The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิจัย

วิจัย

1

การพัฒนาทักษะการอ่านและการเขยี นคำมาตราตัวสะกด ของนกั ศึกษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอกันทรลักษ์ โดยใช้แบบฝึกทกั ษะ

นางสาวณัฐธยาน์ ชนาภัทรภณ
ครศู ูนย์การเรียนชุมชน

ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอกนั ทรลกั ษ์ สำนกั งานสง่ เสริม
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดศรีสะเกษ

2

บทคดั ยอ่

ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกด ของนักศึกษาระดับมัธยมศึกษา

ผวู้ จิ ัย ตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์ โดยใช้แบบฝึก
ที่ปรึกษาวิจัย ทักษะ
สถานศึกษา นางสาวณัฐธยาน์ ชนาภทั รภณ

นายชนะชาติ เตง็ ศิริ

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอกนั ทรลักษ์

การวิจัยครั้งน้ีมีความมุ่งหมายเพ่ือพัฒนาแบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทยเรื่อง การเขียนสะกดคำ
ของนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์
โดยใช้แบบฝึกทักษะกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ีเป็นนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์ จำนวน 15 คน ได้มาจากการสุ่มแบบเจาะจง ใช้
ระยะเวลาในการทดลองจำนวน 9 คาบ คาบละ 50 นาที ดำเนินการทดลองโดยใช้แบบแผนการวิจัยแบบ One –
Group Pretest Posttest Design เคร่ืองมอื ท่ใี ชใ้ นการรวบรวมข้อมลู ทีผ่ ู้วจิ ยั สรา้ งขึ้น คือ แบบฝกึ ทักษะการเขยี น
สะกดคำ และแบบทดสอบการเขียนสะกดคำ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดการเรียน
ด้วยตนเองตามเกณฑ์ 80/80 โดยใช้สูตร E1/E2 และการทดสอบค่าสถิติ t – test แบบ Dependent Samples
ผลการวิจัยพบวา่ นักศกึ ษาท่ีเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทยเรื่อง การเขยี นสะกดคำ มีผลสมั ฤทธิท์ างการ
เรียนก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 โดยนักเรียนท่ีเรียนโดยใช้แบบฝึก
ทักษะวิชาภาษาไทยเร่ือง การเขียนสะกดคำสามารถเขยี นสะกดคำไดด้ ีกว่ากอ่ นการใชแ้ บบฝึกทักษะ

สารบัญ 3

เร่อื ง หน้า
บทที่ 1
ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา 1
จุดมงุ่ หมายของการวจิ ัย 2
ขอบเขตของการวิจัย 2
ตวั แปรท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย 2
นยิ ามศพั ท์เฉพาะ 2
ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะได้รับ 3
บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กยี่ วข้อง 7-17
บทที่ 3
วธิ ดี ำเนินการศกึ ษาค้นควา้ 18-23
บทที่ 4
ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 24
บทที่ 5
สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 25-27
ภาคผนวก

4

บทท่ี 1
บทนำ
ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา
ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบัติทางวฒั นธรรม อนั ก่อให้เกิดความเป็นเอกภาพและเสริมสรา้ ง
บุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเคร่ืองมือในการติดต่อสื่อสารเพ่ือสร้างความเข้าใจ และ
ความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน ทำให้สามารถประกอบกิจธุระ การงานและดาเนินชีวิตร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยได้
อย่างสันติสุขและเป็นเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนา
ความรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคมและความก้าวหน้า
ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใชใ้ นการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็น
ส่ือแสดงภูมิปัญญาของบรรพบรุ ุษดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี สุนทรียภาพเป็นสมบัติล้ำคา่ ควรแก่การเรียนรู้ อนรุ ักษ์
และสบื สานใหค้ งอยคู่ ู่ชาตไิ ทยตลอดไป กระทรวง ศกึ ษาธิการ (2551 : 37)
ด้วยความสำคัญดังกล่าวหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุก
คน ซ่ึงเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ท่ีมีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็น
พลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมท้ังเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต
โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพ้ืนฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
กระทรวงศึกษาธิการ (2551 : 4) เด็กไทยทุกคนควรเรียนรู้และใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องทุกโอกาส ซึ่งการเรียน
การสอนภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชำนาญ ในการใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร การอ่านและการฟัง
เป็นทักษะของการรับรู้เรื่องราว ความรู้ประสบการณ์ ส่วนการพูดและการเขียนเป็นทักษะของการแสดงออกด้วย
การแสดงความคิดเห็น ความรู้และประสบการณ์ การเรียนภาษาไทยจึงต้องเรียนเพ่ือการส่ือสาร ให้สามารถรับรู้
ข้อมูลข่าวสารได้อย่างพินิจพิเคราะห์ สามารถนาความรู้ ความคิดมาเลือกใช้เรียบเรียงคามาใช้ตามหลักภาษาได้
ถกู ต้องตรงตามความหมาย กาลเทศะและใชภ้ าษาได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2549 : 80)
จากข้อมูลสภาพปัญหา ผู้วิจัยได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบในการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย ได้
ทำการทดสอบภาษาไทย ปรากฏว่าผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของนกั ศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ศนู ยก์ ารศกึ ษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอกันทรลักษ์ นักศึกษามีปญั หาทางดา้ นการเขยี นสะกดคำไมถ่ ูกตอ้ งและ
อา่ นไม่เป็น ทำใหผ้ ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั ศึกษามีผลต่อการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรูอ้ ่ืนอีกด้วย
ผ้วู ิจยั ได้ศึกษาจึงพบวา่ การใช้

5

แบบฝึกทักษะ ทำให้สามารถพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำมาตราตัวสะกด ของนักศึกษาระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์ มีพัฒนาการเรียนการ
สอนภาษาไทยมปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงขน้ึ
จดุ มุ่งหมายของการวจิ ัย

1. เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความสามารถในการอ่านและเขียนคามาตราตัวสะกด ของ
นกั ศึกษาระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอกนั ทรลักษ์

2. เพอ่ื พัฒนาแบบฝกึ ทกั ษะสาระภาษาไทย ใหม้ ีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
ขอบเขตของการวจิ ัย

1. กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์ จำนวน 15 คน ซ่ึงได้มาโดยการเลือกสุ่มแบบเจาะจง (Purposive
Sampling)

2. ระยะเวลาในการศึกษา ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการศึกษา คือ ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562 จำนวน 10
ช่วั โมง ท้ังน้ีไมร่ วมเวลาท่ีใชใ้ นการทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน

3. เน้ือหาที่ใช้ในการวิจยั ไดแ้ ก่ มาตราตัวสะกดตรงแม่ โดยใช้แบบฝกึ ทักษะ จานวน 3 แบบฝึก
ตวั แปรท่ีใชใ้ นการวิจยั

- ตวั แปรต้น ได้แก่ แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนพ้ืนฐาน
- ตวั แปรตาม ได้แก่ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นด้านการอ่านและการเขยี นคำพืน้ ฐาน
นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ
แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำพ้ืนฐาน หมายถึง แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตรา
ตัวสะกด นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทร
ลกั ษ์ ที่ผู้วิจัยสรา้ งขึ้นจำนวน 3 แบบฝึก
ประสิทธิภาพของแบบฝึก หมายถึง แบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำ นักศึกษาระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์ ท่ีมีประสิทธิภาพตาม
เกณฑ์ 80/80
80 ตัวแรก หมายถึง คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละของนักศึกษาท่ีได้จากการทำแบบทดสอบ
80 ตวั หลงั หมายถึง คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละที่ได้จากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
ดา้ นการอ่านและการเขียนสะกดคำหลังเรยี น
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความรู้ ความสามารถในการเรียนภาษาไทยของนักเรียนท่ีเรียนโดยใช้แบบฝึก
ทกั ษะการอา่ นและการเขยี นคำมาตราตัวสะกด นักศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์ ได้จากคะแนนการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการอ่านและการ
เขยี นสะกดคาท่ีผวู้ จิ ัยสรา้ งขน้ึ

6

ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ
1. ไดแ้ บบฝกึ ทักษะการอา่ นและเขียนคำมาตราตวั สะกด นักศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ศนู ย์

การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์

7

บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจัยท่เี กี่ยวข้อง
การดำเนินการวิจัยครั้งนี้ เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกดโดยใช้แบบฝึกทักษะ

นกั ศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์ โดยได้

ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กย่ี วข้อง ดงั ตอ่ ไปนี้

1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 2

2. การอา่ น
3.1 ความหมายของการอา่ น
3.2 ความสำคัญของการอ่าน

3. การเขียน
4.1 ปัญหาของการเขียน
4.2 ความสำคญั ของการเขยี น

4. แบบฝึกทักษะ
4.1 ความหมายและความสำคัญของแบบฝกึ ทักษะ
4.2 ลักษณะของแบบฝึกทักษะท่ดี ี
4.3 ประโยชนข์ องแบบฝึกทักษะ
4.4 หลกั การสรา้ งแบบฝกึ ทกั ษะ
4.5 สว่ นประกอบของแบบฝึกทักษะ
4.6 ขนั้ ตอนการสรา้ งแบบฝึกทกั ษะ

5 . งานวจิ ัยที่เก่ยี วขอ้ ง
5.1 งานวิจัยในประเทศ
5.2 งานวิจยั ตา่ งประเทศ
1.หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551
1. กำหนดสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 25551 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทยกำหนดสาระ
และมาตรฐานการเรียนร้ไู ว้ดังนี้ (กรมวิชาการ. 2545 : 3-17)

8

สาระท่ี 1 : การอา่ น
มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรูแ้ ละความคิดไปใชต้ ดั สนิ ใจแก้ปญั หาและสร้างวิสัยทศั น์

ในการดาเนินชวี ติ และมีนสิ ยั รักการอา่ น
สาระที่ 2 : การเขยี น

มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขยี น เขยี นสื่อสาร เขยี นเรียงความ ย่อความและเขียนเร่อื งราวใน
รปู แบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศ และรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างมีประสิทธิภาพ
สาระที่ 3 : การฟัง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงั และดูอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ความคดิ ความรสู้ ึกใน
โอกาสต่าง ๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์
สาระที่ 4 : หลักการใช้ภาษา

มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษา และพลังของ
ภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ

มาตรฐาน ท 4.2 สามารใช้ภาษาแสวงหาความรู้ เสรมิ สรา้ งลักษณะนสิ ัยบคุ ลิกภาพและความสมั พนั ธ์
ระหว่างภาษากบั วัฒนธรรม อาชพี สังคม และชีวิตประจำวัน
สาระที่ 5 : วรรณคดีและวรรณกรรมไทย

มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทย อย่างเหน็ คุณคา่
และนามาประยุกตใ์ ช้ในชีวติ จริง
2. คุณภาพผเู้ รยี น

เมอ่ื เรียนจบหลกั สตู รการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทยแล้ว ผเู้ รียนตอ้ งมคี วามรู้
ความสามารถ คุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยม (กรมวชิ าการ. 2545 : 9-13) ดังนี้

2.1 สามารถใชภ้ าษาส่ือสารได้อย่างดี
2.2 สามารถอ่าน เขียน ฟงั ดู และพูดไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
2.3 มคี วามคิดสร้างสรรค์ คิดอยา่ งมเี หตผุ ล และคิดเปน็ ระบบ
2.4 มีนิสัยรักการอา่ น การเขียน การแสวงหาความรู้และใช้ภาษาไทยในการพัฒนาตน และสรา้ งสรรค์งาน
อาชพี
2.5 ตระหนักในวัฒนธรรมการใช้ภาษาและความเป็นไทยภูมิใจและช่ืนชมในวรรณคดีและวรรณกรรมซ่ึง
เป็นภูมปิ ัญญาของคนไทย
2.6 สามารถนาทักษะทางภาษามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้องตาม
สถานการณ์และบุคคล
2.7 มมี นุษยสัมพันธ์ท่ดี แี ละสรา้ งความสามัคคใี นความเปน็ ชาตไิ ทย

9

2.8 มีคุณธรรม จริยธรรม วิสัยทัศน์ โลกทัศน์ที่กว้างไกลและลึกซึ้งเมื่อจบแต่ละช่วงช้ัน ผู้เรียนต้องมี
ความรู้ ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมตามที่กำหนด ในช่วงช้ันที่ 3 ต้องมีความรู้ความสามารถ
และคณุ ธรรม และค่านยิ มดังนี้

1. อ่านอยา่ งมีสมรรถภาพและอา่ นไดเ้ รว็ ยงิ่ ขึ้น
2. เขา้ ใจวงคำศพั ท์ที่กว้างข้ึน สำนวนและโวหารที่ลกึ ซึ้ง แสดงความคิดเห็นเชงิ วิเคราะห์ ประเมนิ คา่ เร่ืองท่ี
อา่ นอยา่ งมีเหตผุ ล
3. เลอื กอา่ นหนงั สือและสอื่ สารสนเทศจากแหล่งเรียนรู้ได้กวา้ งขวางตามจุดประสงค์
4. เขียนเรยี งความ ย่อความ และจดหมาย เขียนอธิบาย ช้ีแจงรายงาน เขยี นแสดงความคดิ เหน็ แสดงการ
โต้แยง้ และเขียนเชงิ สรา้ งสรรค์
5. สรปุ ความ จับประเด็นสำคญั วิเคราะห์วนิ ิจฉัยข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และจุดประสงค์ของเร่ืองที่ฟังและ
ดู
6. รู้จักเลือกใช้ภาษาเรียบเรียงข้อความ ได้อย่างประณีต จัดลาดับความคิด ข้ันตอนในการนาเสนอตาม
รปู แบบของงานเขยี นประเภทตา่ ง ๆ
7. พูดนาเสนอความรู้ ความคิด การวิเคราะห์และการประเมินเร่ืองราวต่าง ๆ พูดเชิญชวน อวยพร และ
พดู ในโอกาสต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
8. เข้าใจธรรมชาติของภาษาและการนาภาษาต่างประเทศมาใชใ้ นภาษาไทย
9. ใช้ภาษาแสดงความคิดเห็น สร้างความเข้าใจ โน้มน้าวใจ ปฏิเสธ เจรจาต่อรองด้วยภาษาและกิริยา
ทา่ ทางที่สภุ าพ
10. ใช้ทักษะทางภาษาในการแสวงหาความรู้ การทางาน และใช้อยา่ งสรา้ งสรรค์เปน็ ประโยชน์
11.ใช้หลักการพินิจวรรณคดีและวรรณกรรมพิจารณ าวรรณ คดีและวรรณกรรมให้เห็นคุณ ค่าและน ำ
ประโยชน์ไปใชใ้ นชีวิต
12. แต่งกาพย์ กลอน และโคลง
13. ทอ่ งจำบทรอ้ ยกรองท่ีไพเราะ และนาไปใช้กลา่ วอา้ งในการพูดและการเขยี น
14. รอ้ งเล่นหรอื ถ่ายทอดเพลงพ้นื บา้ นและบทกลอ่ มเดก็ ในทอ้ งถิ่น
15. มมี ารยาทในการอ่าน การเขยี น การฟัง การดู และการพดู
16. มีนสิ ยั รักการอา่ น การเขียน
3. การอา่ น
การอ่านเป็นทกั ษะทางภาษาที่สำคัญและจาเป็นมากในการดารงชวี ิตของมนุษย์ ในชวี ิตประจาวันต้อง
อาศัยการอา่ นจึงจะสามารถเขา้ ใจและสื่อความหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1 ความหมายของการอา่ น
ฉวลี ักษณ์ บุญกาญจน (2547 : 3) ได้ให้ความหมายของการอ่าน คอื การบรโิ ภคคา ที่ถูกเขียนออกมาเป็น
ตวั หนังสอื หรอื สญั ลักษณ์ โดยมีกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ท่ีเรม่ิ จาก “แสง”

10

ท่ีถูกสะท้อนมาจากตัวหนังสือ ผ่านเลนส์นัยน์ตาและประสาทตา เข้าสู่เซลสมองไปเป็นความคิด (Idea) ความรบั รู้
(Perception) และความจำ ทง้ั ระยะสน้ั และระยะยาว
สรุปความหมายของการอา่ น หมายถึง การเข้าใจความหมายของคา ประโยค ข้อความ และเรื่องท่ีอา่ น และเร่ืองที่
อ่านมีความสำคัญต่อประเทศชาติและพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้า ผู้ที่อ่านมากนอกจากได้รับความรู้อย่างกวางขว้าง
แล้ว ยังทาให้ผ่อนคลายความเครียด ซ่ึงเป็นประโยชน์ที่ได้รับจากการอ่านน่ันเอง การอ่านเป็นกระบวนการทาง
สมองที่ต้องใช้สายตาสัมผัสตัวหนังสือหรือส่ิงพิมพ์อ่ืนๆ รับรู้และเข้าใจความหมายของคำ ที่ใช้สื่อความคิด ความรู้
ความเข้าใจ ระหวา่ งผูเ้ ขยี นกบั ผอู้ ่าน ให้เขา้ ใจตรงกันและผูอ้ า่ นสามารถนำเอาความหมายนนั้ ๆ ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้

3.2 ความสำคัญของการอ่าน
วรรณี โสมประยูร (2544 : 121-123) ได้อธิบายถึงความสำคัญของการอ่านหนังสือมีผลต่อผู้อ่าน 2
ประการ คือ ประการแรก อ่านแล้วได้ “อรรถ” ประการท่ีสอง อ่านแล้วได้ “รส” ถ้าผู้อ่านสานึกอยู่ตลอดเวลาถึง
ผลสำคัญของสองประการนี้ ย่อมจะได้รับประโยชน์อย่างเต็มท่ีจากหนังสือตรงตามเจตนารมณ์ของผู้เขียนเสมอ
การอ่านมคี วามสำคัญต่อทกุ คนทุกเพศทุกวัยและทกุ สาขาอาชพี ซง่ึ พอสรปุ ได้ดงั นี้
3.2.1 การอ่านเป็นเคร่ืองมือที่สำคัญย่ิงในการศึกษาเล่าเรียนทุกระดับ ผู้เรียนจาเป็นต้องอาศัยทักษะการ
อ่านทาความเข้าใจเนือ้ หาสาระของวชิ าการตา่ งๆ เพอ่ื ใหต้ นเองได้รบั ความรแู้ ละประสบการณ์ตามท่ีต้องการ
3.2.2 ในชวี ติ ประจำวนั โดยทวั่ ไป คนเราต้องอาศัยการอ่านตดิ ตอ่ สอื่ สาร เพอื่ ทาความเข้าใจกบั บุคคลอนื่
รว่ มไปกบั ทักษะการฟงั การพูด การเขียน ทั้งในดา้ นภารกจิ ส่วนตัวและการประกอบอาชีพการงานต่างๆ ในสังคม
3.2.3 การอ่านสามารถช่วยให้บุคคลสามารถนาความรู้และประสบการณ์จากสิ่งที่อ่านไปปรับปรุง และ
พัฒนาอาชีพหรือธุรกิจการงานท่ตี วั เองกระทาอยู่ใหเ้ จริญก้าวหนา้ และประสบความสำเร็จได้ในที่สดุ
3.2.4 การอา่ นสามารถสนองความตอ้ งการพ้ืนฐานของบคุ คลในดา้ นต่างๆ ไดเ้ ปน็ อย่างดี เช่น ช่วยให้ความ
มนั่ คงปลอดภัย ชว่ ยใหไ้ ด้รบั ประสบการณใ์ หม่ ช่วยให้เป็นทย่ี อมรับของสังคม ช่วยใหม้ เี กียรติยศและชื่อเสียง ฯลฯ
3.2.5 การอ่านทั้งหลายจะส่งเสริมให้บุคคลได้ขยายความรู้และประสบการณ์เพ่ิม ขึ้นอย่างลึกซ้ึงและ
กว้างขวาง ทำให้เป็นผู้รอบรู้ เกิดความม่ันใจในการพูดปราศรัย การบรรยายหรืออภิปรายปัญหาต่างๆ นับว่าเป็น
การเพม่ิ บคุ ลกิ ภาพและความน่าเชื่อถือให้แกต่ ัวเอง
3.2.6 การอา่ นหนงั สือหรือส่ิงพมิ พ์หลายชนดิ นบั วา่ เป็นกิจกรรมนันทนาการทน่ี า่ สนใจมาก เช่น อา่ น
หนงั สือพมิ พ์ นติ ยสาร วารสาร นวนยิ าย การ์ตนู ฯลฯ เปน็ การช่วยให้บคุ คลรจู้ ักใช้เวลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ และ
เกิดความเพลดิ เพลินสนุกสนานได้เป็นอย่างดี

11

3.2.7 การอ่านเรือ่ งราวต่างๆ ในอดีต เชน่ อ่านศิลาจารึก ประวตั ิศาสตร์เอกสารสำคัญ วรรณคดี ฯลฯ จะ
ชว่ ยใหอ้ นชุ นรนุ่ หลังรูจ้ กั อนุรักษม์ รดกทางวฒั นธรรมของคนไทยเอาไวแ้ ละสามารถพัฒนาให้เจริญรุ่งเรืองต่อไปได้

สรุปความสำคัญของการอ่านว่าเป็นเครื่องมือที่สำคัญย่ิงในการแสวงหาความรู้ การเรียนรู้ และพัฒนา
สตปิ ญั ญาของคนในสังคม พัฒนาไปสสู่ ิง่ ท่ีดีท่สี ุดในชีวิต
4. การเขียน

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (2550 : ภาคผนวก 2/8) ได้ให้ความหมายการเขียนว่าหมายถึง
การส่ือสารด้วยตัวอักษรเพ่ือถ่ายทอดความรู้ ความคิด อารมณ์ ความรู้สึก ประสบการณ์ ข่าวสารและจิตนาการ
โดยการใช้ภาษาท่ีถูกต้องเหมาะสมตามหลักการใช้ภาษาและตรงตามเจตนาของผู้เขียน สรุปการเขียนสะกดคำมี
ความสำคัญตอ่ การดำรงชีวิตประจาวัน และความเปน็ อยูข่ องบุคคลในปัจจบุ ัน เพราะการเขียนสะกดคำที่ถูกจะช่วย
ให้ผู้เขียน อ่านและเขียนหนังสือได้ถูกต้อง สื่อความหมายได้แจ่มชัดและมีความม่ันใจในการเขียนทำให้ผลงานท่ี
เขียนมีคุณคา่ เพ่ิมขน้ึ นอกจากนยี้ ังอาจจะเปน็ ตัวบง่ ชถ้ี ึงคุณภาพการศกึ ษาของบุคคลนน้ั อีกด้วย

4.1 ปัญหาของการเขยี น
การเขียนสะกดคำเปน็ ปัญหาทสี่ ำคัญของนักเรยี นและครสู อนไม่ตรงมาตราตวั สะกดผิด เขยี นคาท่ีมตี ัว
การนั ต์ผดิ คาที่สระเสยี งสน้ั และเสยี งยาวเขยี นสลบั กัน เขยี นคาควบกล้าผิด เขียนพยญั ชนะบางตวั ในคำเบียดกนั
บางตวั หา่ งออกไป และเขียนคำ ท่ีมาจากภาษาต่างประเทศผิด
3. เว้นวรรคตอนยอ่ หนา้ ไมถ่ ูกตอ้ ง
4. ใชค้ าไมเ่ หมาะสม นาภาษาพูดมาใช้เปน็ ภาษาเขียน
5. เขยี นคาทใี่ ช้อักษรย่อไมถ่ ูกต้อง
6. ลาดับความคดิ ในการเขยี นไมไ่ ด้
7. ลายมืออา่ นยาก
8. ไม่มีความคิดในการเขียน
จากปญั หาที่กลา่ วมาข้างต้น จะเหน็ ไดว้ า่ ปัญหาทส่ี ำคัญของการเขียนสะกดคาผิดขึ้นอยู่กบั ครูผสู้ อนตัว
นกั เรยี นเองและวธิ ีการสอนของครู ดังน้ันผู้ท่ีเก่ียวข้องจงึ ควรตระหนกั ถงึ
ปญั หาเหลา่ นั้นเปน็ สำคญั
4.2 ความสำคัญของการสอนเขยี น
การเขยี นนบั วา่ เปน็ สิง่ จำเป็นอย่างยงิ่ ในการส่ือความหมาย อย่างหนึง่ ของมนษุ ยส์ ามารถตรวจสอบไดแ้ ละ
คงทนถาวร ซง่ึ มีนักการศึกษาได้ใหค้ วามสำคญั ของการเขียนไว้ดงั นี้

12

เรวดี อาษานาม (2537 : 151) ได้สรุปความสำคัญของการเขียนไว้ ดังน้ี คือเด็กที่มีความสามารถในการอ่านและ
ประสบความสำเรจ็ ในการเขียนมาก จะมีจินตนาการในการใช้ภาษาได้ดีเพราะได้มีโอกาสเรียนรู้แนวทางการใช้คา
ต่างๆ จากสานวนภาษาในหนังสือต่างๆที่อ่านพบ โดยปกติครูมักสอนให้เด็กอ่านได้ก่อนจึงให้เขียนคำท่ีตนอ่านได้
แต่ทักษะในการเขียนเป็นทักษะท่ีสลับซับซ้อนกว่าทักษะอ่ืน เด็กจึงจำเป็นต้องมีความพร้อมโดยฝึกทักษะการฟัง
การพดู และการอ่านไดก้ อ่ นแลว้ จึงเริม่ ทักษะการเขยี น มุ่งเน้นทกั ษะพน้ื ฐานในการเขียนและย่ัวยุให้เขยี นดว้ ยความ
สนุกสนาน ไม่เบื่อโดยจดั กจิ กรรมต่างๆ ใหฝ้ กึ จากงา่ ยไปหายากและให้สมั พนั ธก์ บั การพูดและอ่าน

4.3 จุดมงุ่ หมายของการเขยี น
วรรณี โสมประยูร (วิมลรัตน์ สนุ ทรโรจน์. 2549 : 103 ) ได้อธบิ าย จดุ มงุ่ หมาย การสอนภาษาไทย ดังน้ี
1.เพอื่ คดั ลายมือหรอื เขียนให้ถูกต้องตามลักษณะตวั อักษรใหเ้ ปน็ ระเบียบชัดเจนหรอื เข้าใจง่าย
2. เพอ่ื เปน็ การฝกึ ทักษะการเขียนให้พัฒนางอกงามขน้ึ ตามควรแก่วยั
3. เพือ่ ให้การเขียนสะกดคาถูกตอ้ งตามอักขรวธิ ี เขียนวรรคตอนถูกตอ้ ง
4. เพ่อื ใหร้ ู้จกั ภาษาเขียนท่ีดี มคี ุณภาพเหมาะสมกบั บุคคลและโอกาส
5. เพื่อให้สามารถรวบรวมและลาดับความคิด แลว้ จดบนั ทึก สรุปและย่อใจความเร่ืองท่ีอา่ นหรอื ฟังได้
6. เพื่อให้สามารถสังเกตจดจาและเลอื กเฟน้ ถ้อยคาหรอื สานวนโวหาร
ใหถ้ ูกต้อง
7. เพือ่ ให้มีทักษะการเขยี นประเภทตา่ งๆ
8. เพื่อเปน็ การใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์
9.เพอื่ ให้เหน็ ความสำคัญและคณุ คา่ ของการเขยี นว่ามีประโยชนต์ อ่ การประกอบอาชีพการศกึ ษาหาความรู้
และอ่นื ๆ
5. แบบฝกึ ทกั ษะ
5.1 ความหมายและความสาคญั ของแบบฝึกทักษะ
วรรณภา ไชยวรรณ (2549 : 40) ได้สรุปความหมายและความสำคัญของแบบฝึกได้ว่า แบบฝึก คือ
แบบฝึกหัด หรือชุดฝึกท่ีครจู ัดให้นักเรยี น เพื่อให้มีทักษะเพ่มิ ข้ึนหลงั จากที่ได้เรยี นรู้เรื่องนน้ั ๆ มาบ้างแล้ว โดยแบบ
ฝึกต้องมีทิศทางตรงตามจุดประสงค์ ประกอบกิจกรรมที่น่าสนใจและสนุกสนาน ผู้วิจัยได้ศึกษาความหมายและ
ความสำคัญของแบบฝึกทักษะแล้วพอสรุปได้ว่า แบบฝึกทักษะ หมายถึง ชุดฝึกทักษะท่ีครูสร้างขึ้นให้นักเรียนได้
ทบทวนเน้ือหาทเี่ รียนรมู้ าแลว้ เพอ่ื สร้างความเขา้ ใจ และชว่ ยเพม่ิ ทกั ษะความชำนาญและฝกึ กระบวนการคิดให้มาก
ขน้ึ ทำใหค้ รูทราบความเข้าใจของนกั เรยี นที่

13

มตี อ่ บทเรียน ฝกึ ใหเ้ ด็กมีความเช่อื ม่นั และสามารถประเมนิ ผลของตนเองได้ ทัง้ ยงั มปี ระโยชน์ชว่ ยลดภาระการสอน
ของครู และยงั ชว่ ยพฒั นาตามความแตกตา่ ง
5.2 ลักษณะของแบบฝึกที่ดี

แบบฝึกเป็นเคร่ืองมอื ท่ีสำคัญท่ีจะชว่ ยเสริมสร้างทักษะให้แก่ผ้เู รียน การสร้างแบบฝึกให้มปี ระสทิ ธิภาพจึง
จาเป็นจะตอ้ งศกึ ษาองค์ประกอบและลักษณะของแบบฝกึ เพ่อื ใชใ้ ห้เหมาะสมกับระดบั ความสามารถของนักเรียน
วรรณภา ไชยวรรณ (2549 : 43) ได้อธิบายถึงลักษณะของแบบฝึกท่ีดี คือ ควรมีความหลากหลายรูปแบบ เพื่อ
ไม่ใหเ้ กดิ ความเบ่อื หนา่ ย และตอ้ งมีลกั ษณะทีเ่ ร้า ย่ัวยุ จูงใจ ไดใ้ ห้
คิดพิจารณา ได้ศึกษาค้นคว้าจนเกิดความรู้ ความเข้าใจทักษะ แบบฝึกควรมีภาพดึงดูดความสนใจเหมาะสมกับวัย
ของผู้เรยี นตรงกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ มีเนื้อหาพอเหมาะ
สรุปลักษณะของแบบฝึกท่ีดีเป็นแบบฝึกท่ีดีและมีประสิทธิภาพ ช่วยทาให้นักเรียนประสบความสำเร็จในการฝึก
ทักษะได้เป็นอย่างดี และแบบฝึกที่ดีเปรียบเสมือนผู้ช่วยที่สำคัญของครู ทาให้ครูลดภาระการสอนลงได้ ทำให้
ผู้เรียนพัฒนาความสามารถของตนเพื่อความมั่นใจในการเรียนได้เป็นอย่างดี ดังน้ันครูยังจาเป็นต้องศึกษาเทคนิค
วิธีการ ข้ันตอนในการฝึกทักษะต่างๆ มีประสิทธิภาพท่ีสุด อันส่งผลให้ผู้เรียนมีการพัฒนาทักษะต่างๆ ได้อย่าง
เต็มท่ีและแบบฝึกท่ีดีนั้นจะต้องคำนึงถึงองค์ประกอบหลายๆด้าน ตรงตามเน้ือหา เหมาะสมกับวัย เวลา
ความสามารถ ความสนใจ และสภาพปัญหาของผู้เรียน
5.3 ประโยชน์ของแบบฝึกทักษะ

สวุ ทิ ย์ มูลคา และสุนันทา สุนทรประเสรฐิ (2550 : 53 - 54) ไดส้ รุปประโยชนข์ องแบบฝึกทกั ษะไดด้ งั นี้
1. ทำใหเ้ ข้าใจบทเรยี นดีข้ึน เพราะเปน็ เครอื่ งอำนวยประโยชน์ในการเรียนรู้
2. ทำให้ครูทราบความเข้าใจของนักเรยี นท่มี ีต่อบทเรยี น
3. ฝกึ ใหเ้ ด็กมีความเช่ือมนั่ และสามารถประเมนิ ผลของตนเองได้
4. ฝกึ ใหเ้ ดก็ ทำงานตามลาพัง โดยมคี วามรับผดิ ชอบในงานที่ไดร้ บั มอบหมาย
5. ชว่ ยลดภาระครู
6. ชว่ ยใหเ้ ดก็ ฝกึ ฝนไดอ้ ย่างเต็มท่ี
7. ชว่ ยพฒั นาตามความแตกต่างระหวา่ งบุคคล
8. ชว่ ยเสริมให้ทกั ษะคงทน ซ่ึงลักษณะการฝึกเพ่ือชว่ ยใหเ้ กิดผลดังกล่าวนัน้ ไดแ้ ก่

8.1 ฝกึ ทันทีหลังจากทเ่ี ด็กไดเ้ รียนรใู้ นเรอื่ งนั้นๆ
8.2 ฝกึ ซ้าหลายๆครง้ั
8.3 เน้นเฉพาะในเร่ืองทผี่ ดิ
9. เป็นเคร่ืองมือวัดผลการเรยี นหลังจากจบบทเรยี นในแตล่ ะคร้ัง
10. ใช้เป็นแนวทางเพ่ือทบทวนดว้ ยตนเอง

14

11. ชว่ ยใหค้ รูมองเหน็ จุดเด่นหรอื ปญั หาต่างๆของเด็กไดช้ ัดเจน
12. ประหยดั ค่าใชจ้ ่ายแรงงานและเวลาของครู
สรุปได้ว่าแบบฝึกมีความสำคัญ และจำเป็นต่อการเรยี นทักษะทางภาษามาก เพราะจะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจ
บทเรียนได้ดีขึ้น สามารถจดจำเน้ือหาในบทเรียนและคาศัพท์ต่างๆ ได้คงทน ทำให้เกิดความสนุกสนาน ในขณะ
เรยี นทราบความกา้ วหน้าของตนเอง และครูมองเหน็ จุดเด่นหรอื ปญั หาต่างๆ ของเด็กได้ชัดเจน สามารถนาแบบฝึก
ทักษะมาทบทวนเนื้อหาเดิมด้วยตนเอง ตลอดจนสามารถทราบข้อบกพร่องของนักเรียนและนำไปปรับปรุงได้
ทันท่วงที ซง่ึ จะมีผลทาใหค้ รูประหยดั เวลา ประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ย
5.4 หลกั การสรา้ งแบบฝกึ
สุวทิ ย์ มูลคา และสนุ ันทา สนุ ทรประเสริฐ (2550 : 54 - 55) ได้สรุปหลักในการสร้างแบบฝกึ วา่ ตอ้ งมีการ
กำหนดเงื่อนไขทจี่ ะช่วยให้ผเู้ รียนทุกคนสามารถผ่านลำดับขัน้ ตอนของทุกหน่วยการเรียนได้ ถา้ นกั เรยี นได้เรียน
ตามอัตราการเรยี นของตนกจ็ ะทาให้นักเรียนประสบความสำเร็จมากข้ึน
5.5 สว่ นประกอบของแบบฝึก
สุวทิ ย์ มลู คา และสุนันทา สุนทรประเสรฐิ (2550 : 61 - 62) ไดก้ ำหนดสว่ นประกอบของแบบฝึกทักษะได้
ดงั น้ี
1. คู่มอื การใช้แบบฝึก เปน็ เอกสารสำคญั ประกอบการใช้แบบฝกึ วา่ ใช้
เพื่ออะไรและมวี ิธใี ช้อย่างไร เช่น ใชเ้ ป็นงานฝึกท้ายบทเรยี น ใช้เปน็ การบ้าน หรอื ใชส้ อนซ่อมเสริมประกอบด้วย
- สว่ นประกอบของแบบฝึก จะระบุวา่ ในแบบฝกึ ชดุ นี้ มแี บบฝกึ ทัง้ หมดกี่ชดุ อะไรบ้าง และมสี ่วนประกอบ
อน่ื ๆ หรอื ไม่ เช่น แบบทดสอบ หรอื แบบบนั ทึกผล
การประเมิน
- สงิ่ ทคี่ รูหรือนกั เรียนต้องเตรียม (ถ้ามี) จะเป็นการบอกให้ครหู รือนักเรยี นเตรียมตัวใหพ้ ร้อมลว่ งหน้าก่อน
เรยี น
- จุดประสงค์ในการใชแ้ บบฝึก
- ขน้ั ตอนในการใช้ บอกขอ้ ตามลำดบั การใช้ และอาจเขียน
ในรปู แบบของแนวการสอนหรือแผนการสอนจะชัดเจนยิ่งขึ้น
- เฉลยแบบฝึกในแต่ละชดุ
2. แบบฝกึ เปน็ สือ่ ท่สี ร้างข้นึ เพ่อื ให้ผเู้ รยี นฝกึ ทกั ษะ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้
ทถี่ าวรควรมีองคป์ ระกอบ ดังน้ี
- ช่อื ชดุ ฝกึ ในแตล่ ะชุดยอ่ ย
- จดุ ประสงค์
- คำส่งั
- ตวั อยา่ ง

15

- ชดุ ฝึก
- ภาพประกอบ
- ขอ้ ทดสอบก่อนและหลังเรียน
- แบบประเมินบันทึกผลการใช้
5.6 รปู แบบการสร้างแบบฝึก
สุวิทย์ มูลคา และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2550 : 62 - 64) ได้เสนอแนะรูปแบบการสร้างแบบฝึก โดย
อธิบายว่าการสร้างแบบฝึกรูปแบบก็เป็นสิ่งสำคัญในการที่จะจูงใจให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติแบบฝึกจึงควรมี
รูปแบบท่ีหลากหลาย มิใช่ใช้แบบเดียวจะเกิดความจาเจน่าเบ่ือหน่าย ไม่ท้าทายให้อยากรู้อยากลองจึงขอเสนอ
รูปแบบท่ีเป็นหลักใหญ่ไว้ก่อน ส่วนผสู้ รา้ งจะนำไปประยุกต์ใช้ ปรบั เปลี่ยนรูปแบบอืน่ ๆ ก็แลว้ แต่เทคนิคของแต่ละ
คน ซึง่ จะเรียงลำดับจากง่ายไปหายาก ดงั น้ี
1.แบบถกู ผิด เปน็ แบบฝึกท่ีเป็นประโยคบอกเล่า ใหผ้ ู้เรียนอา่ นแล้วใส่เคร่อื งหมายถูกหรอื ผิดตามดุลยพินิจ
ของผู้เรียน
2. แบบจับคู่ เป็นแบบฝึกท่ีประกอบด้วยตัวคำถามหรือตัวปัญหา ซ่งึ เป็นตัวยืนไว้ในสดมภ์ซ้ายมือ โดยมีที่
ว่างไว้หน้าข้อเพื่อให้ผู้เรียนเลือกหาคำตอบท่ีกำหนดไว้ในสดมภ์ขวามือมาจับคู่กับคาถามให้สอดคล้องกัน โดยใช้
หมายเลขหรือรหัสคำตอบไปวางไว้ท่ีว่างหน้าขอ้ ความหรอื จะใชก้ ารโยงเสน้ ก็ได้
3. แบบเติมคำหรือเติมข้อความ เป็นแบบฝึกที่มีข้อความไว้ให้ แต่จะเว้นช่องว่างไว้ให้ผู้เรียนเติมคาหรือ
ขอ้ ความทีข่ าดหายไป ซึ่งคาหรือขอ้ ความที่นามาเติมอาจให้เติมอย่างอสิ ระหรือกำหนดตัวเลอื กให้เติมกไ็ ด้
4. แบบหมายตัวเลือก เป็นแบบฝึกเชิงแบบทดสอบ โดยจะมี 2 ส่วน คือส่วนท่ีเป็นคำถาม ซึ่งจะต้องเป็น
ประโยคคำถามท่ีสมบูรณ์ ชัดเจนไม่คลุมเครือ ส่วนท่ี 2 เป็นตัวเลือก คือคาตอบซ่ึงอาจจะมี 3-5 ตัวเลือกก็ได้
ตวั เลอื กทงั้ หมดจะมตี วั เลือกท่ถี กู ทส่ี ดุ เพียงตัวเลอื กเดียวสว่ นทเ่ี หลอื เปน็ ตวั ลวง
5. แบบอัตนัย คือความเรียงเป็นแบบฝึกที่ตัวคำถาม ผู้เรียนต้องเขียนบรรยายตอบอย่างเสรีตามความรู้
ความสามารถ โดยไม่จากัดคำตอบ แตก่ ำจัดคำตอบ แต่จากัดในเรอื่ งเวลา อาจใช้คาถามในรปู ท่ัวๆ ไป หรือเปน็ คา
สั่งใหเ้ ขยี นเรอ่ื งราวตา่ งๆ กไ็ ด้
สวุ ทิ ย์ มูลคา และสุนนั ทา สนุ ทรประเสริฐ (2550 : 65) ได้เสนอแนะการสรา้ งแบบฝึกว่า ขั้นตอนการสรา้ ง
แบบฝกึ จะคลา้ ยคลึงกบั การสรา้ งนวตั กรรมทางการศึกษาประเภทอื่นๆ ซึ่งมีรายละเอียดดงั นี้
1. วิเคราะหป์ ัญหาและสาเหตุจากการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน เช่น
- ปัญหาทีเ่ กิดขึ้นในขณะทาการสอน
- ปัญหาการผา่ นจดุ ประสงค์ของนักเรียน
- ผลจากการสังเกตพฤติกรรมท่ีไม่พงึ ประสงค์

16

- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2. ศกึ ษารายละเอียดในหลักสูตร เพื่อวิเคราะห์เน้ือหา จดุ ประสงค์และกิจกรรม
3. พิจารณาแนวทางแก้ปัญหาท่ีเกิดขนึ้ จากข้อ 1 โดยการสร้างแบบฝึก และเลอื กเนื้อหาในส่วนทีจ่ ะสรา้ ง
แบบฝกึ นั้น วา่ จะทาเรื่องใดบ้าง กำหนดเปน็ โครงเรื่องไว้
4. ศึกษารูปแบบของการสร้างแบบฝึกจากเอกสารตัวอยา่ ง
5. ออกแบบชดุ ฝึกแตล่ ะชดุ ให้มีรปู แบบที่หลากหลายนา่ สนใจ
6. ลงมอื สร้างแบบฝกึ ในแตล่ ะชุดพร้อมทง้ั ขอ้ ทดสอบกอ่ นและหลงั เรียนใหส้ อด
คล้องกับเนอื้ หาและจุดประสงค์การเรียนรู้
7. ส่งใหผ้ เู้ ชีย่ วชาญตรวจสอบ
8. นำไปทดลองใช้ แลว้ บันทึกผลเพอื่ นามาปรบั ปรงุ แก้ไขส่วนทบี่ กพร่อง
9. ปรับปรุงจนมีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ที่ต้ังไว้
10. นำไปใช้จริงและเผยแพร่ต่อไป
ถวลั ย์ มาศจรัส และคณะ (2550 : 21) ได้อธิบายขนั้ ตอนการสร้างแบบฝึกทักษะ ดงั น้ี
1. ศกึ ษาเน้ือหาสาระสำหรับการจดั ทาแบบฝกึ หดั แบบฝึกทักษะ
2. วเิ คราะหเ์ น้ือหาสาระโดยละเอยี ดเพ่ือกำหนดจุดประสงค์ในการจดั ทา
3. ออกแบบการจัดทำแบบฝึกหัด แบบฝกึ ทกั ษะตามจุดประสงค์
4. สรา้ งแบบฝกึ หดั และแบบฝึกทกั ษะและส่วนประกอบอ่ืนๆ เช่น

4.1 แบบทดสอบก่อนฝึก
4.2 บตั รคำส่ัง
4.3 ขน้ั ตอนกิจกรรมทผ่ี ้เู รยี นตอ้ งปฏบิ ตั ิ
4.4 แบบทดสอบหลังฝึก
5. นำแบบฝึกหดั แบบฝกึ ทักษะไปใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
6. ปรบั ปรงุ พัฒนาใหส้ มบรู ณ์
6. งานวิจัยทเ่ี กยี่ วข้อง
6 .1 งานวจิ ัยในประเทศ
สมใจ นาคศรีสังข์ (2549 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาค้นคว้า เร่อื ง การสร้างแบบฝึกการอ่านและเขียนสะกดคำ
จากแหล่งเรียนรู้ในท้องถ่ิน ชั้นประถมศึกษาท่ีปี 4 โรงเรียนตลาดเกาะแรต สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษานครปฐม
เขต 2 ในปีการศึกษา 2549 จานวน 21 คน พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึนกว่าเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ แบบ
ฝึกทักษะมีประสิทธิภาพ 83.98/84.46 และผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อแบบฝึกทักษะโดย
ภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด สรุปผลการศึกษางานวิจัยในประเทศแสดงให้เห็นความสำคัญของการจัดกิจกรรม
การพฒั นา

17

การอา่ นและการเขียนสะกดคำ เพราะแบบฝกึ ทักษะเป็นสิ่งสำคัญในการพฒั นาการเรียนรู้ ทำให้การจัดกจิ กรรม
การเรียนการสอนประสบความสำเรจ็ ตามจดุ มงุ่ หมายของหลกั สูตรอย่างมีประสทิ ธิภาพ

6.2 งานวิจยั ตา่ งประเทศ
เบาชาร์ด (Bouchard. 2002 : Web Site) ไดศ้ กึ ษาความร้เู ร่อื งคาของนักเรียน ชั้นประถมศกึ ษาปี
ที่ 3 จากความผิดพลาดในการอ่านกับการสะกดคำแม้ว่าเขามีความพยายามอย่างมากระหว่างการอ่านและการ
สะกดคำ แต่การปฏิบัติงานการอ่านและการสะกดคำของนักเรียนก็มักจะยังแสดงให้เห็นความแตกต่างอย่างมี
นัยสำคัญในความถูกต้องและความผิดพลาดของคำ การวิจัยครั้งนี้ได้ศึกษาการสะกดคำตามความรู้เรื่องคำเชิง
พฒั นาใน 4 ดา้ น ผลการวิเคราะห์พบว่าการปฏิบัติงานการอ่านของนักเรยี นดีกวา่ การปฏิบัติงานการสะกดคำอย่าง
มนี ยั สำคัญและพบวา่ มผี ลของรายงานอย่างมนี ัยสำคัญต่อระดับความรเู้ ร่ืองของคำของนักเรยี น ความผดิ พลาดดา้ น
การอ่านและการเขียนสะกดคำของนักเรียนต่อไปพบว่า ความผิดพลาดเก่ียวข้องกับลักษณะทางอักขรวิธีท่ี
เหมือนกันในทุกงานในท่ีสุด จากการศึกษาการให้คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการสะกดคำและความรู้เรอ่ื งคำของทักษะ
ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ของครพู บวา่ การให้คะแนนมคี วามสัมพันธ์อยา่ งมนี ัย สำคัญกบั การปฏิบัติจรงิ ของนักศึกษา
ในผลสัมฤทธ์ิทางการสะกดคำและความรู้เรื่องคำ แต่ก็ยังไม่เพียงพอสำหรับการตัดสินใจในการสอน จากการ
ค้นคว้างานวิจัยท่ีเก่ียวข้องที่กล่าวมาข้างต้น ทำให้ทราบว่าความสามารถในการอ่านและการ เขียนของนักเรียน
เกดิ จากวิธีสอนของครูและส่ือการเรียนการสอนท่ีชว่ ยใหน้ ักเรียนเกิดการเรียนรไู้ ดด้ ยี ง่ิ ข้นึ ผูร้ ายงานไดศ้ ึกษาค้นคว้า
เพ่ือพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านและการเขียนสะกดคำ ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการอ่านและการเขียนให้มี
ประสิทธิภาพย่งิ ข้นึ

18

บทท่ี 3

วธิ ดี ำเนินการศกึ ษาค้นควา้

ในการศึกษาคน้ ควา้ คร้งั นี้ผวู้ ิจัยได้ดำเนินการเปน็ ขน้ั ตอนโดยมีรายละเอียดของการศกึ ษาคน้ ควา้ ดังนี้
1. รปู แบบการวิจัย
2. ประชากร
3. กลมุ่ ตวั อย่าง
4. เครอ่ื งมือทใี่ ชใ้ นการวจิ ัย
5. การสร้างและหาคุณภาพเครอื่ งมือ
6. วธิ ดี ำเนินการเกบ็ ข้อมลู
7. การวิเคราะหข์ ้อมลู

รูปแบบการวจิ ยั
การวิจัยครง้ั นี้เป็นการวจิ ัยแบบ One – Group Pretest – Protest Design ดงั ตาราง 1
ตาราง 1 แสดงลกั ษณะการทดลองตามรูปแบบการวจิ ยั แบบ Pretest – Posttest Group Design Pretest
Treatment Posttest

Pretest Treatment Posttest
X

x คือ การทดลองโดยใชแ้ บบฝกึ

คอื การทดสอบก่อนการใช้แบบฝกึ (pretest)
คือ การทดสอบหลังการใช้แบบฝกึ (posttest)
ประชากร
ประชากรท่ใี ชใ้ นการศึกษาคร้ังนเ้ี ปน็ นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอกันทรลักษ์ จำนวน 15 คน ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562
กลุ่มตัวอยา่ ง
. กลมุ่ ตวั อยา่ งท่ใี ช้ในการวจิ ยั ได้แก่ นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอกนั ทรลกั ษ์ จำนวน 15 คน ซ่ึงไดม้ าโดยการเลอื กสมุ่ แบบเจาะจง (Purposive
Sampling)

19

เคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ยั
เครอ่ื งมือในการศึกษาวิจยั ครั้งน้เี ปน็ เคร่อื งมอื ท่ีผู้วจิ ัยสรา้ งขน้ึ เองประกอบด้วย
1. แบบฝกึ ทักษะการเขยี นสะกดคำ ซ่ึงแบง่ เป็น 3 ชุด ไดแ้ ก่
1.1 คำประวสิ รรชนยี ์
1.2 การใช้รปู วรรณยกุ ต์
1.3 ไม้หันอากาศ และ รร
2. แบบทดสอบการเขยี นสะกดคำ

การสรา้ งและหาคณุ ภาพเคร่ืองมอื
1. แบบฝกึ ทกั ษะการเขยี นสะกดคำ

1.1 ศึกษาทฤษฎี ตำรา เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กี่ยวข้องกบั การสร้างแบบฝึกเพื่อเปน็ แนวทางในการสร้างแบบ
ฝกึ ทักษะวชิ าภาษาไทยเร่ือง การเขียนสะกดคำ

1.2 ผวู้ ิจยั คัดเลือกคำทน่ี ักศึกษามักเขียนสะกดคำผดิ จากหนังสือเรียนวิชาภาษาไทย
(ภาษาการสื่อสารและงานประพันธ)์ ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ตามหลักสตู รการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช
2551 โดยแบ่งคำท่ีมักเขียนสะกดคำผดิ ออกเป็น
3 ชุด ดังนี้ คำประวสิ รรชนีย์, คำทีใ่ ช้รปู วรรณยุกต์, คำท่ใี ชไ้ ม้หันอากาศ และ รร, เพื่อให้เกิดความสะดวกในการ
ลำดับ โดยมเี กณฑ์การให้คะแนน ดังน้ี

เกณฑ์การใหค้ ะแนน 1 คะแนน เมื่อนกั เรยี นตอบถกู ตอ้ ง 0 คะแนน เมื่อนกั เรยี นตอบผิด
นำแบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทยเรื่อง การเขียนสะกดคำทีส่ ร้างเสร็จเรยี บร้อยแลว้
ไปให้ผเู้ ช่ยี วชาญ จำนวน 3 ท่าน เป็นผตู้ รวจสอบ

นำแบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทยเร่ือง การเขียนสะกดคำ ที่ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ
แล้วไปทดลองกับนักเรียนที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะและ
แบบทดสอบการเขยี นสะกดคำ โดยใชเ้ กณฑม์ าตรฐาน 80/80
2. แบบทดสอบการเขยี นสะกดคำ

2.1 ศึกษาทฤษฎี ตำรา เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับหลักการสร้างแบบทดสอบเพ่ือเป็นแนวทางในการ
สร้างแบบทดสอบการเขยี นสะกดคำ

2.2 ผวู้ จิ ยั ได้สำรวจคำท่ีนักศึกษามกั เขียนสะกดคำผิด จากหนงั สือเรียนวชิ าภาษาไทย
(ภาษา การสื่อสารและงานประพันธ์) ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศักราช 2551 โดยแบ่งคำที่มกั เขียนสะกดคำผิดออกเปน็
7 ชดุ ดงั น้ี คำประวสิ รรชนยี ์, คำที่ใชร้ ูปวรรณยุกต์, คำท่ีใชไ้ มห้ ันอากาศ และ รร, คำทใ่ี ช้ตัวการันต์
และ ไมท้ ัณฑฆาต, คำพ้องเสียง, คำท่ีใช้ ซ ทร, ทำท่ใี ช้ น ณ

20

2.3 คัดเลือกคำที่นักเรียนมักเขียนสะกดคำผิดตามท่ีสำรวจไว้ในข้อ 2.2 โดยคัดเลือกคำ รวมจำนวน 240
คำ เพื่อนำไปสร้างแบบทดสอบการเขียนสะกดคำวิชาภาษาไทย จำนวน 60 ข้อ โดยหน่ึงข้อจะมีด้วยกนั 4 ตวั เลือก
คือ ก. ข. ค. ง. ซงึ่ สอดคล้องกบั กิจกรรมการฝึกทั้ง 3 ชุดคือ คำประวิสรรชนีย์, คำที่ใช้รูปวรรณยุกต์, คำที่ใช้ไม้หัน
อากาศ และ รร, คำที่ใชต้ ัวการันต์และ ไม้ทัณฑฆาต, คำพ้องเสียง, คำที่ใช้ ซ ทร, ทำท่ีใช้ น ณ โดยมเี กณฑ์การให้
คะแนนดังนเ้ี กณฑก์ ารให้คะแนน 1 คะแนน เม่ือนกั ศกึ ษาตอบถูกตอ้ ง 0 คะแนน เม่ือนักเรยี นตอบผดิ

2.4 นำแบบทดสอบวิชาภาษาไทยเรื่อง การเขียนสะกดคำ ท่ีปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของ
ผู้เช่ียวชาญทั้ง 3 ท่าน ไปทำการทดสอบกับนักศึกษาที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง เพ่ือหาค่าความเชื่อมั่น
ของแบบทดสอบ โดยใช้แบบของ คูเดอร์ ริชาร์ดสัน KR 20แล้วคัดเลือกข้อท่ีมีค่าความเชื่อม่ันของมาตรฐานให้
เหลือเพียง 30 ขอ้ ได้คา่ ความเชอื่ ม่นั ของแบบทดสอบวิชาภาษาไทยเร่ือง การเขียนสะกดคำ ท้ังฉบับเท่ากับ 0.62
วิธีดำเนนิ การเก็บขอ้ มูล

ในการศึกษาคน้ คว้าครั้งน้ี ผู้วิจัยดำเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมูลตามลำดบั ข้ันตอนดังน้ี
1. ทำการทดสอบก่อนการฝึก โดยใช้แบบทดสอบวิชาภาษาไทยเรื่อง การเขียนสะกดคำท่ีหาค่าความ
เช่อื มัน่ แล้วไปทดสอบกับกลมุ่ ตัวอยา่ ง
2. ทำการฝึกทักษะวิชาภาษาไทยเรื่อง การเขียนสะกดคำ จากแบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคำท่ีผู้วิจัย
สร้างขนึ้ ท้งั หมด 14 กิจกรรม กจิ กรรมละ 50 นาที สำหรบั วธิ กี ารฝึกมีขั้นตอน ดังนี้
ข้ันที่ 1 ขัน้ นำ
ผู้วิจัยแจกใบงานให้นักศึกษาทุกคน อธิบายจุดมุ่งหมายของกิจกรรมการฝึกเพ่ือพัฒนาการเขียนสะกดคำ
วิชาภาษาไทย
ขน้ั ท่ี 2 ขัน้ ฝกึ
1. ผู้วิจัยแนะนำ อธบิ าย และยกตวั อยา่ งการฝกึ ทักษะการเขียนสะกดคำท่ีกำหนดให้
2. นักศกึ ษาแต่ละคนฝกึ เขยี นสะกดคำในใบงานในเวลาท่ีกำหนด
ขั้นท่ี 3 ขัน้ สรุป
ผู้วิจัยให้นักศึกษาตรวจคำตอบท่ีถูกต้อง และช่วยกันอภิปรายข้อผิดพลาดของแต่ละบุคคลเพื่อเป็น
แนวทางในการฝึกกิจกรรมครัง้ ตอ่ ไป
3. ทำการทดสอบหลังการฝึกอีกครั้ง โดยใช้แบบทดสอบชุดเดียวกับที่สอบก่อนการฝึกเพื่อนำผลท่ีได้จาก
การวัดมาวิเคราะหท์ างสถติ ิ
การวิเคราะหข์ อ้ มูล
ผูว้ จิ ัยไดด้ ำเนนิ การวิเคราะหข์ ้อมูล โดยใชส้ ถติ ใิ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดังต่อไปนี้
1. คา่ สถติ ิพ้นื ฐานที่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู มีดังน้ี

1.1 ค่าเฉลย่ี ของคะแนน (ลว้ น สายยศ และ องั คณา สายยศ. 2538 : 73)

21

เมอ่ื SD แทน ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
∑ แทน ผลรวมของคะแนนท้งั หมด
∑ 2 แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตัวยกกำลงั สอง
N แทน จำนวนนกั เรยี นในกลมุ่ ตัวอยา่ ง
2. KR 20 แบบของ คเู ดอร์ รชิ ารด์ สัน เพ่อื ใชห้ าคา่ ความเช่ือม่นั ของแบบทดสอบ

22

3. สถิติทใี่ ชว้ ิเคราะห์ประสทิ ธภิ าพของแบบฝกึ ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
80 ตัวแรก หมายถึง ค่าเฉลี่ยเป็นร้อยละของจำนวนคำตอบท่ีนักเรียนตอบถูกต้องจากแบบฝึกทักษะการ

เขยี นสะกดคำ

80 ตัวหลัง หมายถึง ค่าเฉล่ียคิดเป็นร้อยละของแบบทดสอบท่ีนักเรียนทำได้หลงั การเรียนการเขียนสะกด
คำโดยใช้แบบฝึกทักษะ ซึ่งมสี ตู รดงั นี้

23

4. สถิติทีใ่ ชใ้ นการทดสอบสมมติฐาน
เปรียบเทียบความกา้ วหนา้ ของนักเรยี นก่อนและหลังการฝกึ การเขียนสะกดคำโดยใช้ t – test แบบ

Dependent Samples (ชูศรี วงศร์ ัตนะ. 2537 : 201)

เม่อื t แทน คา่ วิกฤตทิ ่ีใช้ในการพจิ ารณาการแจกแจงแบบที
∑ แทน ผลรวมความแตกตา่ งจากการทดสอบก่อนและหลงั การฝึก
∑ 2แทน ผลรวมความแตกต่างจากการทดสอบก่อนและหลังการฝกึ แตล่ ะตวั ยกกำลังสอง
n แทน จำนวนคูข่ องคะแนนจากการทดสอบครั้งแรกและคร้ังหลัง
df แทน ค่าความเปน็ อสิ ระ

24

บทที่ 4

ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล

การวิเคราะห์ข้อมูลงานวจิ ัยเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนคำมาตราตัวสะกดโดยใช้แบบฝึก

ทักษะ นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลกั ษ์

เพอื่ ความเข้าใจทตี่ รงกนั ผวู้ ิจยั ไดก้ ำหนดสญั ลักษณ์ต่าง ๆ ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ดังต่อไปนี้

สัญลกั ษณ์ทใี่ ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู

N แทน จำนวนนักเรยี นในกลุ่มตวั อย่าง

X แทน คะแนนเฉลย่ี

S.D. แทน ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน

E1 แทน รอ้ ยละของคา่ เฉลย่ี ท่ไี ด้จากการทำแบบทดสอบระหว่างเรยี นของนักเรียน

ท่เี รยี นด้วยแบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทย

E2 แทน รอ้ ยละของคา่ เฉล่ยี ที่ได้จากการทำแบบทดสอบหลงั เรยี นของนักศึกษาที่เรยี นด้วยแบบฝกึ ทกั ษะ

วชิ าภาษาไทย

t แทน ค่าสถิตทิ ดสอบท่ใี ช้พิจารณาใน t – test for Dependent Group

ลำดบั ขั้นในการวิเคราะห์ขอ้ มลู

ผวู้ ิจัยไดเ้ สนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ตามลำดับดงั น้ี

1. การวเิ คราะหห์ าค่าเฉล่ยี และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานของแบบฝกึ ทักษะวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขยี น

สะกดคำ ทัง้ 3 ชุด

2. การวิเคราะห์หาประสทิ ธิภาพของแบบฝึกทกั ษะวิชาภาษาไทยเรื่อง การเขียนสะกดคำ ทงั้ 3 ชดุ ตาม

เกณฑ์มาตรฐาน 80/80

3. การวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นระหว่างก่อนเรยี นและหลังเรยี นโดยใช้ t – test for

Dependent Group

ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู

ผูว้ ิจัยได้ดำเนนิ การวเิ คราะหข์ ้อมูลและเสนอผลตามลำดับดังต่อไปนี้ คือ

1. การวิเคราะห์หาค่าเฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทย เรอ่ื ง การเขยี นสะกดคำ

ทั้ง 3 ชดุ ดังนี้

ตาราง 2 แสดงคา่ เฉลีย่ และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานของแบบฝกึ ทักษะวชิ าภาษาไทยเรือ่ ง การเขียนสะกด

คำ ทงั้ 3 ชดุ

แบบฝึกทกั ษะการเขียนสะกดคำ ̅ S.D.
15.80 1.01
ชดุ 1 คำประวสิ รรชนีย์ 16.40 0.81
ชุด 2 การใช้รปู วรรณยกุ ต์

ชดุ 3 ไม้หนั อากาศ และ รร 15.48 25
รวม 15.89
0.84
0.89

จากตาราง 2 แสดงว่า ผลการทดลองใช้แบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทยเร่ือง การเขียนคำมาตราตัวสะกดโดยใช้แบบ

ฝึกทักษะ นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทร

ลักษ์ ปรากฏว่า นักศึกษาทำแบบฝึกวิชาภาษาไทยเร่ือง การเขียนสะกดคำ ทั้ง 3 ชุด จากคะแนนเต็ม 80 คะแนน

ได้คะแนนรวมเท่ากับ เม่ือพิจารณาแบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทยเรื่อง การเขียนสะกดคำ ในแต่ละชุดคะแนนเต็ม

ชุดละ 25 คะแนน ได้คะแนนรวมเฉลย่ี 15.89 คะแนน

2. การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทยเร่ือง การเขียนสะกดคำทั้ง 3 ชุด ตามเกณฑ์

มาตรฐาน 80/80

ตาราง 3 การพัฒนาแบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทยเร่ือง การเขียนสะกดคำของนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์ ใหม้ ีประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80 / 80

เกณฑ์ 80 / 80

แบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคำ 1 2
81.43 82.87

จากตาราง 3 แสดงว่า ผลการทดลองใช้แบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทยเร่ือง การเขียนสะกดคำของนักศึกษาระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์ ปรากฏว่า นักศึกษา
ทำแบบฝึกหัดคะแนนระหว่างเรียน คิดเป็นร้อยละ 81.43 และนักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน คิดเป็นร้อยละ
82.87 ซ่งึ เปน็ ไปตามเกณฑ์ มาตรฐานทีต่ งั้ ไว้ E1/E2 คือ 81.43/82.87

26

บทท่ี 5
สรปุ ผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ
ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
เพ่ือพฒั นาแบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทย เร่ืองการเขียนสะกดคำ
สมมตฐิ านในการศึกษาค้นควา้
นักศึกษาที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะวชิ าภาษาไทยเร่ือง การเขียนสะกดคำสามารถเขียนสะกดคำได้ดีกว่า
กอ่ นการใช้แบบฝกึ ทักษะ
ขอบเขตของการศกึ ษาค้นคว้า
ประชากร
ประชากรทใ่ี ช้ในการศึกษาคร้ังน้เี ปน็ นกั ศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลกั ษ์ จำนวน 15 คน ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562
กลมุ่ ตวั อย่าง
. กลุ่มตวั อย่างท่ีใช้ในการวิจยั ได้แก่ นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอกนั ทรลักษ์ จำนวน 15 คน ซึ่งไดม้ าโดยการเลือกสมุ่ แบบเจาะจง (Purposive
Sampling)

ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษาคน้ ควา้
ระยะเวลาทีใ่ ชใ้ นการทดลองครัง้ น้ี จำนวน 9 คาบ สปั ดาหล์ ะ 3 คาบ คาบละ 50 นาที

เคร่ืองมอื ท่ใี ช้ในการศกึ ษาค้นคว้า
เคร่อื งมอื ในการศกึ ษาวิจัยคร้ังน้ีเป็นเครื่องมือท่ผี ู้วิจัยสรา้ งขนึ้ เอง ไดแ้ ก่
1. แบบฝกึ ทักษะการเขียนสะกดคำ ซึง่ แบง่ เป็น 3 ชุด ได้แก่
1.1 คำประวิสรรชนีย์
1.2 การใช้รปู วรรณยกุ ต์
1.3 ไมห้ ันอากาศ และ รร

2. แบบทดสอบการเขยี นสะกดคำ จำนวน 30 ข้อ ได้คา่ ความเช่อื มนั่ (KR20) ของแบบทดสอบเท่ากบั 0.62
วธิ ีดำเนินการในการศึกษาคน้ คว้า

ในการศึกษาค้นควา้ ครงั้ นี้ ผู้วิจยั ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามลำดบั ขนั้ ตอนดงั นี้
1. ทำการทดสอบก่อนการฝึก โดยใชแ้ บบทดสอบวชิ าภาษาไทยเรอื่ ง การเขยี นสะกดคำที่หาค่าความ
เช่อื ม่ันได้ 0.62 แลว้ ไปทดสอบกบั กลมุ่ ตัวอย่าง
2. ทำการฝึกทักษะวิชาภาษาไทยเรอ่ื ง การเขียนสะกดคำ จากแบบฝึกทักษะการเขยี นสะกดคำที่ผู้วจิ ยั
สร้างข้นึ ท้งั หมด 7 กิจกรรม กิจกรรมละ 50 นาที สำหรับวธิ กี ารฝกึ มีขนั้ ตอน

27

ดังน้ี
ข้นั ที่ 1 ขน้ั นำ
ผูว้ จิ ยั แจกใบงานใหน้ ักศกึ ษาทุกคน อธบิ ายจดุ มุง่ หมายของกจิ กรรมการฝกึ เพอ่ื พัฒนาการเขียนสะกดคำ
วิชาภาษาไทย
ขั้นที่ 2 ขน้ั ฝกึ
1. ผู้วจิ ัยแนะนำ อธิบาย และยกตวั อย่างการฝึกทักษะการเขียนสะกดคำท่ีกำหนดให้
2. นกั ศึกษาแตล่ ะคนฝึกเขียนสะกดคำในใบงานในเวลาที่กำหนด
ข้นั ที่ 3 ขั้นสรปุ
ผู้วจิ ัยให้นกั ศึกษาตรวจคำตอบท่ีถูกต้อง และช่วยกันอภปิ รายขอ้ ผิดพลาดของแต่ละบคุ คลเพอ่ื เปน็
แนวทางในการฝึกกจิ กรรมครั้งต่อไป
3. ทำการทดสอบหลังการฝึกอีกคร้ัง โดยใชแ้ บบทดสอบชดุ เดยี วกบั ทส่ี อบก่อนการฝกึ เพ่ือนำผลที่ไดจ้ าก
การวดั มาวเิ คราะหท์ างสถิติ
การวเิ คราะหข์ ้อมลู
ในการวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยได้ดำเนินการดงั นี้
1. การหาประสทิ ธิภาพของแบบฝกึ ทักษะวชิ าภาษาไทยเรื่อง การเขียนสะกดคำ โดยใช้เกณฑ์ 80/80
2. คุณภาพของแบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาไทย เร่ืองการเขียนสะกดคำ ของนักศึกษา
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์ จำนวน 15 คน

ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 โดยคำนวณจากสตู ร KR – 20 คเู ดอร์ รชิ าร์ดสนั (Kuder
Richardson) ไดค้ า่ ความเชอื่ ม่ันของแบบทดสอบเทา่ กับ 0.62

3. เปรยี บเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวชิ าภาษาไทย การเขียนสะกดคำ ก่อนและหลัง

เรียน จากการใช้แบบฝกึ ทกั ษะวชิ าภาษาไทย โดยใช้ t – test แบบ Dependent Samples
สรปุ ผลการศึกษาคน้ คว้า
ผลจากการวเิ คราะห์ขอ้ มลู สรุปได้ดังน้ี

1. ได้แบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทย เร่ืองการเขียนสะกดคำ ที่มีประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะวิชา
ภาษาไทย เรื่องการเขยี นสะกดคำ ทง้ั 3 ชุด ที่ผวู้ ิจัยสรา้ งขึ้นมีประสิทธิภาพ 81.43 /82.87 นัน้ เป็นไปตามเกณฑท์ ่ี
กำหนด เมื่อพจิ ารณาประสิทธภิ าพของแบบฝึกทกั ษะวิชาภาษาไทย

เรื่องการเขยี นสะกดคำ แตล่ ะชุดทั้ง 3 ชุด ได้ผลดังนี้
1.1 คำประวสิ รรชนีย์ มปี ระสิทธิภาพเทา่ กับ 82.10 / 84.50
1.2 การใช้รปู วรรณยกุ ต์ มีประสทิ ธภิ าพเท่ากบั 81.60 / 83.50
1.3 ไมห้ นั อากาศ และ รร มีประสทิ ธิภาพเทา่ กบั 81.30 / 82.50

28

2. นักศึกษากลุ่มทดลองที่ได้เรียนโดยการใช้แบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทย เร่ืองการเขียนสะกดคำ มีผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนวิชาภาษาไทยสูงกว่ากอ่ นการเรยี น อยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถติ ิท่รี ะดบั .01
อธิปรายผล
การวิจัยครั้งน้ี เป็นการพัฒนาแบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทย เร่ืองการเขียนสะกดคำ นักศึกษาระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์ จำนวน 15 คน ภาคเรียนที่ 1 ปี
การศกึ ษา 2562 ผลการวจิ ัยมดี ังนี้
1. แบบฝึกทกั ษะวิชาภาษาไทย เร่ืองการเขียนสะกดคำ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 คือ ประสทิ ธิภาพของ
แบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทย เร่ืองการเขียนสะกดคำ ทั้ง 3 ชุด ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นแล้วพบว่า มีประสิทธิภาพเป็น
81.43 / 82.87 จะเห็นได้ว่าเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดทั้งนี้เป็นเพราะว่า แบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทย เร่ืองการ
เขียนสะกดคำ ท้ัง 3 ชุด ที่สร้างขึ้นมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่เร้าความสนใจให้กับนักศึกษา และผู้วิจัย
ได้นำแบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทย เร่ือง การเขียนสะกดคำ ให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะอย่างซ้ำๆ ด้วยกิจกรรมที่
หลากหลายด้วยเหตุผลดังกล่าวว่า แบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทย เร่ืองการเขียนสะกดคำ ของนักศึกษาระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์ จำนวน 15 คน ภาค
เรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 ท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้น จึงมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ท่ีกำหนด สอดคล้องกับผลการวิจัยของ
บุญมา สังข์โพธ์ิ (2523 : 41) ได้สร้างแบบฝึกการเขียนสะกดคำยากสำหรับนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์ จำนวน 15 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2562 และสอดคล้องกับงานวิจัยของ พนมวัน วรดลย์ (2542 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการสร้างแบบฝึกหัดการเขียน
สะกดคำของนักศึกษากลุ่มตวั อยา่ งเป็นนักศึกษานักศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์ จำนวน 15 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 พบว่า แบบฝึกหัดการ
เขียนสะกดคำ มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ท่ีต้ังไว้ และสอดคล้องกับงานวิจัยของ พิมล แจ่มแจ้ง (2542 :
บทคดั ย่อ) ที่ได้ศึกษาซึ่งพบว่ามีประสิทธิภาพสูงกวา่ เกณฑ์ท้งั สน้ิ แสดงว่าชุดฝึกเหลา่ นน้ั มีคุณภาพ ไดผ้ ่านแบบการ
สร้างทีเ่ ป็นระบบตามขน้ั ตอน
2. นักศึกษากลุ่มทดลองที่ได้เรียนโดยการใช้แบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทย เรื่องการเขียนสะกดคำ มีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนวชิ าภาษาไทยสูงกวา่ ก่อนการเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทร่ี ะดับ .01 ซึ่งเป็นไปตามสมมตฐิ านตั้ง
ไว้ ทัง้ น้เี ป็นเพราะวา่ จากการสังเกตพฤติกรรมของนกั ศึกษา
พบว่า นักศึกษาทุกคนมีความตั้งใจ เอาใจใส่ ในการเรียนการสอน เน่ืองจากแบบฝึกทักษะได้ลำดับขั้นตอนท่ี
เหมาะสม ในการฝึกทำให้นักเรียนเกิดทักษะรวมท้ังแบบฝึกทักษะเรื่องการเขียนสะกดคำเป็นสิ่งจูงใจท่ีดี ทำให้
นกั ศึกษาเกิดความสนใจ และทา้ ทายความสามารถของนักศึกษา นักศกึ ษาจึงใหค้ วามสนใจร่วมกิจกรรมทกุ ขนั้ ตอน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในขั้นการฝึก เมื่อครูแจกแบบฝึกทักษะให้นักศึกษาจะสนใจทำตามกิจกรรมต่างๆ ทุกตอน และ
พยายามหาคำตอบท่ีถกู ต้องอยา่ งรวดเรว็ ทกุ คร้งั ด้วยเหตุผลดังกล่าว การใช้แบบฝึกทกั ษะวชิ าภาษาไทย เร่อื งการ
เขยี นสะกดคำ จงึ เปน็ วิธีท่ีสามารถพัฒนาความสามารถในการเขยี นภาษาไทยของนักเรียนได้ สอดคลอ้ งกบั งานวิจัย

29

ของสุรีพรแย้มฉาย (2536) ท่ีได้ศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาไทยเรื่อง การเขียนสะกดคำ
นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลกั ษ์ จำนวน
15 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โดยวิธีสอนด้วยแบบฝึกการเขียนสะกดคำกับการสอนแบบธรรมดา
จำนวน 15 คนผลการวิจัยพบว่า เมื่อนักศึกษาได้รับการฝึกการเขียนสะกดคำโดยใช้แบบฝึกชุดนี้แล้ว นักศึกษามี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนสะกดคำสูงข้ึนและนักศึกษาที่เรียนโดยใช้แบบฝึกการเขียนสะกดคำมีผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรยี นสงู กว่านกั ศึกษาที่เรยี นดว้ ยการสอนแบบธรรมดา และสอดคล้องกบั งานวิจัยของสุภาพ ดวงเพ็ชร (2533: 72)
ได้เปรียบเทียบความสามารถในการเขียนสะกดคำของ นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์ จำนวน 15 คน ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 ที่ได้รับการ
สอนโดยการใช้แบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคำกับการใช้แบบฝึกตามคู่มือครู ผลการศึกษาพบว่า ความสามารถใน
การเขียนสะกดคำภาษาไทยของนักศึกษาท่ไี ด้รับการสอนโดยการใช้แบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคำกับนกั ศึกษาที่
ได้รับการสอนโดยการใช้แบบฝึกหัดตามคู่มือครูแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01แสดงว่าแบบฝึก
ทักษะมีส่วนช่วยให้การเขียนสะกดคำของนักศึกษาดีขึ้น เพราะนักศึกษาไดม้ ีโอกาสฝึกซ้ำๆ หลายครง้ั จนเกิดความ
ชำนาญและแม่นยำ
ขอ้ เสนอแนะ

1. ข้อเสนอแนะ
1.1 ก่อนนำ แบบฝึกทักษะไปใช้ควรมีการฝึกอบรมการใช้แบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทย เรื่องการเขียน
สะกดคำ เพื่อให้เข้าใจจุดมุ่งหมายและวิธีการดำเนินการ ให้ถูกต้องชัดเจนจนเกิดความเข้าใจ ความชำนาญให้กับ
ครู ผูป้ กครอง หรือผู้ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั นกั ศึกษา
1.2 ครผู ู้สอนควรพฒั นาแบบฝกึ หดั เพอื่ ใช้ฝึกทักษะทางภาษาแกน่ กั เรียนให้มากข้ึน
2. ขอ้ เสนอแนะในการทำวจิ ัยครงั้ ต่อไป
2.1 ควรมีการพัฒนาและหาประสิทธภิ าพแบบฝกึ ทักษะวิชาภาษาไทยในสาระอน่ื ๆของวิชาภาษาไทย
2.2 ควรศึกษาเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นเรื่องการเขยี นสะกดคำ โดยการ
พัฒนาแบบฝึกการเขียนสะกดคำกับแบบฝึกหัดท้ายแบบเรียน เพื่อจะได้ปรับปรุงการเรียนการสอนด้านการเขียน
สะกดคำใหม้ ีประสิทธิภาพมากยง่ิ ข้นึ
2.3 ควรศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรู้จากการทำแบบฝึกทักษะวิชา
ภาษาไทยเรือ่ ง การเขยี นสะกดคำ

30
ภาคผนวก

31

การใชแ้ บบฝึกทกั ษะท่ี 1-3

32

33


Click to View FlipBook Version