณุ ภาพ
4. นกั เรยี นมคี ุณะรรม จรยิ ธรรม รกั การทางาน สานึกความเป็นไทย และดาเนินชวี ิตตาม
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
5. นกั เรียนมสี ขุ ภาพกาย สขุ ภาพจิตทดี่ ี มีทกั ษะในการดารงชีวติ เป็นพลเมืองทเี่ ข้มแขง็
6. โรงเรยี นมแี หล่งเรยี นรู้ บรรยากาศท่ีปลอดภยั มรี ะบบเทคโนโลยที ่ีเออ้ื ต่อการเรียนรู้
เปน็ โรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล
7. พฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ใหส้ อดคล้องกับมาตรฐานวชิ าชพี ชนั้ สงู
8. โรงเรียนมรี ะบบประกันคุณภาพภายในทเ่ี ขม้ แขง็ เปน็ กลไกของการบริหารและจัดการ
คณุ ภาพการศึกษา
9. บูรณาการการบริหาร และจัดการคณุ ภาพการศึกษากับภาคส่วนทเี่ กี่ยวข้อง

4. จดุ เนน้
4.1 จุดเนน้ ด้านผเู้ รยี น นักเรยี นมสี มรรถนะสาคญั สู่มาตรฐานสากล มที กั ษะการเรยี นรู้ท่ีสาคญั ในการ

ดารงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นจากการทดสอบระดับชาติสูงกว่าคา่ เฉลยี่ ของชาติ มี
คุณธรรมจริยธรรมตามค่านิยมพน้ื ฐาน 12 ประการ รกั สามัคคี ปรองดอง สมานฉันทร์ ักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
ภูมใิ จในความเปน็ ไทย ห่างไกลยาเสพตดิ มีคุณลักษณะและทกั ษะทางสงั คมท่ีเหมาะสม นกั เรยี นท่ีมีความ
ตอ้ งการพิเศษได้รบั การส่งเสริม และพฒั นาเต็มศักยภาพ

4.2 จุดเนน้ ดา้ นครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
พฒั นาครใู ห้มีองคค์ วามรู้และสมรรถนะในการจัดการเรยี นรู้ สามารถใช้เทคโนโลยแี ละ
กระบวนการวิจัยส่กู ารสร้างนวตั กรรมในการจดั การเรยี นรู้ เป็นครแู ละบุคลากรทางการศึกษามืออาชพี
มีผลงานเชงิ ประจกั ษ์ ไดร้ บั การยกยอ่ ง เชดิ ชเู กยี รติอยา่ งเหมาะสม ยดึ ระบบคณุ ธรรมในการบรหิ ารงาน
4.3 จุดเน้นดา้ นการบริหารจดั การ ท้ังด้านหลกั สูตรและกระบวนการเรียนรู้ การประกนั
คุณภาพการศึกษา โดยรว่ มมือและประสานสมั พนั ธก์ บั ทุกภาคสว่ นในสถานศกึ ษาและองคก์ รท่ีเกี่ยวข้อง
บริหารจัดการโดยมงุ่ ผลสัมฤทธเิ์ นน้ การกระจายอานาจ การมสี ว่ นร่วม และมคี วามรับผิดชอบต่อผลการ
ดาเนินงาน
5. กลยทุ ธใ์ นการดาเนินงาน
จากวิสัยทศั น์ พันธกิจ เป้าหมาย โรงเรยี นบา้ นโนนสวรรค์ จงึ กาหนดกลยุทธ์ จานวน 6 กลยุทธ์

ดงั ต่อไปนี้

กลยทุ ธ์ท่ี 1 พัฒนาผู้เรียนให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ
กลยุทธ์ท่ี 2 พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี นและส่งเสริมการจัดการศกึ ษาเพ่ือสรา้ งขีดความสามารถในการรแข่งขนั
กลยุทธ์ท่ี 3 พฒั นาคุณภาพผู้บริหาร ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหม้ ีคณุ ภาพ
กลยทุ ธ์ท่ี 4 เพ่มิ โอกาสการเข้าถงึ บริการการศึกษาในระดับกอ่ นประถมศึกษา ประดับประถมและ

มัธยมศกึ ษาให้ท่ัวถึง เทา่ เทียม และครอบคลุมผู้เรยี นใหไ้ ดร้ บั การพัฒนาเต็มตามศักยภาพ และมี
คณุ ภาพ
กลยทุ ธ์ที่ 5 พัฒนาแหล่งเรียนรูแ้ ละสภาพแวดล้อมในโรงเรยี นให้เออื้ ต่อการเรียนรู้ และส่งเสรมิ ให้

สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรยี นรู้
กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาประสิทธิภาพการบรหิ ารจดั การสถานศึกษาโดยเนน้ การมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา

ของผปู้ กครอง ชุมชน ตลอดจนองค์กรทุกภาคสว่ น และระดมทรัพยากรเพ่ือ สนบั สนนุ
การจัดการศึกษา
6. การขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏบิ ัติ เพือ่ สร้างความมนั่ ใจแกพ่ ่อแม่ ผูป้ กครอง และชุมชนวา่ ผเู้ รียนไดร้ บั

การพัฒนาให้มีคุณภาพตามที่คาดหวังตามท่ีกาหนดในมาตรฐานการเรียนรู้ และเปน็ สมาชิกทีด่ ีของชมุ ชน

1. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

ในการสนบั สนนุ และ สง่ เสริมการจัดการศึกษา โดยมุง่ เนน้ การมสี ว่ นร่วมการร่วมมือร่วมใจการประสานงาน

2. สง่ เสริมให้ทุกภาคส่วนของสังคมเกดิ ความตระหนกั ในความรับผิดชอบต่อนกั เรยี น และเขา้
มามีสว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา

3. นาระบบประกนั คุณภาพภายใน เปน็ กรอบในการ ขับเคลอ่ื นคุณภาพของสถานศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษาตามแผนพฒั นาการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานของโรงเรียนบา้ นโนน
สวรรคจ์ ากโอกาสและข้อจากัดของโรงเรยี น โดยมสี ่วนรว่ มจากผ้ทู เี่ กี่ยวข้อง เชน่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้
พ้ืนฐาน ครู ผู้ปกครอง ตัวแทนชุมชน ตัวแทนศษิ ย์เกา่ และตัวแทนนกั เรยี นในปปี จั จบุ นั โดยใชก้ ระบวนการ
บริหารแบบวงจรเดมมิ่ง (PDCA) เป็นเครื่องมือการบรหิ ารงานมีความชดั เจนในกระบวนการดาเนนิ งาน
สามารถวดั และประเมนิ ผลการดาเนินการตามแผนในการติดตาม ปรบั ปรุงพัฒนาใหบ้ รรลตุ ามเปา้ หมายในการ
ดาเนนิ งานทุกครง้ั เพ่อื จัดการศกึ ษาใหม้ ีคุณภาพ สามารถพฒั นาผูเ้ รยี นให้
มที กั ษะ ความรู้ ความสามารถ และมีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ อย่างเหมาะสมกับบริบทโรงเรียนและ
สอดคล้องกบั จดุ หมายในการจดั การศึกษาของชาติ รวมทั้งจัดทารายงานผลการปฏิบัติงานประจาปีให้
หน่วยงานตน้ สังกัดทราบทกุ ปี เพ่ือม่งุ สู่การเปน็ แบบอย่างโรงเรยี นคณุ ภาพวิทยาศาสตร์คณติ ศาสตร์และ
เทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท.

ตอนท่ี 2 การดาเนนิ การเพอื่ พัฒนาการบรหิ ารการจดั การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
ของสถานศึกษา
2.1 การบริหารจัดการเรียนรดู้ า้ นหลักสตู รสถานศกึ ษา

กระทรวงศึกษาธิการโดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน จงึ ไดด้ าเนินการทบทวน
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 โดยนาข้อมลู จากแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม
แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี และแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 มาใช้เปน็ กรอบ
และทศิ ทางในการพฒั นาหลกั สูตรให้มีความเหมาะสมชดั เจนย่ิงขึ้น ในระยะสั้นเหน็ ควรปรับปรงุ หลักสูตรใน
กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม ซ่ึงมีความสาคัญตอ่ การพัฒนาประเทศ และเป็นรากฐานสาคัญท่ีจะชว่ ยให้มนษุ ยม์ ีความคิด
รเิ รม่ิ สร้างสรรค์ คิดอย่างมเี หตผุ ล เป็นระบบ สามารถวิเคราะหป์ ญั หาหรือสถานการณ์ได้อยา่ งรอบคอบ และถ่ี
ถ้วน สามารถนาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยที ่ีเหมาะสมในการบูรณาการกับความรู้
ทางด้านวทิ ยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพื่อแก้ปัญหาหรือพฒั นางานด้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมท่ี
นาไปสกู่ ารคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ หรอื สรา้ งนวตั ตกรรมตา่ ง ๆ ทเี่ อื้อต่อการดารงชีวิต การใช้ทกั ษะการคิดเชงิ
คานวณ ความรู้ทางด้านวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี และการสอื่ สารในการแก้ปัญหาท่พี บในชีวติ
จรงิ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ รวมทง้ั ใช้ความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ กระบวนการ และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์

เรยี นรู้ส่ิงตา่ ง ๆ ทอี่ ยรู่ อบตวั อย่างเขา้ ใจสภาพท่ีเปน็ อยู่ และการเปลย่ี นแปลง เพ่ือนาไปสูก่ ารจัดการ และปรบั
ใช้ในการดารงชีวิต และการประกอบอาชีพอยา่ งสรา้ งสรรค์

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโนนสวรรค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2563) เป็นแผนหรือแนวทางหรือขอ้ กาหนดของการจัดการศึกษาของ
โรงเรียนบ้านโนนสวรรค์ ท่ีจะใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานท่ี
กาหนด มงุ่ พฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ คนดี มีปัญญา มีความสขุ มีศกั ยภาพในการศึกษาตอ่
และประกอบอาชพี โดยมุ่งหวงั ให้มคี วามสมบรู ณท์ ้งั ดา้ นรา่ งกาย จิตใจ และสติปัญญา อกี ทงั้ มคี วามรู้
และทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการดารงชวี ิต และมีคุณภาพได้มาตรฐานสากลเพื่อการแข่งขันในยุคปัจจุบัน ดังนั้น
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านโนนสวรรค์จึงประกอบดว้ ยสาระสาคัญของหลกั สูตรแกนกลาง สาระความรู้
ทีเ่ กี่ยวข้องกับชุมชนท้องถิ่น และสาระสาคัญที่สถานศึกษาพัฒนาเพิ่มเติม โดยจัดเป็นสาระการเรียนรู้รายวิชา
พนื้ ฐานตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ชี้วัด และสาระการเรยี นรรู้ ายวิชาเพิ่มเติม
จดั กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นเปน็ รายปีในระดับประถมศกึ ษา เป็นรายภาคในระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
และกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของหลักสูตรแกน
การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโนนสวรรค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2563) ได้มีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดท่ีชัดเจน เพื่อใชเ้ ป็นทิศทางในการจัดทาหลักสูตร
การเรียนการสอนในแต่ละระดับ นอกจากน้ันได้กาหนดโครงสร้างเวลาเรียนขั้นต่าของแต่ละกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ในแต่ละช้ันปีไว้ในหลักสูตรแกนกลาง และเปิดเพิ่มเติมเวลาเรียนตามความพร้อม และจุดเน้น อีกทั้งได้
ปรับกระบวนการวัด และประเมนิ ผลผู้เรยี น เกณฑก์ ารจบการศกึ ษาแต่ละระดบั
และเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และมีความชัดเจนต่อ
การนาไปปฏบิ ัติ

ลักษณะของหลักสูตร ดงั นี้
1. เป็นหลักสูตรเฉพาะของโรงเรียนบ้านโนนสวรรค์ สาหรับจัดการศึกษาในหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพ้นื ฐานในระดบั ชนั้ ประถมศึกษา และชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
2. มีความเป็นเอกภาพ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโนนสวรรค์ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2563) เป็นหลักสูตรของสถานศึกษาสาหรับให้ครูผู้สอนนาไป
จัดการเรียนรู้ไดอ้ ย่างหลากหลาย โดยกาหนดให้

2.1 มีสาระการเรียนรู้ท่สี ถานศึกษาใช้เป็นหลกั เพื่อสรา้ งพืน้ ฐานการคิดการเรียนรู้ และการ
แกป้ ัญหา ประกอบดว้ ย ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

2.2 มีสาระการเรียนรู้ท่เี สริมสร้างความเป็นมนุษย์ ศกั ยภาพการคดิ และการทางาน
ประกอบดว้ ย สขุ ศึกษา และพลศกึ ษา ศิลปะ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี และภาษาอังกฤษ

2.3 มสี าระการเรียนรเู้ พิ่มเติม โดยจดั ทาเป็นรายวิชาเพ่มิ เติมเพ่ือมงุ่ สู่การเป็นแบบอย่างโรงเรียน
คุณภาพวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท.

2.4 มีกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพ่ือพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และ
สังคม เสรมิ สร้างการเรียนร้นู อกจากกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 8 กลมุ่ และการพฒั นาตนตามศักยภาพ

2.5 มีการกาหนดมาตรฐานของสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานระดับต่าง ๆ เพื่อเป็น
เป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา จัดทารายละเอียดสาระการเรียนรู้ และจัด
กระบวนการเรยี นรูใ้ ห้สอดคลอ้ งกับสภาพในชมุ ชน สงั คม และภูมิปัญญาท้องถน่ิ

3. มีมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสาคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนบ้านโนนสวรรค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2563) เป็นหลักสูตรทมี่ ีมาตรฐานเป็นตวั กาหนดเกี่ยวกบั คุณลักษณะที่พึงประสงคข์ องผู้เรียน เพอื่ เป็นแนวทาง
ในการประกันคุณภาพการศกึ ษา โดยมีการกาหนดมาตรฐานไว้ดังน้ี

3.1 มาตรฐานหลกั สตู ร เป็นมาตรฐานด้านผูเ้ รยี นหรอื ผลผลติ ของหลกั สูตรสถานศกึ ษา
อันเกิดจากการได้รับการอบรมสั่งสอนตามโครงสร้างของหลักสูตรท้ังหมดใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอบ
คุณภาพโดยรวมของการจัดการศึกษาตามหลักสูตรในทุกระดับ และสถานศึกษาต้องใช้สาหรับการประเมิน
ตนเองเพอ่ื จัดทารายงานประจาปีตามบทบัญญัติในพระราชบัญญัติการศึกษา นอกจากน้ียงั เป็นแนวทางในการ
กาหนดแนวปฏิบตั ใิ นการสง่ เสรมิ กากบั ตดิ ตาม ดูแล และปรับปรงุ คุณภาพ เพ่อื ให้ไดต้ ามมาตรฐานทกี่ าหนด

3.2 มีตัวช้ีวัดช้ันปีเป็นเป้าหมายระบุสิ่งที่นักเรียน พึงรู้ และ ปฏิบัติได้ รวมท้ังคุณลักษณะของ
ผู้เรียนในแต่ละระดับช้ัน ซ่ึงสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจง และมีความเป็นรูปธรรม
นาไปใช้ในการกาหนดเน้ือหา จัดทาหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และ เป็นเกณฑ์สาคัญสาหรับการวัด
ประเมินผล เพ่ือตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน ตรวจสอบพัฒนาการผู้เรียน ความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม
จรยิ ธรรม และค่านยิ มอันพงึ ประสงค์ และเปน็ หลักในการ เทียบโอนความรู้

และประสบการณจ์ ากการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
3.3 มีความเป็นสากล ความเป็นสากลของหลักสูตรสถานศึกษา คือมุง่ ให้ผู้เรยี น

มีความรู้ ความสามารถในเร่ืองเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาษาอังกฤษ การจัดการสิ่งแวดล้อม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน
มีคุณลักษณะที่จาเป็นในการอยู่ในสังคมได้แก่ ความซ่ือสัตย์ ความรับผิดชอบ การตรงต่อเวลา การเสียสละ
การเอื้อเฟื้อ มีจิตอาสา โดยอยู่บนพื้นฐานของความพอดีระหว่าง การเป็นผู้นา และผู้ตาม การทางานเป็นทีม
และการทางานตามลาพังการแข่งขัน การรู้จักพอ และการร่วมมือกันเพื่อสังคม วิทยาการสมัยใหม่ และภูมิ

ปญั ญาทอ้ งถิ่น การรับวัฒนธรรมต่างประเทศ และการอนุรักษ์วฒั นธรรมไทยการฝึกฝนทักษะเฉพาะทาง และ

การบูรณาการในลักษณะท่ีเป็นองค์รวม

4. มีความยืดหยุ่น หลากหลาย หลักสูตรโรงเรียนบ้านโนนสวรรค์ เป็นหลักสูตรท่ีสถานศึกษาจดั ทา

รายละเอียดต่าง ๆ ข้ึนเอง โดยยึดโครงสร้างหลักท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน เป็น

ขอบขา่ ยในการจัดทา จึงทาใหห้ ลกั สตู รของสถานศกึ ษามคี วามยืดหยุ่น หลากหลาย สอดคล้องกับสภาพปัญหา

และความตอ้ งการของท้องถนิ่ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ มีความเหมาะสมกบั ตัวผ้เู รยี น

5. การวดั และประเมนิ ผลเน้นหลกั การพน้ื ฐานสองประการ คือ การประเมนิ เพ่ือพัฒนาผเู้ รยี น และ

เพอ่ื ตัดสินผลการเรยี น โดยผูเ้ รยี นตอ้ งได้รบั การพัฒนา และประเมนิ ตามตัวชว้ี ัดเพอ่ื ให้บรรลตุ ามมาตรฐานการ

เรียนรู้ สะทอ้ นสมรรถนะสาคัญ และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของผ้เู รยี นเป็นเป้าหมายหลกั ในการวัด และ

ประเมินผลการเรยี นรใู้ นทกุ ระดบั ไม่วา่ จะเปน็ ระดบั ชนั้ เรียน ระดับสถานศึกษา ระดบั เขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา และ

ระดบั ชาติ การวัด และประเมินผลการเรยี นรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น และใชผ้ ลการประเมนิ

เปน็ ข้อมูล และสารสนเทศท่แี สดงพัฒนาการ ความกา้ วหน้า และความสาเร็จทางการเรยี นของ

ผู้เรยี น ตลอดจนข้อมลู ท่เี ปน็ ประโยชนต์ ่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกดิ การพฒั นา และเรียนรอู้ ย่างเต็มตาม

ศักยภาพ

การบรหิ ารจดั การเรียนรดู้ า้ นหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโนนสวรรค์ ได้ดาเนนิ การพัฒนาหลักสตู ร

สถานศกึ ษาโรงเรียนบ้านโนนสวรรค์ โดยการมสี ่วนร่วมของทกุ ภาคส่วน มกี ารเตรยี มความพร้อมในการกา้ วสู่

สงั คมคุณภาพมีความรอู้ ย่างแทจ้ รงิ และมีทักษะในศตวรรษที่ 21 เพือ่ นาไปใช้ประโยชน์และเปน็ กรอบในการ

วางแผนพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรยี นการสอน โดยมีกาหนดเปา้ หมายในการพัฒนาคุณภาพ

ผู้เรยี นมกี ารส่อื สารและกาหนดผูร้ ับผดิ ชอบในเครือข่ายร่วมพัฒนาโรงเรียน ใหม้ กี ระบวนการนา

หลักสูตรไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ โดยมีการกาหนด จดุ หมาย สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชวี้ ัด โครงสร้างหลักสตู รรายวชิ า คาอธิบายรายวชิ า หรอื กจิ กรรมทส่ี ่งเสริมการเรียนรู้

วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และมีความสอดคล้องกับหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน การนา

หลักสูตรทพ่ี ัฒนาขึ้นไปใช้ไดจ้ ริง และการกากับ ติดตามอยา่ งต่อเน่ือง มีการประเมินผลการใช้หลกั สตู รเพือ่

ทบทวนและปรับปรงุ พัฒนาการดาเนนิ งาน ทาให้โรงเรยี นสามารถกาหนดทิศทางในการจัดทาหลกั สูตรการ

เรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพรอ้ ม และจดุ เนน้ โดยมกี รอบแกนกลางเปน็ แนวทางทีช่ ดั เจน เพ่ือมุ่งสู่

การเป็นแบบอย่างโรงเรยี นคุณภาพวิทยาศาสตร์คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท.

2.2 การบริหารจัดการเรียนรดู้ ้านการพฒั นาศักยภาพบุคลากร

การพฒั นาศักยภาพบุคลากรเป็นกระบวนการส่งเสริมให้บคุ ลากรมีความรู้ ความสามารถ

ปรบั เปลย่ี นทศั นคติในการทางาน มวี ิธีการปฏบิ ตั ิงาน ให้บรรลเุ ปา้ หมาย เพือ่ ใหก้ ารปฏิบัติงานมีประสิทธภิ าพ

และมปี ระสิทธิผลมากยิง่ ขึน้

การบรหิ ารจัดการเรยี นรดู้ ้านการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากรของโรงเรยี นบา้ นโนนสวรรค์ บริหารโดย
เน้นใหผ้ ้รู ่วมงานทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่อการพัฒนางานขององค์กร ได้จดั ทาแผนงาน
โครงการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร หรือกิจกรรมท่ีพฒั นาสมรรถนะ เพื่อสง่ เสริม สนบั สนนุ ใหค้ รผู ้สู อน
วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และเทคโนโลยี ไดร้ ับการพฒั นาศักยภาพในการจดั การเรยี นรู้ตามแนวทาง สสวท.
ตามความสนใจ ความต้องการจาเป็น ผ่านกระบวนการท่ีหลากหลาย เชน่ การใช้กระบวนการ PLC (ชมุ ชน
แห่งการเรียนรู้วิชาชพี ) การอบรมพฒั นาดว้ ยตนเอง การศึกษาดงู าน การจดั การเรยี นรแู้ บบเปิด (Lesson
study) เป็นต้น เป็นกระบวนการเพ่ือใหม้ ีการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมและทัศนคติของบคุ ลากรเพ่ือใหส้ ามารถ
ปฏิบัตงิ านการจดั การเรียนรูไ้ ด้ดีขึ้น ทาให้ครสู ามารถวางแผนพฒั นาตนเอง (ID PLAN) เพอื่ แก้ไขจดุ อ่อน และ
เสรมิ จุดเดน่ เพอื่ ใหส้ ามารถจัดการเรียนรู้ทส่ี ง่ เสริมทักษะการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ
เทคโนโลยี ครูพฒั นาตนเองตามแผนที่กาหนดโดยใช้กระบวนการ PLC การอบรม หรอื การเรียนรู้ด้วยตนเอง
และนาความรู้ทีไ่ ดจ้ ากพัฒนาตนเองมาใชใ้ นการปรับปรุงและพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ มีการแลกเปลีย่ นเรยี นรู้
หรือเผยแพร่ขยายผลต่อไป ซ่ึงจะนาไปสู่
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้เกดิ ผลสาเรจ็ ตอ่ ผเู้ รียนอย่างมีประสิทธิภาพ และยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการ
เรียน

กากบั ดแู ลและตดิ ตามให้ครผู ู้สอนวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จดั กจิ กรรมการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ตามแนวทาง สสวท. มกี ารประเมนิ ผลการใชแ้ ผนการพัฒนา
ศักยภาพบุคลากร และนาผลการประเมินไปใชป้ รับปรงุ การพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร สง่ ผลให้ครู
มกี ารพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนื่อง เชน่ การพฒั นาการจดั การเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
การพฒั นาดา้ นวดั และประ เมินผลการเรียนรู้ พฒั นาสื่อการเรียนรูแ้ ละพฒั นาด้านการทาวิจยั ในชน้ั เรียน มี
การบรหิ ารโดยใช้ทฤษฎเี สริมแรง (Rein for cement Theory) ตามเทคนิค 5 ใจ
อันได้แก่ ให้ใจ ได้ใจ ประสานใจ ใหก้ าลังใจ และดแู ลรกั ษาใจ สง่ เสริมสนับสนุน ยกย่อง และเชดิ ชูเกยี รติครทู ่ี
มีผลงานดีเด่นด้านวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
2.3 การบริหารจดั การเรยี นรดู้ ้านการสง่ เสริมสนบั สนุนการจดั การเรยี นรู้ สื่อ และแหล่งเรยี นรู้

จดั ทาแผนการส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจัดการเรียนรู้ สอื่ และแหลง่ เรียนรใู้ นการจดั การเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี เชน่ การสนับสนนุ งบประมาณ สนบั สนุนสิ่งอานวยความสะดวก
ต่าง ๆ จดั หาสื่ออุปกรณ์ หนงั สือเรียน ค่มู ือครู ห้องปฏิบัตกิ ารวิทยาศาสตร์ หอ้ งปฏิบตั ิกการคอมพวิ เตอร์
เทคโนโลยีระบบเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ ใชท้ รัพยากรส่งิ แวดลอ้ มรอบตวั เป็นแหลง่ เรยี นรู้ สร้างเครือข่ายแหล่ง
เรียนรู้จัดทาทะเบยี นแหล่งเรียนร้ทู ้งั ในและนอกโรงเรียนในการจัดการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และ
เทคโนโลยี

ส่งเสรมิ สนับสนุนใหม้ ีการจัดทาส่อื ใชแ้ หล่งเรยี นรู้จากส่ิงต่าง ๆ ใกล้ตวั จดั อบรมเชงิ ปฏิบัติการในการ
ผลติ สื่อทีใ่ ชว้ สั ดแุ บบประหยัดหรือผลติ สื่อแบบ ICT และให้ครูพฒั นาตนเองผา่ นระบบอนนไลน์ สง่ เสริมให้ครูมี
การเลอื กใช้ สรา้ ง หรือพฒั นาสิ่งสนับสนุนการเรยี นรู้อย่างคุ้มค่าและมีประสทิ ธิภาพ

ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาต้องสนบั สนุนให้ครูส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นเรียนรู้ดว้ ยการลงมอื ปฏบิ ตั ิ จดั กจิ กรรมการ
เรยี นรู้เชิงรกุ (Active Learning) โดยการออกแบบการเรียนรู้ และการจดั การเรยี นรู้ ทเี่ นน้ ให้ผ้เู รียนปฏิบตั จิ รงิ
สร้างองค์ความรู้ ผ่านการคิดข้ันสงู (Higher-Order Thinking) การไดป้ ฏบิ ตั ิงาน สรา้ งสรรคง์ าน นาเสนองาน
ดว้ ยตัวเองเพ่ือให้ผเู้ รียนเกดิ สมรรถะในการเรียนรู้ ความสามารถท่ีจะนาความรู้
ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรสู้ ิ่งต่าง ๆ เพ่ือใหไ้ ด้มาซ่ึงความรู้และประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวันไดอ้ ยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ

ผบู้ รหิ ารสนับสนุนการนิเทศการจดั การเรยี นการสอนและกากับตดิ ตามประเมินผล
เพ่ือขับเคลื่อนการศกึ ษาให้บรรลตุ ามวตั ถุประสงค์และนาผลการประเมินไปใชป้ รบั ปรุงการพัฒนาใหม้ ีคุณภาพ
สงู ข้นึ

2.4 การบริหารจัดการเรยี นรดู้ า้ นการสง่ เสรมิ การพัฒนาโรงเรยี นคณุ ภาพฯ สสวท. รว่ มกบั เครอื ขา่ ย
การบรหิ ารจดั การเรยี นรู้รว่ มกบั เครือขา่ ย มีดงั น้ี
1. โรงเรียนมีแผนงานโครงการที่สง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ ม มีการจัดทาแผนงานโครงการ

ได้ดาเนนิ การแตง่ ตั้งคณะกรรมการดาเนนิ ส่งเสรมิ สนบั สนุนการจดั การเรียนรู้ตามโครงการโรงเรียนคณุ ภาพ
วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. โดยชมุ ชน ทอ้ งถ่นิ ภาคเอกชน ภาคส่วนอนื่
ๆ มีส่วนร่วม ไดแ้ ก่ โครงการส่งเสริมความรว่ มมือกบั ชมุ ชน ซ่งึ เป็นโครงการต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาค
ส่วน

2. มเี ครอื ขา่ ยการมีส่วนรว่ ม โดยมีการสรา้ งเครือขา่ ยเพื่อแสวงหาความรว่ มมือท้ังภายในและ
ภายนอกเป็นระบบชดั เจนและตอ่ เนื่อง

การจดั การศกึ ษาของโรงเรียนบ้านโนนสวรรค์ มคี วามเขม้ แข็งเป็นอยา่ งยง่ิ ปจั จัยอยา่ งหนง่ึ
ท่สี ่งเสริมความเข้มแข็งน้ี คือ การมเี ครือขา่ ยพฒั นาคุณภาพการศึกษาที่เข้มแขง็ ยงั่ ยนื คือ ปฏิญาณเขาค้อ อัน
หมายถงึ การสัญญารว่ มกนั ว่า

ข้อ 1 ผ้บู รหิ ารในอาเภอสาโรงทาบ เปน็ ผสู้ รา้ งแรงบนั ดาลใจในการขบั เคล่อื น
การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาให้เกดิ ข้ึนกับนกั เรยี น

ข้อ 2 ผบู้ ริหารในอาเภอสาโรงทาบ เปน็ ผู้ขบั เคล่ือนสาโรงทาบ โมเดล (SAMRONGTHAP
MODEL) ให้ประสบความสาเรจ็

ข้อ 3 สาโรงทาบ โมเดล (SAMRONGTHAP MODEL) คอื หัวใจในการพัฒนาการศึกษา
และเปน็ วฒั นธรรมองค์กรทย่ี ั่งยืนของอาเภอสาโรงทาบ

โดยเครือขา่ ยนี้ประกอบดว้ ยสถานศึกษาในอาเภอสาโรงทาบ จานวน 32 โรงเรียน

สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมสุรนิ ทร์เขต 1 ได้จัด สาโรงทาบ โมเดล (SAMRONGTHAP

MODEL) เพ่ือใหผ้ ้บู รหิ ารมีคุณภาพ มรี ปู แบบการบริหารที่ดเี พ่ือเป็นแนวทางการบริหารงานนาไปส่คู ุณภาพ

ของสถานศกึ ษา

นอกจากนโี้ รงเรยี นยังมีเครือข่ายอื่น ๆ ท่สี ่งเสริมคุณภาพนักเรยี น โดยมีองค์กรหรอื หน่วยงานในชุมชน

ทีพ่ ร้อมจะรว่ มกนั ขบั เคล่อื นการศึกษาของโรงเรยี นอีกหลายหนว่ ยงาน ดงั น้ี องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลเกาะแก้ว

โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลเกาะแก้ว เครือข่ายบริหารสถานศกึ ษาแบบบูรณาการสาโรงทาบ 1 ศูนย์

การศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวัดสุรนิ ทร์ และมูลนธิ ิกระจกเงา “โครงการคอมพวิ เตอรเ์ พ่ือน้อง”

3. มีการดาเนินงานโดยชุมชนมีสว่ นร่วมอยา่ งเปน็ รูปธรรม โดยชมุ ชนมสี ่วนร่วมในการขับเคล่ือน

พฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาของโรงเรยี นอยา่ งตอ่ เนื่องและเป็นรปู ธรรม เพ่ือสง่ เสรมิ การพฒั นาโรงเรียน

คณุ ภาพฯ ตามมาตรฐาน สสวท. กล่าวคือ

ชมุ ชนรว่ มคิด คดิ เพ่ือพฒั นานาพาโรงเรียนสู่ความก้าวหน้า

ชุมชนร่วมทา ทาเพ่ือขับเคลอื่ นนาพาโรงเรียน

ชุมชนรว่ มนา นาความสาเร็จมาสโู่ รงเรยี น

ชุมชนร่วมภูมใิ จ ภูมใิ จในความสาเร็จของโรงเรียน

ชมุ ชนรว่ มชน่ื ชม ชื่นชมใหก้ าลงั ใจและสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาอย่างยงั่ ย่ืน

4. มีการระดมทรัพยากรจากทกุ ภาคสว่ น ดงั น้ี

รบั เงนิ บริจาคผา้ ปา่ เพ่ือการศึกษาโรงเรียนบ้านโนนสวรรค์ จานวน 113,209 บาท

- พระครูพิบูลพฒั น์ประสุต เจ้าอาวาสวัดบา้ นข่า ตาบลช่างป่ี อาเภอศีขรภูมิ จงั หวดั สุรนิ ทร์

บรจิ าคเงนิ จานวน 20,000 บาท เพือ่ สนบั สนนุ การศกึ ษาโรงเรยี นบ้านโนนสวรรค์

- องค์การบริหารส่วนตาบลเกาะแก้ว ตาบลเกาะแกว้ อาเภอสาโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์

สนับสนุนงบประมาณเพ่ือพัฒนาการศึกษา จานวน 20,000 บาท

- โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลเกาะแก้ว ตาบลเกาะแก้ว อาเภอสาโรงทาบ จงั หวัดสุรินทร์

สนบั สนุนเงินอุดหนุนจากกองทนุ หลักประกันสขุ ภาพโครงการส่งเสรมิ การบริโภคอาหารตามหลักโภชนาการ

เพือ่ สขุ ภาพอนามัยเด็กนกั เรยี น จานวน 22,860 บาท

- ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจังหวัดสุรนิ ทร์ สนับสนุ งบประมาณคา่ บริการสอนเสริมตาม

สาระการเรยี นรู้ จานวน 21,000 บาท

- มูลนิธกิ ระจกเงา “โครงการคอมพวิ เตอรเ์ พอื่ น้อง” กรุงเทพมหานคร บริจาคคอมพิวเตอร์

จานวน 20 เครอ่ื ง พรอ้ มส่ือ อปุ กรณ์เพื่อการศกึ ษา

- นอกจากนยี้ ังส่ิงของบริจาคจากคณะครู ห้างร้าน องค์กรตา่ ง ๆ เช่น หน้ากากอนามัย

สิ่งของจาเป็นเพื่อการศกึ ษา รวมทั้งชมุ ชนรว่ มแรงมือใจในการพฒั นาโรงเรยี นเพอื่ ให้เป็นแหล่งเรียนรภู้ ายใน
สถานศึกษา

มกี ารสอ่ื สารและกาหนดผ้รู บั ผิดชอบในเครือข่ายรว่ มพฒั นาโรงเรยี น เชน่ เครือข่ายผปู้ กครอง ศิษย์
เกา่ คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน โรงเรยี นบา้ นโนนสวรรค์ องค์การบริหารส่วนตาบลเกาะแกว้
หน่วยงานภาครัฐในพ้ืนท่ี เป็นตน้ เพ่ือนาแผนพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษาไปสูก่ ารปฏบิ ัติ

5. มกี ารกากับ ติดตาม ประเมนิ และรายงานผล เพ่ือนาไปใชป้ รบั ปรุงและพฒั นาอย่างต่อเนอ่ื ง
โรงเรยี นได้มกี ารประชุมชแ้ี จง สรปุ ผลและรายงานผลใหส้ าธารณชนรบั ทราบเม่อื สน้ิ ปีการศกึ ษาโดย
รายงานโครงการและการจดั ทารายงานประจาปี (SAR) อันทาให้โรงเรียนไดร้ ับข้อมูลสะทอ้ นกลับ
(Feedback) เพือ่ ทบทวนและนามาปรบั ปรงุ การดาเนนิ งานพฒั นาตอ่ ไปเพอื่ ใหเ้ กิดองค์ความรูเ้ ก่ียวกบั การ
บริหารจดั การเครือขา่ ยร่วมพัฒนาโรงเรยี นทีเ่ ป็นแบบอย่างโรงเรียนคณุ ภาพ ฯ สสวท.ส่งผลให้ชมุ ชนเกิดความ
พงึ พอใจเป็นอย่างย่ิง

ตอนที่ 3 แนวปฏบิ ัติที่ดี

3.1 ช่อื แนวปฏบิ ัติท่ีดี (Good Practice)

NONSAWAN MODEL เพื่อสง่ เสรมิ การพัฒนาบุคลากรสายงานสอนในโรงเรียนอย่างเปน็ ระบบ

3.2 ความสาคญั และความเปน็ มา
องค์กรจะประสบผลสาเร็จและบรรลจุ ุดหมายไดน้ ั้น ขนึ้ อยู่กบั การใช้ทรัพยากรท่ีมีอยใู่ นองค์กรอย่าง

มปี ระสิทธภิ าพนบั วา่ มีความสาคญั เป็นอย่างยิง่ ทรัพยากรในการบรหิ ารประกอบดว้ ยที่สาคญั คือ
4 M ได้แก่ คน(Man) เงิน (Money) วสั ดสุ ่งิ ของ ( Material) และการจัดการ ( Management) ซ่ึงคนหรอื ท่ี
เรียกวา่ ทรพั ยากรมนษุ ย์ไดร้ บั การกลา่ วถงึ ว่ามีบทบาทสาคัญยงิ่ ตอการขับเคล่ือนองคกรไปขา้ งหนา คนเป็น
ผูส้ รา้ งสรรพสง่ิ ทุกอยา่ งจนกระทงั่ กลายเปน็ ผลผลติ หรือการบริการท่นี า องค์กรไปสคู่ วามสาเร็จและเป็นการ
ฉายภาพลกั ษณ์ท่ดี ีขององค์กรสสู่ าธารณชน

ยุคโลกาภวิ ัฒน์เกิดการเปล่ยี นแปลงไปอยา่ งรวดเร็วส่งผลกระทบทั้งดา้ นเศรษฐกิจ การเมือง สงั คม
และวัฒนธรรม รวมถึงการเปลี่ยนแปลงขององค์กรท้ังภายในและภายนอกองค์กร ภายในองค์กรมกี าร
เปลี่ยนแปลง เชน่ องค์กรต้องมกี ารฝกึ อบรมเพ่ือพัฒนาบุคลากรให้มปี ระสิทธภิ าพในการปฏิบัติงานที่สูงขึน้
หรอื หากองค์กรต้องปรับลดขนาดลง การพัฒนาบุคลากรก็ยงั มสี ว่ นที่สาคญั ท่จี ะช่วยกระตนุ้ ให้บุคลากรเกิด
ความคลอ่ งตัวในการทางานมากขึน้ สว่ นภายนอกองค์กร เช่น สภาพสงั คมและวัฒนธรรม การเมือง เศรษฐกจิ
เปน็ ต้น องค์กรต้องมีการพัฒนาบคุ ลากรเพ่ือจะได้เตรยี มความพร้อมรับมือกับการเปลยี่ นแปลงจากภายนอกอยู่
ตลอดเวลา โดยปกตบิ ุคลากรแต่ละคนมีทัศนคตทิ ่ีแตกตา่ งกนั ไป การพัฒนาบุคลากรสามารถใช้เป็นเคร่ืองมือ

ในการปรับเปลีย่ นพฤติกรรมบุคลากรทที่ างานรว่ มกันใหเ้ ป็นไปในทิศทางเดียวกัน การพัฒนาบุคลากรถือว่า
เป็นการดาเนนิ งานเกย่ี วกบั การส่งเสริมใหบ้ คุ ลากร มีความรู้ความสามารถมที กั ษะในการทางานดีข้นึ ตลอดจน
มที ัศนคติทด่ี ใี นการทางานอันจะเป็นผลให้การปฏบิ ัตงิ านมีประสทิ ธิภาพดียงิ่ ข้ึน

สถานศกึ ษาทุกแหง่ จะประสบความสาเรจ็ ตามเปา้ หมายได้ ตอ้ งอาศัยการขับเคลื่อนของ
องค์ประกอบหลาย ๆ อยา่ ง ท้งั น้ี คน หรอื บุคลากร เปน็ องคป์ ระกอบทส่ี าคญั ของการสรา้ งสรรคแ์ ละ
บรหิ ารงานของสถานศึกษา การพัฒนาใหบ้ คุ ลากรมีศกั ยภาพและสามารถปฏบิ ัติงานได้อยา่ งมี ประสิทธิภาพ
จะส่งผลให้สถานศึกษาบรรลุส่เู ป้าหมายและประสบความสาเรจ็ ในภารกจิ หลกั ได้ โรงเรียนโนนสวรรค์ เป็น
สถานศึกษาหนง่ึ ท่ดี าเนนิ การให้บริการจัดการศึกษา โดยมหี น้าทีห่ ลกั ในการผลติ นกั เรยี น ดังนนั้ การวางแผน
พัฒนาบุคลากรท่เี หมาะสมจะทาใหโ้ รงเรยี นบ้านโนนสวรรค์มีบุคลากรที่มคี วามสามารถสูง ปฏบิ ตั งิ านได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลสามารถ ดาเนนิ กิจกรรมได้สาเรจ็ ตามเปา้ หมายทว่ี างไว้ การพัฒนาบคุ ลากรท่ดี ี
จงึ ตอ้ งมีเปา้ หมายและทิศทางท่ี จะทาใหบ้ ุคลากรที่ปฏบิ ัติงานอยู่ได้มโี อกาสใชค้ วามรู้ ความสามารถของตนเอง
อย่างเตม็ ทีแ่ ละสามารถเพ่ิมผลผลติ ให้กับหน่วยงานได้ การพัฒนาบคุ ลากรสามารถทาได้ในหลายรปู แบบ ไดแ้ ก่
การใหโ้ อกาสในการศึกษาต่อ การอบรมพัฒนาดว้ ยตนเอง การเขา้ รับการฝึกอบรม การเขา้ รว่ มสมั มนา
การศึกษาดูงาน การใชก้ ระบวนการ PLC (ชมุ ชนแห่งการเรียนรูว้ ชิ าชีพ) และการจดั การเรยี นรแู้ บบเปดิ
(Lesson study) ซง่ึ จะช่วยสนบั สนนุ ใหบ้ คุ ลากรได้พัฒนาท้ังด้านความคดิ ความสามารถ ความรคู้ วามชานาญ
ใหม้ ีศักยภาพสูง บคุ ลากรทที่ างานทตี่ นเองรกั จะเกิดความกระตือรอื รน้ ในการทางาน มุ่งสู่ผลผลติ ตามท่ี
หนว่ ยงานต้งั เปา้ หมายไว้

โรงเรยี นบ้านโนนสวรรค์ได้เข้าร่วมโครงการโรงเรยี นคณุ ภาพวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และ
เทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. ทีส่ ่งเสรมิ การจดั การเรยี นการสอนผู้ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และ
เทคโนโลยี โดยเปิดโอกาสใหน้ ักเรียนทุกคนไดเ้ ข้าถึงการศึกษาที่มคี ณุ ภาพ ไดร้ บั การพัฒนาจนมีความสามารถ
และมที ักษะการเรียนรู้ที่จาเป็นในการพฒั นาประเทศสูย่ คุ 4.0 เพอื่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธใิ์ ห้สงู ขึ้นและลดความ
เหลอ่ื มล้าทางการศึกษา โดยการรว่ มมอื กับเครือข่ายท้งั ระดับจังหวดั อาเภอ และท้องถิ่น

บทบาทภาระหนา้ ของโรงเรยี นคุณภาพ ฯ สสวท. ทส่ี าคัญและจาเป็นเร่งด่วนท่ีสดุ สาหรับโรงเรียน
บ้านโนนสวรรค์ ตาบลเกาะแกว้ อาเภอสาโรงทาบ จังหวดั สุรินทร์ คือใหน้ กั เรยี นมีทางเลอื กท่ีจะเขา้ ศกึ ษาใน
โรงเรยี นดีใกลบ้ า้ นและลดความเหลื่อมลา้ ทางการศกึ ษา นกั เรียนมีความรู้ ความสามารถและมที ักษะการ
เรยี นร้ทู ่ีเนน้ การคิดวิเคราะห์ คดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ สามารถประยุกตใ์ ช้ความร้แู ละแกป้ ัญหาซึ่งสง่ ผลตอ่ การ
พฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน ในการขบั เคลื่อนโรงเรียนคุณภาพ สสวท. น้ันผบู้ ริหารตอ้ งได้รับการพัฒนา
ความเปน็ ผูน้ าดา้ นวิชาการ โดยเฉพาะวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี จัดทาวิสยั ทัศนแ์ ละ
แผนพัฒนาโรงเรยี น บริหารจดั หารและออกแบบหลักสูตรสถานศกึ ษา พัฒนาบุคลากร สรา้ งและขบั เคล่ือน
ชมุ ชนแหง่ การเรียนรูเ้ ชงิ วิชาชพี สนับสนุนแหล่งเรยี นรู้ในโรงเรียน และสร้างเครือขา่ ยทงั้ จากจงั หวัด

คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด สสวท. มหาวทิ ยาลัยในพ้นื ท่เี สรมิ ดา้ นวิชาการ และต้นสังกดั ของโรงเรยี น
ท้ังภาครฐั และเอกชนในพน้ื ท่ีสนับสนนุ การจดั การเรียนท่ีมีคุณภาพ

ในการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนคณุ ภาพ ฯ สสวท. นนั้ ในฐานะทเ่ี ป็นผบู้ ริหารสถานศึกษาต้องส่งเสรมิ
สนบั สนนุ ใหค้ รสู ง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนเรยี นรดู้ ้วยการลงมือปฏบิ ัติ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning)
โดยการออกแบบการเรียนรู้ และการจดั การเรยี นรู้ ทเ่ี น้นใหผ้ ู้เรียนปฏิบตั ิจริง สร้างองค์ความรู้ ผ่านการคดิ ข้นั
สงู (Higher-Order Thinking) การได้ปฏบิ ัตงิ าน สร้างสรรค์งาน นาเสนองานด้วยตัวเองเพื่อให้ผเู้ รียนเกิด
สมรรถะในการเรียนรู้ จงึ ต้องส่งเสรมิ สนับสนนุ การพัฒนาบุคลากรสายงานสอนในโรงเรยี นอยา่ งเป็นระบบ

โดยใชร้ ปู แบบการบริหาร NONSAWAN MODEL เพ่ือใหม้ บี คุ ลากรความรคู้ วามสามารถในการจัดกิจกรรม

การเรียนรู้ สง่ เสรมิ ใหค้ รูพฒั นาตนเองผ่านระบบอนนไลน์ สนับสนุนการนิเทศการจัดการเรยี นการสอนและ
กากับติดตามประเมนิ ผลเพ่ือขบั เคลอื่ นการศึกษาใหบ้ รรลตุ ามวตั ถุประสงค์
3.3 เปา้ ประสงค์และตัวช้ีวัดความสาเรจ็ ของแนวปฏิบตั ิที่ดี

1. ผู้บรหิ ารมวี สิ ัยทศั นใ์ นการบรหิ ารงาน มภี าวะผู้นา มคี วามสามารถ ใชร้ ปู แบบการบรหิ ารงานท่ี
ชดั เจน โดยเนน้ ประโยชนส์ ูงสดุ ทเี่ กดิ กบั ผเู้ รียน มีมนุษยสัมพนั ธ์ โปรง่ ใส เปน็ ธรรม เน้นการบรหิ ารงานแบบมี
สว่ นร่วม

2. ความรู้ ทกั ษะความสามารถ ความรบั ผิดชอบต่อตนเองและส่วนร่วมของครูและบุคลากรใน
โรงเรยี น

3. การมีสว่ นรว่ มจากทกุ ฝา่ ยทมี่ สี ว่ นเกีย่ วข้องในการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี น ในการสร้างโอกาส
สร้างคณุ ภาพโดยเน้นประโยชนส์ งู สดุ ทเี่ กิดกับผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ ตามหลักการ ร่วมคดิ ร่วมทา
รว่ มตรวจสอบ รว่ มรบั ผดิ ชอบ

4. มีทิศทางการปฏบิ ัติงานท่ีเป็นระบบ ชัดเจน มีมาตรฐานการจัดการศกึ ษา แผนพัฒนาและ
แผนปฏิบัติการโครงการทเี่ ช่ือมโยงไปสคู่ ณุ ภาพตามมาตรฐานทก่ี าหนด

3.4 กลยทุ ธแ์ ละการดาเนนิ การพฒั นาแนวปฏบิ ตั ทิ ี่ดี
ความสาเร็จของการบริหารโดยใช้โรงเรยี นเปน็ ฐาน (SBM) นอกจากจะยึดหลักการของ SBM และ

แนวทางตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติแลว้ เง่ือนไขความสาเร็จท่สี าคญั ประการหนงึ่ คอื กฎระเบียบท่ี
จะนาสกู่ ารปฏบิ ัตจิ ะตอ้ งมีความชัดเจนนาไปปฏบิ ัติได้ และจะตอ้ งสร้างความเข้าใจกบั ผู้ทีม่ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง การ
บริหารท่ีเปิดโอกาสใหผ้ ูท้ มี่ ีส่วนเกีย่ วขอ้ งกับการจดั การศกึ ษาได้เขา้ มามีสว่ นในการตัดสนิ ใจ รว่ มวางแผนและ
ดาเนนิ งาน เพื่อบรรลเุ ป้าหมายการบริหารแบบมสี ว่ นร่วมเกิดประโยชน์ในการดาเนินการพฒั นาคุณภาพ

การศกึ ษา โดยใช้รปู แบบการบริหาร NONSAWAN MODEL เพ่ือสง่ เสริมการพฒั นาบคุ ลากรสายงานสอน

ในโรงเรียนอยา่ งเป็นระบบ ดังน้ี

N = Next หมายถงึ คดิ เพ่ืออนาคต คณะทางานโรงเรียนบา้ นโนนสวรรค์มกี ารประชุมปรกึ ษาหารือ
วางแผนในการดาเนินงาน โดยวางแผนผลท่จี ะเกดิ ในอนาคตด้วย โดยความร่วมมือทุกภาคส่วนในชุมชนได้
ระดมความคดิ ความต้องการเพอ่ื ให้นักเรียนทุกคนได้เข้าถึงการศกึ ษาที่มีคุณภาพ ได้รบั การพฒั นาจน มี
ความสามารถและมีทักษะการเรยี นรู้ที่จาเป็นในการพัฒนาประเทศส่ยู ุค 4.0 และรว่ มกาหนดทศิ ทางใหต้ รงกับ
ความต้องการของชุมชน ครู ผู้ปกครอง และผ้มู สี ่วนเก่ยี วข้องทุกฝา่ ย เพื่อยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ให้สงู ขึ้นและลด
ความเหล่ือมล้าทางการศึกษา

O = Organization หมายถึง องค์กรคุณภาพการทางานของโรงเรียนบา้ นโนนสวรรคม์ รี ูปแบบ
การทางานรว่ มแรงร่วมใจ เน้นการทางานเป็นทีมทัง้ โรงเรียนและชมุ ชน รว่ มกนั พัฒนาและปรับปรุงวธิ ีการ
ทางานใหม่ ๆ อยู่เสมอมีการนาเทคโนโลยีมาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสดุ ทกุ คนมีการพฒั นาดา้ นความรู้ แนวคิด
นโยบาย และวิธกี ารทางานเพื่อมุ่งสู่การเปน็ แบบอยา่ งโรงเรียนคณุ ภาพวทิ ยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และ
เทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท.

N = Nice Plan หมายถึง การมีแผนที่ดี การร่วมกันวางแผนในการดาเนนิ งานตามวิสัยทัศน์ พนั ธกิจ
เป้าหมายและกลยุทธ์ของสถานศึกษา การะดมความคดิ แสดงความคดิ เหน็ รว่ มกนั ปรึกษาหาแนวทางปฏิบัติ
อย่างรอบคอบ รดั กมุ เตรียมความพร้อมรบั มือกับผลกระทบทีอ่ าจจะเกดิ ขึน้ ได้ เปน็ ภมู ิคุ้มกนั ท่ีดีแก่องค์กร
จดั ทาแผนพฒั นาคุฯภาพการจดั การศึกษา และแผนปฏิบตั ิการประจาปีท่ีมคี ุณภาพ ให้สอดคล้องกับบรบิ ทของ
สถานศึกษา

S = Staffs หมายถึง จัดคนให้เหมาะสมกับงาน มีการวเิ คราะหส์ ภาพปัญหาจากปที ผ่ี า่ นมาถงึ
ประสิทธภิ าพในการทางานของบคุ ลากร ผูบ้ รหิ าร คณะครูร่วมกนั ปรึกษาหารือวางแผนพัฒนาคุณภาพการ

เรียนรขู้ องนักเรยี นโดยใช้กระบวนการ PLC (ชมุ ชนแห่งการเรยี นรูว้ ิชาชีพ) วางแผนการแลกเปลย่ี นเรียนรู้งาน
เพอ่ื เปน็ องคก์ รแห่งการเรียนรู้ ดว้ ยการทาใหบ้ ุคลากรได้มีการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะของตนอยา่ งเตม็
ความรู้ ความสามารถมกี ารอบรมพัฒนาด้วยตนเอง การศึกษาดูงาน การจดั การเรียนร้แู บบเปิด (Lesson
study) เพื่อนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการจดั การเรยี นรู้เพ่ือนามาพฒั นาการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์
คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยีในโรงเรยี น

A = Activity หมายถึง การจดั กิจกรรมทหี่ ลากหลายทยี่ ึดผู้เรียนเป็นสาคญั ชมุ ชนทอ้ งถ่ินเปน็ สาคัญ
โดยสอดคล้องกบั นโยบายและจุดเน้นของหนว่ ยงานตน้ สงั กัดตลอดจนจัดกระบวนการเรียนรู้ทีอ่ าศยั
สื่อ นวัตกรรมเทคโนโลยีที่ทันสมยั แหลง่ เรยี นรู้ ครูภูมิปญั ญา และหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องมาให้ความรแู้ ละทักษะ
ประสบการณ์ มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงคส์ ามารถนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้อย่างมีความสุข

W = Wanting หมายถงึ ความต้องการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาเพ่ือให้นกั เรยี นมที างเลือกทีจ่ ะเข้า
ศึกษาในโรงเรยี นดีใกลบ้ ้านและลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา นักเรียนมคี วามรู้ ความสามารถและมที ักษะ
การเรยี นรทู้ เ่ี นน้ การคิดวิเคราะห์ คิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ สามารถประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้และแกป้ ัญหาในชีวติ ประจาได้

A = Achievement หมายถึง ความสาเรจ็ ในการปฏิบัติโครงการ มีการบริหารจดั การโดยการมี

สว่ นร่วม การสร้างโอกาสและคณุ ภาพการศึกษาโดยการพัฒนาบคุ ลากรสายงานสอนในโรงเรียนอยา่ งเป็น
ระบบ มีผลการปฏิบัติวธิ ีทเ่ี ป็นเลิศ ในการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นคุณภาพ ฯ สสวท. ดว้ ยรูปแบบ NONSAWAN
MODEL มุ่งใหเ้ กดิ ประสทิ ธผิ ลกบั ผเู้ รยี น มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นสงู ขึ้น มคี ณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคแ์ ละผล
การทดสอบระดบั ชาติ o-net สงู ข้นึ ครูและบุคลากรเปน็ ครูมอื อาชพี มสี มรรถะ
เพื่อนาไปใชจ้ ัดการเรียนรู้ในทุกระดบั ช้ัน มีผลงานความสาเรจ็ ของครู ทาใหเ้ กดิ เชื่อม่ันศรทั ธาจากผูป้ กครอง
และท้องถนิ่ ในพฒั นาโรงเรียนให้ดียิงขึน้ ต่อไป

N = Network หมายถึง สรา้ งเครือข่ายประสานงานกับผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั
พ้นื ฐาน การประชาสมั พนั ธห์ น่วยงานที่เก่ียวข้องทง้ั ภาครฐั และเอกชน เผยแพรก่ ิจกรรมโครงการของ
สถานศกึ ษาตอ่ สาธารณชน ผ่านทางช่องทาง ดงั นี้

- เว็บไซตข์ องโรงเรียน : www.bannonsawan.ac.th
- เฟสบุ๊ค : https://web.facebook.com/sns.nonsawan (โนนสวรรค์ สาโรงทาบ)
- วารสารประชาสมั พนั ธ์โรงเรยี นบา้ นโนนสวรรค์

แหล่งขอ้ มูล

QR Code ภาพการวางแผนประชมุ หารอื กับผู้มีสว่ นเก่ียวขอ้ งทกุ ภาคส่วน
QR Code หลักสตู รสถานศกึ ษา

QR Code การพฒั นาบุคลากรสายงานสอนในโรงเรียนอย่างเปน็ ระบบ

QR Code กจิ กรรมการจัดการเรยี นร้ทู ีเ่ น้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั
QR Code วารสารประชาสัมพนั ธ์

3.5 นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผลตามเป้าประสงค์และตัวชี้วัดความสาเร็จระหวา่ งการ
ทางโรงเรียนนากระบวนการ PLC มาใช้นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลระหวา่
โมเดลการนา PLC เขา้ สู่การพัฒนาคุณภ
โมเดลการนา PLC เข้าสู่การพัฒนาคณุ ภ

รดาเนนิ การของแนวปฏิบัติทด่ี ี
างการดาเนนิ การเพ่ือปรบั ปรงุ พฒั นาคุณภาพการเรยี นการสอน SMT ในโรงเรยี น
ภาพการเรียนการสอน SMT ในโรงเรยี น
ภาพการเรียนการสอน SMT ในโรงเรยี น

3.6 ผลลพั ธ์ ผลกระทบและคุณภาพของแนวปฏบิ ัติท่ีดี
จากการดาเนนิ งานการมีส่วนรว่ ม โดยใช้รูปแบบการบรหิ าร NONSAWAN MODEL ทาใหโ้ รงเรยี น

ไดร้ ับการส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มจากทุกฝ่าย (Team Work) การสร้างโอกาสทางการศกึ ษาใหก้ บั นกั เรยี น
การลดความเหล่อื มลา้ ทางการศกึ ษาและการให้ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนทาใหโ้ รงเรียนบา้ นโนนสวรรค์
ได้รับการพัฒนาในดา้ นตา่ ง ๆ อาคารสถานที่มีความสะอาดสวยงามเป็นระเบยี บเรยี บร้อย บรรยากาศ
สภาพแวดล้อมทั้งภานในและภายนอกสถานศึกษาเอ้ือต่อการเรยี นรู้ ครปู รบั รูปแบบเปลี่ยนวธิ ีการสอนทเ่ี นน้
ผเู้ รียนเปน็ สาคญั ได้สง่ เสรมิ การจัดการเรียนการสอนจนส่งผลใหไ้ ด้รางวัล เกียรตบิ ตั ร ดังต่อไปนี้

1) สถานศึกษาไดร้ บั เกียรติบัตรดงั น้ี
โรงเรียนบ้านโนนสวรรค์ผา่ นการประเมนิ คุณภาพภายนอกสถานศึกษา (สมศ.) รอบส่ี

- ไดร้ บั รางวัลโรงเรยี นทีส่ ่งเสรมิ การจดั การเรียนการสอนตามแนวทาง Active Learning
ระดับคุณภาพยอดเย่ยี ม

- ไดร้ ับเกียรตบิ ัตรเปน็ สถานศึกษานาร่องสรา้ งเสริมสขุ ภาวะด้วยกระบวนการคุณธรรม

- ไดร้ บั เกยี รตบิ ัตรโรงเรยี นที่ได้สนบั สนุนการอบรมโครงการส่งเสรมิ การอนุรักษ์ฟน้ื ฟูขนบธรรมเนียมประเพณี
วัฒนธรรมทอ้ งถิ่นของจังหวดั สรุ นิ ทร์ ประจาปีงบประมาณ 2564

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พน้ื ฐาน ( O-NET) สูงกว่าระดบั ชาติ ปีการศึกษา 2563

2) ผบู้ ริหารไดร้ ับเกียรติบตั ร ดังนี้
- นางธญั สรณ์ ไหมทอง ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านโนนสวรรค์ ได้รับเกียรติบัตรผ่านการอบรมด้วย

ระบบออนไลน์ หลักสตู รผบู้ ริหารสถานศกึ ษาโรงเรียนคุณภาพ สสวท. จากสถาบันส่งเสรมิ การสอน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

- นางธญั สรณ์ ไหมทอง ผอู้ านวยการโรงเรียนบา้ นโนนสวรรค์ ได้รบั เกียรติบัตรผ่านการอบรมด้วย
ระบบออนไลน์ การจัดการเรียนการสอนออนไลนย์ ุคปกตใิ หม่ จากสานกั งานคณะกรรมการศึกษาข้ันพื้นฐาน

3) ครผู ู้สอนไดเ้ ข้ารบั การอบรมพัฒนาทางวิชาชีพ ดงั น้ี
การเข้ารบั การอบรมพฒั นาทางวิชาชีพของครูและบุคลากรโรงเรยี นบา้ นโนนสวรรค์

การอบรมพฒั นาทางวชิ าชพี ของครูและบคุ ลากรโรงเรยี นบ้านโนนสวรรค์ ด้านเทคโนโลยี

การอบรมพัฒนาทางวชิ าชพี ของครูและบคุ ลากรโรงเรยี นบา้ นโนนสวรรค์ ดา้ นเทคโนโลยี

การอบรมพัฒนาทางวชิ าชพี ของครูและบคุ ลากรโรงเรยี นบา้ นโนนสวรรค์ ดา้ นวิทยาศาตร์

การอบรมพัฒนาทางวิชาชีพของครแู ละบุคลากรโรงเรยี นบ้านโนนสวรรค์ ดา้ นคณติ ศาสตร์

3.7 แนวทางการพฒั นาตอ่ ยอดแนวปฏิบัติทด่ี ี
โรงเรยี นบา้ นโนนสวรรค์ได้นาแนวปฏบิ ตั ิทีด่ ี โดยใช้ NONSAWAN MODEL เพอ่ื สง่ เสริมการพฒั นา
บุคลากรสายงานสอนในโรงเรียนอยา่ งเป็นระบบ โดยใหค้ ณุ ครูผสู้ อนวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์และเทคโนโลยี
เข้าร่วมหลักสูตรอบรมครเู พ่อื พัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนการสอนและเลือกใช้สื่อการสอน เทคโนโลยี
สาหรับโรงเรยี นคณุ ภาพ SMT ตามมาตรฐาน สสวท. และหลักสตู รการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการวดั ผล
ประเมินผล วชิ าคณติ ศาสตร์ และหลักสตู รอืน่ ๆ ซึ่งทาให้คณะครูผ่านการอบรม แลว้ นาความรู้ไปประยุกต์ใช้
องค์ความรู้ไปสู่การปฏบิ ัตงิ านจรงิ โดยมีการออกแบบการจัดการเรยี นรู้ ทดลองใช้ในชั้นเรียน บนั ทกึ การสอน
และจดั ทาสื่อนาเสนอ มนี เิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผลตามเป้าประสงค์และตัวชวี้ ัดความสาเร็จระหว่างการ
ดาเนินการโดยใช้กระบวนการ PLC เพ่ือพัฒนาบุคลากรของโรงเรียนอยา่ งเปน็ ระบบ มีการเผยแพร่การ
ดาเนนิ งานใหห้ นว่ นงานที่เกีย่ วข้องทราบ และขยายผลแนวปฏิบัติที่ดใี หก้ ับโรงเรยี น ชุมชน และสังคมต่อไป

ภาคผนวก

ภาพที่ 1 กจิ กรรมการประชุมกรรมการสถานศึกษาและผู้มสี ว่ นเกย่ี วข้องทุกฝ่าย
ภาพที่ 2 กิจกรรมการวางแผนจัดทาแผนปฏบิ ตั ิตามแผนการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา

ภาพท่ี 3
กิจกรรมการจัดการเรียนรูเ้ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ

ภาพท่ี 4 กิจกรรมการจัดการเรยี นร้เู นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั

ภาพที่ 5 กิจกรรมการเรยี นรู้อย่างหลากหลายให้กับผู้เรียน
ภาพที่ 6 กิจกรรมการเรียนรูอ้ ยา่ งหลากหลายให้กบั ผเู้ รียน


Click to View FlipBook Version