The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือและแนวปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีในการเลี้ยงไก่ไข่พื้นเมืองพันธุ์แดงดอกคูณ

โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการเลี้ยงไก่ไข่พื้นเมืองสำหรับวิสาหกิจชุมชนในชนบทสู่ตลาดไข่สุขภาพอย่างยั่งยืน

โดย
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
และสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
ประจำปีงบประมาณ 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือและแนวปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีในการเลี้ยง ไก่ไข่พื้นเมืองพันธุ์แดงดอกคูณ

คู่มือและแนวปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีในการเลี้ยงไก่ไข่พื้นเมืองพันธุ์แดงดอกคูณ

โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการเลี้ยงไก่ไข่พื้นเมืองสำหรับวิสาหกิจชุมชนในชนบทสู่ตลาดไข่สุขภาพอย่างยั่งยืน

โดย
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
และสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
ประจำปีงบประมาณ 2563

Keywords: ไก่ไข่แดงดอกคูณ

คมู ือและแนวปฏิบตั ทิ างการเกษตรท่ดี ใี นการเลยี้ ง
ไกไขพ ืน้ เมอื งพันธุแดงดอกคณู

โครงการถา ยทอดเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมในการเล้ยี งไกไขพ ืน้ เมอื ง
สำหรบั วิสาหกิจชมุ ชนในชนบทสูตลาดไขส ขุ ภาพอยางย่ังยืน

โดย
คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลยั ขอนแกน

และสำนักงานการวิจัยแหงชาติ

1. ชอ่ื ฟารม /กลุม ..................................................................................................
2. ชอ่ื เจา ของฟารม ..............................................................................................
3. ทต่ี งั้ ฟารม/กลมุ เลขที่ ............... หมูท่ี ................. ช่อื หมูบ าน ..............................

ตำบล .................................. อำเภอ ........................................... จังหวดั ขอนแกน
4. เบอรโทรศัพท ........................................................
5. วัน/เดือน/ป เรมิ่ บันทกึ ........................................

คำนำ
โครงการถายทอดเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการเลี้ยงไกไขพื้นเมืองสำหรับวสิ าหกจิ ชุมชนในชนบทสู
ตลาดไขสุขภาพอยางยั่งยืน เปนโครงการที่ไดรับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
ประจำป 2563 โดยใหความสำคัญกบั การเลี้ยงไกไขพื้นเมอื งเพื่อยกระดับมาตรฐานการเลี้ยงและการสงเสริม
ศักยภาพการแขงขนั ของเกษตรกรผูผลิตไกไ ขพื้นเมืองทจ่ี ะเชื่อมโยงการปรับเปลย่ี นรูปแบบการผลิตแบบดั้งเดิม
ไปสูฟารม ขนาดเลก็ และฟารม ขนาดกลาง การยกมาตรฐานการเลย้ี งจะมีความเกย่ี วขอ งกับระบบการผลติ ไกไข
พ้นื เมอื งต้งั แตส ายพันธุทเ่ี หมาะสม วิธีการเลีย้ ง อาหาร และวคั ซนี
สำหรับเปาหมายการเล้ียงไกไขพื้นเมืองก็เพื่อเพิ่มความเขมแข็งใหเกษตรกรผูเ ล้ียงไกไข ในการเปลี่ยน
รูปแบบการตลาด จากตลาดชาวบานมาขึ้นหางสรรพสินคา กลุมลูกคาระดับพรีเมี่ยม เชนกลุมเนนสุขภาพ
กลุมลูกคาพักฟนรางกาย และกลุมผูสูงวัย โดยการรวมกลุมเกษตรกรผูเลี้ยงไกไขพื้นเมือง เพื่อใหมี
ความสามารถในการจัดตั้งกลุมไกไขพื้นเมืองวิสาหกิจชุมชน และมีมาตรฐานของกลุมเพื่อรองรับผลผลิตที่
ออกมาสูผ ูบริโภค โดยใชสายพันธุไกไขพื้นเมืองที่พัฒนามาจากแหลงพันธุกรรมไกพื้นเมืองของไทย และเพื่อ
การสรางอาชีพที่ยั่งยืนใหกับเกษตรกรทีส่ นใจ โดยเกษตรกรผูเลี้ยงไกไขพ้ืนเมอื งสามารถเลี้ยงไกไขพื้นเมืองท่ี
เนน คุณภาพ และมปี ระโยชนในเชงิ อาหารสขุ ภาพ
ประโยชนที่โครงการคาดวาจะไดรับ คือเกษตรกรกลุมเปาหมาย ไดแกเกษตรกรผูสนใจทั่วไปและ
ผูประสบภัยทางเศรษฐกิจอันเปนผลจากภัยพิบัติจากวิกฤตโรค COVID-19 ไดมีไขคุณภาพดีบริโภค สามารถ
เลี้ยง และพัฒนาการเลยี้ งไกไขพ้ืนเมืองไปสูเปา หมายการมผี ลผลิตไขสุขภาพ มพี อ พันธแุ มพันธุไกไขพ้ืนเมืองที่
เพียงพอในการผลิตไขไกพื้นเมืองเพื่อสุขภาพ และยกระดับผลผลิตของกลุมสูผูผลิตไกไขพื้นเมืองวิสาหกิจ
ชุมชน สามารถมีผลผลิตที่เพียงพอ สำหรับวางจำหนายเปนไขไกพ้ืนเมืองสุขภาพอยางตอเนื่องใน
หางสรรพสนิ คา โรงแรม หรอื ตลาดเฉพาะดานสุขภาพ และสามารถสรางรายไดอยางยัง่ ยนื

รศ.ดร. สจี กัณหาเรยี ง
ผศ.ดร. ยพุ นิ ผาสขุ
ผศ.ดร. เยาวรัตน ศรวี รานันท
พฤษภาคม 2564

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยที เี หมาะสมในการเลยี งไก่ไขพ่ นื เมืองสาํ หรบั วสิ าหกจิ ชุมชนในชนบทสตู่ ลาดไขส่ ขุ ภาพอยา่ งยงั ยืน 2

สารบญั หนา
6
หัวขอ 9
1. แนวปฏิบัตทิ างการเกษตรท่ีดีในการเล้ียงไกไขพ นื้ เมืองพนั ธุแดงดอกคูณ 10
2. บทนำ และวตั ถุประสงค 10
3. ระบบการเล้ียงไกไขพื้นเมืองลูกผสม 10
4. พันธไุ กไขพ้นื เมือง 13
13
4.1 ลักษณะประจำพนั ธุไกไขพ ื้นเมอื ง 14
4.2 ลกั ษณะทางปริมาณของไกไขแดงดอกคูณ (เลีย้ งดวยอาหารไกไขการคา) 15
4.3 สมรรถนะการใหไ ขของไกไ ขแดงดอกคูณ 15
5. อาหาร และการใหอาหาร 15
6. นำ้ และการใหน้ำ 15
7. โรงเรือนเล้ียงไก (เลา ไก) 15
7.1 ขนาดโรงเรอื น 17
7.2 ความกวางของโรงเรอื น 18
7.3 ความยาวของโรงเรือน 18
7.4 ความสูงของโรงเรอื น 18
8 รังวางไข 20
9 วสั ดุรองพนื้ คอก 21
10 วคั ซนี การใหวัคซีน และยาถายพยาธิ การถา ยพยาธทิ ี่ใชใ นไก 21
11 หลกั ปฏิบัติในการเล้ยี งไกไขพ้ืนเมอื ง 21
12 ขอ มลู ประกอบการตดั สินใจในการเล้ยี งแบบเปนรายไดเสริม 21
12.1 ตลาด 21
12.2 พนั ธุไกหรือชนิดไกท ่เี ล้ยี ง 21
12.3 การตัดสนิ ใจเลย้ี ง 22
13 ขอ มลู สำคัญอ่ืน ๆ ที่ควรทราบ
13.1 การรวมกลุมผูเ ลีย้ ง
13.2 ตนทนุ การผลติ และกำไรจากการเลีย้ งไกไ ขพนื้ เมืองแดงดอกคณู

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยที เี หมาะสมในการเลยี งไก่ไข่พนื เมอื งสาํ หรบั วิสาหกจิ ชุมชนในชนบทส่ตู ลาดไข่สขุ ภาพอย่างยงั ยนื 3

สารบัญตาราง หนา
13
ตารางที่ 1 คาเฉลีย่ ลักษณะทางปริมาณของไกไขแดงดอกคูณ 14
ตารางที่ 2 คาเฉลยี่ สมรรถนะการใหไขของไกไ ขพ้นื เมอื งแดงดอกคูณ 15
ตารางที่ 3 หลักการเปลย่ี นอาหารจากอาหารไกสาวเปนอาหารไกไ ข 19
ตารางที่ 4 โปรแกรมการใหว ัคซนี และการจัดการ

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยที เี หมาะสมในการเลยี งไก่ไข่พนื เมืองสาํ หรบั วิสาหกจิ ชมุ ชนในชนบทส่ตู ลาดไขส่ ขุ ภาพอย่างยงั ยนื 4

สารบัญภาพ หนา
11
ภาพท่ี 1 ไกไขแดงดอกคูณ เพศผู 11
ภาพที่ 2 ไกไขแดงดอกคณู เพศเมีย 12
ภาพที่ 3 ลูกไกไขแ ดงดอกคูณ 12
ภาพท่ี 4 ไขไกแดงดอกคณู 12
ภาพท่ี 5 ไขไกท างการคา 12
ภาพท่ี 6 ไขไกแดงดอกคณู อายุเกบ็ 1 วัน 12
ภาพท่ี 7 ไขไกทางการคา อายุเก็บ 1 วนั 13
ภาพที่ 8 ไขไ กแดงดอกคณู อายุเก็บ 10 วัน 13
ภาพท่ี 9 ไขไ กทางการคา อายุเก็บ 10 วนั 14
ภาพที่ 10 ไกไ ขแดงดอกคณู ท่ีปลอ ยใหกินหญาเสรมิ 16
ภาพที่ 11 โรงเรอื นเลย้ี งไกไ ขพ้ืนเมืองปด ดว ยอฐิ บล็อกดานลาง และปดลอ มดา นบนดว ยลวดตาขา ย 16
ภาพที่ 12 โรงเรือนเลย้ี งไกไขพื้นเมอื งปด ดว ยแผน สังกะสีดา นลา ง และปด ลอ มดา นบนดวยวสั ดุไมไผ
17
ธรรมชาติ 17
ภาพที่ 13 โรงเรือนเลย้ี งไกไ ขพ น้ื เมอื งปด ลอมตาขาย 18
ภาพที่ 14 โรงเรือนเลยี้ งไกไ ขพื้นเมอื งพรอมพ้นื ท่ปี ลอยเลี้ยงอิสระ 19
ภาพที่ 15 การเตรียมรงั วางไขในโรงเรือนเล้ยี งไกไขพ น้ื เมือง 19
ภาพท่ี 16 วัคซีน และยาถา ยพยาธิทใ่ี ชใ นไก
ภาพท่ี 17 การใหวคั ซีนอหิวาต โดยการฉดี เขา กลา มเนอื้ อก

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยที เี หมาะสมในการเลยี งไก่ไข่พนื เมอื งสาํ หรบั วสิ าหกจิ ชมุ ชนในชนบทสตู่ ลาดไข่สขุ ภาพอย่างยงั ยนื 5

1. แนวปฏิบตั ิทางการเกษตรที่ดีในการเลย้ี งไกไ ขพนื้ เมืองพันธแุ ดงดอกคูณ
แนวปฏิบัติทางการเกษตรทีด่ ีในการเลี้ยงไกไขพืน้ เมืองพันธุแดงดอกคูณ เพื่อเปนแหลงอาหาร สราง

ความมั่นคงทางอาหาร และเปนทางเลือกในการสรางอาชพี ใหแ กเกษตรกรรายยอย การมแี นวปฏิบตั แิ ละระบบ
มาตรฐานการผลิตที่ดี จะเปนการสรางความเชื่อมั่นตอผูบริโภค เปนการเพิ่มคุณคา และขยายตลาดที่สูงกวา
ดังนั้นมาตรฐานการเลี้ยงไกไขพ ื้นเมืองพันธุแดงดอกคูณเริ่มจากการจัดการระดับฟารม ท่ีควรมีการปฏิบัติทาง
การเกษตรที่ดี อยางไรก็ตามยงั ไมมีมาตรฐานรองรับการเลี้ยงไกไขพื้นเมืองจากหนวยงาน ราชการ ดังนัน้ การ
สรางแนวปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับการเลี้ยงไกไขพื้นเมืองพันธุแดงดอกคูณ ไดกำหนดขึ้นโดยใช
เอกสารอางอิงจากมาตรฐานสินคาเกษตร การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟารมไกพื้นเมืองแบบเลี้ยง
ปลอย (มกษ. 6914-2560) (สำนักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ, 2560) มาตรฐานสินคา
เกษตร การปฏิบัตทิ างการเกษตรที่ดสี ำหรับฟารมไกไข (มกษ. 6909-2562) (สำนกั งานมาตรฐานสินคาเกษตร
และอาหารแหงชาติ, 2562) นอกจากนีย้ งั มีมาตรฐานฟารมไกไขที่ไดรบั การรบั รองมาตรฐานโดยกรมปศสุ ัตว
เชน มาตรฐานเกษตรอินทรีย เลม 2 ปศสุ ัตวอ ินทรยี  (มกษ. 9000 เลม 2) และฟารม ไกไ ขแ บบปลอยเล้ียงอิสระ
โดยครอบคลุมในดานการจัดการโรงเรือนและอุปกรณ พื้นที่เลี้ยงปลอย สถานที่เก็บ และเตรียมอาหารสัตว
บริเวณสำหรับทำลายซาก จุดรวบรวมขยะ เปน ตน

การกำหนดแนวปฏิบตั ิท่ีดีในการเลี้ยงไกไขพื้นเมอื งพันธุแดงดอกคณู ที่มีรูปแบบการเลี้ยงปลอ ย โดย
อางอิงจากการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟารมไกพื้นเมืองแบบเลี้ยงปลอย (มกษ. 6914-2560) และ
มาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย เลม 2 และปศสุ ตั วอินทรยี  (มกษ. 9000 เลม 2) รายละเอียดพอสังเขปดงั น้ี

1. โรงเรือน (house) เปน อาคารหรือสิ่งปลูกสรา งใชเ ล้ียงไกไขพืน้ เมอื ง สำหรับเปนทีพ่ ักอาศัย มีหลังคา
กันแดด กันฝน และมีวสั ดลุ อมรอบโรงเรือน เชน โครงไมท ม่ี ตี าขาย และปอ งกันไมใ หสตั วอื่นเขา เชน
สุนัข แมว นก เปน ตน

2. พื้นที่เลี้ยงไกไขแบบปลอ ย เปนบริเวณการเลี้ยงไกไขที่เปนพื้นดินนอกโรงเรือน มีหญาหรือพืช ที่เปน
อาหาร และอยเู ชอื่ มตอ กับโรงเรือน เพ่อื มีบริเวณใหไ กแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติ

3. ขอกำหนดการปฏบิ ตั ิทางการเกษตรทด่ี สี ำหรับไกไขพนื้ เมอื งแบบเลี้ยงปลอ ย มีรายการและขอกำหนด
ประกอบดว ย
1) องคป ระกอบฟารม
1.1 สถานที่ตั้ง เปนพื้นที่ตั้งอยูในพื้นที่ที่เหมาะสม ไมสงผลกระทบตอชุมชน และมีแหลงน้ำ
สะอาดเพียงพอตอการเลี้ยงไกไข และอยูในสภาพแวดลอมที่ไมเสี่ยงตอการปนเปอนจาก
อนั ตรายทางกายภาพ เคมี และชวี ภาพ
1.2 ลกั ษณะฟารม
1.2.1 พื้นที่ฟารมมีขนาดเพียงพอเหมาะสมในการเลี้ยงไกไข ไมกอใหเกิด ผลกระทบตอ
สขุ ภาพ
สตั วแ ละส่ิงแวดลอม มีรว้ั รอบพนื้ ท่กี ารเล้ียง

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยที เี หมาะสมในการเลยี งไก่ไขพ่ นื เมอื งสาํ หรบั วสิ าหกจิ ชุมชนในชนบทสตู่ ลาดไข่สขุ ภาพอย่างยงั ยืน 6

1.2.2 มีการวางผงั ฟารมทีด่ ี และจัดพ้ืนท่ีเปน สัดสว นอยา งชดั เจน เหมาะสม ตามวัตถปุ ระสงค
เชน บริเวณเลี้ยงสัตว เก็บอาหารสัตว เก็บอุปกรณ ทำลายซากสัตว รวบรวมขยะและส่ิง
ปฏิกูล และที่พกั อาศัย
1.3 โรงเรือน
1.3.1 สรางดวยวัสดุที่คงทน แข็งแรง งายตอการทำความสะอาด และบำรุงรักษา มีการ
ระบายอากาศที่ดี และไมกอใหเกิดอันตรายตอคนและไกไข สามารถปองกันนกไมใหเขาสู
บรเิ วณโรงเรอื นได
1.3.2 มพี ้ืนทเ่ี พยี งพอในการเลี้ยงไก ใหไ กส ามารถแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาตไิ ด
1.3.3 ในกรณีทีใ่ ชวสั ดรุ องพนื้ ภายในโรงเรือน วสั ดทุ ี่ใชต อ งใหม สะอาด และแหง
1.3.4 พนื้ ท่เี ลย้ี งปลอ ย มีพื้นท่เี ล้ียงปลอ ยภายนอกโรงเรอื นอยางเพยี งพอ ใหไ กม ีความเปนอยู
ตามธรรมชาติ เปนพืน้ ทมี่ ีหญาหรือพืชที่เปนอาหาร
2) อาหารสำหรับไกไขพ ้นื เมอื ง
2.1 กรณีที่ใชอาหารสำเร็จรูป ตองมีคุณภาพและมาตรฐานตามกฎหมายวาดวยการควบคุม
คุณภาพอาหารสัตว และใหต รวจสอบคณุ ภาพอาหารไกท างกายภาพในเบ้ืองตน
2.2 ในกรณีที่ผสมอาหารเองในฟารม วัตถดุ ิบที่ใชหรือสิ่งที่เติมในอาหารตองมีคุณภาพปลอดภัย
และหามใชสารตอ งหา มตามกฎหมายวาดวยการควบคมุ คณุ ภาพอาหารสตั ว
2.3 ใชภาชนะใหอาหารที่สะอาดและเหมาะสมกับจำนวนและอายุของไก และจดั วางในโรงเรือน
เทา นนั้ และอยูใ นตำแหนง ที่ไกทุกตัวเขาถึงอาหารสัตวได
2.4 มสี ถานท่เี กบ็ อาหารไกท สี่ ามารถปองกนั การปนเปอนและการเสื่อมสภาพของอาหาร
3) น้ำสำหรบั ไกไขพ ้ืนเมือง
3.1 แหลง น้ำทีใ่ ชในฟารม ตองสะอาด เพียงพอ และอยูใ นบรเิ วณท่ีไมเ ส่ียงตอการปนเปอนจากสิ่ง
ทเ่ี ปน อนั ตราย
3.2 ใชภาชนะใหน้ำทส่ี ะอาด เพยี งพอ
3.3 อยูในตำแหนงท่ไี กทกุ ตวั เขา ถงึ ภาชนะใหน้ำไดส ะดวก
4) การจดั การฟารม
4.1 มีคูมือการจัดการฟารม ที่แสดงรายละเอียดการปฏิบัติงานที่สำคญั ภายในฟารม ไดแก ระบบ
การเลยี้ ง การจดั การอาหารและน้ำสำหรับไก การทำความสะอาดและบำรุงรกั ษา การจดั การ
ดานสุขภาพไก การจัดการ ดานสวัสดิภาพสัตวปก การจัดการดานสิ่งแวดลอม และแบบ
บันทึกขอมลู
4.2 การทำความสะอาดและ บำรงุ รักษา
4.2.1 โรงเรือน และอปุ กรณต องสะอาด ถูกสุขลักษณะ
4.2.2 บำรุงรักษาโรงเรือนและอุปกรณใหอยูในสภาพดี มีความปลอดภัย ตอไกและ

ผูปฏิบตั ิงาน

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยที เี หมาะสมในการเลยี งไก่ไข่พนื เมอื งสาํ หรบั วิสาหกจิ ชมุ ชนในชนบทส่ตู ลาดไข่สขุ ภาพอย่างยงั ยนื 7

4.2.3 ทำความสะอาด ฆาเชื้อโรงเรือนและอุปกรณหลังจากยายไกรุน เกาออก และกอนนำไก
รนุ ใหมเ ขาเลี้ยง

4.2.4 หลังจากยายไกรุนเกาออก ใหปดพักโรงเรือนกอนนำไกรุนใหมเขาเลี้ยง หรือปฏิบัติ
ตามท่กี รมปศุสตั วกำหนด

4.2.5 พื้นที่เลี้ยงแบบปลอยตองมกี ารทำความสะอาดและฆาเชื้อหลังจาก ยายไกรุนเกาออก
และกอนนำไกร นุ ใหมเ ขามาเลยี้ ง

4.2.6 สารเคมี ยาฆา เชอื้ หรอื วตั ถอุ ันตรายทีใ่ ชใ นกระบวนการตา ง ๆ ใหใ ช ตามคำแนะนำของ
ฉลากผลิตภณั ฑทีข่ ้นึ ทะเบยี นกบั กรมปศุสตั ว

4.3 การจดั การพน้ื ท่ีเลี้ยงปลอย
พื้นที่เลี้ยงปลอยภายนอกโรงเรือน หญา หรือพืชที่เปน อาหารตองมี การหมุนเวยี นหรือพัก
แปลง หรือกรณีหญาหรือพืชทีเ่ ปนอาหารไก ไมเพียงพอ ตองมีการเสริมหญาหรือพืชจาก
ภายนอก

5) การปอ งกนั และควบคุม โรค
5.1 มกี ารปองกันและฆาเชื้อโรค ยานพาหนะ อุปกรณ และบุคคลกอน เขา-ออกฟารม รวมถึงมี
การจดบนั ทกึ การผานเขา -ออกฟารมของ บุคคลภายนอกท่สี ามารถตรวจสอบได
5.2 มมี าตรการควบคุมสัตวพ าหะนำเชอ้ื
5.3 กรณีเกดิ โรคระบาดหรือสงสยั วา เกิดโรคระบาด ใหปฏิบตั ติ ามกฎหมายวา ดวยโรคระบาดสัตว
และคำแนะนำของกรมปศุสัตว
5.4 การจัดการซากไกดวยวธิ เี หมาะสม

6) สวัสดภิ าพสตั ว ดูแลไกใ หม คี วามเปนอยูท่ีสบาย หากไก ปวย บาดเจ็บ พกิ าร หรือคัดท้งิ
ควรไดร บั การปฏิบัตทิ ่เี หมาะสม เพ่อื มใิ หเ กดิ ความทกุ ขท รมาน

7) ส่งิ แวดลอ ม
7.1 กำจัดหรือจัดการขยะมูลฝอย ของเสีย และมูลไก ดวยวิธีการที่เหมาะสม และถูกสุขลักษณะ
เพอ่ื ไมใ หเกิดผลกระทบตอ ส่ิงแวดลอม
7.2 กรณปี ลอยน้ำทใี่ ชใ นฟารม ออกสแู หลง นำ้ สาธารณะใหบ ำบัดน้ำเสยี อยา งถูกตอ งกอน
7.3 กอ นเคล่อื นยายวสั ดุรองพื้นหลงั การปลดไก ตองปอ งกันการฟุงกระจายของวสั ดุรองพื้น
7.4 ในกรณเี ปนขยะตดิ เชือ้ ใหแ ยกทำลายและกำจัด ตามคำแนะนำของกรมปศสุ ัตว

8) การบนั ทกึ ขอ มูล
บันทึกขอมูลผลการเลี้ยงในขั้นตอนทีส่ ำคัญในการจัดการฟารมที่มผี ลกระทบตอสขุ ภาพ ผลผลิต และ
การควบคุมโรค ประกอบดวยขอมูลเกี่ยวกับการจัดการดานการผลิต และการควบคุม ปองกัน และ
บำบัดโรค

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยีทเี หมาะสมในการเลยี งไกไ่ ขพ่ นื เมอื งสาํ หรบั วสิ าหกจิ ชมุ ชนในชนบทสตู่ ลาดไข่สขุ ภาพอย่างยงั ยนื 8

2. บทนำ
ในประเทศไทยรัฐบาลมนี โยบายสงเสริมใหประชาชนบริโภคไข เพอื่ เปนการรณรงคใหประชาชนไดรบั

แหลงอาหารโปรตีนที่เพียงพอ และคุณภาพดี ไกพื้นเมืองจึงเปนทางเลือกหนึ่งที่รัฐบาลใหความสำคัญและ
สงเสริมใหเกษตรกรเลีย้ ง เน่ืองจากท่ีเปน สัตวทสี่ ามารถเจริญเติบโตดีในสภาพโรงเรอื นระบบเปด มีขนาดตัวท่ี
เหมาะสมสำหรับการบริโภคในครวั เรือน นอกจากนี้ไกพื้นเมอื งยังไดรับการพัฒนาพันธุใหเปนไกไขพื้นเมืองที่
ใหผ ลผลติ สูงขึ้น มปี รมิ าณไข ประมาณ 220-240 ฟองตอ แมต อ ป การเลยี้ งไกไขพ้นื เมอื งยงั ถือเปน แหลงอาหาร
โปรตีนที่ดี เขาถึงไดงาย ลดภาระคาใชจาย ไกไขพื้นเมอื งจึงมีความเหมาะสมในการรณรงคเ พื่อตอตา นสภาวะ
การขาดแคลนโปรตีน และเพิ่มความม่ันคงดานอาหารของประชาชน กอรปกบั สถานการณการระบาดของเช้ือ
ไวรัส COVID-19 ทก่ี ระทบตอการจา งงาน ผปู ระกอบการเลิกจา ง เกิดภาวะวางงาน กลุมลูกจา ง ทำใหแรงงาน
สวนใหญเดินทางกลับชนบท พรอมมองหาอาชีพทดแทน ซึ่งอาชีพการเลี้ยงไกไขพื้นเมืองลูกผสม เปนอีก
ทางเลือกท่ีจะสงเสริมเพื่อเปนอาชีพทางเลือกในภาวะเศรษฐกิจปจจุบัน สำหรับกลุมคนรุนใหมกลุมน้ียังมี
ความสามารถทีจ่ ะชวยเพ่ิมขดี ความสามารถของเกษตรกรสู Smart Farmer/ Young Smart farmer เพ่อื เปน
เกษตรกรตนแบบที่มีศักยภาพในการขยายผลเทคโนโลยีสำหรับเปนจุดเรียนรูของเกษตรกรผูสนใจ ทำใหเกิด
การทำงานรวมกนั ตามนโยบายของรฐั และยังเปนการสง เสริมการผลิตท่เี ปน มติ รตอสขุ ภาพและส่งิ แวดลอม

ในแงของตนน้ำ การเลี้ยงไกพื้นเมือง และหรือไกไขพื้นเมืองลูกผสมเปนการบริโภคโปรตีน และเพิ่ม
รายได เกษตรกรสามารถใชเวลาวางใหเกิดประโยชน และสามารถเปนกิจกรรมยอยกิจกรรมหนึ่งในระบบ
การเกษตรแบบไรนาสวนผสม หรือระบบการเกษตรแบบผสมผสมผสาน นำไปสูการแกปญหาสภาวะทุพ
โภชนาการ และเกิดสภาวะความมัน่ คงดานอาหารอีกดว ย

ปจ จบุ ันผลติ ภัณฑไขจากไกไขพื้นเมือง จัดเปนกลุมผลิตภัณฑทีม่ ีศักยภาพในการแขงขันดานอาหาร
สุขภาพ สำหรับไขไกพ้ืนเมืองมีคุณสมบัติความโดดเดน ดานอายุการเก็บรักษา (shelf life) ท่ีสามารถเก็บได
นานกวาไขไกทางการคา ในสภาวะอุณหภูมิปกติ ทั้งยังมีไขแดงที่มีคลอเลสเตอรอลต่ำ ไขขาวมีคุณภาพดี ไข
ขาวไมมีกลิ่นคาวรับประทานงาย ซึ่งเปนคุณสมบัติที่เหมาะสมกับผูปวยมะเรง็ ที่มีการรกั ษาโดยใชการฉายแสง
(รงั สีรกั ษา) หรอื เคมีบำบัด ผูปว ยในระยะพักฟน และกลุม ผูสูงวยั ซง่ึ แพทยม ักจะเนนใหผ ปู วยควรไดร ับอาหาร
ประเภทโปรตนี ทีเ่ พียงพอกับความตองการของรางกาย โดยเพิ่มอาหารโปรตีน (เนื้อสตั ว นม ไขขาว) เพื่อให
รางกายแขง็ แรง นอกจากนส้ี ายพันธุไกไขพน้ื เมืองท่ีคณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลยั ขอนแกน ไดพัฒนาพันธุน้ี
ยังเอื้อประโยชนอยางมากตอการเลี้ยงไกไขแบบปลอยเลี้ยงอิสระ ทำใหไดผลผลิตของอาหารที่ปลอดภัย ลด
ภาวะเสี่ยงตอ การเกิดโรค สงผลใหม คี ณุ ภาพชวี ิตทดี่ ี รวมถึงสง ผลดตี อ สิ่งแวดลอ ม

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยีทเี หมาะสมในการเลยี งไก่ไขพ่ นื เมอื งสาํ หรบั วสิ าหกจิ ชมุ ชนในชนบทสตู่ ลาดไขส่ ขุ ภาพอย่างยงั ยืน 9

3. ระบบการเลยี้ งไกไขพ ้นื เมือง
ระบบการเลี้ยงไกไขพื้นเมือง แบงตามระบบการเลี้ยงไกพื้นเมือง สามารถแบงตามความมั่งคงดาน

อาหารและรายได เปน 4 ระบบ ไดแก ระบบการเลี้ยงแบบหลังบาน ระบบการเลี้ยงแบบเปนรายไดเสริม
ระบบการเลี้ยงแบบเปนรายไดหลัก และ ระบบการเลี้ยงแบบเกษตรผสมผสาน ไดกลาวไวในเอกสาร
ประกอบการฝกอบรม ไกพ ้ืนเมอื ง และเทคโนโลยีการเลย้ี งไกพ นื้ เมือง โดย บัญญตั ิ เหลา ไพบลู ย และคณะพ.ศ.
2560 คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ในเอกสารฉบับนี้จะกลาวถึงเฉพาะระบบการเลี้ยงไกไข
พน้ื เมอื งแบบเปนรายไดเ สรมิ และเพม่ิ โอกาสการพฒั นาสกู ลุมผูเลี้ยงไกไขพ ้นื เมอื งเปน อาชีพหลกั ตอไป

4. พันธุไกไขพ ้ืนเมอื ง
สาขาวชิ าสตั วศาสตร คณะเกษตรศาสตร มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน ไดด ำเนินการปรับปรุงสายพันธุไกไข

พื้นเมืองประสบผลสำเรจ็ ปจจุบนั เรยี กวา ไกไขพื้นเมือง มีสีขน และรูปรา งแตกตางไปตามความตองการเล้ยี ง
ในรปู แบบแตกตางกันตามวตั ถุประสงค แตสายพันธุที่กำลังไดร บั ความนิยม ไดแก ไกไขพื้นเมอื งสายพันธุแดง
ดอกคณู “ไกไขแดงดอกคูณ” ไกไขพื้นเมืองลูกผสมดังกลาวแลวนี้ ไดรับการพัฒนามาจากตนพันธุ คอื ไกพ้ืน
เมืองไทยแทพันธุชี เคเคยู 12 จากนั้นไดรับการคัดเลือกและผสมพันธุ มาอยางตอเน่ืองโดยเนนใหมีลักษณะ
การใหผลผลิตไขที่สูงขึ้น คุณภาพไขดี มีสัดสวนปรมิ าณไขแดงสงู คิดเปนสัดสวน 26-28% ของไขทั้งฟองและ
สว นโปรตนี ไขข าว มีสีขาวใส มีความยดื หยนุ และคงตวั กอนโปรตีนไดด ี ทำใหไขม คี วามสดเก็บไดนาน ไขขาวไม
มีกลิ่นคาว

ไกไขพื้นเมืองแดงดอกคูณ ( Deang Dok Khoon) ไกไขแดงดอกคูณ เปนไกไขพื้นเมืองสายพันธุ
พฒั นา สามารถปลอ ยเล้ยี งอิสระไดด ี เลีย้ งงาย ไขด ก ไขท น ซง่ึ สีแดงดอกคณู เปน ชือ่ เรียกจากสีขนสมี อดินแดง
สดใส มีความสวยงาม เหมือนชอดอกคูณ และดอกคูณเปนตนไมประจำจังหวัดขอนแกนที่มีความสดใส
สวยงาม ใหดอกโดยเฉพาะในชวงเดือน เมษายน ฤดรู อ นของเมืองไทย

แนวคดิ การพฒั นาสายพนั ธุ
1. เพ่มิ โอกาสการใชป ระโยชนพนั ธุกรรมไกพ ้ืนเมอื งไทย
2. การพัฒนาพันธไุ กไ ขพืน้ เมอื งลูกผสม
3. ใหผ ลผลิตไขส งู
4. เพ่อื เปน ทางเลอื กสำหรับผสู นใจเล้ียงไกไขในระบบปลอ ยเลยี้ งอิสระ
จุดเดน สายพนั ธุ
1. ไกไ ขท เี่ ล้ียงงา ยในสภาพภูมอิ ากาศรอน
2. ไขดก ไขท น คณุ ภาพดี
3. ไขส ขุ ภาพ

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยีทเี หมาะสมในการเลยี งไกไ่ ขพ่ นื เมืองสาํ หรบั วสิ าหกจิ ชมุ ชนในชนบทส่ตู ลาดไขส่ ขุ ภาพอย่างยงั ยนื 10

4.1 ลกั ษณะประจำพนั ธุไกไขพ ื้นเมอื ง
4.1.1 พนั ธไุ กไขพ อ พันธแุ ดงดอกคูณ

ภาพที่ 1 ไกไขแดงดอกคูณ เพศผู
ทม่ี า : สาขาวิชาสัตวศาสตร มข. (2564)
เพศผู มีรปู รางสงู สมสวน ลำตัวลึก ใบหนากลมยาว ผิวเรียบแบบหนาอีกา ปากใหญ รูจมูกกวาง สัน
จมูกเรียบ ขอบตาเปนรูปวงรี ค้ิวนูนเรียบตามขาง รูหกู ลมมีขนปด สีน้ำตาลแดง คอใหญยาว ขนสรอยคอขึ้น
เรียบเปนระเบียบ ปกยาว ปกเปนลอนเดยี วน้ำตาลเขม มีแซมขนปก สีดำบริเวณขอบปลายปก หางพัดและหาง
กระรวยสีดำอมเขียว หางพัดเรยี งกันเปนแนวจากลางขึ้นบนตามลำดับ สวนหางกระรวยดกยาวคลายฟอนขา ว
แขง เรียว เกล็ดแขงสีเหลอื งอมน้ำตาล และเรียบเปนแถวยาวปดตลอด น้ิวเรยี วยาว เดือยแหลม สขี นพืน้ ตัว
หนาคอ หนาทอ ง ใตทอ ง ใตปก เปนสีน้ำตาลแดงตลอด สวนสีขนสรอ ยคอ สรอยปก สรอยหลงั มสี นี ้ำตาลอม
แดงเขม

ภาพท่ี 2 ไกไขแดงดอกคณู เพศเมยี
ทมี่ า : สาขาวชิ าสัตวศาสตร มข. (2564)
เพศเมีย ลักษณะเดน คอื เปน ไกทรงยาว สีขนพื้นตวั เปนสนี ำ้ ตาลแดง ขนปลายหางมีสดี ำ สวนขนคอ
มสี ีน้ำตาลแดงเขม และขอบปลายขนปกมีสีดำเล็กนอย จงอยปาก เล็บ เดือย และตา มีสีน้ำตาล แขงสีเหลือ
งอมนำ้ ตาล เปลอื กไขสีน้ำตาลออ น

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยีทเี หมาะสมในการเลยี งไกไ่ ขพ่ นื เมอื งสาํ หรบั วสิ าหกจิ ชมุ ชนในชนบทสตู่ ลาดไข่สขุ ภาพอย่างยงั ยนื 11

ภาพท่ี 3 ลกู ไกแ ดงดอกคูณ
ที่มา : สาขาวชิ าสตั วศาสตร มข. (2563)
ลกั ษณะของลูกไก สีขนลำตัวสีน้ำตาล มสี นี ้ำตาลเขมตรงกลางสว นหัวถงึ สว นกน ขอบตามสี นี ้ำตาลดำ
จงอยปากสนี ำ้ ตาล แขง เล็บ มีสเี หลอื ง

สีของเปลอื กไข

ภาพท่ี 4 ไขไกแดงดอกคูณ ภาพท่ี 5 ไขไกทางการคา
ที่มา : สาขาวิชาสตั วศาสตร มข. (2563) ทม่ี า : สาขาวิชาสัตวศาสตร มข.
(2563)

คุณภาพไขไ กแ ดงดอกคณู เมื่อเปรียบเทียบกับไขไ กทางการคา

ภาพท่ี 6 ไขไกแดงดอกคูณอายเุ กบ็ 1 วนั ภาพที่ 7 ไขไกท างการคา อายเุ กบ็ 1 วนั
ที่มา : สาขาวิชาสตั วศาสตร มข. (2564) ทม่ี า : สาขาวชิ าสัตวศาสตร มข. (2564)

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยีทเี หมาะสมในการเลยี งไกไ่ ข่พนื เมืองสาํ หรบั วิสาหกจิ ชมุ ชนในชนบทส่ตู ลาดไขส่ ขุ ภาพอย่างยงั ยืน 12

ภาพที่ 8 ไขไกแดงดอกคูณอายเุ ก็บ 10 วนั ภาพท่ี 9 ไขไกทางการคาอายุเก็บ 10 วนั
ที่มา : สาขาวชิ าสัตวศาสตร มข. (2564) ท่มี า : สาขาวชิ าสัตวศาสตร มข. (2564)

4.2 ลักษณะทางปรมิ าณของไกไ ขแ ดงดอกคณู (เลี้ยงดวยอาหารไกไขการคา)
อตั ราการเจริญเติบโตของไกไขแดงดอกคูณ เม่ือเลีย้ งดว ยอาหารไกไขการคา พบวา ไกแดงดอกคูณ ท่ี

อายุ 10 สัปดาห มีน้ำหนักตัว 739.91 และ 12 สัปดาห มีน้ำหนักตัว 1,160.22 กรัม โดยมีปริมาณการกิน
อาหาร ที่อายุ 10 สัปดาหเทากับ 3,291.06 กรัม และอายุที่ 12 สัปดาห 4,491.73 กรัม มีอัตราการ
เจริญเติบโตเฉลี่ยตอตัวตอวัน ที่อายุ 10 สัปดาห เทากับ 10.07 กรัม และ 12 สัปดาห เทากับ 13.39 กรัม
อตั ราการเปล่ียนอาหารเปนนำ้ หนักตัว ท่ีอายุ 10 สปั ดาห และ 12 สปั ดาห เทากบั 4.67 และ 3.99 ตามลำดับ

ตารางท่ี 1 คาเฉลย่ี ลักษณะทางปริมาณของไกไขแ ดงดอกคณู

ลักษณะที่ศึกษา อายุ (สปั ดาห)

0 2 4 6 8 10 12

น้ำหนกั ตัว (กรัม) 35.3 93.9 237.4 345.7 563.3 739.9 1,160.2

อตั ราการเจรญิ เตบิ โต (กรัม/วัน) - - 7.21 7.39 9.42 10.06 13.39
ปริมาณการกินอาหาร (กรมั ) - - 673 1,514 2,254 3,291 4,492

อัตราการเปลี่ยนอาหารเปนน้ำหนักตัว - - 3.32 4.87 4.26 4.67 3.99

(กรมั )

4.3 สมรรถนะการใหไขของไกไขแ ดงดอกคูณ
สมรรถนะการใหไขข องไกไขแ ดงดอกคณู เมอ่ื เลี้ยงดวยอาหารไกไขการคา พบวา อายุไกเมอ่ื ใหไขฟอง

แรก 155.30 วัน น้ำหนักแมไกเมื่อใหไขฟองแรก 1958.80 กรัม น้ำหนักไขฟองแรก 40 กรัม และจำนวนไข
สะสมท่ีอายุ 300 วัน เฉลี่ย 115 ฟอง และจำนวนไขท ผ่ี ลิตครบ 1 ป เทา กบั 246 ฟอง

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยีทเี หมาะสมในการเลยี งไกไ่ ข่พนื เมืองสาํ หรบั วิสาหกจิ ชมุ ชนในชนบทส่ตู ลาดไขส่ ขุ ภาพอยา่ งยงั ยนื 13

ตารางท่ี 2 คาเฉลี่ยสมรรถนะการใหไขข องไกไ ขพ น้ื เมอื งแดงดอกคณู

ลกั ษณะท่ศี ึกษา คาเฉล่ยี คาสูงสดุ คา ต่ำสุด

อายุเม่ือใหไขฟ องแรก (วนั ) 155.3 175.0 143.0
นำ้ หนักแมไกเ มอื่ ใหไขฟองเเรก (กรัม) 1958.8 2400.0 1600.0
น้ำหนักไขฟองเเรก (กรัม) 40.0 48.0 28.0
จำนวนไข เมือ่ แมไกอ ายุ 240 (วัน) 68.7 89.0 29.0
จำนวนไข เมอื่ แมไกอายุ 270 (วัน) 93.1 118.0 52.0
จำนวนไข เมือ่ แมไกอ ายุ 300 (วนั ) 115.0 147.0 59.0
จำนวนไขสะสมทีผ่ ลติ ครบ 1 ป (ฟอง) 246.3 345.0 59.0

5. อาหาร และการใหอาหาร
ในชวงแรกของการเล้ียง ตงั้ แตอ ายุ 20 สปั ดาห ใหอาหารไกไ ขส ำเร็จรปู ทางการคา ปริมาณ 100 กรัม

ตอตัวตอวัน และเมื่อแมไกเริ่มใหไขฟองแรก ใหอาหารไกไขการคา ปริมาณ 110 กรัมตอตัวตอวัน และให
ตอ เนอ่ื งเปนเวลา 3 เดอื น หลังจากนั้นสามารถใหอาหารไกไ ขทางการคาเสริมกับอาหารที่เกษตรกรผูเลย้ี งไกไข
มใี นครัวเรือน หรือชมุ ชน เชน ปลายขาว รำ ขา วโพด และสามารถเสรมิ หญา เปนตน

ภาพที่ 10 ไกไขแ ดงดอกคูณทปี่ ลอ ยใหกนิ หญา เสรมิ
ทีม่ า : ฟารม บานตน หญา (The Grass House Farm) อำเภอภเู วียง จังหวัดขอนแกน

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยที เี หมาะสมในการเลยี งไก่ไข่พนื เมอื งสาํ หรบั วสิ าหกจิ ชุมชนในชนบทส่ตู ลาดไขส่ ขุ ภาพอยา่ งยงั ยนื 14

ตารางที่ 3 หลกั การเปลี่ยนอาหารจากอาหารไกสาวเปน อาหารไกไข

วนั ที่ สดั สวน (%)
(อาหารไกสาว : อาหารไกไข)

1 ใชอ าหารไกส าว 100%

2 75:25
3 50:50

4 25:75

5 ใชอ าหารไกไ ข 100%

6. น้ำ และการใหน ้ำ
ตอ งมนี ้ำสะอาดใหไ กกินตลอดเวลา

7. โรงเรอื นเลย้ี งไก
6.1 ขนาดโรงเรอื น
ขนาดของโรงเรือนเลี้ยงไกในประเทศไทย ที่เปนประเทศเขตรอน สามารถใชพื้นที่ในการเลี้ยงเปน

กำหนด พื้นท่ีในการเลี้ยงไกไขพื้นเมือง ที่น้ำหนักมีชีวิตไมเกิน 2.0 กิโลกรัม ใชพื้นที่ขนาดเลี้ยง 3-4 ตัวตอ
ตารางเมตร ยกตัวอยางการเลี้ยงไกไขพื้นเมือง 20 ตัว ตองการพื้นที่ 7-8 ตารางเมตร โดยอาจจะเตรียม
โรงเรอื นความกวา ง xยาวเทากับ 2x4 เมตร โดยใชพ น้ื ที่ยาว 1.5 ถึง 2 เมตร สรางสวนหลังคากนั แดด และกัน
ฝน หรือสามารถขยายได ขนาด 3x4 เมตร หรือ 4x4 เมตร กรณีที่เตรียมใหมีพื้นที่ใหไกออกไปเดินนอกตวั
อาคารทีม่ ีหลังคา สวนฐานพื้นที่โรงเรอื นแนะนำใหปดทึบ อาจจะใชแผนสังกะสี และหากมีงบสามารถกออิฐ
บลอ็ กสูงประมาณ 3 ถึง 4 กอน ไวฝงผนังดานที่ตดิ กับพื้นดิน จากนัน้ มุงตาขายลอมรอบใหเรียบรอ ยปอ งกัน
ศัตรมู ารบกวน เชน สุนขั และแมว เปนตน

6.2 ความกวางของโรงเรือน
ความกวางของโรงเรอื นในการเล้ียงไกแบบเปน รายไดเสริม ขนาดกวาง 4-5 เมตร เหมาะสมทสี่ ุด

6.3 ความยาวของโรงเรือน
ความยาวของโรงเรือนขึ้นกับจำนวนไกที่เลี้ยง ถาเลี้ยงไกไขพื้นเมืองแดงดอกคูณ อายุ 20 สัปดาห
จำนวน 20 ตัว ใชพื้นที่โรงเรือน 6.66 ตารางเมตร โรงเรือนขนาด คือ กวาง x ยาว เทากบั 3 x 3 เทา กับ 9.0
ตารางเมตรนา จะเหมาะสม หรอื ขนาด 2 x 4 เทากับ 8 ตารางเมตร นา จะเหมาะสมเชนกันพื้นทีใ่ นการเล้ียงไก
ไข

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยีทเี หมาะสมในการเลยี งไกไ่ ข่พนื เมืองสาํ หรบั วิสาหกจิ ชมุ ชนในชนบทสตู่ ลาดไข่สขุ ภาพอยา่ งยงั ยืน 15

6.4 ความสูงของโรงเรือน
ความสงู ของผนังโรงเรือนประมาณ 2 เมตร ผนังดา นท่ตี ิดกับพนื้ ดินควรกออฐิ บล็อกความสูงประมาณ
2-4 กอน (40 - 80 ซม.) หรือในพื้นที่มีเสียงดัง หรือกิจกรรมวุนวายแนะนำใหกออิฐบล็อกสูงกวานั้นเพื่อ
ปองกันให แมไ กไมต กใจงายเกนิ ไป หรอื เปด เพลงใหแ มไกฟง

ภาพที่ 11 โรงเรือนเล้ยี งไกไ ขพื้นเมืองปด ดวยอิฐบล็อกดานลาง และปด ลอมดานบนดว ยลวดตาขาย
ทมี่ า : ฟารม สวนลงุ ทดิ อำเภอนำ้ พอง จังหวัดขอนแกน

ภาพที่ 12 โรงเรอื นเลยี้ งไกไ ขพ ื้นเมืองปดดวยแผน สงั กะสดี านลาง และปดลอมดานบนดวยวัสดุไมไ ผธ รรมชาติ
ท่ีมา : ฟารมพอ ไพบูลย บานโนนเรอื ง อำเภอเมือง จังหวดั ขอนแกน

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยีทเี หมาะสมในการเลยี งไก่ไข่พนื เมืองสาํ หรบั วิสาหกจิ ชมุ ชนในชนบทส่ตู ลาดไขส่ ขุ ภาพอยา่ งยงั ยืน 16

ภาพที่ 13 โรงเรอื นเลี้ยงไกไ ขพ ื้นเมืองปด ลอมตาขาย
ทีม่ า : ฟารมทาหินการเกษตร อำเภอเมือง จังหวัดขอนแกน

ภาพท่ี 14 โรงเรอื นเล้ยี งไกไขพ ้ืนเมืองพรอมพื้นทปี่ ลอยเลย้ี งอิสระ
ที่มา : ฟารมบา นตนหญา (The Grass House Farm) อำเภอภเู วยี ง จังหวัดขอนแกน

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยที เี หมาะสมในการเลยี งไก่ไข่พนื เมอื งสาํ หรบั วสิ าหกจิ ชมุ ชนในชนบทสตู่ ลาดไขส่ ขุ ภาพอยา่ งยงั ยืน 17

8. รังวางไข
ภายในโรงเรือนเลี้ยงไกไขแดงดอกคูณ จะเตรียมรังวางไขธรรมชาติไวเพื่อใหแมไกไขที่รัง ทำใหไข

สะอาด การเตรียมรังวางไข 1 รัง จะเหมาะกับแมไก 3 ตัว สำหรับวัสดุเตรยี มรังวางไขอาจใชไมไผสาน หรือ
กระบะพลาสติก แลว แตความสะดวกของแตล ะพืน้ ท่ี จากนัน้ รองกน รงั วางไขทีเ่ ตรียมไวดว ยหญาแหง หรือฟาง
แหง เพื่อปองกันความเสียหายแกฟ องไข และควรหมั่นเกบ็ ไขออกจากรงั ไขทุกวนั วนั ละ 2 คร้ัง (เชา – บาย)
เพ่ือปองกนั ไขเสยี หายและสกปรก

ภาพที่ 15 การเตรียมรังวางไขในโรงเรอื นเลีย้ งไกไขพืน้ เมือง
ท่ีมา : ฟารม บา นตน หญา (The Grass House Farm) อำเภอภเู วยี ง จงั หวัดขอนแกน
9. วัสดรุ องพน้ื คอก
พื้นคอกควรมีวัสดุรอง ที่นิยมใชไ ดแก แกลบดิบ เพื่อชว ยดดู ซับความชื้นจากมูลไก และปอ งกันไมเกดิ
แผลทบี่ ริเวณอุง ตนี ไก ทมี่ กั พบในคอกที่ไมมวี สั ดุรองพืน้ ทจ่ี ะสง ผลตอสุขภาพแมไกตามมา
10. การใหวคั ซนี และการถายพยาธิ
การใหวคั ซนี
การใหวัคซนี แกไกมีความสำคัญมาก เนื่องจากการใหวัคซีนไก ทำใหไกสามารถสรา งภูมิตานทานโรค
ได เมื่อมีการระบาดของโรค จะทำใหไกท่ีไดรับวัคซีนปองกันโรคนั้น ๆ มอี ัตราการตายนอยกวาไกที่ไมไดร ับ
วัคซีนปองกันโรคดังกลา ว ภายใตการเลยี้ งดูที่เอาใจใสด ีพอควร ไกไขแดงดอกคูณไดร ับวคั ซีนตามโปรแกรมใน
ตารางที่ 4

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยีทเี หมาะสมในการเลยี งไก่ไขพ่ นื เมืองสาํ หรบั วิสาหกจิ ชมุ ชนในชนบทสตู่ ลาดไขส่ ขุ ภาพอย่างยงั ยืน 18

ตารางที่ 4 โปรแกรมการใหวคั ซีน และการจัดการ วธิ ีใช ระยะเวลาปองกนั
อายุไก ชนิดของวคั ซนี โรค

7 วัน นิวคลาสเซลิ และ หยอดจมูก 1 หยด 1 เดอื น
หลอดลมอักเสบ
2 สัปดาห แทงปก 12 เดอื น
4 สัปดาห ฝดาษ หยอดจมกู 1 หยด 3 เดือน
นวิ คลาสเซลิ และ
6 สปั ดาห หลอดลมอักเสบ ปอ นยาเม็ดละ 30-50 มลิ ลกิ รัม/ไกน ้ำหนัก 1 -
ถายพยาธิภายในใช กโิ ลกรัม
12 สปั ดาห ยามเี บนดาโซล 3 เดอื น
นิวคลาสเซลิ และ หยอดจมูก 1 หยด
16 สัปดาห หลอดลมอักเสบ 3 เดือน
อหิวาต เปด -ไก ฉดี เขา กลา มเนือ้ อก ตวั ละ 1 ซีซี

หมายเหตุ
1. กรณีที่ไกแ พวคั ซนี จะมีอาการหงอย ซึม ไมก ินอาหาร ใหละลายยาลดความเครียด (น้ำแดง)**
ใหไ กกนิ 3 วัน ตดิ ตอกันอาการจะดีขึ้น
**ยาลดความเครียดมสี ว นผสมของแรธาตุ และไวตามินตางๆ (อาจใชย่หี อ Themix ก็ได)

ภาพที่ 16 วคั ซีน และยาถา ยพยาธิทีใ่ ชใ นไก ภาพท่ี 17 การใหวัคซีนอหิวาต โดยการฉีดเขากลา มเนือ้ อก
ท่ีมา : สาขาวิชาสตั วศาสตร มข. (2564) ท่ีมา : สาขาวชิ าสัตวศาสตร มข. (2564)

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยที เี หมาะสมในการเลยี งไก่ไข่พนื เมอื งสาํ หรบั วิสาหกจิ ชุมชนในชนบทส่ตู ลาดไข่สขุ ภาพอย่างยงั ยนื 19

11. หลักปฏิบัตใิ นการเลย้ี งไกไขพ ื้นเมือง
ผเู ลี้ยงไก ท่ปี ระสบความสำเรจ็ ตอ งเปน ผจู ัดการที่ดี การจัดการทด่ี คี ือ “ทำสงิ่ ท่ีถูกในเวลาที่เหมาะสม”

(Doing the righting at the right time) ซึ่งทำใหกิจการไดผลตอบแทนสูงสุด ซึ่งอาจรวบรวมเปนขอ ๆ ได
ดงั น้ี

1. เลย้ี งไกส าวทมี่ คี ุณภาพดี
2. เลี้ยงแยกตา งหากจากสัตวปก ชนดิ อื่น
3. คดั ทิง้ ไกทนั ทีท่ีขายไกเ รียบรอ ยแลว
4. จัดการโรงเรอื น วัสดุรองพืน้ คอก และอปุ กรณการเล้ียงใหสะอาดอยเู สมอ
5. ตอ งทราบอาหารท่ีไกก ินแตล ะสัปดาห
6. จัดการใหไ กม พี ้ืนทต่ี อ ตัว ทใี่ หอ าหารและทใ่ี หน ำ้ ใหเพียงพอตอความตองการของไก
7. ไมอนญุ าตใหผ ูมาเยี่ยมชมฟารม เขาไปในโรงเรือน
8. เมือ่ ไกตายตอ งเผาหรอื ฝงในหลมุ ลึกทนั ที
9. มีการปอ งกันการจิกกนั
10. ใหแ สงสวางอยางเหมาะสม คอื 40 วตั ตต อพื้นท่ี 400 ตารางฟุต (ประมาณ 37 ตารางเมตร)
(หากผูยังไมช ำนาญในการเลี้ยงไก ควรเล้ียงจำนวนนอ ยกอ น เพ่อื ศึกษาหาความชำนาญ)

การเตรียมการกอ นไกม าถึงฟารม
กอนนำไกไขส าวเขา มาเลี้ยง จำเปนตอ งมกี ารเตรียมการในชว งเวลาปลอดไกในฟารมหรือในโรงเรือน

โดยการทำความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ มีการฆาเชื้อโรคในชวงเวลาปลอดไกในฟารม เพื่อเปนการตัด
วงจรของเช้ือโรคตาง ๆ การเตรยี มรับไกร ุนใหมตองทำในชว งเวลาปลอดไก

1. การทำความสะอาดโรงเรือนและอปุ กรณ ทำความสะอาดใหส ะอาดท่ีสดุ เทา ท่ีจะทำได อาจตอง
ใชผ งซกั ฟอก และยาฆา เชอื้ ดวย

2. วัสดุรองพื้นคอก (แกลบ) ตองขนวัสดุรองพื้นคอกเกาออกนอกโรงเรือนกอนทำความสะอาด
โรงเรอื น วัสดุรองพ้นื คอกท่ีดีตองมีคุณสมบตั ิดดู ซับความชื้นไดด ี หางายในทองถนิ่ และราคาถูก ตรงตามความ
ตองการของผูซอ้ื เพ่อื นำไปใชเ ปน ปุย

3. ที่ใหนำ้ และทใ่ี หอาหาร เหมาะสม

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยที เี หมาะสมในการเลยี งไกไ่ ข่พนื เมอื งสาํ หรบั วสิ าหกจิ ชมุ ชนในชนบทสตู่ ลาดไข่สขุ ภาพอย่างยงั ยนื 20

12. ขอมูลประกอบการตัดสินใจในการเลีย้ งแบบเปน รายไดเสรมิ
กอนการดำเนนิ การเลี้ยงไก จะตอ งมขี อ มลู หลายอยา งที่ควรรู
12.1 ตลาด
ตลาดมีความตองการไก และผลผลติ ไขที่เราจะเล้ียงหรอื ไม ในปรมิ าณวันละเทาใด เพื่อใชในการวาง

แผนการเล้ยี งไก เพอื่ ผลิตไขวันละก่ีฟอง สินคา ใดจะตดิ ตลาดหรอื ไม นอกจากคุณภาพดี รสชาติ อรอ ย ถูกปาก
แลว สนิ คานั้นจะตองมีปริมาณเพียงพอตอความตองการของตลาด และสามารถจัดหาใหมีความตอ เนื่องของ
สนิ คา

“ขอควรระวังสินคาควรมีปริมาณนอยกวาความตองการของตลาดเพียงเล็กนอย ดีกวาปริมาณเกิน
ความตองการของตลาด เพราะหากเกิดกรณีปริมาณเกินความตองการของตลาด จะเปนตลาดของพอคาคน
กลาง หากปรมิ าณนอยกวา ความตอ งการของตลาดเพียงเล็กนอย จะเปนตลาดของผเู ล้ียง”

12.2 พันธไุ กห รือชนิดไกท ี่เล้ียง
ตรงตามความตอ งการของตลาดหรือไม มลี ทู างในการสรางการรับรหู รือไม สามารถเลยี้ งไดในสถานที่
ท่ีจะเลี้ยงหรือไม เลี้ยงในระบบโรงเรอื นปดหรือระบบโรงเรือนเปด เลีย้ งงายหรือเลี้ยงยาก และไกไขพื้นเมือง
สาวมีแหลงซอ้ื ไดจ ากทีไ่ หน มคี วามตอเนอ่ื งของไกเ พียงใด ฯลฯ
12.3 การตดั สนิ ใจเล้ียง
เพอื่ รับทราบ ขอมูลตา ง ๆ เกยี่ วกบั ตลาด และพนั ธุไกท ี่จะเลี้ยงพอสมควรแลว เมอ่ื เกิดความสนใจควร
หาขอมูลเพิม่ เตมิ ทางสื่อตาง ๆ แหลง ความรอู ่นื ๆ และหาความรเู พ่ิมเติม จากการเขา รับการฝก อบรม ดูงานใน
ฟารม ท่ีประสบความสำเร็จในการเลย้ี ง จากนัน้ กจ็ ะมีการประเมินวา ตวั เองพอท่จี ะเลยี้ งไดห รือไม เมื่อตัดสินใจ
ดีแลว ทง้ั การตลาดและวิธีการเล้ยี งกถ็ ึงขั้นทที่ ดลองเลย้ี ง ขน้ั ตอนนีเ้ ปน ข้นั ตอนทีส่ ำคญั มาก เพราะเปนขั้นตอน
ที่จะบงบอกวา จะประสบความสำเร็จ หรือลมเหลว อทิ ธิบาท 4 จะเปน ธรรมท่ีตดั สินวา ใครจะสำเร็จ และใคร
จะลมเหลว การลงมือทำเปนการทดสอบคน ทั้งความเอาใจใส ความอดทน ความขยัน และความใฝรู จะไดรู
กันวา ทำไมบางคนประสบความสำเร็จ และบางคนลมเหลว นำมาประเมินตวั เอง เพื่อปรับกระบวนการทำงาน
ใหก าวหนา สืบไป ผูทีป่ ระสบผลสำเรจ็ ในการเลี้ยงกย็ อมรับ ผูไมป ระสบสำเร็จกไ็ มย อมรบั ตองกลับไปพิจารณา
ขัน้ ตอนใหมตั้งแตรับทราบเปน ตนไป จนถึงการประเมิน และเรม่ิ เรียนรูจากคนท่ีประสบผลสำเร็จ หากตองการ
แกตัวในการเลี้ยงไกใหม ก็เรม่ิ ตนเลี้ยง และนำประสบการณลมเหลวครั้งท่ีแลว นำมาปรับปรุง เพื่อความสำเรจ็
ในการเลย้ี งไกร นุ ตอไป

13. ขอมลู สำคัญอ่นื ๆ ท่ีควรทราบ
13.1 การรวมกลมุ ผูเ ลยี้ ง
การรวมกลุมผูเลี้ยงมีวัตถุประสงคเพื่อใหมีไขไกพื้นเมืองคุณภาพดี สงตลาดอยางสม่ำเสมอ เพราะ

สนิ คา ใดจะติดตลาดจะตอ งมีประมาณเพยี งพอ และมีความสม่ำเสมอในผลผลติ (ความตอ เนอ่ื ง)

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยที เี หมาะสมในการเลยี งไก่ไขพ่ นื เมอื งสาํ หรบั วิสาหกจิ ชุมชนในชนบทส่ตู ลาดไขส่ ขุ ภาพอยา่ งยงั ยืน 21

13.2 ตน ทนุ การผลิตและกำไรจากการเล้ยี งไกไ ขพ ้นื เมืองแดงดอกคูณ
ตนทุนการผลิต เฉพาะตนทุนผันแปรที่เปนเงินสดและกำไรจากการเลี้ยงไกไขพื้นเมืองแดงดอกคูณ
อายุการเล้ียงเรมิ่ ทช่ี วงอายุ 20-75 สปั ดาห

A: ตน ทนุ การผลิต เฉพาะตน ทนุ ผนั แปรท่ีเปน เงินสด สมมตุ เิ ลีย้ งไกไ ขแดงดอกคูณ จำนวน 20 ตวั /ป (365 วัน)

ลำดบั รายการ บาท

1 ไกสาว 20 ตวั ๆ ละ 250 บาท (20 x 250) 5,000.00

2 อาหารกินตัวละ 16.5 กก.ๆ ละ 15 บาท (เลย้ี งอาหารไกไขการคา 150 วนั ) 4,950.00

3 แกลบดิบ 20 ตัว ใช 4 กระสอบ ๆ ละ 13 บาท 52.00

4 คา วคั ซีนและเวชภัณฑ ตัวละ 1 บาท 100.00

5 คา ไฟฟา + คา นำ้ 100.00

รวม 10,202.00

B: รายรับ

ลำดบั รายการ บาท

1 ขายไข วนั ละ 14 ฟอง ๆ ละ 4 บาท (14 x 4 x 365 วัน) 20,440.00

(คดิ อัตราการไขเ ฉลีย่ 70%)

2 ขายแมไกปลด 16 ตวั น้ำหนกั ตัวละประมาณ 2 กก.ๆ ละ 80 บาท 2,560.00

3 มลู ไก 10 กระสอบอาหาร ๆ ละ 30 บาท 300.00

รวม 23,620.00

กำไร กรณีขายไขสด = 13,418 บาท

สรปุ ในการเล้ียงไกไ ขพ้ืนเมืองแดงดอกคณู 20 ตวั ไดก ำไรดังน้ี
กรณขี ายไกไขสด มีกำไร (B-A) = 13,418 บาท/ 12 เดือน เทากับ 1,118.17 บาท/เดือน

โครงการถา่ ยทอดเทคโนโลยีทเี หมาะสมในการเลยี งไกไ่ ข่พนื เมอื งสาํ หรบั วิสาหกจิ ชมุ ชนในชนบทสตู่ ลาดไข่สขุ ภาพอย่างยงั ยนื 22


Click to View FlipBook Version