The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สื่อการเรียนรู้รายวิชาทักษะประสบการณ์การแสดง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Supansa Plaekphakwaen, 2020-11-07 12:52:42

สื่อการเรียนรู้รายวิชาทักษะประสบการณ์การแสดง

สื่อการเรียนรู้รายวิชาทักษะประสบการณ์การแสดง

คำนำ
การศึกษาทักษะการแสดง มีการอนุรักษ์ สืบสานและพัฒนา เป็นระยะ ดังน้ัน ส่ือการเรียนรู้ท่ี
ก่อให้เกิดการต่อยอดความคิด เกิดการ สร้างสรรค์งานนาฏศิลปท์ ่ีหลากหลาย ทั้งนี้ ความเข้าใจแก่นแท้ของ
ศลิ ปวฒั นธรรมการแสดง ท่ารา และประวตั เิ พลง การศกึ ษาทกั ษะประสบการณ์การแสดง จึงมีความสาคัญตอ่
ผู้ท่ีศึกษาดา้ นนาฏศลิ ป์ไทยเปน็ อยา่ งยิ่ง

สือ่ การเรยี นรปู้ ระกอบการเรยี นรายวชิ าทกั ษะประสบการณก์ ารแสดงนี้มุ่งเนน้ ใหผ้ ้เู รยี นมีความรู้
ความเข้าใจตลอดจนสามารถนาต่อยอดเป็นการแสดงได้

ส่อื การเรยี นรูป้ ระกอบการเรียนรายวิชาทักษะประสบการณ์การแสดงไดม้ ีการคน้ คว้ารวบรวมเอกสาร
ตารา ตลอดจนความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดจากครู อาจารย์ด้านนาฏศิลป์ไทยหลายท่าน จึงขอน้อมราลึก
พระคุณด้วยความซาบซึ้งและเคารพอยา่ งสงู ในคร้ังน้ีได้พฒั นาปรบั ปรุงเนื้อหาเปน็ เอกสารประกอบการเรียน
เพื่อนาเสนอ โดยได้รับความกรุณาอนุเคราะห์ข้อมูลความรู้อันเป็นประโยชน์เพิ่มเตมิ จากอาจารย์กฤษเตชนิ ห์
เสกฐานโชตจิ ินดา อาจารย์ศิรเิ พญ็ แก้วดี และอาจารยป์ ระภัสสร วรปรางกุล จึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอยา่ ง
สงู มา ณ โอกาสน้ี และหวงั เป็นอย่างยิ่งว่าผลงาน ส่อื การเรยี นรู้ประกอบการเรยี นรายวชิ าทักษะประสบการณ์
การแสดงนี้จะมีสารัตถประโยชน์แก่ผู้นาไปใช้ในการศึกษาด้านนาฏศิลป์ได้ตาม ความสมควร หากมี
ข้อเสนอแนะประการใดขอนอ้ มรับดว้ ยความขอบคุณย่งิ

คณะผู้จัดทา

สำรบัญ หนำ้

เรอ่ื ง 1

ประวตั เิ พลงหน้ำพำทย์ตระสนั นิบำต 21
ประวตั เิ พลงหน้ำพำทย์ตระบรรทมไพร 51
ประวัตเิ พลงหน้ำพำทย์ตระนำรำยณ์บรรทมสินธุ์ม 75
ประวัติเพลงหนำ้ พำทย์เพลงโปรยขำ้ วตอก 106
ประวัตเิ พลงลงสรงโทน 208
ประวัตเิ พลงศภุ ลักษณ์อุม้ สม 314
ประวตั เิ พลงสวุ รรณหงส์ชมถำ 377
ประวัตนิ ำงแมวเยย้ ซุ้ม

1

ประวตั ิเพลงหน้ำพำทย์ตระสนั นิบำต

ท่ีมาและความหมายของเพลง เพลงหน้าพาทย์ตระสันนิบาต เป็นเพลง หน้าพาทย์ช้ันสูง มีปรากฏ
มาต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ไม่ปรากฏนามผแู้ ตง่ ใช้หน้าทับตระ อัตรา จังหวะสองชั้น ต่อท้ายด้วยเพลงรัวลา
เดยี วคาวา่ “สนั นบิ าต" มาจากคาว่า ส์ + นิปาต ในภาษาบาลี และ สนั + นิบาต ใน ภาษาไทย มคี วามหมาย
วา การประชุม ท่ีประชุม พจนานุกรมฉบบั เฉลิมพระเกยี รติ พ.ศ. 2542 ให้ความหมายว่า “สันนิบาต น. การ
ประชุม” (2542: 1167) เพลงตระสนั นิบาต จงึ มคี วาม หมายถึง ทานองดนตรีเพลงไทยทานองหนงึ่ ทมี่ ีสานวน
ประเภทเพลงตระ ใช้บรรเลงประกอบการ เชญิ เทพดามาร่วมประชมุ

โอกาสท่ีใช้เพลงหน้าพาทย์ตระสันนิบาต เพลงหน้าพาทย์ตระสันนิบาต ใช้บรรเลงประกอบพิธีไหว้ครู
โขน ละคร และประกอบการแสดงโขน ละคร สาหรับตวั ละครทม่ี ี ยศศักด์ิ ท้งั ฝา่ ย พระนางยักษแ์ ละลงิ

2

ท่ำรำเพลงตระสนั นิบำต

ภำพที่ 1
น่งั คุกเขา่ ทา่ เทพบตุ รหนา้ ตรงมอื ทง้ั สองขา้ งวางไวท้ ่ีหน้าขา กม้ ศรี ษะลงเลก็ นอ้ ยไสมอื ท้ังสองยกขนึ้ ไหว้

3

ภำพท่ี 2
นัง่ คกุ เข่ามอื ท้งั สองไหวห้ ัวแม่มอื จรดศีรษะ

4

ภำพท่ี 3
นง่ั คุกเขา่ ศีรษะ หนา้ ตรง มอื ซ้าย มอื ขวา พนมมือเข้าหน้าอกขาซา้ ย

5

ภำพที่ 4
นัง่ คุกเข่า เอยี งไปศรี ษะดา้ นซา้ ยมอื ซา้ ยจีบคา่ ระดับวงกลางมือขวาแทงมอื ลงระดับวงกลาง

6

ภำพที่ 5
นัง่ คุกเข่ามอื ซ้ายทาท่าบัวชฝู กั มอื ขวาตัง้ วงระดับหวั เข็มขัดยกั ตัวไปมา 4 จงั หวะ

7

ภำพท่ี 6
น่งั คกุ เข่า เอียงศรี ษะด้ายขวามอื ขวาจบี คา่ ระดบั วงกลางมือซา้ ยแทงมอื ลงระดบั วงกลาง

8

ภำพที่ 7
นัง่ คุกเข่ามอื ขวาทาทา่ บัวชฝู กั มอื ซา้ ยตัง้ วงระดับหวั เข็มขัด ยกั ตัวไปมา 4 จงั หวะ

9

ภำพที่ 8
นัง่ คกุ เขา่ เอยี งศรี ษะดา้ นซา้ ยมือซ้ายตั้งวงกลางมือขวาจีบระดับศรี ษะ

10

ภำพท่ี 9
น่งั คุกเขา่ ทาทา่ ผาลา ยกั ตัวไปมา 4 จักหวะ

11

ภำพที่ 10
นั่งคุกเขา่ เอียงศีรษะด้านขวามอื ซ้ายจบี ระดบั ศรี ษะมือขวาตงั้ วงกลาง

12

ภำพท่ี 11
นั่งคุกเขา่ มอื ซ้ายต้ังวงระดบั ศีรษะมอื ขวาจบี ยาว ยกั ตวั ไปมา 4 จงั หวะ

13

ภำพท่ี 14
นัง่ คุกเขา่ เอียงศรี ษะด้านซา้ ยมือซา้ ยจบี ควา่ ระดบั วงกลางมอื ขวาแทงลงระดบั วงกลาง

14

ภำพที่ 15
นัง่ คกุ เข่า ทาทา่ สอดสงู

15

ภำพที่ 16
นัง่ คุกเขา่ เอยี งศรี ษะด้านขวามือซา้ ยแทงลงระดบั วงกลางมือขวาจบี ควา่ ระดับวงกลาง

16

ภำพที่ 17
นัง่ คกุ เข่า ทาทา่ สอดสงู

17

ภำพที่ 18
นั่งคุกเขา่ มอื ทงั้ สองไสมอื ขน้ึ ด้านขวา

18

ภำพที่ 19
น่งั คุกเขา่ มือทง้ั สองไหวจ้ รดศีรษะดา้ นขวา

19

ภำพที่ 20
นงั่ คุกเขา่ ศีรษะ หนา้ ตรง มอื ซ้าย มอื ขวา พนมมอื เข้าหน้าอกขาซา้ ย

20

ภำพที่ 21
น่ังคกุ เข่า ศีรษะ หนา้ ตรง มอื ซ้าย มอื ขวา พนมมอื เขา้ หน้าอกขาซา้ ย

21

ประวัติเพลงหน้ำพำทย์ตระบรรทมไพร

หากพิจารณาเพลงหน้าพาทยช์ ้ันสูงที่บรรเลงประกอบในพิธีไหว้ครูดนตรีและนาฏศิลป์ จะพบวา่ มเี พลง
หลายเพลงท่ีใชบ้ รรเลงประกอบคาถาหรือบทโองการเพ่ือไหว้บูชาและเชญิ เทพเจา้ ทั้งหลาย โดยเฉพาะบรรเลง
ประกอบกิริยาสมมุติในการเสด็จมาในมณฑลพิธีของเทพเจ้า เช่น เพลงตระนารายณ์บรรทมสินธุ์ ตระพระ
พรหม ตระพระปรคนธรรพ ตระพระวิสสุกรรม ตระพระปญั จสขี ร ตระพระพิฆเนศ ตระฤๅษีกไลโกฏ เปน็ ตน้
ล้วนแตเ่ ป็นเพลงหน้าพาทยเ์ ฉพาะองคเ์ ทพเจ้านามนั้นๆ ท้ังสิ้น การกาหนดเรียกช่ือ “ตระนารายณ์” โดยท่ีไมม่ ี
เพลงหนา้ พาทย์เฉพาะสาหรับบทบาทตวั ละครพระนารายณ์เชน่ นี้ บางคร้ังกส็ รา้ งความสับสนใหก้ บั นักดนตรที ี่
บรรเลงปี่พาทยไ์ ด้ เนื่องจากนกั ดนตรีไมร่ ู้ที่มาของชื่อตระนารายณ์ทีฝ่ายนาฏศิลป์ บัญญตั กิ ันเองประการหน่ึง
อีกประการหน่ึงนักดนตรีอาจจะเข้าใจท่ีมาของการเรยี กชื่อ แต่ไม่ยอมรับการเรียกเช่นน้ัน เพราะตนบรรเลง
เพลงตระนมิ ติ ซ่ึงครูบาอาจารย์ไดเ้ รียกกันมาชา้ นาน หรืออาจจะด้วยความเขา้ ใจวา่ ตระนารายณ์หมายถึงเพลง
ตระนารายณ์บรรทมสนิ ธุ์ จึงบรรเลงเพลงตระนารายณ์บรรทมสนิ ธ์ุ ความหมายของการราแปลงกายเป็นร่าง
ใหม่ของพระนารายณ์กลายเป็นการบรรเลงเพลงให้พระนารายณ์เข้าบรรทม ซ่ึงผิดขนบการแสดงนาฏศลิ ป์
ไทย อยา่ งไรกต็ ามคาว่า ตระนารายณ์ไดก้ ลายเป็นท่ีเขา้ ใจกนั ของฝ่ายโขนละครอย่างกว้างขวางแล้ว เพลงตระ
นารายณใ์ ชท้ านองเพลงตระนมิ ิต

โอกำสทใี่ ช้ในกำรแสดง

โอกาสท่ีใช้เพลงตระนารายณ์ใช้เฉพาะพระนารายณ์ราแปลงกาย เช่นใช้ประกอบการแปลงกายของ
พระนารายณ์ที่แปลงเปน็ พราหมณน์ อ้ ย เข้าไปร่ายราถวายพระอุมาในบทละครเบกิ โรงเรอื งพระคเณศวร์เสียงา
และใช้ประกอบการแปลงกายของพระนารายณเ์ ป็นนางนารายณ์ไปปราบนนทกุ เป็นต

22

ท่ำรำเพลงหนำ้ พำทย์ ตระบรรทมไพร

ภำพท่ี 1
เนอื เพลง ทานอง

อธบิ ำยท่ำรำ นงั่ คกุ เข่า แยกเข่าออกเล็กน้อย (นง่ั ท่าเทพบุตร) หน้าตรง ฝ่ามอื ท้งั สองขา้ งวางทห่ี น้าขา เปิด
ปลายนว้ิ มอื ขน้ึ กระทบก้น 1 คร้งั

23

ภำพที่ 2
เนือเพลง ทานอง
อธิบำยทำ่ รำ นง่ั คุกเขา่ แยกเข่าออกเล็กนอ้ ย (นัง่ ทา่ เทพบตุ ร) กม้ ศีรษะลงเล็กนอ้ ย มอื ทงั้ สองขา้ งตง้ั มือข้นึ
ดา้ นหนา้ ระดบั เอว

24

ภำพที่ 3
เนือเพลง ทานอง
อธิบำยทำ่ รำ นง่ั คกุ เขา่ แยกเขา่ ออกเล็กนอ้ ย (นง่ั ทา่ เทพบุตร) ค่อยๆ เงยศรี ษะขนึ้ เล็กน้อย มอื ท้งั สองขา้ ง
เลอื่ นมาพนมมอื ไหวร้ ะดบั ศรี ษะ น้ิวหัวแม่มอื จรดตีนผม เปดิ ปลายนิ้วมือออก กระทบกน้ 1 ครง้ั

25

ภำพท่ี 4
เนอื เพลง ทานอง
อธิบำยท่ำรำ น่ังคกุ เขา่ แยกเข่าออกเลก็ นอ้ ย (นั่งทา่ เทพบตุ ร) จากนนั้ กระทบกน้ อีก 1 คร้ัง มอื ทงั้ สองขา้ ง
พนมมอื ไหว้ เปดิ ปลายนิว้ มอื ออก ค่อยๆ เล่ือนมอื ลงมาระหว่างอก พรอ้ มกับคอ่ ยๆ ก้มศรี ษะลงแล้วกบั มาหน้า
ตรง กระทบก้นอกี 1 ครั้ง

26

ภำพที่ 5
เนือเพลง ทานอง
อธบิ ำยท่ำรำ จากน้ันขยับเข่าในท่านงั่ คกุ เขา่ เฉยี งตวั ไปทางดา้ นขวาเลก็ นอ้ ย แยกเขา่ ออกเล็กน้อย ศรี ษะเอยี ง
ซ้าย มอื ซา้ ยจบี คว่าดา้ นขา้ งระดับเอว มือขวาแทงมือลงดา้ นขา้ งระดบั เอว

27

ภำพที่ 6
เนือเพลง ทานอง
อธบิ ำยทำ่ รำ จากนั้นตัง้ เขา่ ซ้ายขนึ้ โดยใหป้ ลายเทา้ ซา้ ยช้มี าดา้ นหนา้ เฉียงตัวไปทางดา้ นขวาเล็กน้อย ศรี ษะ
เอียงขวา มอื ซ้ายปล่อยจบี ออกเป็นสอดสงู มอื ขวาพลิกข้อมอื ตงั้ มือขนึ้ แขนตงึ ระดบั ไหล่

28

ภำพที่ 7
เนือเพลง ทานอง
อธบิ ำยท่ำรำ จากนั้นยักตัว 4 จงั หวะ โดยเรมิ่ จากการยดื ตวั ขึ้นแล้วยกั ตัวข้างซา้ ย ศรี ษะเอียงซ้าย กดไหลซ่ า้ ย
กดเกลยี วขา้ งซา้ ย ทิ้งนา้ หนกั ไปทเ่ี ขา่ ข้างขวายบุ ตวั ลงในจังหวะที่ 1 จากนน้ั ยดื ตัวขึ้นยกั ตวั ข้างขวา ศรี ษะเอียง
ขวา กดไหลข่ วา กดเกลียวข้างขวา ท้งิ นา้ หนกั ไปท่เี ท้าซ้ายยบุ ตัวลง ในจงั หวะที่ 2 ทาอยา่ งนสี้ ลบั กนั ซา้ ยและ
ขวา ทง้ั หมด 4 จงั หวะ

29

ภำพที่ 8
เนอื เพลง ทานอง
อธบิ ำยท่ำรำ จากนั้นวางเขา่ ซ้ายลงแลว้ ขยับเฉยี งตัวไปทางดา้ นซา้ ยเลก็ น้อย แยกเข่าออกเลก็ น้อย ศีรษะเอยี ง
ขวา มอื ขวาจบี คว่าดา้ นข้างระดับเอว มือซา้ ยแทงมอื ลงด้านขา้ งระดับเอว

30

ภำพที่ 9
เนอื เพลง ทานอง
อธิบำยท่ำรำ จากนน้ั ตัง้ เข่าขวาข้ึน โดยใหป้ ลายเท้าขวาชี้มาดา้ นหนา้ เฉียงตวั ไปทางดา้ นซา้ ยเลก็ นอ้ ย ศรี ษะ
เอียงขวา มอื ขวาปล่อยจีบออกเป็นสอดสงู มือซ้ายพลิกขอ้ มอื ตัง้ มอื ข้นึ แขนตงึ ระดบั ไหล่

31

ภำพท่ี 10
เนือเพลง ทานอง
อธบิ ำยทำ่ รำ จากนั้นยกั ตวั 4 จงั หวะ โดยเร่มิ จากการยดื ตวั ขึน้ แลว้ ยักตัวข้างขวา ศีรษะเอยี งขวา กดไหล่ขวา
กดเกลยี วขา้ งขวา ทง้ิ น้าหนักไปทเี่ ขา่ ขา้ งซ้ายยบุ ตวั ลงในจังหวะท่ี 1 จากนั้นยืดตวั ขึน้ ยกั ตวั ขา้ งซ้าย ศีรษะเอยี ง
ซ้าย กดไหลซ่ า้ ย กดเกลยี วขา้ งซ้าย ท้งิ น้าหนกั ไปทเี่ ท้าขวายบุ ตวั ลง ในจงั หวะที่ 2 ทาอยา่ งนสี้ ลบั กนั ขวาและ
ซ้าย ทัง้ หมด 4 จงั หวะ

32

ภำพที่ 11
เนือเพลง ทานอง
อธบิ ำยทำ่ รำ จากน้ันวางเข่าขวาลงแลว้ ขยับตวั หันมาทางดา้ นหนา้ ในท่านง่ั คกุ เขา่ แยกเขา่ ออกเลก็ นอ้ ย ศรี ษะ
เอยี งซา้ ย มอื ขวาจบี ปกขา้ งระดับศีรษะ มอื ซ้ายตั้งวงกลางระดบั ไหล่

33

ภำพท่ี 12
เนอื เพลง ทานอง
อธบิ ำยท่ำรำ นงั่ คกุ เข่า แยกเข่าออกเลก็ นอ้ ย ศรี ษะเอียงขวา มอื ขวามว้ นจบี ออกเปน็ ต้งั วงบนระดบั ศรี ษะ มอื
ซา้ ยแทงมอื ลงงอแขนระดบั เอว (ทา่ ผาลาเพยี งไหล่)

34

ภำพท่ี 13
เนือเพลง ทานอง
อธบิ ำยทำ่ รำ จากนั้นยกั ตัว 4 จังหวะ โดยเริ่มจากการยดื ตัวขนึ้ แลว้ ยักตัวข้างซา้ ย ศีรษะเอียงซ้าย กดไหลซ่ า้ ย
กดเกลียวข้างซา้ ย ยบุ ตวั ลงในจงั หวะที่ 1 จากนั้นยดื ตัวขึ้นยักตวั ข้างขวา ศีรษะเอยี งขวา กดไหลข่ วา กดเกลยี ว
ขา้ งขวา ยบุ ตวั ลง ในจงั หวะที่ 2 ทาอยา่ งนส้ี ลบั กนั ซา้ ยและขวา ทง้ั หมด 4 จังหวะ

35

ภำพท่ี 14
เนือเพลง ทานอง
อธบิ ำยทำ่ รำ นัง่ คุกเขา่ แยกเข่าออกเล็กนอ้ ย ศีรษะเอียงขวา มอื ซา้ ยจีบปกขา้ งระดับศรี ษะ มือขวาต้งั วงกลาง
ระดบั ไหล่

36

ภำพที่ 15
เนือเพลง ทานอง
อธิบำยท่ำรำ จากนั้นตงั้ เข่าขวาขนึ้ โดยใหป้ ลายเท้าเฉยี งไปทางข้างขวา ศรี ษะเอียงซา้ ย มอื ซา้ ยม้วนจีบ
ออกเป็นตัง้ วงบนระดบั ศีรษะ มือขวาพลกิ ขอ้ มือเป็นจบี หงาย แขนตงึ ระดบั ไหล่ (ท่าจบี ยาว)

37

ภำพท่ี 16
เนอื เพลง ทานอง
อธบิ ำยทำ่ รำ จากนนั้ ยกั ตวั 4 จังหวะ โดยเรม่ิ จากการยดื ตัวขน้ึ แลว้ ยกั ตวั ข้างขวา ศรี ษะเอียงขวา กดไหลข่ วา
กดเกลยี วข้างขวา งอแขนเลก็ น้อย ยุบตวั ลงในจงั หวะที่ 1 จากนนั้ ยืดตวั ข้นึ ยกั ตวั ข้างซ้าย ศีรษะเอียงซา้ ย กด
ไหล่ซา้ ย กดเกลยี วข้างซา้ ย แขนตึง ยบุ ตัวลงในจงั หวะที่ 2 ทาอย่างน้สี ลบั กันขวาและซ้าย ทงั้ หมด 4 จงั หวะ

38

ภำพที่ 17
เนือเพลง ทานอง
อธิบำยทำ่ รำ จากนั้นวางเข่าขวาลงกลบั มาอยู่ในท่านงั่ คกุ เขา่ แยกเข่าออกเลก็ น้อย ศรี ษะเอียงซา้ ย มอื ซา้ ยจบี
คว่าระดับเอว มอื ขวาปล่อยจบี ออกแทงมอื ลง งอแขน ระดบั เอว

39

ภำพท่ี 18
เนือเพลง ทานอง
อธิบำยท่ำรำ น่ังคกุ เข่า แยกเขา่ ออกเล็กนอ้ ย ศีรษะเอยี งขวา มอื ซ้ายเลอื่ นมือขน้ึ มาระดบั ศรี ษะ ปลอ่ ยจบี
ออกเป็นสอดสูง มอื ขวาพลิกขอ้ มอื ต้ังมอื ขึ้นเป็นตง้ั วงล่าง ระดับชายพก (ท่าบวั ชูฝกั ) ยดื ตวั ข้นึ แลว้ กระทบก้น
1 คร้ัง

40

ภำพท่ี 19
เนือเพลง ทานอง
อธบิ ำยทำ่ รำ นง่ั คุกเข่า แยกเขา่ ออกเล็กนอ้ ย ศีรษะเอียงขวา มือขวาเลอ่ื นมอื ออกมาดา้ นข้างจบี ควา่ ระดบั เอว
มือซ้ายลดมือลงมาระดบั เอว งอแขน

41

ภำพที่ 20
เนือเพลง ทานอง
อธิบำยทำ่ รำ นง่ั คุกเข่า แยกเข่าออกเลก็ นอ้ ย ศีรษะเอยี งซา้ ย มอื ขวาเล่ือนมือขึ้นมาระดบั ศรี ษะ ปลอ่ ยจบี
ออกเปน็ สอดสูง มอื ซา้ ยพลกิ ขอ้ มอื ตั้งมือขึ้นเปน็ ต้งั วงล่าง ระดับชายพก (ท่าบัวชูฝกั ) ยดื ตวั ข้นึ แลว้ กระทบก้น
1 คร้ัง

42

ภำพที่ 21
เนอื เพลง ทานอง
อธบิ ำยท่ำรำ นั่งคกุ เขา่ แยกเขา่ ออกเล็กนอ้ ย เฉียงตัวไปทางด้านขวาเลก็ นอ้ ย กม้ ศรี ษะลงเล็กน้อย มอื ท้งั สอง
ขา้ งตง้ั มอื ข้นึ ดา้ นหน้า ระดบั เอว กระทบก้น 1 ครั้ง

43

ภำพท่ี 22
เนือเพลง ทานอง
อธบิ ำยทำ่ รำ นงั่ คกุ เข่า แยกเข่าออกเลก็ นอ้ ย เฉยี งตวั ไปทางดา้ นขวาเลก็ นอ้ ย ค่อยๆ เงยศีรษะขน้ึ เลก็ น้อย มอื
ทั้งสองข้างเลื่อนมาพนมมือไหวร้ ะดบั ศรี ษะ นว้ิ หวั แม่มอื จรดตีนผม เปดิ ปลายนว้ิ มอื ออก กระทบก้น 1 ครั้ง

44

ภำพท่ี 23
เนือเพลง ทานอง
อธิบำยทำ่ รำ นง่ั คุกเขา่ แยกเข่าออกเลก็ นอ้ ย จากน้นั กระทบกน้ อีก 1 ครัง้ มอื ท้งั สองขา้ งพนมมอื ไหว้ เปดิ
ปลายนวิ้ มอื ออก คอ่ ยๆ เลื่อนมือลงมาระหว่างอก หน้าตรง กระทบก้นอกี 1 คร้ัง

45

ภำพท่ี 24
เนอื เพลง ทานอง
อธบิ ำยท่ำรำ นง่ั คกุ เข่า แยกเขา่ ออกเลก็ นอ้ ย เฉียงตวั ไปทางดา้ นซ้ายเลก็ น้อย กม้ ศรี ษะลงเลก็ นอ้ ย มือท้งั สอง
ข้างพนมมอื ด้านหน้า ระดบั เอว เปดิ ปลายนวิ้ มอื ออก กระทบกน้ 1 คร้ัง

46

ภำพท่ี 25
เนอื เพลง ทานอง
อธบิ ำยทำ่ รำ นงั่ คุกเขา่ แยกเขา่ ออกเล็กนอ้ ย เฉยี งตวั ไปทางดา้ นซา้ ยเลก็ น้อย ค่อยๆ เงยศีรษะขน้ึ เล็กน้อย มอื
ท้ังสองข้างเลือ่ นมาพนมมอื ไหว้ระดบั ศีรษะ นว้ิ หัวแม่มอื จรดตีนผม เปิดปลายนิว้ มอื ออก กระทบกน้ 1 ครัง้

47

ภำพท่ี 26
เนือเพลง ทานอง
อธิบำยทำ่ รำ นง่ั คุกเขา่ แยกเข่าออกเลก็ นอ้ ย จากน้นั กระทบกน้ อีก 1 ครัง้ มอื ท้งั สองขา้ งพนมมอื ไหว้ เปดิ
ปลายนวิ้ มอื ออก คอ่ ยๆ เลื่อนมือลงมาระหว่างอก หน้าตรง กระทบก้นอกี 1 คร้ัง


Click to View FlipBook Version