ผลการใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H เพื่อส่งเสริมการอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 The Effects of Using 5W1H Question Technique to Enhance Reading Comprehension of Grade 9 Students ปวิชญา บุตรสงกา วิจัยในชั้นเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2566 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ผลการใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H เพื่อส่งเสริมการอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 The Effects of Using 5W1H Question Technique to Enhance Reading Comprehension of Grade 9 Students ปวิชญา บุตรสงกา วิจัยในชั้นเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2566 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
หัวข้อวิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H เพื่อส่งเสริมความสามารถอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัย นางสาวปวิชญา บุตรสงกา สาขาวิชา ภาษาอังกฤษ อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิชตา ธนชิตดิษยา ครูพี่เลี้ยง นางสาวณัฎฐา วิจารณรงค์ อ าจ า รย์ป ร ะจ าห ลักสูต รค รุศ าสต รบัณฑิต ส าข า วิช า ภ าษ า อังกฤษ คณ ะค รุศ าสต ร์ มห าวิทย าลัย ร าชภัฏอุด รธ านีอนุมัติให้นับวิจัยในชั้นเ รียนฉบับนี้เป็นส่ วนหนึ่งของก า รศึกษ า ตามหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ................................................ .................. หัวหน้าสาขาวิชา (อาจารย์บุรัชต์ ภูดอกไม้) วันที่.......…เดือน…….…………พ.ศ…………… คณะกรรมการผู้ประเมินรายงานวิจัยในชั้นเรียน .................................................................................. ประธานคณะกรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิชตา ธนชิตดิษยา) .................................................................................. กรรมการ (อาจารย์บุรัชต์ ภูดอกไม้) .................................................................................. กรรมการ (นางสาวณัฎฐา วิจารณรงค์) .................................................................................. กรรมการ (นางกิติชา ธานีเนียม)
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H เพื่อส่งเสริมความสามารถอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัย นางสาวปวิชญา บุตรสงกา อาจารย์ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิชตา ธนชิตดิษยา ปีการศึกษา 2566 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ระหว่างก่อนเรียนและ หลังเรียน และเพื่อส ารวจความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 จ านวน 20 คน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาองค์การปกครอง ส่วนท้องถิ่น ได้จากการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน จ านวน 10 แผน แบบทดสอบความสามารถ ด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจและแบบส ารวจความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้ การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ( ) ร้ อ ย ล ะ (Percentage) ส่ ว น เ บี่ ยง เ บ น ม า ต ร ฐ า น (S.D.) แ ล ะ ก า ร ท ด ส อบ ค่ า ทีแ บ บไ ม่ อิ ส ร ะ (t-test for Dependent Samples) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. นักเรียนมีคะแนนความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้ง ค าถาม 5W1H คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 14.20 คิดเป็นร้อยละ 47.33 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 24.10 คิดเป็นร้อยละ 80.33 และมีคะแนนความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจไม่น้อยกว่า เกณฑ์ที่ตั้งไว้ ร้อยละ 75 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 2. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้เทคนิค การตั้งค าถาม 5W1H ในระดับดีมาก (4.57) ก
Title The Effects of Using 5W1H Question Technique to Enhance Reading Comprehension of Grade 9 Students Author Miss Pavichaya Budsongka Research Advisor Asst. Prof. Nichata Thanachitditsaya Academic Year 2023 ABSTRACT The purposes of this research were to study and compare the English reading comprehension ability before and after using 5W1H question technique and for investigate students’ satisfaction towards teaching English reading comprehension using 5W1H question technique of grade 9 students. The sample group consisted of 20 Matthayomsuksa 3/2 students, studying in the second semester of academic year 2023 at Tessaban 2 Mukkamontri School, Muang District, UdonThani Province. They were selected by Purposive Sampling. The research instruments were ten lesson plans, an English comprehension ability test, and questionnaire asking for the satisfaction of students towards teaching English reading comprehension using 5W1H question technique. The collected data were analyzed by mean, percentage, standard deviation and t-test for Dependent Samples. The findings of this research were as follow: 1. The student’s English reading comprehension ability using 5W1H question technique were 14.20 or 47.33 percent for the pretest; and 24.10 or 80.33 percent for the posttest. The posttest mean score was not less than 75 percent and the posttest mean score was higher than the pretest. 2. The students’ satisfaction towards teaching English reading comprehension using 5W1H question technique was at high level (4.57) ข
กิตติกรรมประกาศ วิจัยฉบับนี้ส าเร็จได้ด้วยความกรุณาจากผู้ช่วยศาสตราจารย์นิชตา ธนชิตดิษยา อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย ที่กรุณาให้ค าปรึกษาแนะน า อ่านและตรวจแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ตลอดจนให้ข้อคิดที่เป็นประโยชน์และดูแล ให้ก าลังใจแก่ผู้วิจัยด้วยความเอาใจใส่อย่างดีเสมอมา ผู้วิจัยรู้สึกซาบซึ้งในความกรุณา และขอกราบ ขอบพระคุณเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณ คุณครูณัฎฐา วิจารณรงค์คุณครูพี่เลี้ยง และ ท่านรองกิติชา ธานีเนียม รองผู้อ านวยการฝ่ายวิชาการโรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี ที่ได้กรุณาเป็นคณะกรรมการร่วมพิจารณาวิจัย ตลอดจนให้ค าแนะน าที่เป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงวิจัยให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน คือ คุณครูณัฎฐา วิจารณรงค์คุณครูวรรณี สังสุทธิ และคุณครู ภวรันชน์ พุทธา ที่ให้ข้อคิดเห็น และแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ในการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ขอขอบพระคุณผู้อ านวยการและคณะครูโรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรีทุกท่านที่อ านวยความสะดวก ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการเก็บรวบรวมข้อมูล และทดลองใช้เครื่องมือ ขอขอบใจนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ปีการศึกษา 2566 ทุกคนที่ให้ความร่วมมือในการทดลองหาประสิทธิภาพของเครื่องมือ และการทดลอง เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ ท้ายนี้ผู้วิจัยกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ครอบครัว รวมทั้งญาติพี่น้องทุกท่านที่ให้ความช่วยเหลือ ดูแล ห่วงใย ให้ก าลังใจและสนับสนุนผู้วิจัยตลอดมา ประโยชน์และคุณค่าทั้งมวลที่เกิดจากวิจัยฉบับนี้ ผู้วิจัยขอ มอบเป็นเครื่องบูชาพระคุณบิดา มารดาและครูอาจารย์ทุกท่านประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้แก่ผู้วิจัย ซึ่งท่าน ทั้งหลายที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ล้วนมีส่วนช่วยให้ผู้วิจัยได้ส าเร็จการศึกษาดังที่ตั้งใจไว้ ปวิชญา บุตรสงกา ค
สารบัญ หน้า บทคัดย่อ................................................................................................... ................................. ABSTRACT………………………………………………………………………………………………………………… กิตติกรรมประกาศ..................................................................................................................... สารบัญ...................................................................................................................................... สารบัญตาราง............................................................................................................................ สารบัญภาพ.............................................................................................................................. บทที่ 1 บทน า.................................................................................................................................. ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา...................................................................... วัตถุประสงค์ของการวิจัย............................................................................................. สมมติฐานของการวิจัย................................................................................................. ขอบเขตของการวิจัย.................................................................................................... 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง…………………………………..………………………………… 2. ตัวแปรที่ศึกษา………………………………………………………………………………………. 3. เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย…………………………………………………………………………….. 4. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย.................................................................................. นิยามศัพท์เฉพาะ......................................................................................................... ประโยชน์ที่จะได้รับ..................................................................................................... 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง.......................................................................................... 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ……………………………………………………………………………………….. 1.1 สาระส าคัญกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ…………………………………… 1.2 คุณภาพผู้เรียน…………………………………………………………………………………….. 1.3 ตัวชี้วัด............................................................................................................. 2. แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการอ่านเพื่อความเข้าใจ……………………………………………….. 2.1 ความหมายของการอ่าน……………………………………………………………………….. 2.2 ความส าคัญของการอ่าน………………………………………………………………………. 2.3 ประเภทของการอ่าน....................................................................................... 2.4 ความหมายของการอ่านเพื่อความเข้าใจ…………………………….…………………… ก ข ค ง จ ฉ 1 1 3 3 3 3 3 3 4 4 4 5 6 6 6 7 8 8 9 10 11 ง
สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 2.5 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการอ่านเพื่อความเข้าใจ…………………………................... 2.6 ระดับของการอ่านเพื่อความเข้าใจ…………………………………………………………. 2.7 องค์ประกอบการอ่านเพื่อความเข้าใจ…………………………………………………….. 2.8 หลักการและขั้นตอนในการสอนการอ่านเพื่อความเข้าใจ............................... 2.9 การวัดและประเมินความสามารถในการอ่าน…………………………………………. 3. แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับเทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H…………………………………………. 3.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้การตั้งค าถาม 5W1H………………….. 3.2 การตั้งค าถามโดยใช้เทคนิคการค าถาม 5W1H………………………………………… 3.3 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H......................... 4. แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ……………………………………………………………… 4.1 ความหมายของความพึงพอใจ……………………………………………………………….. 4.2 การวัดความพึงพอใจ……………………………………………………………………………. 4.3 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ................................................................. 5. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง…………………………………………………………………… 5.1 งานวิจัยในประเทศ.......................................................................................... 5.2 งานวิจัยต่างประเทศ……………………………………………………………………………. 6. กรอบแนวคิดในการวิจัย……………………………………………………………………………… 3 วิธีด าเนินการวิจัย............................................................................................................... ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง.......................................................................................... แบบแผนการวิจัย........................................................................................................ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย.............................................................................................. 1. ประเภทของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย…………………………………………………….. 2. การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือ…………………………………………………… การเก็บรวบรวมข้อมูล................................................................................................. การวิเคราะห์ข้อมูล...................................................................................................... สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล.................................................................................... 11 13 15 16 18 19 19 20 21 23 23 24 25 27 27 28 29 30 30 30 31 31 31 35 35 36
สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล........................................................................................................ ผลการศึกษาและเปรียบเทียบความสารถการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ 3 โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H………….. 1. ผลการศึกษาความสามารถการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H……………… 2. ผลการเปรียบเทียบความสามารถการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของ นักเรียน โดยการใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H เทียบเกณฑ์ร้อยละ 75.......... 3. ผลการเปรียบเทียบความสามารถการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของ นักเรียน โดยการใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ระหว่างก่อนเรียนและหลัง เรียน.................................................................................................................... ผลการส ารวจความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความ เข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ 3…. การวิเคราะห์ความสอดคล้องของแบบประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ของผู้เชี่ยวชาญ............................................................................................................ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ............................................................................... วัตถุประสงค์ของการวิจัย…………………………………………………………………………………. สมมติฐานของการวิจัย…………………………………………………………………………………….. วิธีด าเนินการวิจัย……………………………………………………………………………………………. 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง…………………………………………………………………… 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย……………………………………………………………………….. 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล………………………………………………………………………….. 4. การวิเคราะห์ข้อมูล………………………………………………………………………………. สรุปผลการวิจัย………………………………………………………………………….…………………… การอภิปรายผล………………………………………………………………………………………………. ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………………………….. เอกสารอ้างอิง…………………………………………………………………………………………………………….. 38 38 39 40 41 41 42 44 44 44 44 44 45 45 46 46 47 49 51
บทที่ ภาคผนวก…………………………………………………………………………………………………………………… ภาคผนวก ก รายชื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือในการวิจัย…………………………..... ภาคผนวก ข เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย……………………………………………………………….. - ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H……………………………………………….…… - แบบทดสอบความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้ เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H………………………………………………………………… - แบบประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H……………………………….. ภาคผนวก ค การวิเคราะห์ความสอดคล้องแผนการจัดการเรียนรู้การอ่าน ภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3……………………………………………………. - การวิเคราะห์ความสอดคล้องของแบบทดสอบความสามารถในการอ่าน ภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H……………. - ค่าความยากง่าย (p) ค่าอ านาจจ าแนก (r) ค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบทดสอบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ........ - การวิเคราะห์ความสอดคล้องของแบบประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการ ของแบบทดสอบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ เรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H……………………………………………………………………………………………….. ภาคผนวก ง เปรียบเทียบคะแนนการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจก่อนเรียน และหลังเรียน………………………………………………………………………………… ภาคผนวก จ การส ารวจความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H…………………………… ภาคผนวก ฉ ภาพประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน…………………………………………. ประวัติย่อผู้วิจัย…………………………………………………………………………………………………………… หน้า 52 53 55 56 71 83 86 91 94 96 99 101 104 107
สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1 ผลการศึกษาความสามารถการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H……………… 2 ผลการเปรียบเทียบความสามารถการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H เทียบเกณฑ์ ร้อยละ 75………………………………………………………………………………………………………………. 3 ผลการเปรียบเทียบความสามารถการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ระหว่างก่อนเรียนและ หลังเรียน………………………………………………………………………………………………………………… 4 ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และการแปลความหมายของความพึงพอใจต่อ การจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ 3................................................................................. 5 ผลการวิเคราะห์ความสอดคล้องของแบบประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ของผู้เชี่ยวชาญ 6 ผลการวิเคราะห์ความสอดคล้องแผนการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อ ความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3………… 7 ผลการวิเคราะห์ความสอดคล้องของแบบทดสอบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3………………………………………………………… 8 ผลการวิเคราะห์ค่าความยากง่าย (p) ค่าอ านาจจ าแนก (r) ค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบทดสอบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ…………………………. 9 ผลการวิเคราะห์ความสอดคล้องของแบบประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H……………………… 10 การเปรียบเทียบคะแนนการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจก่อนเรียนและ หลังเรียน………………………………………………………………………………………………………………… 11 การประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H……………………………………………………………………………. 39 40 41 42 42 87 92 95 97 100 102 จ
สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 1 ขั้นตอนการสอนอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H........ 29 ฉ
1 บทที่ 1 บทน า ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา สังคมโลกปัจจุบันการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมีความส าคัญ และจ าเป็นอย่างยิ่งในชีวิตประจ าวัน เนื่องจากภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือส าหรับการติดต่อสื่อสาร การศึกษา แสวงหาความรู้การประกอบ อาชีพ อีกทั้งภาษาต่างประเทศยังท าให้ผู้เรียนเรียนรู้และเข้าใจความแตกต่างของภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณีการคิด สังคม เศรษฐกิจและการใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารได้รวมถึง ผู้เรียนสามารถเข้าถึงความรู้ต่าง ๆ ได้ง่ายและกว้างขึ้น รวมทั้งมีวิสัยทัศน์ในการด ารงชีวิต (กรมวิชาการ, 2550 :1) จึงท าให้ภาษาต่างประเทศโดยเฉพาะภาษาอังกฤษที่จัดได้ว่าเป็นภาษากลางที่ในหลายๆ ประเทศให้ การยอมรับในการติดต่อสื่อสารที่มีบทบาทมากในปัจจุบัน จะเห็นได้ว่า ในหลายๆประเทศให้มีการเรียนการ สอนภาษาอังกฤษกันอย่างกว้างขวางเพื่อใช้ประโยชน์ในหลายๆด้านโดยเฉพาะในด้านการศึกษาที่ จ าเป็นต้องมี การค้นคว้าข้อมูลต่างๆ ทั้งในรูปของหนังสือ วารสารต่างๆ ต ารา ตลอดจนข้อมูลที่มีอยู่ในอินเตอร์เน็ตที่เป็น ภาษาอังกฤษ ความรู้ภาษาอังกฤษจึงมีความจ าเป็นที่ต้องได้รับการพัฒนาความสามารถทางภาษาอังกฤษเชิง วิชาการที่จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลและการประกอบอาชีพในอนาคต ซึ่งสอดคล้องกับ แนวคิดของ O’Malley และ Chamot (1990,p.228) กล่าวว่า ผู้เรียนควรมีความสามารถในการใช้ ภาษาอังกฤษเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เนื้อหาวิชาต่างๆ ควรมีทักษะการอ่านต าราเพื่อให้ได้ข้อมูล และ สะท้อนสิ่งที่อ่านออกมาในรูปแบบของการเขียนหรือการน าเสนอรายงานหน้าชั้น รวมทั้งประยุกต์ใช้ ความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษในการเรียนเนื้อหาวิชาอื่นๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในประเทศไทยการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองที่ใช้ในการเรียนและการท างาน ถือว่า มีความส าคัญมากรวมถึงมีการพัฒนาการเรียนการสอนหลากหลายวิธี (วรางคณา เค้าอ้น :2559 น.1-2) แต่อย่างไรก็ตามยังมีนักเรียนเป็นส่วนมากที่มีปัญหาเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ (สยามรัฐ ลอยพิมายและ ชัยวัฒน์วารี:2557 น.2) การเรียนการสอนภาษาอังกฤษในภาพรวมทั้งประเทศไม่เกิดประสิทธิผลเท่าที่ควร นักเรียนจบการศึกษาในระดับประถมศึกษา บางคนยังไม่สามารถใช้ทักษะต่าง ๆ ได้ไม่ว่าจะเป็นการฟังการ อ่าน การพูด และการเขียนในการด าเนินชีวิตได้ ดังค ากล่าวของ (พันทิพย์ เกื้อเพชรแก้ว. 2545, น.53) กล่าว ว่า อุปสรรคปัญหาที่พบในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ คือการขาดทักษะการอ่าน โดยเฉพาะการอ่านใน ระดับพื้นฐาน คือการเพื่อความเข้าใจต้องผ่านการฝึกฝนการอ่านเป็นอย่างดี การอ่านเพื่อความเข้าใจนั้นความนับว่าเป็นหัวใจของการอ่าน เป็นการอ่านเพื่อท าความเข้าใจใน เนื้อเรื่อง เข้าใจจุดมุ่งหมาย สาระส าคัญของเรื่องที่อ่านได้ถูกต้อง ความคิดเห็นที่ผู้เขียนต้องการแสดงต่อผู้อ่าน ตลอดจนวินิจฉัยคุณค่าที่ตนเองอ่านไดอย่างมีเหตุผล ซึ่งต้องอาศัยกระบวนการคิดและประสบการณ์เดิมที่ ผู้อ่านมีอยู่เพื่อใช้ในการคาดเดาความหมายจากเนื้อเรื่องที่อ่าน (ทิศนา แขมมณี. 2553:101; และ นภเนตร ธรรมบวร. 2549:177) องค์ประกอบของการอ่านเพื่อความเข้าใจที่จะท าให้ผู้อ่านสามารถอ่านเพื่อความเข้าใจ
2 ได้ดีมีดังนี้ ความรู้ด้านภาษา ได้แก่ความรู้เกี่ยวกับวรรณคดีหลักภาษาและการใช้ภาษา ซึ่งจะช่วยให้ผู้อ่านฟัง พูด อ่านและเขียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความรู้เกี่ยวกับเนื้อเรื่อง ถ้าผู้อ่านมีความรู้เกี่ยวกับเนื้อเรื่องจะช่วย ให้ ใช้เวลาน้อยลง และประสบการณ์ทางด้านความคิด เมื่อบุคคลเริ่มรู้จักสื่อสารจะเริ่มคิดเกี่ยวกับเรื่องราว เหตุการณ์หรือสิ่งอื่นๆที่ผ่านเข้าไปในสมอง เมื่อโตขึ้นถึงวัยที่สามารถอ่านจับใจความ จะทา ให้สะสม ความคิด ที่ได้จากการอ่านเรื่องต่างๆเพิ่มมากขึ้น (สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์. 2545ก: 97-98; อ้างอิงจาก A.J. Harris. 1988: 249-261) ส าหรับการอ่านเพื่อความเข้าใจให้ง่ายและรวดเร็ว อาจมีการส ารวจชื่อเรื่อง รายละเอียด คร่าวๆ การตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านให้ชัดเจน การมีความสามารถทางภาษาโดยเฉพาะทักษะในการแปล ความหมายของค า ประโยคและข้อความต่างๆในเรื่องให้เข้าใจอย่างถูกต้อง การมีประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องที่ อ่านจะท าให้เข้าใจเรื่องที่อ่านได้ง่ายขึ้น การอ่านเพื่อความเข้าใจของเรื่องที่อ่านได้มากย่อมมีโอกาสรับรู้ เรื่องราวได้ดีกว่าผู้ที่ไม่สามารถเข้าใจเรื่องที่อ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยให้ผู้อ่านรู้และเข้าใจเรื่องราวต่าง ๆ ที่อ่านได้ผู้อ่านจึงสามารถน าความรู้ที่ได้ไปพัฒนาตนเอง อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการอ่านภาษาอังกฤษจะมีคุณค่า และมีความส าคัญดังกล่าวข้างต้น การอ่าน ภาษาอังกฤษก็ยังเป็นปัญหาของเด็กไทยอยู่ จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวกับปัญหาการสอนอ่านภาษาอังกฤษ นั้น สุมิดรา อังวัฒนกุล (2540: 8) กล่าวว่า ปัญหาส าคัญในการอ่านอย่างหนึ่งของผู้เรียนคือ ผู้เรียนอ่านไม่ เข้าใจเรื่องที่อ่าน สาเหตุเพราะในช่วงที่เรียน ผู้เรียนไม่ได้รับการฝึกฝนการอ่านที่ถูกวิธีขาดทักษะในการอ่าน เพื่อความเข้าใจ หรือวิธีการอ่านที่เหมาะสม ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของสุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์ (2545: 9) ที่กล่าวว่าปัญหาการสอนอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจมี 3 ด้าน คือ ปัญหาเกี่ยวกับตัวครู คือ ครูผู้สอน ใช้วิธีการสอนที่ไม่เหมาะสม ขาดเทคนิคการสอนอ่าน ใช้วิธีการสอนแบบดั้งเดิม คือการแปลค าต่อค า รวมทั้ง การขาดอุปกรณ์การเรียนการสอน ปัญหาเกี่ยวกับตัวผู้เรียน คือ ผู้เรียนขาดทักษะการอ่านเพื่อความเข้าใจ หรือมีแรงจูงใจในการอ่านน้อย และปัญหาเกี่ยวกับความไม่เหมาะสมของบทอ่าน ซึ่งอาจยากหรือง่ายเกินไป จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะท าการพัฒนาความสามารถการอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H และแผนผังความคิดส าหรับมาเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ตามขั้นตอนการสอน เพื่อพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ และหลังจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้วิจัยได้สอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้การสอนอ่านเพื่อความเข้าใจว่าผู้เรียนมี ความพึงพอใจอยู่ในระดับใด และจากการที่ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ ผู้สอนต้อง ค านึงถึงสิ่งที่จะท าให้เกิดแรงจูงใจ ซึ่งผู้วิจัยคาดหวังว่า การจัดการเรียนการสอนการเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H จะสามารถท าให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจได้ดีขึ้น ดังนั้นผู้วิจัยจึงต้องการศึกษาว่าวิธีการสอนโดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H จะช่วยพัฒนา ความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจหรือไม่ นักเรียนมีความพึงพอใจต่อวิธีการสอนโดยใช้ เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ในระดับใด
3 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H สมมติฐานของการวิจัย 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิค การตั้งค าถาม 5W1H มีความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษไม่น้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิค การตั้งค าถาม 5W1H มีความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจหลังเรียนสูงกว่าก่อน ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น จ านวน 4 ห้องเรียน นักเรียนจ านวน 73 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 จ านวน 20 คน ซึ่งผู้วิจัยได้เลือกโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรต้น คือ การสอนการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ 2.2.1 ความสามารถอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ 2.2.2 ความพึงพอใจการสอนการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ 3. เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย เนื้อหาที่ผู้วิจัยใช้ในการทดลองครั้งนี้เป็นเนื้อหาจากหนังสือเรียนที่สอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทั้งหมด 10 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้จ านวน 10 แผน มีรายละเอียดดังนี้ 3.1 Unit 1: Social Media แผนการเรียนรู้ที่ 1 - 5 จ านวน 5 ชั่วโมง 3.2 Unit 2: Sports แผนการเรียนรู้ที่ 6 - 10 จ านวน 5 ชั่วโมง
4 4. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยด าเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ใช้เวลา 10 ชั่วโมง สัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง รวม 5 สัปดาห์ นิยามศัพท์เฉพาะ การอ่านเพื่อความเข้าใจ คือ การอ่านเพื่อให้ได้รับข้อมูลจากเนื้อเรื่องที่อ่าน โดยผู้อ่าน ต้องแปลความ การตีความความรู้ทางด้านภาษา การสรุปความหรือใจความส าคัญ เพื่อให้เข้าใจในเนื้อเรื่อง นอกจากนี้ผู้อ่านสามารถถ่ายทอดหรือใช้วิจารณญาณของตนเองในการไตร่ตรองข้อสรุป เทคนิค 5W1H คือ การน าเทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ซึ่งประกอบด้วย Who (ใคร) What (อะไร) Where (ที่ไหน) When (เมื่อไร) Why (ท าไม) How (อย่างไร) เข้ามาร่วมใช้ ในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ เพื่อเป็นตัวชี้น าในการถามนักเรียนเพื่อหาค าตอบ ตามที่สอดคล้องกับความต้องการที่ก าหนดไว้ ความพึงพอใจ คือ ความรู้สึกชอบ หรือพอใจที่มีต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือต่อองค์ประกอบและ สิ่งจูงใจในด้านต่าง ๆ ซึ่งเป็นผลมาจากความสนใจ ส่งผลให้มีทัศนคติที่ดีเมื่อได้รับการตอบสนองตามความ ต้องการของตนเอง ประโยชน์ที่จะได้รับ 1. ได้พัฒนาความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H 2. ท าให้ทราบความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการสอนการอ่าน ภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H 3. ได้แผนการจัดการเรียนรู้การสอนการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิค การตั้งค าถาม 5W1H
5 บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสาร แนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นแนวทาง ในการวิจัย เรื่อง การพัฒนาความสามารถการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีรายละเอียดดังนี้ 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ 2. แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการอ่านเพื่อความเข้าใจ 2.1 ความหมายของการอ่าน 2.2 ความส าคัญของการอ่าน 2.3 ประเภทของการอ่าน 2.4 ความหมายของการอ่านเพื่อความเข้าใจ 2.5 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการอ่านเพื่อความเข้าใจ 2.6 ระดับของการอ่านเพื่อความเข้าใจ 2.7 องค์ประกอบการอ่านเพื่อความเข้าใจ 2.8 หลักการและขั้นตอนในการสอนการอ่านเพื่อความเข้าใจ 2.9 การวัดและประเมินความสามารถในการอ่าน 3. แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับเทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H 3.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้การตั้งค าถาม 5W1H 3.2 การตั้งค าถามโดยใช้เทคนิคการค าถาม 5W1H 3.3 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H 4. แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ 4.1 ความหมายของความพึงพอใจ 4.2 การวัดความพึงพอใจ 4.3 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ 5. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5.1 งานวิจัยในประเทศ 5.2 งานวิจัยต่างประเทศ 6. กรอบแนวคิดในการวิจัย
6 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ (2551 : 1-71) ได้ก าหนดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ พื้นฐานหนึ่งใน 8 กลุ่มสาระตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งสรุปสาระส าคัญ ดังนี้ 1.1 สาระส าคัญกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ก าหนดได้ดังนี้ 1.1.1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร การใช้ภาษาต่างประเทศในการฟัง พูด อ่าน เขียน แลกเปลี่ยน ข้อมูล ข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น ตีความ น าเสนอข้อมูล ความคิดรวบยอดและ ความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างเหมาะสม 1.1.2 ภาษาและวัฒนธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ความสัมพันธ์ ความเหมือน และความแตกต่างระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ภาษาและวัฒนธรรมของ เจ้าของภาษากับวัฒนธรรมไทยและน าไปใช้อย่างเหมาะสม 1.1.3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น การใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยง ความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นเป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้และเปิดโลกทัศน์ของตน 1.1.4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก การใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ชุมชน และสังคมโลก เป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อประกอบอาชีพ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก 1.2 คุณภาพผู้เรียน คุณภาพของนักเรียนตามหลักสูดรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551: 192) มุ่งหวังให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีคุณภาพ ทางการเรียนรู้ดังต่อไปนี้ จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปฏิบัติตามค าขอร้อง ค าแนะน า ค าชี้แจง และค าอธิบายที่ฟังและอ่าน อ่านออกเสียง ข้อความ ข่าว โฆษณา นิทาน และบทร้อยกรองสั้น ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ระบุ /เขียนสื่อที่ไมใช่ ความเรียงรูปแบบต่าง ๆ สัมพันธ์กับประโยคและข้อความที่อ่านหรือฟัง เลือก /ระบุหัวข้อเรื่อง ใจความส าคัญ รายละเอียดสนับสนุน และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่าง ประกอบ สนทนาและเขียนโตตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว สถานการณ ข่าว เรื่องที่ อยู่ในความสนใจของสังคมและสื่อสารอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม ใช้ค าขอร้อง ค าชี้แจง และค าอธิบาย ให้ค าแนะน าอย่างเหมาะสม พูดและเขียนแสดงความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธ การให้ความช่วยเหลือ พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็น
7 เกี่ยวกับเรื่องที่ฟังหรืออ่านอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยายความรูสึกและความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับ เรื่องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และข่าว /เหตุการณ์ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ ข่าว /เหตุการณ์ /เรื่อง /ประเด็นต่าง ๆ ที่อยู่ ในความสนใจของสังคม พูดและเขียนสรุปใจความส าคัญ /แก่นสาระ หัวข้อเรื่องที่ไดจากการวิเคราะห์เรื่อง / ขว /เหตุการณ /สถานการณ์ที่อยู่ในความสนใจพูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ และเหตุการณพร้อมให้เหตุผลประกอบ เลือกใช้ภาษา น้ าเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับบุคคลและโอกาส ตามมารยาทสังคม และ วัฒนธรรมของเจาของภาษา อธิบายเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจาของภาษา เข้าร่วม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ เปรียบเทียบ และอธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ และการล าดับค าตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบและอธิบาย ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างชีวิตความเป็นอยู่และวัฒนธรรมของเจาของภาษากับของไทย และน าไปใช้อย่างเหมาะสม ค นคว้า รวบรวม และสรุปข้อมูล /ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรูอื่นจาก แหล่งการเรียนรูและน าเสนอด้วยการพูดและการเขียน ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณจริง /สถานการณจ าลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น /คนคว้า รวบรวม และสรุปความรู/ข้อมูลต่าง ๆ จากสื่อ และ แหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร /ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร ของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น เป็นภาษาต่างประเทศ มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง-พูด-อน-เขียน) สื่อสารตามหัวเรื่องเกี่ยวกับ ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพและ สวัสดิการ การซื้อขาย ลมฟ้าอากาศการศึกษาและอาชีพ การเดินทางท่องเที่ยว การบริการ สถานที่ ภาษา วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ภายในวงค าศัพท์ประมาณ ๒,๑๐๐-๒,๒๕๐ ค า (ค าศัพท์ที่เป็นนามธรรมมากขึ้น) ใช้ประโยคผสมและประโยคซับซ้อน (Complex Sentences) สื่อความหมายตามบริบทต่าง ๆ ในการสนทนาทั้งที่เป็นทางการและไมเป็นการ 1.3 ตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ได้ก าหนดตัวชี้วัดระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ไว้ดังนี้
8 สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต. 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และ แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต. 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต. 1.3 น าเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและการเขียน สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต. 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนา ไปใช้ ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต. 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของ เจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น มาตรฐาน ต. 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต.4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆทั้งในสถานศึกษาชุมชนและ สังคม มาตรฐาน ต. 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบ อาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก 2. การอ่านเพื่อความเข้าใจ การอ่านเป็นทักษะส าคัญที่จะท าให้ผู้เรียนประสบความส าเร็จในการศึกษาในระดับสูง ดังนั้น ครูจึงต้องฝึกให้ผู้เรียนมีทักษะและกลวิธีที่จะอ่านบทความหลากหลาย ทั้งด้านเนื้อหาโครงสร้าง และ การเรียบเรียงเนื้อความ เช่น การอ่านบทความทางวิทยาศาสตร์ บทความจากหนังสือพิมพ์ ครูผู้สอนต้องฝึกให้ ผู้เรียนท าความเข้าใจและสังเคราะห์ข้อมูล โดยโยงความคิดรวบยอดจากประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้จากวิชาต่างๆ ไปยังเรื่องที่ก าลังอ่าน เพื่อที่จะสามารถอภิปรายหรือเขียนข้อความเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านได้ 2.1 ความหมายของการอ่าน ในการสอนทักษะการอ่านเพื่อความเข้าใจ จ าเป็นต้องท าความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของการอ่าน เพื่อทราบขอบข่ายของการจัดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้บรรลุวัตถุประสงค์ของการอ่านนักการศึกษาหลายท่าน ได้ให้ความหมายของการอ่านไว้ดังนี้
9 อัมพิกา สิริพรม (2547, น.10)และ นภัสสร รันนันท์(2555, น.14) กล่าวว่า การอ่านเป็นการสื่อสาร ระหว่างผู้เขียนและผู้อ่าน โดยการแปลความจากตัวอักษรหรือสัญลักษณ์การแปลความหมายจากตัวอักษร หรือสัญลักษณ์(ทักษพร โพธเหมือน, 2561, น.11) กู๊ดแมน (Goodman, 1988, p.12) กล่าวว่า การอ่านนั้นเป็นกระบวนการทางภาษาซับซ้อน ซึ่งต้องการปฏิสัมพันธ์ระหว่างอักษรกับการคิด และการเลือกตัวชี้น าทางภาษา ทั้งที่เป็นอักษร และไม่เป็น อักษร โดยใช้ความสามารถของผู้อ่านเป็นพื้นฐานในการใช้ตัวชี้น าทางภาษาในการเดา วิลเลี่ยม (Williams, 1994, p.2-8) ได้กล่าวว่า ผู้อ่านไม่จ าเป็นต้องเข้าใจทุกสิ่งที่อ่านแต่ต้องมีความรู้ เกี่ยวกับการเขียน มีความรู้ความสามารถในการตีความ และรู้ความสัมพันธ์ของค า ประโยค มีความรู้รอบตัว ด้านวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี นพมณี ฤทธิกุลสิทธิชัย (2554) กล่าวถึงการอ่านภาษาอังกฤษไว้ว่าเป็นกระบวนการ สื่อสารระหว่าง ผู้เขียนกับผู้อ่านโดยผู้อ่านใช้สติปัญญาและปัญญาที่มีอยู่เดิมรับเอาข้อมูลความรู้ความคิดเห็นของผู้เขียน ผ่านบทความตัวอักษร รวมถึงมีความรู้และเข้าใจจุดประสงค์ของผู้เขียนที่ต้องการสื่อสาร สุพรรษา ศรีประเสริฐ (2558) กล่าวถึงการอ่านว่า เป็นการท าความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลที่เขียนสื่อ ความหมายผ่านข้อความตัวอักษร ซึ่งความสามารถในการอ่านจะเกิดขึ้นผ่านเนื้อหาของบทอ่านกับความรู้หรือ ประสบการณ์เดิมของผู้อ่าน ดังนั้น การพัฒนาความสามารถในการอ่านคือ ต้องกระตุ้นความรู้เดิมหรือ ประสบการณ์ของผู้อ่านขึ้นมาเพื่อใช้เป็นพื้นฐานในเรื่องที่อ่านได้ จากการศึกษาความหมายและแนวคิดเกี่ยวกับการอ่านกล่าวข้างต้นสามารถสรุปได้ว่า การอ่านคือ กระบวนการการแปลความหมาย วิเคราะห์ท าความเข้าใจอารมณ์ที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารออกมากับตัวอักษร โดยการอ่านมีหลากหลายระดับทั้งการอ่านเพื่อจับใจความส าคัญ การอ่านเพื่อความเข้าใจเนื้อหาที่ ผ่านการอ่านเพื่อวิเคราะห์โครงสร้างงานเขียนของผู้เขียน หรืออารมณ์ที่ผู้เขียนต้องการจะสื่อ 2.2 ความส าคัญของการอ่าน การอ่านเป็นทักษะส าคัญทักษะหนึ่งในการรับสาร ถ้าผู้เรียนมีทักษะการอ่านที่ดีย่อมสามารถเรียนรู้ และพัฒนาความรู้ของตนในอนาคตได้ อันจะน ามาซึ่งการประสบความส าเร็จในชีวิต การศึกษาได้กล่าวถึง ความส าคัญของการอ่านไว้ ดังต่อไปนี้ สุนันทา มั่นเศรษฐวิทย์ (2545, น. 1) กล่าวว่า การอ่านเป็นกลวิธีที่ส าคัญอย่างหนึ่งที่ผู้คนใช้ศึกษาหา ความรู้ให้กับตนเองตลอดมา การอ่านยังเป็นเครื่องมือส าคัญที่ใช้ในการแสวงหาความรู้ การรู้และใช้วิธีอ่านที่ ถูกต้องจึงมีความจ าเป็นส าหรับผู้อ่านทุกคน การฝึกอ่านอยู่เสมอจะช่วยให้เกิดความช านาญและมีความรอบรู้ ดังนั้นการที่ผู้เรียนจะเป็นผู้อ่านที่ดีได้นั้นจึงขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่ครูผู้สอนเป็นผู้จัดเตรียมให้ อีกทั้งยังต้องผสมผสานความสนใจของผู้อ่านเพื่อเป็นแรงจูงใจที่ช่วยให้ผู้เรียนได้อ่านอย่างสม่ าเสมอ
10 สุพรรณี วราทร (2545, น. 21) ได้กล่าวไว้ว่า การอ่านเป็นวิธีที่ส าคัญในการเสริมสร้าง ความรู้ ความช านาญทางวิชาชีพ ช่วยให้ผู้อ่านสามารถคิดหาความรู้มีการพัฒนาอาชีพ เกิดแนวคิดและแนวทางในการ ปฏิบัติใหม่ ๆ ซึ่งจะน าไปสู่การปรับปรุงผลผลิต ท าให้เกิดการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ดีขึ้นยิ่ง ๆ ขึ้นไป วัลลภ ตั้งคณารักษ์ (2546. น. 5) กล่าวว่า หนังสือส่วนใหญ่จะมีค าสอนแฝงไว้อยู่เสมอ ผู้เขียน จะถ่ายทอดประสบการณ์ออกมา ผู้อ่านจะเรียนรู้ประสบการณ์จากหนังสือนั้นได้มาก อาจจะเรียนรู้หรือได้รับ อิทธิพลทางความคิด รูปแบบบุคลิกภาพหรือค าสอนของคนนั้นไปโดยไม่รู้ตัว การเรียนรู้จึงเป็นดั่ง “ประทีป” ส าคัญที่จะส่องน าทางไปสู่ความเจริญก้าวหน้า ดังนั้นการอ่านจึงเป็นหัวใจส าคัญของการพัฒนาชาตินั่นเอง จากความส าคัญของการอ่านที่กล่าวมาข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า การอ่านนั้นมีความส าคัญต่อมนุษย์ ทุกคน ไม่ว่าจะอยู่ในช่วงชีวิตใด หรืออาชีพอะไร เพราะไม่ว่าอย่างไร การที่จะก้าวไปให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของโลก ทั้งในด้านเทคโนโลยีหรือการด ารงชีวิต ล้วนแล้วแต่ต้องอาศัยความสามารถในการคิด และการวิเคราะห์ ข้อมูลข่าวสารอยู่เสมอ และการอ่านก็ท าให้ความสามารถนั้นพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ที่สุด 2.3 ประเภทของการอ่าน การอ่านแบ่งออกเป็นประเภทได้อย่างคร่าว ๆ เป็น 2 ประเภท โดยแต่ละประเภทจะมีจุดมุ่งหมาย ในการอ่านที่แตกต่างกันออกไป ดังนี้ (สมุทร เซ็นเชาวนิช, 2545, น. 3) 1. การอ่านเพื่อการศึกษา (Studying Type Reading) เป็นการอ่านที่ต้องการความรวดเร็ว ในการอ่านสูงพอประมาณ การอ่านแบบนี้มีจุดมุ่งหมายที่ส าคัญคือ ต้องการครอบคลุมเนื้อหาให้ได้มากที่สุด เก็บใจความส าคัญและรายละเอียดปลีกย่อยให้ได้มากที่สุด ดังนั้นในขณะที่อ่านจึงต้องพิจารณาค าศัพท์และ ความหมายของแต่ละค าให้ละเอียดถี่ถ้วนที่สุด 2. การอ่านเพื่อความพักผ่อนและความบันเทิง (Recreation Reading) เป็นการอ่านเพื่อ ความรื่นรมย์หรือเพื่อพักผ่อน เช่น กานอ่านนวนิยายเรื่องสั้นหรือสิ่งพิมพ์ ที่ไม่มีค าศัพท์เฉพาะเป็นตน การอ่าน ชนิดนี้ไม่ต้องการความเข้าใจที่ลึกซึ้งอะไรมากมายจะอ่านโดยใช้ความเร็วหรือช้าเท่าไรหรืออ่านเมื่อไรก็ได้ โดยปกติแล้วการอ่านประเภทนี้มักจะอ่านได้เร็วกว่าชนิดแรก 3. การอ่านเพื่อในการใช้ชีวิตประจ าวัน (Reading for Practical Purposes) การ อ่านในรูปแบบนี้ เช่น การอ่านป้ายต่าง ๆ อ่านค าแนะน าวิธีปฏิบัติ ค าสั่ง หรือเอกสารที่ใช้ในการติดต่อระหว่างบุคคลหรือ หน่วยงาน การอ่านหนังสือสิ่งพิมพ์ เป็นต้น การอ่านประเภทนี้เป็นการอ่านที่เสนอข้อเจจริงอย่างตรงไปตรงมา เช่น การอ่านฉลากยาซึ่งผู้อ่านจะต้องเพิ่มความระมัดระวัง เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องและไม่เกิดข้อผิดพลาด 4. การอ่านเพื่อเพิ่มพูนความรู้ทั่วไป (Reading for General Knowledge) การอ่านประเภทนี้เป็น การอ่านเรื่องราวหรือข้อมูลต่าง ๆ เพื่อเพิ่มพูนความรู้หรือสติปัญญาทั่ว ๆ ไป เช่น การอ่านเกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ของคนในสังคม ชุมชนหรือประเทศต่าง ๆ ซึ่งการอ่าน ประเภทนี้จะช่วยให้ผู้อ่านมี โลกทัศน์กว้างขวางมากยิ่งขึ้น
11 ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าการอ่านประเภทต่าง ๆ ที่กล่าวมานั้น ในสภาพความเป็นจริงแล้วอาจจะไม่สามารถ แบ่งชนิดของการอ่านออกจากกันได้อย่างเด็ดขาด ทั้งนี้เพราะว่าสิ่งที่อ่าน เช่น การอ่าน หนังสือพิมพ์ บางคนอาจจะอ่านเพื่อให้ได้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์ในการใช้ชีวิตประจ าวัน เพื่อเพิ่มพูนความรู้ เพื่อการศึกษา อ้างอิง หรือเพื่อความเพลิดเพลินและพักผ่อนก็ได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมายของการอ่านเป็นส าคัญ 2.4 ความหมายของการอ่านเพื่อความเข้าใจ ความเข้าใจ (comprehension) ความสามารถที่จะอนุมาน จากสิ่งที่อ่านมาแล้วได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ความเข้าใจนี้เป็นความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ประสบการณ์หลายๆ ประสบการณ์ และถือเป็นองค์ประกอบของการอ่าน โดยการอ่านเพื่อความเข้าใจจะมีองค์ที่ส าคัญๆ เช่น สามารถจ าเรื่อง ที่อ่านมาแล้วได้ จับใจความส าคัญได้ แยกแยะหรือระบุประเด็นได้สามารถตีความเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านมาแล้ว ได้สรุปลงความเห็นได้อย่างถูกต้อง มีเหตุผลอีกทั้งมีความน่าเชื่อถือ สามารถใช้วิจารณญาณของตนพิจารณา ไตร่ตรองข้อสรุปของผู้เขียนได้อย่างถูกต้อง สามารถถ่ายโอนความรู้ที่ได้จากการอ่านกับประสบการณ์อื่นๆ ได้ อย่างเหมาะสมตามกาละและเทศะ กล่าวโดย สมุทร เซ็นเชาวนิช (2542, น.73-74) Anderson (1985 : 372-375) ได้ให้ความหมายของการอ่านเพื่อความเข้าใจว่า หมายถึง ความสามารถของผู้อ่านที่สามารถใช้ความคิดติดตามสิ่งที่ผู้เขียนน าเสนอไว้ ผู้อ่านจะสามารถเข้าถึงจุดประสงค์ ของผู้เขียนได้ก็ต่อเมื่อสามารถเข้าใจภาษาของผู้เขียนและสามารถตีความได้ตรง จุดมุ่งหมายของผู้เขียนที่ ต้องการสื่อถึงผู้อ่าน Widdowson (1986 : 174) การอ่านเพื่อความเข้าใจ คือ การมีปฏิกิริยาโต้ตอบระหว่างกันของผู้เขียน และผู้อ่านโดยผู้อ่านจะใช้ประสบการณ์ความรู้ของตนเองเพื่อพิจารณาเรื่องที่อ่านโดยใช้การตีความ มีส่วนร่วม และสามารถสื่อสารกับผู้เขียนและเข้าใจสิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อสารผ่านสิ่งที่เขียน สมุทร เซ็นเชาวนิช (2549 : 73) ได้ให้ความหมายของการอ่านเพื่อความเข้าใจว่า หมายถึง ความสามารถที่จะอนุมานข้อสนเทศหรือความหมายอันพึงประสงค์จากสิ่งที่อ่านมาแล้วได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากที่สุดเท่าที่จะท าได้ความเข้าใจนี้เป็นเรื่องที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับการศึกษาและประสบการณ์ต่าง ๆ ของแต่ละคน และนับเป็นองค์ประกอบที่ส าคัญของการอ่าน จากค าอธิบายเกี่ยวกับการอ่านเพื่อความเข้าใจสามารถสรุปได้ว่า การอ่านเพื่อความเข้าใจ หมายถึง ความสามารถของผู้อ่านที่ใช้กระบวนการคิดเพื่อค้นหาความหมาย ตีความ สรุปความจากเรื่องที่อ่านโดยใช้ ประสบการณ์และความรู้เดิมของผู้อ่านมรการสร้างความเข้าใจในสิ่งที่ผู้เขียนต้องการสื่อให้ผู้อ่านได้รับรู้ 2.5 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการอ่านเพื่อความเข้าใจ 1. ทฤษฎีอภิปัญญา (Metacognition Theory) Cross & Paris (1988) กล่าวถึง แนวคิดอภิปัญญา (Metacognition Theory) เป็นแนวคิดจิตวิทยา การเรียนรู้ หมายถึง บุคคลมีความเข้าใจความคิดตัวเอง ควบคุมสิ่งที่คิดประเมินวางแผน และจัดระบบ
12 ความคิดได้ รวมถึงวิธีที่ท าให้บรรลุเป้าหมายในการเรียนรู้ โดยต้องมีการวางแผนควบคุม การตรวจสอบและ การประเมินผลการเรียนรู้ อภิปัญญา คือความเข้าใจทางปัญญา (Cognitive process) รู้ตัวว่าตนคิดอะไร คิด อย่างไร สามารถตรวจสอบความเข้าใจได้และใช้วิธีการคิดให้เหมาะสม อภิปัญญาต่างจากปัญญา ตรงที่อภิ ปัญญาเป็นการคิดเชิงสรุป เปรียบเทียบ หาเหตุผลแก้ปัญหา วิเคราะห์ สังเคราะห์และน าไปใช้ แต่อภิปัญญา คือ ความคิดที่รู้ว่าคิดอะไร คิดแบบไหน ตรวจสอบความคิดได้และปรับเปลี่ยนวิธีการคิดได้ Flavell (1976) ให้ความหมายว่า Metacognition หมายถึง ความรู้ เกี่ยวกับการคิดของตนเองและ ผลผลิตของการคิดสิ่งอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการคิด Baker & Brown (1984 as cite in Casanave, 1988) ได้ขยายทัศนะของ Flavell ว่า อภิปัญญาใน การอ่านประกอบด้วย 1. ความรู้เกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจ หมายถึง การที่ผู้อ่านมีความตระหนักรู้ในทักษะกลวิธี และรู้ แหล่งข้อมูลที่ท าให้การอ่านด าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2. การควบคุมเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจ หมายถึง การที่ใช้กลไกภายในของผู้อ่าน ในขณะที่ก าลัง ด าเนินกระบวนการอ่าน กลไกเหล่านี้ได้แก่การวางแผน การตรวจสอบความเข้าใจระหว่างการอ่าน การทดสอบ การพิจารณาทบทวน การประเมินผลว่ากลวิธีต่างๆที่ใช้ไปนั้นก่อให้เกิดประสิทธิภาพอย่างไรบ้าง และหากใช้ไม่ได้ผล จะปรับเปลี่ยนกลวิธีอย่างไรเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง สรุปได้ว่า ทฤษฎีอภิปัญญา เป็นทฤษฎีเบื้องต้นทางจิตวิทยาการเรียนรู้ของการเรียนรู้ภาษาสามารถ ท าให้ผู้อ่านมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความคิดตนเองตระหนักรู้ นักเรียนสามารถควบคุมกลไกการเรียนรู้ ของตนเองในขณะที่อ่านได้ ช่วยท าให้นักเรียนสามารถอ่านและบรรลุตามเป้าหมายที่ต้องการได้ 2. ทฤษฎีโครงสร้างเดิม (Schema theory) Anderson และ Pearson (1984, p.259) ให้ความหมายของโครงสร้างความรู้ไว้ว่า เป็นโครงสร้าง ของความรู้ ซึ่งมีลักษณะเป็นนามธรรม ที่ได้มาจากการสะสมความรู้ และประสบการณ์ของแต่ละบุคคล โครงสร้างความรู้ มีลักษณะเป็นโครงสร้าง เนื่องจากความรู้ และประสบการณ์ของตัวผู้อ่านที่ได้รับมาถูกหลอม รวมเข้าด้วยกันเป็นองค์ความรู้ และถูกเก็บไว้ใน กรอบความคิด แล้วถ่ายทอดออกมาโดยผ่านการแปล ความหมาย จิดาภา ฉันทานนท์ (2541อ้างถึงใน อุษา มะหะหมัด, 2548, น.37-38) กล่าวว่า ทฤษฎีโครงสร้างเดิม (Schema theory) เป็นทฤษฎีที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานความรู้ เดิม ประสบการณ์ เดิม ที่อยู่ในกรอบความคิดของ ผู้อ่านจะไม่ได้ว่างเปล่า หากแต่ถูกบันทึกไว้ด้วยความรู้ และ ประสบการณ์ที่ได้สั่งสมมาเอาไว้ ซึ่งเรียกว่า โครงสร้างเดิม (Schema) เมื่อผู้อ่านได้อ่านข้อความใดๆ ข้อความที่ถูกอ่านนั้นจะถูกน าไปเปรียบเทียบกับ ความรู้และประสบการณ์เดิม เพื่อตีความหมายในข้อความที่อ่านนั้น ทฤษฎีโครงสร้างความรู้เดิมนี้ให้ ความส าคัญกับพื้นฐานเดิมของผู้อ่าน (Background knowledge) โดยเชื่อว่าพื้นฐานความรู้เดิมนั้นมี ความส าคัญต่อความเข้าใจในบทอ่านแต่ไม่ละเลยความรู้ด้านภาษา ดังนั้นในการสอนการอ่านตามทฤษฎี
13 โครงสร้าง ความรู้ จึงมีจุดมุ่งหมายให้นักเรียนเข้าใจการอ่าน โดยมีพื้นฐานความรู้เดิมผสมกับข้อมูลที่น าเสนอ ไว้ในบทอ่าน Nuttall (2005, p.16-17) กล่าวไว้ว่า ในทฤษฎีการอ่านมีพัฒนาการดังต่อไปนี้ 1. ทฤษฎีการอ่านรูปแบบบนลงล่าง (Top-down) เชื่อว่าผู้อ่านจะสามารถเข้าใจบทอ่านได้ดี ถ้าเชื่อมโยงกับความรู้และประสบการณ์เดิม หรือใช้การคาดคะเนจากความรู้เดิม ยิ่งผู้อ่านได้เรียนรู้เกี่ยวกับสิ่ง ที่อ่านมากเท่าไร ยิ่งไม่จ าเป็นต้องถอดหรือแปลความขอสัญลักษณ์การอ่านมากเท่านั้น 2. ทฤษฎีการอ่านรูปแบบล่างขึ้นบน (Bottom-up) เป็นการให้ผู้อ่านค านึงถึง หน่วยเล็กๆของค า ตั้งแต่ตัวอักษรเมื่อต้องการอ่านค า พิจารณาค าเมื่ออ่านวลี พิจารณาวลีเมื่ออ่าน ประโยค การอ่านคือการจ าค า เพื่อให้เข้าใจบทอ่านจึงต้องใช้ความรู้ ภาษาเกี่ยวกับค าศัพท์ โครงสร้าง ไวยากรณ์ และความสัมพันธ์ของ ประโยคในข้อความ ผู้สอนจะใช้เวลาหลายสัปดาห์เพื่อสอนให้นักเรียนเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างตัวอักษรและ เสียง และสอนค าศัพท์จากทฤษฎีโครงสร้างเดิม สามารถสรุปว่าทฤษฎีโครงสร้างเดิม เน้นการท าความเข้าใจ กับเรื่องที่อ่าน โดยมีความรู้และประสบการณ์เดิม หากผู้อ่านมีความรู้ และประสบการณ์ผู้อ่านก็จะเข้าใจเรื่อง ที่อ่านได้ เพราะทฤษฎีนี้เชื่อว่าพื้นฐานความรู้เดิมนั้นส าคัญต่อความเข้าใจในการอ่าน นอกจากนี้ยังมีทฤษฎี รูปแบบการอ่านทั้งจากบนลงล่างและจากล่างขึ้นบน ซึ่งต่างก็ส าคัญต่อการอ่านด้วยเช่นกัน เพราะการอ่านจะ ส าเร็จได้ ต้องเริ่มต้นตั้งแต่งการใช้ความรู้ทางด้านค าศัพท์ ประโยค และพัฒนาไปถึงการเชื่อมโยง ประสบการณ์เดิม เพื่อให้การอ่านเนื้อเรื่องมีความเข้าใจมากยิ่งขึ้น 2.6 ระดับของการอ่านเพื่อความเข้าใจ ระดับการอ่านเพื่อความเข้าใจเป็นสิ่งส าคัญ และจ าเป็นที่ผู้อ่านควรค านึงในการอ่าน ทั้งนี้เพื่อพัฒนา ความสามารถในการอ่านได้ดีมากขึ้น โดยผู้เชี่ยวชาญได้แบ่งระดับการอ่านเพื่อความเข้าใจไว้ ดังนี้ Burmeister (1974 ) ได้แบ่งระดับความเข้าใจในการอ่าน โดยอาศัยพื้นฐานจากทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bloom (Bloom's Taxonomy) โดยแบ่งเป็น 7 ระดับ ดังนี้ 1. ระดับความจ า (Memory) เป็นระดับที่ผู้อ่านสามารถจดจ าสิ่งที่อ่านได้ เช่น จ าเนื้อหา วันที่ ล าดับเหตุการณ์ ข้อเท็จจริงในเรื่อง เป็นต้น 2. ระดับการแปลความหมาย (Translation) เป็นระดับความเข้าใจที่เกิดจากการแปล ความหมาย จากข้อความ ที่ได้อ่านในรูปแบบอื่น เช่น การอ่านข้อความแปลจากอีกภาษาอื่น หรือข้อความจากรูปภาพ แผนภูมิ เป็นต้น 3. ระดับตีความ (Interpretation) เป็นระดับความเข้าใจความหมายโดยนัยของสิ่งที่อ่านผู้เขียน ไม่ได้เขียนไว้โดยตรง 4. ระดับการประยุกต์ใช้ (Application) เป็นระดับความเข้าใจที่ผู้อ่านสามารถน าสิ่งที่ได้จากการ อ่านไปประยุกต์ใช้กับสิ่งอื่น ๆ ได้ 5. ระดับการวิเคราะห์ (Analysis) เป็นระดับความเข้าใจที่ผู้อ่านสามารถวิเคราะห์ แยกแยะ ตลอดจนการลงความเห็นของสิ่งที่อ่าน
14 6. ระดับการสังเคราะห์ (Synthesis) เป็นระดับความเข้าใจที่สามารถน าเอาความคิดเห็นจากเรื่อง ที่อ่านมารวบรวมและจัดเรียงใหม่ 7. ระดับการประเมินผล (Evaluation) เป็นระดับความเข้าใจที่น าสิ่งที่ได้อ่านมาประเมินผล จากเกณฑ์ที่ก าหนดหรือตั้งขึ้นจากประสบการณ์ของตนเอง สมุทร เซ็นเชาวนิช (2542) ได้กล่าวไว้ว่า ความเข้าใจ (Comprehension) ถือเป็นองค์ประกอบส าคัญ ของการอ่านเป็นสิ่งที่เกิดจากความสัมพันธ์ระหว่างการศึกษาและประสบการณ์ของแต่ละคน ซึ่งความเข้าใจใน การอ่านนั้นมีสามารถแบ่งเป็นระดับได้โดยสรุปดังนี้ 1. สามารถจดจ าเรื่องที่ได้อ่านได้ 2. สามารถจับใจความส าคัญ หรือแยกแยะประเด็นหลักออกจากประเด็นย่อยของเรื่องที่อ่านได้ 3. สามารถตีความ สรุปข้อคิดเห็น นัยส าคัญ หรือความลึกซึ้งของเรื่องที่ได้อ่านได้ 4. สามารถออกความคิดเห็นจากสิ่งที่ได้อ่านอย่างมีเหตุผล 5. สามารถใช้วิจารณญาณหรือประสบการณ์วิเคราะห์คุณค่าความถูกต้องเหมาะสมตามกาลเทศะ ของเรื่องที่ได้อ่านได้ นพมณี ฤทธิกุลสิทธิชัย (2554) กล่าวว่า ระดับความเข้าใจในการอ่านแบ่งได้เป็น 3 ระดับ 1. ความเข้าใจระดับตามตัวอักษร (Literal comprehension) หมายถึงความสามารถใน การบอก รายละเอียดของเนื้อเรื่อง ที่ปรากฏตามที่ผู้เขียนเขียนไว้ ได้แก่การรู้ความหมายของค า การบอกใจความส าคัญ การบอกรายละเอียดส าคัญ การหาความเป็นจริงจากเรื่อง 2. ความเข้าใจระดับตีความ (Interpretation comprehension) หมายถึงความสามารถในการ อธิบายและให้เหตุผลของเนื้อเรื่องที่ไม่มีปรากฏไว้ ได้แก่ การเข้าใจส านวนภาษา การสรุปความการ เปรียบเทียบ การคาดคะเนถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้น 3. ความเข้าใจระดับวิเคราะห์หรือประเมินผล (Critical comprehension) หมายถึง ความสามารถ ในการจ าแนกแยกแยะข้อมูลที่อ่านได้ รวมทั้งการประเมินในสิ่งที่อ่านได้ ได้แก่ การแยกความจริงกับ ความคิดเห็น การพิจารณาข้อความโฆษณา และการพิจารณาเหตุผลที่ท าให้เชื่อ จากการศึกษาระดับความเข้าใจในการอ่าน สามารถสรุปได้ว่า ความเข้าใจในการอ่าน สามารถแบ่งได้ 3 ระดับ คือ 1. ระดับความเข้าใจความหมายของตามตัวอักษรของบทอ่าน หมายถึง ผู้อ่านเข้าใจความหมายของ แต่ละค าที่ได้อ่าน 2. ระดับการตีความบทอ่าน หมายถึง ผู้อ่านสามารถบอกรายละเอียดของเนื้อหาบทอ่านว่าก าลัง กล่าวถึงเรื่องอะไร มีใจความส าคัญอย่างไร สามารถเจาะประเด็นเนื้อหา แยกแยะได้ว่ามีสิ่งใดเกิดขึ้น เกิดขึ้น เมื่อไหร่ และเกิดขึ้นได้อย่างไร
15 3. ระดับการวิเคราะห์บทอ่าน หมายถึง ผู้อ่านสามารถใช้วิจารณญาณและประสบการณ์ ส่วนตัว น ามาวิเคราะห์ เปรียบเทียบ หรือประเมินค่าของเนื้อหาบทอ่าน รวมถึงสามารถแสดงความคิดเห็นส่วนตัว ต่อเรื่องที่ได้อ่านได้ 2.7 องค์ประกอบการอ่านเพื่อความเข้าใจ Pearson (1978, p.8-10) ได้กล่าวถึงการอ่านเพื่อความเข้าใจว่าเกี่ยวข้องกับภาษา แรงจูงใจ การเรียนรู้ การพัฒนาความคิดรวบยอด ที่มีอิทธิพลต่อการอ่านเพื่อความเข้าใจ มี 2 ประเภท คือ 1. องค์ประกอบภายในสมอง ได้แก่ ความสามารถทางภาษาศาสตร์ รวมทั้งองค์ประกอบด้านอารมณ์ ความสนใจ แรงจูงใจ และความสามารถในการอ่าน 2. องค์ประกอบภายนอกสมอง ซึ่งแบ่งเป็น 2.1องค์ประกอบในหน้ากระดาษ นั่นคือ คุณลักษณะของเนื้อความรวมทั้งความยากง่ายของเนื้อหา และการจัดระบบในเนื้อหา 2.2 คุณภาพของสิ่งแวดล้อมของผู้อ่าน รวมถึงกิจกรรมที่ครูกระท าก่อนการอ่าน ระหว่างการอ่าน หรือหลังการอ่าน เพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใจเนื้อเรื่อง องค์ประกอบการอ่านเพื่อความเข้าใจ (สมศักดิ์สินธุระเวชญ์, 2528, น.76) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบ ต่างๆที่จะก่อให้เกิดความเข้าใจในการอ่านไว้ดังนี้ 1. ชนิดของความเข้าใจในการอ่าน เด็กแต่ละคนจะจับใจความเรื่องที่อ่านแตกต่างกันตาม ประสบการณ์เดิม และวัตถุประสงค์ 2. พื้นฐานเดิมของความเข้าใจในการอ่าน การจะอ่านได้ดีขึ้น เข้าใจ และถูกต้องขึ้นอยู่ที่สติปัญญา ประสบการณ์เดิม และความยากง่ายของข้อความ 3. ระดับความเข้าใจในการอ่าน ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายอย่าง เช่น สติปัญญาความเข้าใจ ในการอ่าน ความเข้าใจค าศัพท์ วิธีการอ่าน และประสบการณ์เดิมของผู้อ่าน Harris และ Smith (1980, p.226-227) กล่าวว่าผู้อ่านจะเข้าใจได้ต้องประกอบด้วย ปัจจัยภายใน ได้แก่ พื้นความรู้ความสามารถการอ่าน คิด ความสนใจ แรงจูงใจ ทัศนคติ ความเชื่อและจุดประสงค์การอ่าน อีกทั้งยังมีปัจจัยภายนอกได้แก่ ลักษณะของตัวเรื่องเอง แฮร์ริสและสมิธพูดถึงปัจจัย 2 ประการ ซึ่งได้แก่ พื้นความรู้ในเรื่องที่อ่านและความสามารถทางภาษาเป็นพิเศษ โดยให้ความเห็นว่าในเรื่องพื้นความรู้ และ ประสบการณ์นั้น หากผู้อ่านไม่เคยมีพื้นความรู้ หรือประสบการณ์ในเรื่องที่อ่านมาก่อน เรื่องที่อ่านนั้นก็ไม่มี ความหมายส าหรับผู้อ่าน เพราะอ่านไม่รู้เรื่อง Bond และ Ma (1979, p.325-350) พูดว่า การที่ผู้อ่านจะมีความเข้าใจได้ดี ต้องมีองค์ประกอบ ดังนี้ 1. เข้าใจความหมายของค า (Word meaning) การเข้าใจความหมายของค าศัพท์จะช่วยให้เข้าใจ ประโยคได้ดี
16 2. เข้าใจหน่วยความคิด (Thought unit) การอ่านที่ละค าจะเป็นอุปสรรคต่อความเข้าใจ เพราะ ขาดความต่อเนื่องดังนั้นนักเรียนจึงต้องได้รับการฝึกให้อ่านเป็นหน่วยความคิด 3. เข้าใจประโยค (Sentence comprehension) เมื่อผู้อ่านสามารถเอาหน่วยของ ความคิดย่อย มาสัมพันธ์กันจนได้ใจความเป็นประโยค แล้วผู้อ่านจะต้องมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างค า และระหว่างกลุ่มค าในประโยคด้วย 4. เข้าใจบทความย่อหน้า (Paragraph) ผู้อ่านต้องสามารถบอกใจความส าคัญ ของแต่ละประโยคแล้วน าใจความส าคัญนั้นๆมาสัมพันธ์กัน ดังนั้นผู้อ่านจึงควรเรียนรู้ประเภท หรือ โครงสร้างแบบต่างของย่อหน้านั้นๆ เพื่อให้สามารถระบุประโยคที่เป็นใจความหลักในย่อหน้าได้จากนั้นจึงมอง หาความสัมพันธ์ของประโยคอื่นๆ ซึ่งเป็นรายละเอียดของย่อหน้านั้นๆ 5. เข้าใจเนื้อหาทั้งหมด (Comprehension of larger units) การเข้าใจเรื่องราว โดยผู้อ่านต้องรู้ความสัมพันธ์ระหว่างข้อความส าคัญๆในแต่ละตอน เพื่อเรียงล าดับของเรื่องและต้องทราบว่า ข้อเขียนแต่ละประเภทมีโครงสร้างข้อความแตกต่างกัน สรุปคือ การอ่านที่ก่อให้เกิดความเข้าใจสิ่งที่อ่าน ผู้อ่านควรมีความรู้ความสามารถในเรื่องเกี่ยวกับ ตัวภาษาที่อ่าน การตีความ มีความรู้ และประสบการณ์เดิมที่สามารถเชื่อมโยงเข้ากับเรื่องที่อ่านได้ และ มีความรู้ เรื่องวัฒนธรรม รู้จุดมุ่งหมายในการอ่านตลอดจนมีวิธีในการอ่านที่เหมาะสมกับการอ่านแต่ละ ประเภท 2.8 ขั้นตอนและกิจกรรมการสอนการอ่านเพื่อความเข้าใจ ขั้นตอนและกิจกรรมการสอนการอ่านเพื่อความเข้าใจ มีนักการศึกษาหลายท่านได้กล่าวถึงแนวทางการจัดกิจกรรมการอ่านและขั้นตอนการสอนอ่าน ดังนี้ สุมิตรา อังวัฒนากุล (2540: 178-179) ได้เสนอแนวการจัดกิจกรรมในการสอนอ่าน ตามขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 กิจกรรมก่อนการอ่าน (Pre-Reading) เป็นการสร้างความสนใจและปูพื้นความรู้ในเรื่องที่อ่าน ควรมีกิจกรรมการตั้งค าถาม และให้เดาความหมายของค าศัพท์จากบริบท โดยดูจากประโยคข้างเคียง หรือ รูปภาพ และการแสดงท่าทาง ขั้นที่ 2 กิจกรรมระหว่างการอ่าน (While-Reading) เป็นการให้นักเรียนท าความเข้าใจโครงสร้างและ เนื้อหาที่อ่าน หาข้อมูลรายละเอียด ล าดับเหตุการณ์ สิ่งที่สัมพันธ์กันและใช้ความสามารถในการแปลความ ตีความหมาย สรุปความ ได้ตรงจุดมุ่งหมายที่มีไว้ด้วยการล าดับเรื่องที่ตัดเป็นส่วนๆเขียนแผนผังโยง ความสัมพันธ์ของเนื้อเรื่อง เติมข้อความลงไปในแผนผัง หรือเล่าเรื่องโดยสรุป ขั้นที่ 3 กิจกรรมหลังการอ่าน (Post-Reading) เป็นการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน กิจกรรม ที่ท าอาจเป็นการถ่ายโยงไปสู่ทักษะอื่น ๆ เช่น ทักษะการพูด หรือทักษะการเขียนก็ได้โดยแสดงบทบาทสมมติ เขียนเรื่อง วาดรูป พูดแสดงความคิดเห็น เป็นต้น
17 วิสาข์ จัติวัตร์ (2543: 48-57) ได้จัดล าดับขั้นตอนการสอนอ่านเพื่อสื่อสารไว้เป็น 3ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นก่อนการสอนอ่าน จุดประสงค์ของขั้นตอนนี้ คือ 1. เพื่อแนะน าและกระตุ้นความสนใจในหัวเรื่อง 2. เพื่อชักจูงให้นักเรียนสนใจอยากเรียนด้วยการให้เหตุผลส าหรับการอ่าน 3. เพื่อเตรียมตัวในด้านภาษาให้แก่นักเรียนก่อนจะอ่านเนื้อเรื่อง ขั้นที่ 2 ขั้นการอ่าน ขั้นตอนนี้เน้นเรื่องที่จะอ่าน โดยมีจุดมุ่งหมาย ดังนี้ 1. เพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใจจุดประสงค์ของการเรียน 2. เพื่อช่วยให้นักเรียนเข้าใจโครงสร้างของงานเขียนหรือเนื้อความที่จะอ่าน 3. เพื่อช่วยขยายเนื้อความของเรื่องให้ชัดเจน ขั้นที่ 3 ขั้นหลังการอ่าน ขั้นตอนนี้มีจุดมุ่งหมายให้นักเรียนมีความสามารถ ดังนี้ 1. สามารถถ่ายโอนความรู้ ความคิดในเรื่องที่อ่านไปแล้ว 2. สามารถเชื่อมโยงเรื่องที่อ่านเข้ากับความรู้ ความสนใจ หรือความคิดเห็นของนักเรียนได้ วอลเลซ (Wallace, 1992: 86) กล่าวว่า กระบวนการส าหรับการอ่านบทอ่านโดยทั่วไป ประกอบด้วย ขั้นก่อนการอ่าน ขั้นระหว่างการอ่าน และขั้นหลังการอ่าน ดังนี้ ขั้นก่อนการอ่าน (Pre-Reading) 1. การกระตุ้นความอยากรู้ของนักเรียน โดยการให้นักเรียนตอบค าถามเกี่ยวกับหัวข้อของ บทอ่าน และคาดเดาในสิ่งที่ก าลังจะได้อ่าน 2. กระตุ้นโครงสร้างทางความรู้ที่ส าคัญ โดยการให้นักเรียนหาหัวข้อเรื่องที่อ่านของตนเอง และ ร่วมกันหาหัวข้อเรื่องที่อ่านกับเพื่อน 3. การอธิบายภาระงาน โดยครูอธิบายจุดประสงค์และเงื่อนไขในการอ่าน 4. การรับรู้ภาระงาน โดยครูอธิบายข้อมูลภูมิหลังของเรื่องที่อ่าน ค าศัพท์ที่ส าคัญและวัฒนธรรม ที่เกี่ยวข้อง ขั้นระหว่างการอ่าน (While-Reading) 1. การอ่าน แบ่งออกเป็น การอ่านในใจ การอ่านประโยคแบบสั้นและยาว และการอ่านออกเสียง 2. การตรวจสอบความเข้าใจ โดยการให้นักเรียนตอบค าถาม บันทึกสิ่งที่เรียนลงในสมุดและ แปลความหมายของประโยคที่อ่าน 3. การกระตุ้นความเข้าใจ โดยที่ครูอธิบาย แนะน า และแปลความหมายของเนื้อเรื่องให้นักเรียน เข้าใจได้ง่ายขึ้น ขั้นหลังการอ่าน (Post-Reading) 1. นักเรียนสรุปบทอ่าน และน าไปเปรียบเทียบร่วมกับบทอ่านอื่น ๆ 2. นักเรียนจับคู่ประโยค กับชื่อเรื่องหรือรูปภาพ 3. นักเรียนเรียบเรียงประโยคใหม่
18 จากขั้นตอนการจัดกิจกรรมและการสอนการอ่านเพื่อความเข้าใจที่กล่าวมาข้างต้นสามารถสรุปได้ว่า การจัดกิจกรรมและการสอนการอ่านเพื่อความเข้าใจสามารถแบ่งออกเป็นสามขั้นตอนได้ดังนี้คือ ขั้นก่อนอ่าน ขั้นระหว่างอ่านและขั้นหลังอ่าน 2.9 การวัดและประเมินความสามารถในการอ่าน การวัดและประเมินความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจเป็นทักษะที่ส าคัญ ที่จะน าไปสู่ ความส าเร็จในการเรียนและเป็นพื้นฐานส าหรับการศึกษาในระดับสูงขึ้นไป ซึ่งมีนักวิชาการและ ผู้เชี่ยวชาญได้กล่าวถึงการวัดความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ ดังนี้ สุภัทรา อักษรานุเคราะห์ (2532, น.59-61) ได้กล่าวคือ เป็นทักษะที่เสริมและ พัฒนาการสอน ความสามารถด้านอื่นๆ คือ ฟัง พูด และเขียน ดังนั้นในการประเมินจึงให้นักเรียนอ่านก่อน และแสดงความ เข้าใจออกมา ดังตัวอย่างเช่น ครูให้นักเรียนหาความหมายของค าศัพท์ ครูให้นักเรียนบอกเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ของประโยคต่างๆ หรือให้หาความหมายจากประโยคนั้นๆ ให้นักเรียนตอบค าถามเรื่องที่อ่าน โดยใช้ค าถามแบบมีค าตอบให้เลือก หรือเรียงล าดับเรื่องให้ถูกต้อง เติมค าลงในช่องว่าง (Cloze Test) แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านอย่างง่ายๆ หรือแม้กระทั่งการตั้งชื่อเรื่อง สุมิตรา อังควัฒนกุล (2535, น.215-220) ได้เสนอรูปแบบการวัดและประเมินอ่าน ดังนี้การทดสอบ ส่วนประกอบย่อย ๆ ของการอ่าน เป็นการทดสอบทางภาษา ได้แก่ ค าศัพท์พื้นฐานที่เหมาะส าหรับนักเรียน การอ่านในระดับเริ่มต้น หรือผู้ที่สามารถในการอ่านจ ากัดการทดสอบในลักษณะนี้ได้แก่ ครูอ่านออกเสียง ค าศัพท์ และให้นักเรียนเลือกค าศัพท์ให้ตรงกับเสียงที่ครูอ่านหรือใช้เทคนิค " Same-Different ให้เลือกหรือ การให้ค าหลัก (Key Words) แล้วนักเรียนเลือกค าที่ต่างออกไปจากค าหลัก ซึ่งมีจ านวนข้อและใช้เวลารวดเร็ว และการประเมินผล 1. การทดสอบความเข้าใจในระดับประโยค ความเข้าในในการอ่านในระดับข้อความ จะเกิดขึ้นได้ เมื่อผู้อ่านมีความเข้าใจในระดับประโยคได้แล้ว ส าหรับลักษณะการทดสอบความเข้าใจในระดับประโยค สามารถท าได้ดังต่อไปนี้ 1.1 การเลือกรูปภาพให้ตรงกับประโยคที่ก าหนดให้ 1.2 การตอบค าถามโดยใช้รูปภาพประกอบ 1.3 การใช้ วลีและประโยคเป็นตัวแนะ (Phrase and Sentence Cues) ลักษณะของข้อสอบ ประเภทนี้ได้แก่ การสรุปถ่ายโอน (Paraphrase) ประโยคหรือวลีที่ก าหนดให้ 2. การทดสอบความเข้าใจ การเลือกบทอ่านที่จะได้พบเห็น มีโอกาสใช้ได้จริง ได้แก่ การประกาศ โฆษณาต่างๆ เช่น ประกาศรับสมัครงานจดหมายธุรกิจ อนุญาตขับขี่รถ ป้าย ประกาศ ประเภทของค าถามที่ ส าคัญ ได้แก่
19 2.1 ค าถามแบบให้สรุปโอนเรื่อง (Paraphrase) 2.2 ค าถามแบบให้สังเคราะห์สิ่งที่ได้จากการอ่าน (Synthesis) โดยผู้อ่านจะต้องประมวล ข้อมูลต่างๆ ที่ได้จากเรื่องเข้าด้วยกัน เพื่อตอบค าถาม 2.3 ค าถามให้สรุปอ้างอิงจากสิ่งที่อ่าน (Inference) 3. แบบทดสอบชนิดโคลซแบบมีตัวเลือก (Multiple Choice Cloze) แบบทดสอบโคลซชนิด Standard Cloze ไม่เหมาะที่จะใช้วัดความเข้าใจในการอ่าน เพราะแบบทดสอบชนิดนี้จะเน้นไปทาง Productive Skill เสียมากกว่าจึงมีการดัดแปลงเป็นแบบมีตัวเลือกเหมาะสมกับทักษะอ่านซึ่งเป็น Receptive Skill นอกจากนี้ยังมีแบบทดสอบโคลซอีกแบบหนึ่งแต่มีลักษณะตรงกันข้าม เรียกว่า Editing Test กล่าวคือ จะก าหนดข้อความมาให้นักเรียนอ่านแล้วเลือกค าเกินมาที่ไม่เกี่ยวข้องกับ ความหมาย ในประโยคออกจากบทอ่าน เหมาะส าหรับวัดความสามารถในการอ่านเร็ว สรุปได้ว่า การวัดและประเมินการอ่านเพื่อความเข้าใจมีหลายระดับ ตั้งแต่ระดับเริ่มต้นจนถึงระดับสูง เช่น ความเข้าในระดับค า ระดับวลี ระดับประโยค และความเข้าใจระดับสูงสุดคือ ระดับข้อความ เป็นต้น 3. เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H 3.1 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ 5W1H รูปแบบ 5W1H เป็นรูปแบบการตั้งประเด็นถามตอบ เพื่อให้นักเรียนบรรลุเป้าหมายที่ก าหนดไว้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของค าถาม 6 ประเภทตามความคิดของบลูม (Bloom)โดย วิทวัฒน์ขัตติยะมาน และ อมลวรรณ วีระธรรม (2549, น.85-86) 1. Who ใคร คือ บุคคลส าคัญที่เป็นตัวประกอบหรือผู้เกี่ยวข้องที่จะได้รับผลกระทบทั้งด้านบวกและ ด้านลบ เช่น ใครอยู่ในเหตุการณ์บ้าง ใครน่าจะเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์เช่นนี้บ้างใครน่าจะเป็นคนที่ท าให้ เกิดเหตุการณ์เช่นนี้มากที่สุด 2. What ท าอะไร คือ ปัญหาหรือสาเหตุที่เกิดขึ้น เช่น เกิดอะไรขึ้นบ้าง มีอะไรเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ นี้ หลักฐานที่ส าคัญที่สุดคืออะไร สาเหตุที่ท าให้เกิดเหตุการณ์นี้คืออะไร 3. Where ที่ไหน คือ สถานที่หรือต าแหน่งที่เกิดเหตุการณ์ เช่น เรื่องนี้เกิดขึ้นที่ไหน เหตุการณ์นี้ น่าจะเกิดขึ้นที่ใดมากที่สุด 4. When เมื่อไหร่ คือ เวลาหรือเหตุการณ์นั้นได้เกิดขึ้นหรือจะเกิดขึ้น เช่น เหตุการณ์นั้นน่าจะเกิดขึ้น เมื่อไหร่ เวลาใดที่สถานการณ์เช่นนี้จะเกิดขึ้นได้ 5. Why ท าไม คือ สาเหตุหรือมูลเหตุที่ท าให้เกิดขึ้น เช่น เหตุใดต้องเป็นคนนี้ เป็นเวลานี้ เป็นสถานที่นี้ เพราะเหตุใดเหตุการณ์นี้จึงเกิดขึ้น ท าไมจึงเกิดเรื่องนี้ 6. How อย่างไร คือ รายละเอียดของสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วก าลังจะเกิดขึ้นว่ามีความเป็นไปได้ในลักษณะใด เช่น เขาท าสิ่งนี้ได้อย่างไร ล าดับเหตุการณ์นี้ดูว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร มีหลักฐานในการพิจารณาอย่างไรบ้าง การใช้เทคนิค 5W1H ในการวิเคราะห์แก้ไขปัญหานั้น ส่วนใหญ่เราจะใช้ในขั้นตอนของการ
20 วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยการตั้งค าถาม Who is it about? What happened? When did it take place? Where did it take place? และ Why did it happen? การตั้งค าถามดังกล่าวจะท าให้เราได้ค าตอบใน แต่ละประเด็นแต่ละข้อของค าถาม จากที่กล่าวมาข้างต้น สามารถสรุปได้ว่าแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ 5W1H จะใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลหรือปัญหา ได้เกือบทุกรูปแบบ เทคนิค 5W1H เป็นการคิดวิเคราะห์ (Analysis Thinking) ที่ใช้ความสามารถในการจ าแนก แยกแยะองค์ประกอบต่าง ๆ ของสิ่งหนึ่งสิ่งใดซึ่งอาจจะ เป็นวัตถุ สิ่งของ เรื่องราว หรือเหตุการณ์ น ามาหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ เหล่านั้น เพื่อค้นหาค าตอบที่เป็นความเป็นจริงหรือที่เป็นสิ่งส าคัญ จากนั้นจึงรวบรวมข้อมูลทั้งหมดมาจัดระบบ เรียบเรียงใหม่ให้ง่ายแก่การท าความเข้าใจ 3.2 การตั้งค าถามโดยใช้เทคนิค 5W1H การตั้งประเด็นถามตอบเพื่อให้นักเรียนได้บรรลุตามเป้าหมายที่ก าหนดไว้ โดยใช้ ค าถาม 5W1H ซึ่ง เป็นส่วนหนึ่งของค าถาม 6 ประเภท ตามความคิดของบรูม (Bloom) วิทวัฒน์ ขัตติยะมาน และ อมลวรรณ วีระธรรมโม (2549, น.85-86) ได้กล่าวไว้และมีความสอดคล้องกับระดับความสามารถใน การอ่านจับใจความที่ผู้วิจัยน ามาใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้ 1. Who (ใคร) บุคคลส าคัญที่เป็นตัวประกอบหรือผู้ที่เกี่ยวข้องที่จะได้รับผลกระทบ ทั้งด้านบวกและ ด้านลบ เช่น ใครอยู่ในเหตุการณ์บ้าง ใครน่าจะเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์เช่นนี้บ้าง ใครน่าจะเป็นคนที่ ท าให้เกิดเหตุการณ์เช่นนี้มากที่สุด 2. What (อะไร) ปัญหาหรือสาเหตุที่เกิดขึ้น เช่น เกิดอะไรขึ้นบ้าง มีอะไรเกี่ยวข้อง กับเหตุการณ์นี้ หลักฐานที่ส าคัญที่สุดคืออะไร สาเหตุที่ท าให้เกิดเหตุการณ์นี้คืออะไร 3. Where (ที่ไหน) สถานที่หรือต าแหน่งที่เกิดเหตุการณ์ เช่น เรื่องนี้เกิดขึ้นที่ไหน เหตุการณ์นี้น่าจะ เกิดขึ้นที่ใดมากที่สุด 4. When (เมื่อไร) เวลาที่เหตุการณ์นั้นได้เกิดขึ้นหรือจะเกิดขึ้น เช่น เหตุการณ์นั้น น่าจะเกิดขึ้นเมื่อไร เวลาใดบ้างที่สถานการณ์เช่นนี้จะเกิดขึ้นได้ 5. Why (ท าไม) สาเหตุหรือมูลเหตุที่ท าให้เกิดขึ้น เช่น เหตุใดต้องเป็นคนนี้ เป็นเวลานี้ เป็นสถานที่นี้ เพราะเหตุใดเหตุการณ์นี้จึงเกิดขึ้น ท าไมจึงเกิดเรื่องนี้ 6. How (อย่างไร) รายละเอียดของสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วหรือก าลังจะเกิดขึ้นว่ามีความ เป็นไปได้ ในลักษณะใด เช่น เขาท าสิ่งนี้ได้อย่างไร ล าดับเหตุการณ์นี้ดูว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นได้อย่างไร มีหลักในการพิจารณาคนดีอย่างไรบ้าง
21 3.3 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H การจัดกิจกรรมการเรียนแบบใช้เทคนิคการตั้งค าถาม สุวิทย์ มูลคา (2547 : 74) กล่าวไววา การจัดกิจกรรมการเรียนแบบใช้เทคนิคค าถามเป็นกระบวนการ เรียนที่มุ่งพัฒนากระบวนการทางความคิดของผู้เรียน โดยผู้สอนจะป้อนค าถามในลักษณะต่างๆ ที่เป็นค าถามที่ดีสามารถพัฒนาความคิดผู้เรียน ถามเพื่อให้ผู้เรียนใช้ความคิดเชิงเหตุผล วิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์ หรือประเมินค่าเพื่อจะตอบค าถามเหล่านั้น ซึ่งมีองค์ประกอบส าคัญของการจัดการเรียน ของการจัดการเรียนรู้แบบใช้ค าถาม มีดังนี้ 1. ค าถามประเภทต่างๆ ที่มีลักษณะเป็นค าถามที่ดีมีคุณภาพและสามารถพัฒนาความคิดผู้เรียน 2. เทคนิคการใช้ค าถามของผู้สอน 3. การตอบค าถามของผู้เรียน ทิศนา แขมมณี (2545 : 25) ไดเสนอแนวคิดการใช้เทคนิคการตั้งค าถามที่พัฒนาการคิดสรุปไดดังนี้ การช าค าถามเป็นเทคนิคที่ถือไดวา ครูสามารถน าไปใช้ไดมากที่สุด สะดวกที่สุด ประหยัดเวลาที่สุดและหาก ใช้ไดดีก็จะเกิดประโยชนคุ้มค่าที่สุด การใช้ค าถามที่ดีเพียง 1 ค าถามอาจช่วยให้เกิดการเรียนรู้อย่างมหาศาล ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ ครูผู้สอนจะต้องถามค าถามให้ดีได้อย่างไร ค าถามแบบใดที่จะช่วยกระตุ้นให้นักเรียน คิดไดดี ครูจ าเป็นต้องมีเกณฑ์ห รือหลักกา รเป้าหมายที่ใช้ในก า รตั้งค าถ าม ก า รพัฒน าทักษะ การคิดวิเคราะห์เป็นทักษะการคิดขั้นสูงในการพัฒนานั้นต้องอาศัยทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน หมายความว่า ถานักเรียนไมมีทักษะในการคิดขั้นพื้นฐานจะท าให้ไมสามารถที่จะพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงได้ผู้วิจัยจึงสนใจ ที่จะพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียนในขั้นทักษะพื้นฐานและพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง ซึ่งไดแนวคิดของ ทิศนา แขมมณีและคณะ (2546 :74 -81) และเทคนิคการคิดวิเคราะห์5W1H โดยการใช้เทคนิคคาถามของ Bloom (ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2548: 92-93) การจ าแนกประเภทค าถาม ดังนี้ 1. ค าถามระดับต่ าและระดับสูง 1.1 ค าถามระดับต่ าเป็นที่ค าถามต้องการค าตอบระดับความจ าของข้อมูลหรือเรียกไดว่า เป็นค าถามที่ต้องการวัดความจ าใช้ในการทบทวนความรูพื้นฐานหรือมโนทัศน์ 1.2 ค าถามระดับสูงเป็นค าถามที่ต้องการค าตอบในระดับการแปลผล การน าไปใช้การวิเคราะห์ สังเคราะหและประเมินค่าหรือเรียกได้ว่าเป็นค าถามที่ต้องการวัดความคิด ช่วยพัฒนาผู้เรียนด้านของทักษะ ความคิดและการให้เหตุผล 2. ค าถามเกี่ยวกับผลกระบวนการและความคิดเห็น 2.1 ค าถามเกี่ยวกับผลเป็นค าถามที่ต้องการค าตอบในรูปของการสรุปผลขั้นสุดท้าย 2.2 ค าถามเกี่ยวกับกระบวนการเป็นที่ค าถามต้องการให้ผู้เรียนอธิบายถึงวิธีการด าเนินการหรือ ขั้นตอนที่น าไปสู่ผลขั้นสุดท้าย 2.3 ค าถามเกี่ยวกับความคิดเห็นเป็นค าถามที่ต้องการให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นตัดสินใจหรือ ประเมินสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
22 3. ค าถามแบบปิดและเปิด 3.1 ค าถามแบบปิดเป็นค าถามที่มีค าตอบเดียวมักใช้กับข้อมูลที่เป็นความจ า 3.2 ค าถามแบบเปิดเป็นค าถามที่ให้ค าตอบไดหลายอย่างใช้เพื่อการสร้างข้อมูลเพื่อให้เกิดการ ตอบสนองเฉพาะตัวและน าไปสูการอภิปรายและการถามในขั้นต่อไป สุวิทย์มูลค า (2547 : 77) ไดนิยามค าถามต่าง ๆ และค าถามตามแนวคิดของ Bloom แบงออกเป็น 6 ประเภท ดังนี้ 1. ถามความรู้เป็นค าถามที่มีค าตอบแน่นอนในเนื้อหาเกี่ยวกับข้อเท็จจริงจ ากัดความค านิยามค าศัพท์ กฎทฤษฏีถามเกี่ยวกับใคร (Who) อะไร (What) เมื่อไร (When) ที่ไหน (Where) รวมทั้งใช่หรือไม 2. ถามความเขใจค าถามที่ต้องใช้ความรู้ความจ ามาประกอบเพื่ออธิบายด้วยค าพูดของ เป็นค าถามที่ สูงกว่าความรู้ 3. ถามการน าไปใช้ค าถามที่น าความรูความเข้าใจไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณใหม่ 4. ถามการวิเคราะห์ค าถามที่ให้จ าแนกแยกแยะเรื่องราวต่าง ๆ วาประกอบด้วยส่วนย่อยอะไรบ้าง โดยอาศัยหลักการทฤษฏีที่มาของเรื่องราวหรือเหตุการณนั้น 5. ถามสังเคราะหค าถามที่ใช้กระบวนการคิดเพื่อสรุปความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลย่อยๆ ขึ้นเป็น หลักการหรือแนวคิดใหม่ 6. ถามประเมินค่าค าถามที่ให้นักเรียนตีคุณค่าโดยใช้ความรู้ความรูสึก ความคิดเห็น ในการก าหนด เกณฑ์เพื่อประเมินสิ่งเหล่านั้น การคิดวิเคราะห์ด้วยการใช้เทคนิคค าถามการคิดวิเคราะห์5W1H จะสามารถช่วยไล่เรียงความชัดเจน ในแต่ละเรื่องที่เรากาลังคิดเป็นอย่างดีท าให้เกิดความครบถ้วนสมบูรณ์ สุวิทย์ มูลค าและอรทัย มูลค า (2547: 85) กล่าวถึงขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบใช้เทคนิค ค าถามมีขั้นตอนส าคัญต่อไปนี้ 1. ขั้นวางแผนการใช้ค าถาม ผู้สอนควรวางแผนไวลวงหน้าจะใช้ค าถามวัตถุประสงค์ใด รูปแบบหรือ ประการใดที่จะสอดคลองกับเนื้อหาสาระและวัตถุประสงค์ของบทเรียน 2. ขั้นเตรียมค าถาม ผู้สอนควรจะเตรียมค าถามที่จะใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยการสร้าง ค าถามอย่างมีเกณฑ์ 3. ขั้นการใช้ค าถาม ผู้สอนสามารถจะใช้ค าถามในทุกขั้นตอนของการจัดกิจกรรมการเรียนรูและ อาจจะสร้างค าถามใหม่ที่นอกเหนือจากค าถามที่เตรียมไวก็ได ทั้งนี้ต้องเหมาะสมกับเนื้อหาสาระ และสถานการณนั้น ๆ 4. ขั้นสรุปและประเมินผล การสรุปบทเรียนผู้สอนอาจจะใช้ค าถามเพื่อการสรุปบทเรียนก็ได การประเมินผลผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันประเมินผลการเรียนรู โดยใช้วิธีการประเมินผลตามสภาพจริง จากแนวคิดดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค 5W1H
23 วาการคิดวิเคราะห์จะดีไดนั้นผู้เรียนต้องไดรับการฝึกฝนอยู่เสมอด้วยการฝึกตามกระบวนการอย่างมีขั้นตอน และมีกลวิธีในการจัดกิจกรรมการเรียนรู จากการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค 5W1H ที่กล่าวมาในข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรูด้วยเทคนิค 5W1H ให้บรรลุตามจุดประสงค์การเรียนมี 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นก าหนดสิ่งที่ต้องการวิเคราะห์ วิเคราะห์เป็นการก าหนดวัตถุสิ่งของเรื่องราวหรือเหตุการณ ต่าง ๆ ขึ้นมาเพื่อเป็นต้นเรื่องที่จะใช้วิเคราะห์ เช่น พืช สัตว์ หิน ดิน รูปภาพ บทความ เรื่องราวเหตุการณ์หรือ สถานการณ์จากข่าวของจริงหรือสื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ เป็นต้น ขั้นที่ 2 ขั้นก าหนดปัญหาหรือวัตถุประสงค์ เป็นการก าหนดประเด็นข้อสงสัยจากปัญหาของ สิ่งที่ต้องการวิเคราะห์เพื่อค้นหาความจริง สาเหตุหรือความส าคัญ เช่น รูปภาพ บทเรียน สื่อ สถานการณหรือ อะไรที่ส าคัญที่สุด ขั้นที่ 3 ขั้นการตั้งค าถาม เป็นขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการตั้งค าถามด้วย เทคนิคค าถาม 5W1H ลักษณะค าถามในระดับต่ าหรือง่ายปนกับค าถามระดับสูงหรือค าถามยาก เกี่ยวกับ เกณฑ์ในการจ าแนกสิ่งที่มีความเหมือนกันหรือแตกต่างกัน หลักเกณฑ์ในการหาลักษณะความสัมพันธ์เชิง เหตุผลอาจเป็นลักษณะความสัมพันธ์ที่มีความคล้ายคลึงกันหรือขัดแย้งกัน ขั้นที่ 4 ขั้นสรุปบทเรียน เป็นการสรุปบทเรียนร่วมกันโดยครูและนักเรียน ตามข้อค าถามในขั้นที่ 3 หรืออาจใช้เทคนิคค าถาม 5W1H เพื่อจ าแนกแยกแยะประเด็นต่าง ๆ ให้สอดคลองเหมาะสมกับเนื้อหาสาระ ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผลผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันประเมินผลการเรียนรู้โดยใช้วิธีการประเมินผลตาม สภาพจริง 4. ความพึงพอใจ 4.1 ความหมายของความพึงพอใจ ความพึงพอใจเป็นปัจจัยที่ส าคัญประการหนึ่งที่มีผลต่อความส าเร็จของงานที่บรรลุเป้าหมายที่มี ประสิทธิภาพ อันเป็นผลจากการไดรับการตอบสนองต่อแรงจูงใจหรือความต้องการของ แต่ละบุคคลใน แนวทางที่เขาประสงค์มีนักการศึกษาได้ให้ความหมายไวดังนี้ กชกร เป้าสุวรรณและคณะ (2550) ไดกล่าวถึงความหมายของความพึงพอใจว่า สิ่งที่ควรจะเป็นไป ตามความต้องการ ความพึงพอใจเป็นผลของการแสดงออกของทัศนคติของบุคคลอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเป็นความรู้สึกเอนเอียงของจิตใจที่มีประสบการณที่มนุษย์เราไดรับอาจจะมากหรือน้อยก็ได้และเป็นความรู สึกที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งเป็นไปไดทั้งทางบวกและทางลบ แต่ก็เมื่อได้สิ่งนั้นสามารถตอบสนองความต้องการ หรือท าให้บรรลุจุดมุ่งหมายได้ก็จะเกิดความรู้สึกบวกเป็นความรู้สึกที่พึงพอใจ แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าสิ่งนั้นสร้างความรู้สึกผิดหวังก็จะท าให้เกิดความรู้สึกทางเป็นความรู้สึกไม่พึงพอใจ
24 สุธาดา สนธิเวช (2551) ไดกล่าวถึง ความหมายของความพึงพอใจไววา ความรูสึกที่ดีหรือทัศนคติที่ดี ของบุคคลซึ่งเกิดจากการไดรับการตอบสนองตามที่ตนต้องการก็จะเกิดความรูสึกที่ดีในสิ่งนั้น ตรงกันข้าม หากความต้องการไมไดรับการตอบสนองความไมพึงพอใจก็จะเกิดขึ้น ดาราณี โพธิ์ไทร (2552) ได้กล่าวถึงความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า ความพึงพอใจหมายถึง ความรู้สึกภายใจจิตใจของมนุษย์ที่ไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับความคาดหวังของแต่ละบุคคล หากมีความ ตอบสนองต่อความคาดหวังด้วยดีก็จะมีความพอใจเกิดขึ้น ในทางตรงข้ามหากการตอบสนองความคาดหวัง น้อยก็อาจผิดหวังหรือไม่พอใจ เบ็ญจวรรณ เสาวโค (2553) ได้กล่าวถึงความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า ความพึงพอใจต่อการเรียน หมายถึง ความรู้สึกที่รับรู้ด้วยจิตใจ โดยอาศัยแรงจูงใจภายใน แสดงออกมาเป็นพฤติกรรมต่าง ๆ ต่อการเรียน การสอนของครูและแสดงให้บุคคลรอบข้างได้รับรู้ในทางบวก หรือในทางที่ดีขึ้น โดยวัดได้จาก แบบวัดความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ โดยผู้วิจัยสร้างขึ้น จากความหมายของความพึงพอใจที่กล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึงความรู้สึกที่ดี หรือทัศนคติที่ดีของบุคคล ซึ่งมักเกิดจากการได้รับการตอบสนองตามที่ตนต้องการก็จะเกิดความรู้สึกที่ดีต่อ สิ่งนั้นตรงกันข้ามหากความต้องการของตนไม่ได้รับการตอบสนองความไม่พึงพอใจก็จะเกิดขึ้น 4.2 การวัดความพึงพอใจ การวัดความพึงพอใจ สามารถท าได้หลายวิธี ดังนี้ (สุธาดา สนธิเวช, 2551) 1. การใช้แบบสอบถาม โดยผู้ออกแบบสอบถาม ต้องการทราบความคิดเห็นซึ่งสามารถกระท าได้ใน ลักษณะก าหนดค าตอบให้เลือก หรือตอบค าถามีอิสระ ค าถามดังกล่าวอาจถามความพอใจในด้านต่าง ๆเพื่อให้ ผู้ตอบทุกคนตอบมาเป็นแบบแผนเดียวกัน วิธีนี้นับเป็นวิธีที่นิยมใช้กันมากที่สุดในการวัดทัศนคติรูปแบบของ แบบสอบถามจะใช้มาตรวัดทัศนคติซึ่งที่นิยมใช้ในปัจจุบันวิธีหนึ่งคือ มาตราส่วนแบบ Likert ประกอบด้วย ข้อความที่แสดงถึงทัศนคติของ บุคคลที่มีต่อสิ่งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่งที่มีค าตอบที่แสดงถึงระดับความรู้สึก 5 ค าตอบ เช่น มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุดซึ่งเป็นวิธีการที่นิยมกันใช้อย่างแพร่หลายวิธีหนึ่ง โดยการร้องขอหรือขอความร่วมมือจากกลุ่มบุคคลที่ต้องการวัดแสดงความคิดเห็นลงในแบบฟอร์มที่ก าหนด ค าตอบ 2. การสัมภาษณ์ เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะท าให้ทราบถึงระดับความพึงพอใจของผู้บุคคลซึ่งเป็นวิธีที่จะต้อง อาศัยเทคนิคและความช านาญพิเศษของผู้สัมภาษณ์ที่จะจูงใจให้ผู้ถูกสัมภาษณ์ตอบค าถามให้ตรงกับ ข้อเท็จจริง การวัดความพึงพอใจโดยวิธีสัมภาษณ์นับว่าเป็นวิธีที่ประหยัดและมีประสิทธิภาพอีกวิธีหนึ่ง 3. การสังเกต เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ท าให้ทราบถึงระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บุคคลได้ โดยวิธีการสังเกต กริยาท่าทาง การพูด สีหน้า การวัดความพึงพอใจโดยวิธีนี้ผู้วัดจะต้องท าอย่างจริงจังและสังเกตอย่างมีระเบียบ
25 แบบแผนที่แน่นอน จึงจะสามารถประเมินถึงระดับความพึงพอใจของบุคคลได้อย่างถูกต้องวิธีนี้เป็นวิธี การศึกษาที่เก่าแก่ และยังเป็นที่นิยมใช้อย่างแพร่หลายจนถึงปัจจุบัน จากวิธีการวัดความพึงพอใจดงกล่าว สรุปได้ว่า การวัดความรู้สึก ทัศนคติหรือความพึงพอใจของ บุคคลนั้น สามารถวัดได้หลายวิธี ได้แก่วิธีการใช้แบบสอบถาม วิธีการสัมภาษณ์ และวิธีการสังเกต 4.3 ทฤษฎีที่เกี่ยวกับความพึงพอใจ ความพึงพอใจ เป็นความรู้สึกของ บุคคลจะแสดงออกมาก หรือน้อยขึ้นอยู่กับแรงจูงใจ การสร้างหรือ การกระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจจึงเป็นสิ่งส าคัญ การศึกษาความพึงพอใจเป็นการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับ ความต้องการของมนุษย์ นักการศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าและก าหนดทฤษฎีเกี่ยวข้องกับความพึงพอใจไว้ ดังนี้ (ทัศนา แขมมณี 2556) 1. ทฤษฎีล าดับขั้นความต้องการของมาส์โลว์ (Maslow’ s hierarchy of needs Theory) เป็น ทฤษฎีที่กล่าวถึง ความต้องการพื้นฐานตามธรรมชาติของมนุษย์อย่างเป็นล าดับขั้นกล่าวคือมนุษย์เรา มีความต้องการอยู่เสมอ เมื่อความต้องการได้รับการตอบสนองหรือมีความพึงพอใจต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งแล้ว ความต้องการด้านอื่นก็จะเกิดขึ้นอีก ความต้องการของคนเราอาจจะซับซ้อน ความต้องการหนึ่งยังไม่หมด อาจจะเกิดความต้องการหนึ่งขึ้นอีกได้ความต้องการของ บุคคลเรียงล าดับขั้นจากความต้องการระดับต่ า ไปหาความต้องการระดับสูง ล าดับความต้องการของบุคคลมิ 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ความต้องการทางร่างกาย เป็นความต้องการเบื้องต้น เพื่อความอยู่รอดของชีวิต เช่น ความต้องการในเรื่องอาหาร น้ าอากาศเครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรคที่อยู่อาศัยความต้องการทางเพศ ความต้องการทางร่างกายจะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของคนก็ต่อเมื่อคนยังไม่ได้รับการตอบสนอง 2) ความต้องการความปลอดภัยและมั่นคง ถ้าหากความต้องการทางด้านร่างกายได้รับการตอบสนอง แล้วบุคลิกจะให้ความสนใจกับความต้องการระดับสูงตอไป คือเป็นความรู้สึกที่ต้องการความปลอดภัย หรือ มั่นคงในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งรวมถึง ความก้าวหน้าและความอบอุ่นใจ 3) ความต้องการทางด้านสงคม ภายหลังจากที่คนได้รับการตอบสนองในขั้นดังกล่าวข้างต้น ก็จะมีความต้องการที่สูงขึ้นคือความต้องการทางสังคม เป็นความต้องการที่เข้าร่วมและได้รับการยอมรับใน สังคมความเป็นมิตรและความรักจากเพื่อน 4) ความต้องการที่จะได้รับการยกย่องนับถือ เป็นความต้องการให้คนอื่นยกย่อง ให้เกียรติ และ เห็นความส าคัญของตน อยากเด่นในสังคม รวมถึงความส าเร็จความรู้ความสามารถ ความเป็นอิสระและ เสรีภาพ 5) ความต้องการความส าเร็จในชีวิต เป็นความต้องการระดับสูงสุดของ มนุษย์อยากจะเป็น อยากจะได้ตามความคิดของตน จากสาระส าคัญของทฤษฎีความต้องการตามล าดับขั้นของมาสโลว์สามารถสรุปได้ว่า ความต้องการ ทั้ง 5 ขั้นของมนุษย์มีความส าคัญไม่เท่ากันและความต้องการในแต่ละขั้นจะมีความส าคัญกับบุคคลมากน้อย
26 เพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับความพึงพอใจที่ได้รับการตอบสนองความต้องการในล าดับขั้นตอนนั้น ๆ สามารถ น าแนวคิดทฤษฎีนี้มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ดังนี้ 1) การเข้าใจถึงความต้องการพื้นฐานของมนุษย์สามารถให้เข้าใจพฤติกรรมของ บุคคลได้เนื่องจาก พฤติกรรมเป็นการแสดงออกของความต้องการของ บุคคล 2) การจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี จ าเป็นต้องตอบสนองความต้องการพื้นฐานที่เขาต้องการ แสดงเสียก่อน 3) ในกระบวนการเรียนการสอน หากครูผู้สอนสามารถหาได้ว่าผู้เรียนแต่ละคนมีความต้องการอยู่ใน ระดับขั้นใด ก็จะสามารถใช้ความต้องการพื้นฐานของผู้เรียนนี้เป็นแรงจูงใจช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี 4) การช่วยให้ผู้เรียนได้รับการตอบสนองความต้องการพื้นฐานของตนอย่างเพียงพอการให้อิสรภาพ และเสรีภาพแก่ผู้เรียนในการเรียนรู้การจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 2. ทฤษฎีเชื่อมโยงของธอร์ไดค์ (Thorndike’ s Connectionism Theory) เป็นทฤษฎีที่กล่าวถึง การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ด้วยการที่มนุษย์หรือสัตว์ได้เลือกเอาปฏิกิริยาตอบสนองเชื่อมโยงเข้ากับสิ่งเร้า อย่างเหมาะสมหรือการเรียนรู้จะเกิดขึ้นด้วยการสร้างสิ่งเชื่อมโยงหรือพันธะระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง นั้นเอง กล่าวคือเมื่อสถานการณ์หรือสิ่งที่เป็นปัญหาเกิดขึ้นร่างกายจะเกิดความพยายามที่จะแก้ปัญหานั้น โดยแสดงพฤติกรรมตอบสนองออกมาหลาย ๆ รูปแบบซึ่งร่างกายจะเลือกพฤติกรรมตอบสนองที่พอใจที่สุด ไปเชื่อมโยงสิ่งเร้าหรือปัญหานั้น ท าให้เกิดการเรียนรู้ขึ้นมาว่าถ้ามีสิ่งเร้าหรือปัญหาเช่นนี้อีกจะแสดงพฤติกรรม ตอบสนองเช่นไร สิ่งส าคัญในการเรียนรู้ที่ธอร์นไดค์ได้ให้ความส าคัญอย่างมาก ได้แก่ การเสริมแรง คือความพึงพอใจ ที่ร่างกายได้รับ เพราะจะท าให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองที่มีความแน่นแฟ้นมากยิ่งขึ้น กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์สรุปได้ดังนี้ 1) กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี ถ้าผู้เรียนมีความ พร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจ 2) กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) การฝึกหัดหรือกระท าบ่อย ๆ ด้วยความเข้าใจจะท าให้การ เรียนรู้นั้นคงทนถาวรถ้าไม่ได้กระท าซ้ าบ่อย ๆ การเรียนรูนั้นจะไมคงทนถาวรและในที่สุดอาจลืมได 3) กฎแห่งความพอใจ (Law of Effect) เมื่อบุคคลไดรับผลที่พึงพอใจย่อมอยากจะเรียนรู้ต่อไป แต่ ถ้าได้รับผลที่ไมพึงพอใจจะไม อยากเรียนรูกฎนี้มีใจความว่าพันธะหรือตัวเชื่อมระหว่างสิ่งเร้าและ การตอบสนองจะเข้มแข็งหรือก าลังอ่อน ยอมขึ้นอยู่กับผลต่อเนื่องหลังจากที่ไดตอบสนองไปแลรางวัล จะมีผลให้พันธะสิ่งเร้าและการตอบสนองเข้มแข็งขึ้น สวนการท าโทษนั้นจะไมมีผลใด ๆ ต่อความเข้มแข็งหรือ การอ่อนก าลังของพันธะระหว่างสิ่งเร้าการตอบสนอง
27 5. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5.1 งานวิจัยในประเทศ ดวงพร จริจิตไพบูลย์ (2545) ได้ท าการศึกษากลวิธีในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษแตกต่างกัน จ าแนกตัวอย่างประชากรออกเป็น 2 กลุ่ม ตามความสามารถในอ่านภาษาอังกฤษ คือ กลุ่มที่มีความสามารถในการอ่านภาษา อังกฤษสูงจ านวน 24 คน และกลุ่มที่มีความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษต่ าจ านวน 24 คน รวม จ านวนทั้งสิ้น 48 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบวัดความสามารถในการอ่าน ภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจที่ผู้วิจัย สร้างขึ้น และได้รับการตรวจแก้ไขจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ผู้วิจัย ท าการเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง ประชากรดังกล่าวโดยใช้วิธีการรายงานตนเองออกมาเป็นค าพูด (Self-reports) แบบแสดงความคิดย้อนหลัง ออกมาเป็นค าพูด (Retrospective technique) ซึ่ง ผู้วิจัยได้ท าการบันทึกเทปข้อมูล และถอดเทปข้อมูลผู้วิจัย และผู้ช่วยวิจัยอีก 1 ท่าน น าข้อมูลมาวิเคราะห์กลวิธีในการอ่านภาษาอังกฤษหาค่ามัชฌิมาเลขคณิต ความถี่ ร้อยละ ผู้วิจัยใช้สถิติทดสอบไคสแควร์ เพื่อทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ใช้กลวิธีในการอ่าน ภาษาอังกฤษด้านความรู้ความคิดมากที่สุด และใช้กลวิธีในการอ่านภาษาอังกฤษ ด้านอารมณ์และจิตใจน้อยที่สุด และเมื่อจ าแนกตามความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ พบว่านักเรียน ที่มีความสามารถใน การอ่านภาษาอังกฤษทั้งในกลุ่มสูงและกลุ่มต่ าใช้กลวิธีเช่นเดียวกัน คือ ใช้กลวิธี ในการอ่านภาษาอังกฤษด้านความรู้ความคิดมากที่สุด และใช้กลวิธีในการอ่านภาษาอังกฤษด้านอารมณ์และ จิตใจน้อยที่สุด นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษแตกต่างกัน ใช้กลวิธีในการอ่านภาษาอังกฤษแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยนักเรียนที่มี ความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษสูงและต่ ามีการใช้กลวิธีในการอ่านภาษาอังกฤษด้านความรู้ความคิด ด้านอภิปัญญา และด้านการชดเชยแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ศรินยา ขัติยะ (2544) ได้ท าการศึกษาการใช้กลวิธีการอ่านแบบร่วมมือเพื่อส่งเสริมความ เข้าใจในการ อ่านและทักษะทางสังคมของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนในรายวิชา ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน จ านวน 55 คนเป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ พบว่า นักเรียนที่ได้รับการสอนตาม แนวกลวิธีการอ่านแบบร่วมมือ มีคะแนนความเข้าใจในการอ่านและทักษะทางสังคมหลังการทดลองสูง กว่าก่อนการทดลอง ถิรวัฒน์ ตันทนิส (2559) ได้ท าการศึกษากลวิธีการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาอังกฤษและเปรียบเทียบ กลวิธีการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ล าปาง เพศชายและเพศหญิง ที่มีความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษในระดับสูงและต่ าตามล าดับ โดยใช้ แบบส ารวจกลวิธีการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาอังกฤษในการเก็บข้อมูลกับนักศึกษาชั้นปี ที่ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ล าปางจ านวน 107 คน หลังจากวิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบค่า t-test แล้ว ผลของการวิจัยแสดงให้เห็นว่านักศึกษาชั้นปีที่ 1 ใช้กลวิธีการอ่านเพื่อความ เข้าใจภาษาอังกฤษ ด้านการชดเชยมากที่สุด และใช้กลวิธีการอ่านด้านความรู้ ความคิดน้อยที่สุด นอกจากนี้นักศึกษาชั้นปีที่ 1
28 เพศชายและเพศหญิงที่มีความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษใน ระดับสูง และต่ าใช้กลวิธีการอ่าน เพื่อความเข้าใจภาษาอังกฤษ แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 กมลพร ทองนุชและจุไรรัตน์ ลักษณะศิริ (2561) ได้ศึกษาการเปรียบเทียบความสามารถในการอ่าน จับใจความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค 5W 1H และการสอน ปกติ ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสามารถในการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค 5W1H หลังเรียนสูงกว่านักเรียน ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การสอนปกติ อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) ความสามารถในการอ่านจับใจความของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดกิจกรรม การเรียนรู้โดยใช้เทคนิค 5W1H หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ.05 5.2 งานวิจัยต่างประเทศ Hess (2005 : Website) ได้ท าการศึกษาและประเมินการใช้โปรแกรมการอ่าน Success For All Reading ในการศึกษาได้ใช้กลวิธีด้านอภิปัญญาพัฒนาการอ่านเพื่อความเข้าใจ โดยมีผู้ร่วมวิจัย ประกอบด้วย ครูผู้สอนจ านวน 5 คน นักเรียนเกรด 4-5 ระดับประถมศึกษาในรัฐนอธเทอร์น แคลิฟอเนียร์ เทคนิคที่ใช้ใน การเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบส ารวจ Los เป็นแบบส ารวจความเชื่อเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ก่อนอ่าน การสัมภาษณ์รายบุคคลเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การอ่าน และการสังเกตการณ์สอนอ่าน ขณะที่ครูใช้กลวิธีการขยายความและย่อความ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า การใช้กลวิธีดังกล่าว นักเรียนสามารถพัฒนาการอ่านภายใน 10 สัปดาห์ และยังพบว่านักเรียนสามารถตั้งค าถามได้มากขึ้น มีกระบวนการคิดวิเคราะห์ตามทฤษฎีของบลูมมากขึ้น และผลการทดสอบเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ด้านการอ่านมาก ขึ้น Mikulecky (1991 : 684) ได้ท าการศึกษากลวิธีการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนสองภาษาชาว รัสเซีย ในด้านกระบวนการและเทคนิคการอ่านภาษาอังกฤษและภาษารัสเซีย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา เปรียบเทียบความเข้าใจในการอ่านของนักเรียนสองภาษา กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาระดับวิทยาลัยชาวรัสเซีย ที่มีความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษระดับเก่งจ านวน 6 คนโดยใช้เทคนิค Think aloud เกี่ยวกับ กระบวนการอ่านและเทคนิคในการอ่านขณะที่อ่านบทความในหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษและภาษารัสเซีย ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษาใช้กลวิธีและเทคนิคต่าง ๆ ในกระบวนการอ่านภาษาที่สองมากกว่าที่ใช้ในภาษาที่ หนึ่ง
29 ภาพที่1 ขั้นตอนการสอนอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ขั้นที่ 1: ขั้นก่อนอ่าน (Pre-reading) ขั้นที่ 2: ขั้นระหว่างอ่าน (While-reading) ขั้นที่ 3: ขั้นหลังอ่าน (Post-reading) 1. ครูอธิบายการตั้งค าถามโดยใช้ 5W1H 2. ครูแนะน าบทอ่านให้นักเรียนทราบ และชี้แจงนักเรียน ให้เข้าถึงเนื้อหาที่เรียน 3. ครูใช้ค าถามกระตุ้นความรู้เดิมของนักเรียน เช่น Where (ที่ไหน) ครูตั้งค าถามให้นักเรียนบอกสถานที่หรือ ต าแหน่งที่เกิดเหตุการณ์ 4. นักเรียนคาดเดาเนื้อหาเรื่องที่ก าลังจะอ่านว่าเป็น อย่างไร เกี่ยวกับอะไร 1. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นกับบทอ่าน ซึ่งบทอ่านนั้นแยกเป็นประเด็นย่อยตามใจความส าคัญของ เนื้อเรื่องและให้นักเรียนอ่านด้วยตนเอง 2. เมื่อนักเรียนอ่านจบแต่ละประเด็นย่อยแล้ว ครูให้ นักเรียนตั้งค าถาม 5W1H และเขียนค าตอบของตนเองใน เรื่อง Social Media เช่น How do people use TikTok for learning and creativity? และ เรื่อง Sports เช่น How is a try scored in rugby? 3. นักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับค าถามและ ค าตอบของตนเองกับเพื่อน 1. นักเรียนตอบค าถามในแบบฝึกหัดที่มีค าถาม 5W1H เสร็จแล้วตรวจค าตอบ 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
30 บทที่ 3 การด าเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความ เข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H และเพื่อศึกษา ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิค การตั้งค าถาม 5W1H โดยผู้วิจัยได้ท าการศึกษาตามหัวข้อที่ส าคัญ ได้แก่ 1. กลุ่มเป้าหมาย 2. แบบแผนการวิจัย 3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 5. การวิเคราะห์ข้อมูล ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จ านวน 4 ห้องเรียน นักเรียนจ านวน 73 คน กลุ่มตัวอย่าง คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จ านวน 20 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) แบบแผนการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยทดลองกับกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังเรียน (One Group Pretest-Posttest Design) (พวงรัตน์ ทวีรัตน์, 2543:60) ทดสอบก่อนเรียน ทดสอบ สอบหลังเรียน T1 X T2
31 T1 แทน การทดสอบก่อนเรียนของกลุ่มตัวอย่าง X แทน การสอนการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H T2 แทน การทดสอบหลังเรียนของกลุ่มตัวอย่าง ฉลองชัย สุรวัฒนบูรณ์ (2528, หน้า 215) เกณฑ์ประสิทธิภาพของชุดการสอนที่ผลิตได้นั้นก าหนดไว้ 3 ระดับ ดังนี้ 1. สูงกว่าเกณฑ์เมื่อประสิทธิภาพของชุดการสอนสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้มี่ค่าเกิน 2.5% ขึ้นไป 2. เท่ากับเกณฑ์เมื่อประสิทธิภาพของชุดการสอนเท่ากับหรือสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ไม่เกิน 2.5% 3. ต่ ากว่าเกณฑ์เมื่อประสิทธิภาพของชุดการสอนต่ ากว่าเกณฑ์แต่ไม่ต่ ากว่า 2.5% ถือว่ายังมี ประสิทธิภาพที่ยอมรับได้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. ประเภทของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1.1 แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H จ านวน 10 แผน แผนละ 1 ชั่วโมง รวมทั้งหมด 10 ชั่วโมง 1.2 แบบทดสอบความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้แบบทดสอบ แบบปรนัย แบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จ านวน 30 ข้อ ใช้วัดความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจก่อนและหลังเรียน 1.3 แบบส ารวจความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อ ความ เข้าใจชนิดตัวเลือก จ านวน 20 ข้อ โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนแบ่งออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ พอใจมากที่สุด พอใจ ปานกลาง ไม่พอใจ และไม่พอใจอย่างยิ่ง 2. การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือ 2.1 แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ ผู้ศึกษาได้ด าเนินการสร้าง ดังนี้ 2.1.1 ศึกษาและวิเคราะห์แนวคิด ทฤษฎี และการจัดการเรียนการสอนที่เกี่ยวกับการสอน การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิค 5W1H
32 2.1.2 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ คู่มือครู หนังสือเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2.1.3 ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2.1.4 สร้างตารางวิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้และเนื้อหา 2.1.5 สร้างแผนการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิค การตั้งค าถาม 5W1H จ านวน 10 แผน แผนละ 1 ชั่วโมง รวมทั้งหมด 10 ชั่วโมง 2.1.6 น าแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้นเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญจ านวน 3 ท่าน เป็นผู้เชี่ยวชาญ ด้านการสอนวิชาภาษาอังกฤษ ด้านหลักสูตรและการสอน การวิจัย และการวัดผลประเมินผลตรวจสอบ ความสอดคล้องของแผนการสอนซึ่งประกอบด้วย ตัวชี้วัด สาระส าคัญ จุดประสงค์ปลายทาง จุดประสงค์น าทาง เนื้อหา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้การวัดและประเมินผลโดยให้ผู้เชี่ยวชาญ พิจารณาตรวจสอบให้คะแนน ดังนี้ ให้คะแนนเป็น +1 เมื่อแน่ใจว่าองค์ประกอบเหมาะสมและสอดคล้อง ให้คะแนนเป็น 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าองค์ประกอบเหมาะสมและสอดคล้อง ให้คะแนนเป็น –1 เมื่อแน่ใจว่าองค์ประกอบไม่เหมาะสมและสอดคล้อง แล้วน าคะแนนที่ได้มาหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item – Objective Congruence : IOC) ได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง 1.00 2.1.7 ปรับปรุง และแก้ไขแผนการจัดการเรียนรู้ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ 2.1.8 น าแผนการจัดการเรียนรู้ที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วไปทดลองใช้กับนักเรียนที่ก าลังเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี ปีการศึกษา 2566 ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างของการวิจัย เพื่อตรวจสอบข้อบกพร่องและปรับปรุงแก้ไขเกี่ยวกับการใช้ส านวนภาษา 2.1.9 น าแผนการจัดการเรียนรู้ที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วไปทดลองใช้กับนักเรียนที่ก าลังเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรีปีการศึกษา 2566 ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างของการวิจัยและ ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย เพื่อหาข้อบกพร่องเกี่ยวกับเวลา สื่อการสอน ปริมาณเนื้อหาและกิจกรรม ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ แล้วปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ 2.1.10 น าแผนการจัดการเรียนรู้ที่ปรับปรุงแก้ไขแล้วเสนอผู้เชี่ยวชาญอีกครั้งหนึ่ง เพื่อตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขเป็นฉบับสมบูรณ์ที่ใช้ในการทดลองภาคสนาม
33 2.2 แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเป็นแบบทดสอบปรนัยแบบเลือกตอบมี 4 ตัวเลือก จ านวน 30 ข้อ มีขั้นตอนในการสร้างและหาประสิทธิภาพ ดังนี้ 2.2.1 ศึกษาทฤษฎี วิธีสร้าง เทคนิคการเขียนข้อสอบแบบเลือกตอบ คู่มือการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2.2.2 สร้างตารางวิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้และเนื้อหา 2.2.3 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ แบบปรนัยแบบเลือกตอบ มี 4 ตัวเลือก จ านวน 30 ข้อ ให้ครอบคลุมเนื้อหาสาระและผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 2.2.4 น าแบบทดสอบที่สร้างขึ้นเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญ ด้านการสอนวิชาภาษาอังกฤษ การวิจัยและด้านการวัดผลและประเมินผล เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรง เชิงเนื้อหาและความเหมาะสมด้านการใช้ภาษา เพื่อหาความสอดคล้องระหว่างข้องค าถามกับจุดประสงค์ ประเมินผลโดยใช้ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ซึ่งให้ผู้เชี่ยวชาญพิจารณาตรวจสอบ มีเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ ให้คะแนน +1 เมื่อแน่ใจว่าค าถามมีความสอดคล้องกับจุดประสงค์ ให้คะแนน 0 เมื่อไม่แน่ใจว่าค าถามมีความสอดคล้องกับจุดประสงค์ ให้คะแนน -1 เมื่อแน่ใจว่าค าถามไม่มีความสอดคล้องกับจุดประสงค์ 2.2.5 น าผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญ วิเคราะห์หาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อค าถาม ของแบบทดสอบกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยหาค่า IOC ซึ่งมีค่าได้เท่ากับโดยได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง เท่ากับ 1.00 2.2.6 น าแบบทดสอบวัดความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจไปทดลองใช้กับ นักเรียนที่ก าลังเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ านวน 73 คน โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี ปีการศึกษา 2566 ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษผ่านมาแล้วและไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างของการวิจัย แล้วน าคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์ ความยากง่าย (P) และค่าอ านาจจ าแนก (r) คัดเลือกข้อสอบโดยใช้เกณฑ์ข้อสอบแต่ละข้อต้องมีความยากง่าย (P) อยู่ระหว่าง 0.35 - 0.52 และมีอ านาจจ าแนก (r) ตั้งแต่ 0.33-0.81 2.2.7 น าข้อสอบที่คัดเลือกแล้วจ านวน 30 ข้อ ไปทดสอบเพื่อหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ ทั้งฉบับ โดยใช้สูตรของคูเดอร์-ริชาร์ดสัน (KR-20) มีค่าเท่ากับ 0.91
34 2.2.8 น าแบบทดสอบวัดความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจไปใช้กับ กลุ่มตัวอย่าง 2.3 แบบวัดความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้ เทคนิค 5W1H การสร้างแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H มีขั้นตอนในการสร้างดังนี้ 2.3.1 ศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับการวัดความพึงพอใจและเอกสารงานวิจัยเกี่ยวกับการต่อ การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 2.3.2 สร้างแบบวัดความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดย ใช้เทคนิค 5W1H ชนิดตัวเลือก จ านวน 20 ข้อ 5 ระดับ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด 2.3.3 น าแบบวัดความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 3 ท่าน เพื่อความสอดคล้อง ของแบบประเมิน ตลอดจนความชัดเจนทางภาษาโดยผู้เชี่ยวชาญลงความเห็นและให้คะแนน จากนั้นน าคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item-objective Congruence: IOC) และใช้เกณฑ์การให้คะแนนค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของโรวินเนลลี และ แฮมเบิลตัน (Rovinelli & Hambleton, 1977: 49-60) ตามรายละเอียด ดังนี้ +1 หมายถึง แน่ใจว่ารายการประเมินสอดคล้องกับความพึงพอใจที่ก าหนด 0 หมายถึง ไม่แน่ใจรายการประเมินสอดคล้องกับความพึงพอใจที่ก าหนด -1 หมายถึง แน่ใจว่ารายการประเมินไม่สอดคล้องกับความพึงพอใจที่ก าหนด 2.3.4 หลังจากนั้นน าคะแนนที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Itemobjective Congruence: IOC) 2.3.5 คัดเลือกข้อค าถามในการวัดความพึงพอใจต่อการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ที่ได้รับการตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จ านวน 20 ข้อ 2.3.6 น าแบบวัดความพึงพอใจต่อการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิค การตั้งค าถาม 5W1H ไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยภายหลังได้รับการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H
35 เกณฑ์การให้คะแนนของแบบวัดความพึงพอใจต่อการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ของนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างก าหนดไว้ดังนี้ ให้ 5 คะแนน หมายถึง มีความพึงพอใจมากที่สุด ให้ 4 คะแนน หมายถึง มีความพึงพอใจมาก ให้ 3 คะแนน หมายถึงมีความพึงพอใจปานกลาง ให้ 2 คะแนน หมายถึงมีความพึงพอใจน้อย ให้ 1 คะแนน หมายถึงมีความพึงพอใจน้อยที่สุด การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ด าเนินการทดลองกับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างตามล าดับดังนี้ 1. ก่อนการทดลองให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างท าแบบทดสอบวัด ความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H 2. ด าเนินการสอนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ที่ สร้างขึ้นจ านวน 10 แผน แผนละ 1 ชั่วโมง รวมทั้งหมด 10 ชั่วโมง โดยให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติตามขั้นตอน แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H 3. เมื่อสิ้นสุดการทดลองแล้ว น าแบบทดสอบวัดความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อ ความเข้าใจชุดเดิมไปทดสอบนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อีกครั้ง 4. ให้นักเรียนท าแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนการอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H แล้วน าผลที่ได้ไปวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติต่อไป การวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมูลการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิค การตั้งค าถาม 5W1H ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัยด าเนินการวิเคราะห์ดังนี้ 1. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อศึกษาความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยหาค่าเฉลี่ย ( ) ค่าร้อยละ (Percentage) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 2. วิเคราะห์ระดับความพึงพอใจต่อการสอนการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H โดยหาค่าเฉลี่ย ( ) ค่าร้อยละ (Percentage) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยใช้เกณฑ์การแปลค่าเฉลี่ยในแบบวัดความพึงพอใจ ดังนี้
36 คะแนน 1.00 - 1.50 หมายถึง พึงพอใจในระดับไม่ดี คะแนน 1.51 - 2.50 หมายถึง พึงพอใจในระดับค่อนข้างไม่ดี คะแนน 2.51 - 3.50 หมายถึง พึงพอใจในระดับปานกลาง คะแนน 3.51 - 4.50 หมายถึง พึงพอใจในระดับค่อนข้างดี คะแนน 4.51 - 5.00 หมายถึง พึงพอใจในระดับดี สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมูลค่าสถิติที่ผู้วิจัยเลือกใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ร้อยละ (Percentage) ค่าความยากง่าย (P) ค่าอ านาจจ าแนก (r) ของแบบทดสอบ และค่าความเชื่อมั่น ของแบบทดสอบ KR-20 ของคูเดอร์ ริชาร์ดสัน (Kuder-Richardson) 1. สถิติเพื่อหาคุณภาพเครื่องมือ 1.1 การหาค่าดัชนีความสอดคล้องของแผนการจัดการเรียนรู้และแบบทดสอบใช้การวิเคราะห์ ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อค าถามแต่ละข้อกับจุดประสงค์โดยค านวณจากสูตร (ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ. 2543: 249) สูตร IOC = เมื่อ IOC เป็นดัชนีความสอดคล้อง ∑R เป็นผลรวมของความคิดของผู้เชี่ยวชาญ N เป็นจ านวนของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด 1.2 การค านวณหาค่าความยากง่าย (p) ค่าอ านาจจ าแนก (r) ของแบบทดสอบ และค่า ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ KR-20 ของคูเดอร์ ริชาร์ดสัน (Kuder-Richardson) หาค่าโดยใช้โปรแกรม ส าเร็จรูป TAP (Test Analysis Program) 2. สถิติพื้นฐาน 2.1 ค่าเฉลี่ย (Mean) 2.2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 2.3 ร้อยละ (Percentage)
37 3. สถิติเพื่อทดสอบสมมติฐาน 3.1 สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบคะแนนความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อ ความเข้าใจของนักเรียนหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 75 โดยใช้ One Sample t-test ในการค านวณโดยใช้ โปรแกรมส าเร็จรูปทางสถิติส าหรับวิเคราะห์ข้อมูลทางสังคมศาสตร์ 3.2 สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนความสามารถในการอ่าน ภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ t-test for Dependent Samples ในการค านวณด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส าเร็จรูปทางสถิติส าหรับวิเคราะห์ข้อมูลทางพฤติกรรม ศาสตร์และสังคมศาสตร์ (SPSS for Windows)
38 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความ เข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ระหว่างก่อนเรียนและ หลังเรียนและเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ซึ่งผู้วิจัยได้เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังต่อไปนี้ 1. ผลการศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน 2. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ผลการศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน การจัดกิจกรรมการสอนการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยการใช้เทคนิคการตั้งค าถาม 5W1H ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัยได้ท าการทดสอบวัดความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่าน ภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจเป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก ข้อละ 1 คะแนน จ านวน 30 ข้อ น าคะแนนมาหา ค่าเฉลี่ย (Mean) ร้อยละ (Percentage) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) แล้วศึกษาและ เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาอังกฤษเพื่อความเข้าใจระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้สถิติ ทดสอบทีแบบไม่อิสระ (t-test for Dependent Samples) ผลการวิเคราะห์ข้อมูลมีรายละเอียด ดังนี้