43
Hygienic Fresh Fruit and Vegetable
Production Pilot Project
Department of Agriculture Thailand
ภาพที่ 3 ตรารบั รองผกั ผลไมอ นามัย
ภาพท่ี 4 ตรารับรองอาหารปลอดภยั
ภาพที่ 5 เคร่อื งหมายรับรองผลติ ภณั ฑเ กษตรอินทรยี ACT
44
ภาพท่ี 6 เคร่ืองหมายรับรองผลิตภณั ฑเ กษตรอินทรยี Organic Thailand
ภาพที่ 9 เครื่องหมายรับรองผลติ ภณั ฑเกษตรอินทรยี OMIC/JAS
ภาพที่ 10 เครอ่ื งหมายรับรองผลติ ภณั ฑเกษตรอินทรยี BCS
45
ใบงานท่ี 9
ใหผ เู รียนนําเครือ่ งหมายรับรองสินคามา 1 ชนิ้ พรอมอธบิ ายความหมายดว ย
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
46
เรื่องที่ 2
การใชน วัตกรรม/เทคโนโลยใี นการผลิต
ในปจจบุ นั มนษุ ยเราตอ งการความสะดวกสบาย จึงมคี วามจําเปน ตองนํานวัตกรรม เทคโนโลยี
มาใชเพื่อชว ยเหลือ หรือประกอบกับงานอาชพี ทม่ี ีอยู และอํานวยความสะดวก ในการดํารงชวี ติ ประจาํ วนั
ตลอดจนนาํ มาประยุกตใ ชใหเกิดประโยชน เพื่อลดระยะเวลา แรงงาน เพือ่ ไดผลผลิตจํานวนมากตามความ
ตองการ
นวตั กรรม หมายถึง ส่ิงประดิษฐที่คิดคนขึ้นมาใหมเพ่ือชวยเหลือ อํานวยความสะดวก พัฒนา
งานใหดีขึ้นท้ังคุณภาพ และปริมาณ ตรงตามความตองการของตัวเอง และผูรับบริการ เชน การทํา
เคร่ืองมืออัดปุยน้ําใหแกตนพืชในดิน ทําใหประหยัดการใชปุย ตนพืชสามารถใชไดเต็มที่ ไมมีการ
สูญหายจากการชะลา ง และระเหยหายไป เปน ตน
เทคโนโลยี หมายถงึ การนําความรู ทักษะ และทรัพยากรมาสรางวิธีการ หรือส่ิงของเคร่ืองใช
หรอื การนําวิธกี ารโดยผา นกระบวนการเพ่ือแกป ญหา สนองความตองการ หรือเพ่ิมความสามารถในการ
ทาํ งาน เชน อดีตใชแ รงงานผสมปยุ หมกั ปจจุบันใชเ คร่อื งผสมและอดั เม็ด เปน ตน
ระดบั ของเทคโนโลยใี นประเทศไทย จัดแบงออกได 3 ระดบั คอื
1. เทคโนโลยีระดับต่ํา เปนเทคโนโลยีสําหรับใชงานอยางงาย ๆ เปนความคิด
ภมู ิปญญาทองถิน่ ที่ใชกันมาดั้งเดิม ไดม ีการพัฒนาจากการใชม อื ขดุ มาใชไ ม หรือเหล็ก จอบ เสียม เคียว
ขวาน กบไสไม การพายเรอื ใชไ มพาย เปนตน
2. เทคโนโลยรี ะดับกลาง เปนเทคโนโลยีที่อาศัยความรูทางวิทยาศาสตร ไมสลับ ซับซอน
มกี ารใชเ คร่ืองมอื ทนุ แรงอยางงาย เชน รอก คานดดี รถจกั รยาน กงั หนั ลม ระหัดวดิ น้าํ เปนตน
3. เทคโนโลยีระดับสูง เปน เทคโนโลยีท่ีตองอาศัยความรูและวิทยาการระดับสูง เชน
เคร่อื งพรวนดิน รถแทรกเตอร คอมพวิ เตอร เปนตน
หลกั การเลือกนวตั กรรม เทคโนโลยีในการผลติ
แนวทางในการตดั สนิ ใจเลือกใชนวตั กรรม เทคโนโลยีทเี่ หมาะสม เพอื่ นํามาประยกุ ตใ ชใ นการผลิต
โดยคํานึงถงึ ผลกระทบตอสังคม และสง่ิ แวดลอม
1. เลอื กขนาดทีพ่ อเหมาะกับงาน
2. ใชง าน ราคาถูก และมปี ระสทิ ธิภาพ
3. สามารถใชว สั ดพุ ้ืนบา น หรอื วัสดุทองถิ่น
4. ใหผลคุมคา
5. มคี วามสะดวกในการใชงาน
6. ไมเ ปนอันตรายตอ ผูใ ช และธรรมชาตสิ งิ่ แวดลอ ม
47
กระบวนการทางนวตั กรรม/เทคโนโลยีในการผลิต
เปนกระบวนการที่มีขั้นตอนการแกปญหา หรือสนองความตองการของมนุษย ใหระบุปญหา
รวบรวมขอมลู ที่ตองการผลติ หรอื สรางสง่ิ ของตาง ๆ ประกอบดว ย
1. ระบุปญ หาความตองการ
2. รวบรวมขอมลู หรือความรเู พอื่ แสวงหาวธิ กี ารการแกปญหา
3. เลือกวธิ ีการในการแกป ญ หา
4. วางแผนกาํ หนดวิธีการเพื่อแกปญหา
5. ปฏิบตั งิ าน หรอื สรา งส่งิ ของเครื่องใช
6. ทดสอบนาํ ผลงานมาใชป ระโยชน
7. ปรบั ปรงุ พัฒนาผลิตผลงานท่สี มบูรณ
ประโยชนและผลกระทบของนวัตกรรมเทคโนโลยีในการผลิต
1. ประโยชนของนวัตกรรมเทคโนโลยีในการผลิต
ในปจจุบันโลกของนวัตกรรมเทคโนโลยี ไดมีการนําเอานวัตกรรม/เทคโนโลยี
เขามาใชในชีวิตประจําวันอยางแพรหลาย เชน การดัดแปลงทางพันธุกรรม หรือการแปลงพันธุของ
สง่ิ มชี ีวติ โดยกรรมวิธีพันธุวิศวกรรม (ไมไดเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ) ทําไดโดยใชวิธีการตัดตอยีนส
และนาํ ยนี สแ ปลกปลอมถายทอดเขาไปในส่งิ มีชวี ิต โดยใชส่ิงตาง ๆ ตอไปนี้
1. ปรับปรงุ คุณคา ทางโภชนาการของอาหารใหสงู ขนึ้
2. ใหพ ืชมคี วามทนทานตอโรค และแมลงศตั รูพชื
3. ใหพชื มคี วามทนทานตอ ความแหงแลง และอณุ หภูมสิ งู หรือตาํ่
4. ยืดระยะเวลาการสกุ ของพชื ผัก และผลไม
5. ทาํ ใหสตั วผ ลิตโปรตีนทม่ี คี ณุ คา สงู ขึ้น
6. ปศุสตั วทใ่ี หเน้ือมีโปรตนี หรอื ยาปะปนอยู
7. การใหวัคซีนแกม นุษยในรปู ของผักผลไมท ก่ี ินได
2. ผลกระทบของนวัตกรรม/เทคโนโลยใี นการผลติ
เปนที่รูกันดีวาในปจจุบันน้ีนวัตกรรมเทคโนโลยีในการผลิต เขามามีบทบาท
ตอ การดําเนินชวี ติ ประจําวนั ของมนุษยในทุก ๆ ดา น จนแทบจะเปน สว นหนง่ึ ของชีวติ มนษุ ยก็วา ได และ
ทกุ วนั นวตั กรรมเทคโนโลยีก็ไดถ ูกพัฒนาใหเจรญิ กา วหนาย่ิงข้ึนอยางไมหยุดย้ัง นวัตกรรมเทคโนโลยี
เอ้ืออาํ นวยความสะดวกใหแ กม นษุ ยใ นหลาย ๆ ดาน ไมว า จะเปนการส่ือสาร การคมนาคม ทําใหติดตอ
ถึงกัน ขามทวีปไดโดยใชเวลาไมถึงนาที นอกจากน้ียังมีดานการศึกษา ดานการแพทย ฯลฯ แตใน
ขณะเดียวกัน นวตั กรรมเทคโนโลยกี ็มโี ทษมหันตถามนษุ ยนําไปใชใ นสิง่ ที่ผดิ เชน การโจรกรรมขอมูล
การสรางขีปนาวุธ และระเบิดนิวเคลียร เปนตน สิ่งเหลาน้ีทําใหเกิดโทษอยางรายแรง ทําใหเกิด
การสูญเสียชวี ติ และทรัพยส ินเปน จํานวนมาก
48
ใบงานท่ี 10
ใหผเู รียนหานวตั กรรมเทคโนโลยี ชวยการผลิตในอาชพี ทองถ่ินทานข้ึนมา 1 ช้ิน พรอมคาํ อธิบาย
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
49
เรอ่ื งที่ 3
การลดตนทนุ การผลิตและการบรกิ าร
การผลิตมคี วามจาํ เปนตองลดตนทุนในการผลิต และการบริการก็เชนเดียวกัน เพ่ือจะไดราคา
สนิ คา และบริการทีเ่ หมาะสม เปนทีพ่ ึงพอใจของผูบ ริโภค ตลอดจนมียอดของการจําหนายเหมาะสม ซ่ึง
การลดตนทนุ จะไมท าํ ใหคุณภาพของผลติ ภณั ฑดอ ยลง ในการลดตนทนุ การผลิตการบรกิ าร ผูประกอบการ
มคี วามจาํ เปนตองปรบั ปรุงโครงสรา งในการประกอบธุรกิจตาง ๆ ท้ังคาแรงงาน ตนทุนวัตถุดิบท่ีสั่งมา
จากตางประเทศ คานํา้ มันเช้ือเพลงิ ปจ จยั ในการลดตน ทุนการผลติ หรอื การบริการ มีหลายประการ เชน
1. เจาของธรุ กิจจะตองมีนโยบายและโครงการเพ่ือลดตนทุนการผลิต และการบริการ
อยา งจริงจัง ชัดเจนและตอเนอื่ ง
2. สรางจิตสํานึกพนักงานใหมีจิตสํานึกที่ดีตอโครงการลดตนทุนการผลิต และ
การบรกิ าร
3. มีมาตรการเพิม่ ประสทิ ธิภาพและคณุ ภาพของการบริหารจดั การ
3.1 ประสิทธิภาพการผลิต คือดชั นีช้ีวัด ใชเ ปรียบเทียบการผลิตในแตล ะเดอื นผา นมา
3.2 คุณภาพสินคาและบรกิ าร จะตองปลกู ฝงใหพ นักงานมีการควบคมุ คุณภาพใหไ ด
3.3 การสงมอบสนิ คา /บรกิ าร จะตองมอบสนิ คา ตรงตามเวลา ตามที่ลูกคา ตอ งการ
โดยไมม ปี ญ หา
3.4 ตนทุนการผลิต ในสินคาประเภทเดียวกันแตตนทุนไมเทากัน การลดตนทุน
มใิ ชส่งิ ท่ีทําใหคณุ ภาพของสนิ คา ลดลงเสมอไป
3.5 ความปลอดภัย เปนเร่อื งพนักงานโดยตรง ซึ่งควรกระทําอยางเครงครัด มีสวน
ท่ใี หตนทุนการผลติ ลดนอ ยลงรวมท้ังสรางคณุ ภาพชวี ติ ใหก ับพนกั งานได
3.6 ขวัญกาํ ลังใจ เปน วิธีทด่ี ที ีส่ ุด คือเพิ่มคา จางและเพิ่มสวสั ดิการใหกับพนักงาน
จะทาํ ใหพ นักงานทาํ งานอยางเตม็ ท่ี
3.7 สง่ิ แวดลอมท่ีดี เปน การสรางคณุ ภาพชีวติ ใหก บั เจาหนา ที่ บางธุรกจิ จะเกยี่ วกบั
มาตรฐานและการจดั การกับสิ่งแวดลอ มไดดีถอื วา เปนความรบั ผิดชอบตอสงั คม
3.8 จรรยาบรรณ เม่อื มีการผลิต/บรกิ ารที่พลาดจะตองมีการยอมรบั ผดิ และ
ปรับเปลี่ยนใหก ับผูรับบริการ
50
การลดตนทุนการผลิตหรือการบริการจะตองใชวงจร PDCA (Deming Cycle) ควบคุมใหมี
การดําเนินไปอยางตอ เนอื่ ง เมอ่ื เกดิ ปญหาในสวนใดหรือขั้นตอนใดใหมีการปรับปรุงแกไขและพัฒนา
ใหม กี ารตรวจสอบทกุ ขั้นตอน จะทาํ ใหสามารถลดตนทุนการผลิต หรอื การบรกิ ารไดอ ยา งถูกตอ ง
การลดตน ทุนการผลติ หรือการบรกิ าร ใชว งจร PDCA (Deming Cycle)
P (Planning) กิจกรรม/โครงการ
การลดตน ทนุ การผลิตหรือการบรกิ าร
A (Action) การปรบั ปรงุ แกไ ข D (Doing) การปฏบิ ัตงิ าน หรอื การ
และตั้งมาตรฐานในการดําเนนิ งาน ดําเนนิ งาน
C (Check) การตรวจสอบ
กิจกรรม/โครงการ
51
ใบงานที่ 11
ใหผ ูเ รียนบรรยายการลดตน ทุนการผลติ สนิ คา ที่ตัวเองชอบ และคิดวา จะทาํ เปนอาชพี
มาพอเขา ใจ
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
52
เรอ่ื งที่ 4
การจัดทาํ แผนการจดั การการผลติ หรือการบรกิ าร
1. ปจจัยการจัดทาํ แผนการจดั การการผลิตหรือการบรกิ าร ไดแ ก
1.1 การเลือกทําเลที่ตั้งของโรงงาน เพ่ือใหการผลิตดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ การหา
สถานท่ีต้ังโครงการท่ีเหมาะสมจึงมีความจําเปนอยางย่ิง หากเลือกทําเลท่ีไมเหมาะสมในการประกอบ
กิจกรรมจะทําใหองคกรประสบปญหาตาง ๆ ได เชน การขาดแคลนแรงงาน คาใชจายในการขนสง
ขาดแคลนทรัพยากรที่จําเปนในการผลิต เปนตน ดังนั้นในการเลือกทําเลที่ต้ังของสถานที่ประกอบการ
ควรคํานึงถึงปจจัยตา ง ๆ ดงั น้ี
1.2 แหลงวัตถุดิบ การเลือกทําเลท่ีตั้งสถานประกอบการควรคํานึงถึงแหลงวัตถุดิบที่ใชใน
ธรุ กิจ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิตตาง ๆ เพ่อื ความสะดวกในการจดั หาวัตถุดบิ ทม่ี ีคุณภาพดี ราคาถกู
และประหยัดคาขนสง
1.3 แรงงาน คอื การใชแรงงานคนในการผลิตสินคา หรือบริการ ซึ่งมี 2 ประเภท คือ แรงงาน
ที่มีทักษะความชํานาญ และแรงงานท่ัวไป ถาผูประกอบการตองการแรงงานที่มีทักษะความชํานาญ
ควรต้งั สถานประกอบการอยูใ นเมืองใหญ หรือบริเวณใกลเคียง แตถาเปนแรงงานทั่วไปสามารถจัดต้ัง
สถานประกอบการในตางจงั หวัดเพราะแรงงานหาไดง า ย
1.4 การขนสง ในการเลือกทําเลท่ีต้ังสถานประกอบการ ตองคํานึงถึงคาขนสงในดานตาง ๆ
ดังน้ี
- คาขนสง วัตถดุ บิ จากแหลง วตั ถดุ บิ ไปยงั สถานประกอบการ
- คาขนสงสินคา เพอ่ื จดั เกบ็
- คาขนสงไปสผู บู ริโภค
1.5 สง่ิ อํานวยความสะดวก และสาธารณปู โภคตาง ๆเชน น้าํ ไฟฟา ถนน การสื่อสาร สถานพยาบาล
สถานตี ํารวจ เปน ตน
1.6. กลุมลกู คา ชอ งทางการจาํ หนายสนิ คาโดยทวั่ ๆ ไป
โรงงานผลิตสินคา พอคาขายสง พอคาขายปลีก ลกู คา
พอคาขายตรง
53
1.7 กฎหมายและระเบียบขอบงั คบั การเลือกทําเลที่ตัง้ ตองศึกษากฎหมายและระเบยี บขอบังคับ
ตา ง ๆ ทเี่ กี่ยวขอ ง เพอื่ ไมใ หเกิดการขดั แยง
2. เงินทุน
หมายถึง เงนิ ทอ่ี งคก รจัดหามาเพอ่ื ใชลงทุน และดําเนินการประกอบกิจการเพื่อหวังผล
กําไรจากการลงทนุ ซง่ึ เปน ปจจัยสาํ คัญในการดาํ เนินธุรกิจ ต้ังแตเริ่มลงทุนประกอบกิจการ และใชจาย
ระหวางดําเนนิ กิจการ เพอื่ ใหก ารดําเนนิ การเปน ไปอยางมีประสทิ ธิภาพ และความเจรญิ เติบโตของธุรกิจ
ประเภทของเงนิ ทุน แบงออกเปน 2 ประเภท คอื
1. เงินทุนคงท่ี คือ เงินท่ีองคกรจัดหามาเพื่อใชในการจัดหาสินทรัพยถาวร
ซึ่งหมายถึง สินทรัพยที่มีอายุการใชงานเกิน 1 ปข้ึนไป เชน คาใชจายเก่ียวกับการเลือกทําเลท่ีต้ัง
สถานประกอบการ ไดแก ราคาที่ดิน คาแรงงาน คาขนสง คาวัสดุอุปกรณ เครื่องจักร คาโรงงาน
คาธรรมเนยี มและภาษี ทจี่ ะตอ งชาํ ระใหองคก รของรัฐเปน ตน
2. เงินทุนหมุนเวียน เปนเงินทุนท่ีองคกรจัดหาเพ่ือใชในการดําเนินการจัดหา
สินทรัพยหมุนเวียน ซ่ึงหมายถึง สินทรัพยท่ีมีอายุการใชงานตํ่ากวา 1 ป เงิน วัตถุดิบในการผลิต
วัสดุสิน้ เปลอื ง คา แรงงาน คาขนสง คาโฆษณา คานาํ้ คาไฟฟา คาโทรศพั ท เปน ตน
ตัวอยา ง การทาํ แผนการจัดการการผลิตหรือการบรกิ าร
ขนั้ ตอนการดําเนนิ งาน ม.ค ก.พ ม.ี ค เม.ย เดอื นทด่ี าํ เนนิ การ ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค.
พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค
1. จดั หาแหลง เงินทุน
2. เตรยี มเครือ่ งจักร
3. แหลง วตั ถุดบิ
4. ดําเนินการผลติ
5. บรรจุหีบหอ
6. ขนสงรานคา
7. ผูบรโิ ภค
54
ใบงานท่ี 12
ใหผ เู รยี นจดั ทําแผนการผลติ หรอื การบรกิ ารในอาชีพท่ตี วั เองชอบ และพรอ ม
จะประกอบอาชพี มาพอสังเขป
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
55
บทที
การจัดการการตลาด
สาระสําคญั
การจัดการการตลาด เปนการนําสินคา/บริการ ที่ผูประกอบการผลิตไดไปจําหนาย
ใหแกผ บู รโิ ภค ผปู ระกอบการที่ดีตอ งมคี วามรูค วามเขาใจในการจัดการการตลาดเพื่อนําสินคา/ผลผลิต
เขา สูตลาดไดตามกาํ หนด และมีการจดั ทําแผนการจัดการตลาดได เพื่อใหมสี ินคา บรกิ ารตลอดเวลา
ตัวชี้วัด
1. จดั การการตลาดเพื่อนาํ ผลผลติ เขาสูตลาด
2. จัดทําแผนการจัดการการตลาด
ขอบขา ยเน้อื หา
เรื่องท่ี 1 การจดั การการตลาด
เรื่องท่ี 2 การจัดทาํ แผนการจดั การการตลาด
สือ่ ประกอบการเรยี นรู
1. ใบความรู
2. แหลงเรยี นรู
3. ใบงาน
56
เร่ืองท่ี 1
การจดั การการตลาด
การตลาด หมายถงึ การดาํ เนนิ กิจกรรมตาง ๆ ที่จะทําใหสนิ คา หรือบรกิ ารจากผผู ลิตไปสผู บู ริโภค
หรอื ผใู ช โดยมวี ตั ถุประสงคเ พือ่ ความพงึ พอใจของผูบรโิ ภค
ความสําคัญของการตลาด
1. ผูมีความรูดานการตลาด สามารถเขาใจกระบวนการตาง ๆ ท่ีผูผลิตสินคาใชเปน
กลยุทธทางการตลาด เพื่อใหผูบริโภคเกิดการรับรู ความสนใจ และตัดสินใจซื้อสินคา และบริการ
โดยปกติแลวองคกรธุรกิจจะมีตนทุนในการผลิตสินคาและบริการ และตนทุนทางการตลาด น่ันคือ
ราคาสินคาและบริการท่ีผูบริโภคจายไปน้ันจะรวมตนทุนทางการตลาดไวแลว เปนการผลักภาระ
ใหก บั ผบู รโิ ภค
2. การตลาดทาํ ใหเกดิ การแลกเปล่ยี นสินคาและบรกิ าร ในอดีตการตลาดมีความสําคัญ
ไมมากนกั เพราะคนสวนใหญดํารงชีวิตแบบพอยังชีพ และมีการแลกเปล่ียนสินคาและบริการโดยตรง
ไมผานส่อื กลาง คือ เงินตรา และการตลาดในสมัยกอ นมักจะเนน ทกี่ ารผลติ สินคามากกวา การศึกษาความ
ตอ งการของผบู รโิ ภค เพราะความตอ งการซอื้ มมี ากกวา ความตองการขาย และจํานวนคแู ขง มีนอยราย แตใน
ปจจุบันมีการเปลีย่ นแปลงในดานตา ง ๆ มากข้นึ ไดแ ก สงั คม วัฒนธรรม เทคโนโลยี การสื่อสาร ความ
ตองการของผูบริโภค อกี ทง้ั ยงั มีผูป ระกอบการเปนจํานวนมาก ดงั นนั้ ธุรกิจใดสามารถคงอยูในตลาดได
ยอ มมีการตอบสนองความตองการของผูบ ริโภคไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ
3. การตลาดชวยพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเปนผลมาจาก
การซื้อขาย แลกเปลี่ยนสินคา และบริการอยางมปี ระสทิ ธิภาพ ไมเกิดการเอารัดเอาเปรียบระหวางผูผลิต
หรือพอ คา กับผูบริโภค
ชนดิ ของตลาดในชุมชน
1 ตลาดทอ งถน่ิ
เปนตลาดที่มีสถานท่ีต้ังถาวรมีการจําหนายสินคาในทองถ่ินทุกวัน เปนตลาด
ท่ีมีแนวโนมที่จะใหค าตอบแทนตอ ผผู ลติ สูงกวาตลาดแบบอ่ืน เนื่องจากผูผลิตสามารถจําหนายผลผลิต
ใหกบั ผบู ริโภคไดโดยตรง ถงึ แมวาจะมีคาใชจ ายในเรือ่ งคา ขนสง และคาแรงเพ่ิมข้ึนแตก็จัดวาไมสูงนัก
เพราะตลาดเหลาน้ีมักไมไดอยูหางไกลกับแหลงผลิต และดวยปริมาณการขายท่ีนอย แรงงานที่ใชใน
การจัดเตรยี มผลผลติ มักเปน แรงงานในครวั เรอื น
ประโยชนอีกดา นหนง่ึ ของการตลาดทองถ่ิน คือ ชวยทําใหผูผลิตและผูบริโภคเกิด
ความรสู ึกรวมกันเปนชุมชน มีเอกลักษณ และมีความผูกพันรวมกัน เปนการสรางกระบวนการเรียนรู
ของผผู ลติ จากการปฏิสมั พนั ธร ะหวางผผู ลิตและผูบริโภค มโี อกาสทีจ่ ะเรยี นรูเกี่ยวกบั ความตอ งการของ
ผบู ริโภค และความเปลยี่ นแปลงของตลาด ซ่งึ ชวยใหผ ูผลิตสามารถปรบั เปลยี่ นการผลิตของตวั เอง
57
เพือ่ ใหส อดคลองกับตลาดไดเ รว็ ขนึ้ ทัง้ ยงั เกอื้ กูลตอ การพฒั นาสงั คม อนุรกั ษพ ลังงาน และชวยฟน ฟู
เศรษฐกจิ ชุมชน โดยทาํ ใหเงินทนุ หมนุ เวยี นอยใู นชมุ ชนมากข้ึน
2 ตลาดเชา ในทองถ่ิน
เปนตลาดท่ีไมมีท่ีตั้งถาวร อาจใชสถานที่สาธารณะ เชน หนาวัด โรงเรียน ที่วางใน
หมบู า น ซ่งึ สว นใหญเปน ตลาดที่เปดขายในชว งเชาตรู และมกั จะเปดขายในชวงระยะเวลาสั้น ๆ เพียง 2 – 3
ชั่วโมง สมาชิกในชุมชนนําสินคาที่ผลิตไดในครอบครัวมาจําหนาย สินคาสวนใหญมักเปนอาหารสด
หรืออาหารแปรรูปอยางงาย ตลาดแบบนี้เหมาะกับผลผลิตทางการเกษตรรายยอยเปนผลผลิตท่ีผลิต
ในชมุ ชน และมผี ลผลติ ทีม่ ีปรมิ าณไมมาก เพราะเปน ตลาดขนาดเล็ก
ขอดีคือ เกษตรกรผูผลิตเสียคาใชจายในการขายผลผลิตตํ่ามาก ทําใหเกษตรกร
มีรายรับเต็มจากการขาย ซึง่ ไดเงนิ สดเปนรายไดป ระจํา จะชวยแบงเบาภาระสําหรับคาใชจายประจําวัน
ของครอบครัวเกษตรกรได แตร าคาผลิตผลทีจ่ าํ หนายมกั จะมรี าคาคอ นขางตา่ํ เพราะความสามารถในการ
ซ้อื มอี ยูนอย
3. ตลาดนดั ทองถิน่
สวนใหญเปนตลาดคลายกับตลาดเชาในทองถิ่น แตอาจมีขนาดใหญกวา และมัก
จัดในท่ีมีผูบริโภคอยูหนาแนน เชน โรงพยาบาล สถานที่ราชการตาง ๆ ตลาดนัดนี้จะเปดขายเฉพาะ
วันที่กําหนด ระยะเวลาในการเปดอาจเพียงครึ่งวัน หรือเต็มวันข้ึนอยูกับปริมาณของผูบริโภค และ
ขอจํากัดของสถานที่
ตลาดนัดเชนน้ีมักตองการกลุมบุคคล หรือองคกรใดองคกรหนึ่ง ท่ีทําหนาที่
ประสานงานกับเจา หนาทข่ี องพืน้ ที่ และประชาสัมพันธใหกับผูบริโภค จะมีสินคาและผลผลิตมากมาย
ใหเลอื ก
4. ตลาดสดเทศบาล
เปนตลาดทเ่ี ทศบาลจัดต้ังขึ้นในตวั เมอื ง เพ่ือบริการใหพอคา-แมคา และผูมาใชบริการ
มสี นิ คา อุปโภค บรโิ ภค บางแหงจะจัดสถานท่ีใหกับชาวบานนําผลผลิตของตนเองมาวางจําหนายดวย
ผมู าใชบริการจะไดรับความสะดวก สามารถซื้อ - ขาย สินคาไดตามความตองการ โดยมีเทศบาลคอย
ดูแล ควบคุม ความสะอาด
58
5. หางสรรพสินคา
เปนตลาดท่ีใหบริการท่ีสะดวกสบาย มีสถานที่จอดรถ บริการรถเข็นสินคา
รานอาหาร จัดสินคาแยกประเภทสินคามาใหเลือก มีราคาสินคาแนนอน ผูซ้ือสามารถเลือกวิเคราะห
สินคา แตล ะชนิดไดใ หตรงกบั วัตถุประสงค
การจดั การการตลาด
คือ การสรางการรับรูระหวางผูขาย กับผูซื้อ เพื่อกระตุนใหลูกคาเกิดความตองการ
สนิ คา และตดั สินใจซื้อ ประกอบดว ย
1. การโฆษณา คือ การสื่อสารโดยการใชส่ือตาง ๆ ท่ีไมใชตัวบุคคล และมีคาใชจาย
ในการโฆษณา เชน วิทยุ โทรทัศน และส่ือสิ่งพิมพ เพ่ือสรางการรับรู ความสนใจ ความเชื่อม่ัน และ
การตดั สนิ ใจซ้อื การโฆษณาเปน การใหข อ มลู แบบโปรยหวานที่มีผูร บั รทู ุกเพศ ทกุ วัย
2. การประชาสัมพันธ คือ กิจกรรมตาง ๆ ท่ีสรางความนาเชื่อถือ และสามารถเขาถึง
กลุมเปา หมายไดด ีกวา การสือ่ สารโดยวิธอี ่ืน ๆ เชน การใหข อง การบรจิ าคเงินชว ยเหลอื ผปู ระสบอทุ กภัย
และการใหท นุ การศึกษา เปน ตน
3. การวจิ ัยการตลาด เปนสื่อ หรือเคร่ืองมือสําคัญท่ีใชสําหรับคนหาขอมูลที่เกี่ยวของ
กับลูกคา ทัง้ ในปจ จุบนั และอนาคตที่เกิดขึ้นเพือ่ ท่ีตนเอง กลมุ หรอื องคก ร จะสามารถนําไปใชประโยชน
ในการวางแผนดําเนินการ และใชค วบคมุ การทาํ งานใหด ีขึ้น ซ่ึงการวจิ ัยการตลาดจะเกีย่ วของกนั
ดังนั้น การวิจัยการตลาด หมายถึง การเก็บรวบรวม และการวิเคราะหขอมูลตาง ๆ
ทเ่ี กี่ยวของกบั การตดั สินใจทางการตลาด และรวมถงึ การสอ่ื ความถึงผลทีไ่ ดจ ากการวิเคราะหเหลาน้ันไป
ยังฝายจัดการ เพื่อนําขอมูลมาปรับปรุงและพัฒนาผลิตภัณฑ และบริการใหตรงกับความตองการของ
กลมุ ลกู คาเปา หมาย
ข้ันตอนการจัดทําวจิ ัยการตลาด ประกอบดว ยข้ันตอนตา ง ๆ ดังน้ี
1. การกําหนดขอมูลท่ตี องคน หา
2. กําหนดวธิ ีการรวบรวมขอมูล
3. กําหนดแบบฟอรมสาํ หรับการเก็บรวบรวมขอ มูล
4. กําหนดระเบียบวิธีการสุมตวั อยา ง
5. กําหนดขัน้ ตอน วิธดี าํ เนินการเก็บขอ มลู ตาง ๆ
6. วางแผนพฒั นางานสําหรับประมวลขอมลู
7. วางแผนพัฒนางานสําหรับการวิเคราะหขอมูล
8. กําหนดการจัดเตรยี มรายงาน เพ่ือนําเสนอผลการวิจัยตอ ฝา ยจดั การ
59
4. การสง เสริมการขาย คือ กระบวนการท่ีเกย่ี วของกับการสงเสริมการตลาดในภาพรวม
เพ่ือใหเ ห็นถึงสว นของตลาดท่ีแตกตางกัน สําหรับผลิตภัณฑอยางใดอยางหน่ึง โดยแยกตลาดเหลาน้ัน
เปนสวนยอย ๆ ในสวนยอยเหลานี้มักจะมีลักษณะเหมือน หรือคลายกันอยางเห็นไดชัด แตก็มีความ
แตกตา งกันเลก็ นอย ดังนี้
1. วิธีตลาดแรงงาน คือ ขายสินคาที่ใชวิธีการเดียวจูงใจลูกคาท้ังหมด เชน การนํา
สนิ คา ไปต้งั แผงขายที่หนา โรงงาน ซ่งึ พนกั งานจะซอื้ กอนกลับบาน เปนตน
2. การตลาดทเ่ี นนใหมีผลิตภัณฑท่ีตางกัน คือ ผูขายพยายามผลิตสินคาหลายแบบ
ที่มลี ักษณะแตกตา งกัน ทั้งรูปราง แบบ คุณภาพ และขนาด
3. การตลาดที่มุงเปาหมาย คือ ผูขายดูความแตกตางของกลุมผูบริโภค แลวพัฒนา
ผลิตภณั ฑใหต รงกบั ตลาด หรอื ความตอ งการของผบู รโิ ภคทกุ กลุม
4. การตลาดควบคู คือ ผขู ายมีสินคาแจก และมีการชิงรางวลั เพือ่ จูงใจผบู ริโภค
5. การทําฐานขอมูลลูกคา ตามแนวคิดทางการตลาดที่มีจุดมุงหมายท่ีการตอบสนอง
ความตอ งการของผูบรโิ ภคใหไ ดรับความพึงพอใจน้ัน ธรุ กิจจาํ เปนตอ งศึกษาถึงพฤติกรรมของผูบริโภค
ในดานตาง ๆ เพ่ือเปนขอมูลในการวางแผนทางการตลาดอยางมีประสิทธิภาพ รูปแบบการวิเคราะห
พฤติกรรมของผูบริโภค มีลักษณะเปนสว นประกอบภายในจติ ใจ และความนึกคิดของผบู รโิ ภค อาจแยก
ออกไดตามรปู แบบดังนี้
1. ชีใ้ หเห็นปจจัยอิทธิพลตา ง ๆ ทั้งหมดในเชิงรวม
2. ชใี้ หเหน็ ถึงปจจยั สว นบคุ คล และปจจัยสภาพแวดลอ มทางสังคม ตามสถานการณ
และกระบวนการตัดสินใจซ้อื
3. ช้ใี หเ หน็ ถงึ ปจ จยั ทางสังคม วัฒนธรรม และจิตวิทยาที่มผี ลตอ พฤติกรรมในการซื้อ
ประโยชนข องการทําฐานขอ มูลลูกคา
1. ใชป รับปรงุ กลยทุ ธการตลาด โดยการวเิ คราะห และออกแบบกลยทุ ธไ ดถ กู ตอ งกวา
2. สามารถมกี ลวิธีการเขาพบลกู คากอ นหลังดว ยวิธตี า งกนั
3. สามารถปรับสว นประสมทางการตลาดท่ถี ูกตอ ง ไดป ระสทิ ธิภาพหลายแงมุมยิ่งขึ้น
โดยใชก ลยุทธเชิงรวมจึงไดผ ลกวา
4. สามารถเพมิ่ คณุ ภาพของศิลปะการปฏิบตั ติ ามผลการตลาด โดยเฉพาะการโนมนาว
ชกั จงู ใจ และการสรางอทิ ธพิ ลเหนอื ผูบ ริโภค
60
6. การกระจายสินคา เปนการจัดการเคลื่อนยายสินคาท่ีพรอมขายไปสูผูบริโภค
ผปู ระกอบการผลติ สนิ คา เพ่ือจําหนาย มักจะประสบปญหาการผลิตเกี่ยวกับจํานวนจัดจําหนาย การตั้ง
ราคาขาย หรือควรผลติ ในรปู แบบไหนจงึ จะเหมาะสม ควรมีขอมูลทางการตลาดประกอบการตัดสินใจ
เชน
1. วิเคราะหผลการดําเนินงานของแผนการตลาด ยอดขาย และอัตราสวนในตลาด
มีนอยเพียงใด ชองทางการจัดจําหนายสินคาดีที่สุดหรือไม การกระจายสินคาสูงสุดหรือไม รวมทั้ง
คา ใชจายในการผลติ สินคา
2. วเิ คราะหตลาดและพยากรณยอดขาย เพื่อทราบอาณาเขตการขาย จํานวนลูกคา
และแนวโนม การเจรญิ เตบิ โตของตลาดสินคาแตล ะชนิด
3. วเิ คราะหผ ลิตภณั ฑ เพอ่ื ใหทราบความตองการ ความพอใจ ทัศนคตทิ ่ีแทจริงของ
ผบู ริโภคท่ีมีตอสินคาใหม รวมทง้ั ตองทดสอบผลิตภัณฑห บี หอ
4. ขอ มูลดา นโฆษณา การโฆษณามีอิทธิพลตอ การตัดสนิ ใจของผบู รโิ ภค
5. วิเคราะหชองทางการจําหนาย เพื่อกระจายสินคาจากโรงงานไปสูมือผูบริโภค
โดยผา นพอคาสง ตัวแทน หรอื ขายเอง รวมทง้ั การขนสง การจัดหบี หอ
61
ใบงานท่ี 13
ใหผูเรียนอธบิ ายตลาดทีม่ ีอยใู นชุมชนที่เหมาะสมกับอาชีพทีต่ นเองคิดไวพอสังเขป
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
62
เรื่องท่ี 2
การจดั ทาํ แผนการจดั การการตลาด
หนาท่ีการตลาด คือ กิจกรรมทางการตลาดที่องคกรจะตองดําเนินการใหเปาหมาย
ทางการตลาดสําเร็จลงไดด วยดี สรุปไดดงั นี้
1. การวิเคราะหสภาพแวดลอม และการวิจัยตลาด คือ การตรวจสอบผลกระทบ
ทีเ่ กิดขน้ึ จากสภาวะเศรษฐกจิ และการแขง ขนั ทมี่ ีผลตอ การตลาด
2. การวิเคราะหผบู รโิ ภค คอื การประเมินความตองการ กระบวนการซ้ือของผูบริโภค
ใหเ ขา ใจ
3. การวางแผนการผลิตและบริการ คือ การพัฒนารักษาผลิตภัณฑ ตรา การหีบหอ
รวมทั้งการยกเลกิ ผลิตภณั ฑบางอยาง
4. การวางแผนเกยี่ วกบั ราคา คอื การกําหนดชวงราคา เทคนิคการตั้งราคา และการใช
ราคาเปน ตัวรกุ หรอื ตง้ั รับ
5. การวางแผนการจัดจําหนาย คือ การกําหนดชองทางการจําหนาย การขนสง การเก็บ
รักษา การแยกแยะ การคา สง การคา ปลีก
6. การวางแผนการสงเสริมการจําหนาย คือ การโฆษณา การขายโดยบุคคล และ
การประชาสัมพันธ
7. การพิจารณาความรับผิดชอบตอสังคม คือ มีความรับผิดชอบในแงความปลอดภัย
ความมศี ีลธรรม และเนนประโยชนคุณคา ของสินคา และบรกิ าร
8. การบริการการตลาด คือ การวางแผนทางการตลาด การประเมินถึงความเส่ียง
และประโยชนข องการตดั สินใจทางการตลาด
การวางแผนกลยุทธทางการตลาด
คอื การปรับตัวขององคกรธรุ กจิ เม่อื ประสบปญหาอปุ สรรคในการประกอบธุรกจิ
สามารถแยกเปน 4 แนวทาง ไดแ ก
1. การเจาะตลาด คือ พยายามเพิ่มยอดขาย โดยเจาะเขา สูต ลาดใหม ๆ มากขึ้น
2. การพัฒนาตลาด คอื วธิ กี ารเพิ่มยอดขายของผลิตภณั ฑท ม่ี ีอยใู นปจจบุ นั ใหขยายตวั
เขาสตู ลาดใหม
3. การพัฒนาผลิตภัณฑ คือ การเพ่ิมยอดขาย โดยวิธีการพัฒนาผลิตภัณฑใหม
หรอื ปรับปรุงผลติ ภัณฑเกา
4. การขยายชนิดผลิตภัณฑ คือ การขยายตัวเขาสูธุรกิจดานใหม ๆ เชน ธุรกิจทอผา
ขยายตวั ไปสธู ุรกจิ การผลติ รองเทา เปนตน
63
การวางแผนกลยุทธทางการตลาด เปนการจัดทําแผนกิจกรรมของงานทกุ ดานท่ีเขา มา
สนบั สนุนแผนงานการตลาดของตนเอง ของกลมุ หรอื ขององคก ร ใหมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยทุกฝาย
ชวยกันพิจารณาทางเลือก แลวเลือกทางที่เหมาะสมกับเวลาท่ีจะดําเนินการควบคูกับตนทุน คาใชจาย
ที่จาํ เปน เพื่อใหชวยบรรลุเปาหมายตาง ๆ โดยมีรายละเอียดดงั น้ี
1. สรุปปจจัยภายนอก และภายในท่ีมีผลกระทบดานการตลาดของตนเอง ของกลุม
หรือขององคกร ตลอดจนพิจารณาจุดออน จุดแข็งตาง ๆ ภายใน วิเคราะหภาวการณแขงขัน โดยการ
ตรวจสอบการตลาด
2. พิจารณาปจจัยตาง ๆ ที่มีผลกระทบตอความสําเร็จ หรือลมเหลวของการตลาด
ของตนเอง ของกลมุ หรอื ขององคกร
3. ตงั้ ขอสมมุติฐานอนาคตของตัวเอง ของกลุม หรอื ขององคก ร
4. กําหนดวัตถปุ ระสงคทางการตลาด
5. กาํ หนดกลยทุ ธใหงานตาง ๆ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค
6. จดั ทาํ แผนงาน และแผนการดําเนนิ งานตา ง ๆ เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคตามกลยุทธ
ทว่ี างไว
7. ติดตามผลเพ่ือใหปฏิบตั ิตามแผนทบทวนปรับปรุง ใหส อดคลองกบั ความจําเปนตาง ๆ
การจดั ทาํ แผนการจัดการการตลาด
เปนการคาดการณเหตุการณตาง ๆ ในอนาคต และตัดสินใจเลือกแนวปฏิบัติท่ีดีที่สุด
โดยผานกระบวนการคิดกอนทํา เพื่อใหบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายท่ีไดตั้งไว ข้ันตอนการทําแผน
การจัดการการตลาด มดี งั นี้
1. ศึกษาสภาพแวดลอมขององคกรเกี่ยวกับอนาคต เชน ศึกษาถึงปจจัยภายนอก
และภายในขององคกรวา มอี ะไรบาง ท่ตี อ งการใหส นับสนุน หรือมีผลตอองคกรในอนาคต เชน การทํา
นํ้าสมุนไพรของกลุมแมบาน จะตองมีการทําแผนการผลิต เคร่ืองมือ วัตถุดิบ ราคา ผูจัดทําแผน
จําเปนตองติดตามเฝาดูอยูตลอดเวลา และจะตองศึกษาตอไปวาจะมีการพัฒนาอะไรตอไปบาง หรือ
มปี ญหาอะไรท่จี ะเกิดขึ้น ซง่ึ ผูทําแผนจะตองนาํ มาพจิ ารณาตอ ไป
2. วตั ถุประสงค ในการกําหนดวตั ถปุ ระสงคจะเปนการกําหนดวาจะทําอะไรเพ่ือใคร
ในการกําหนดวัตถปุ ระสงคน้นั จะตองรัดกมุ และครอบคลุมส่งิ ท่ีตองการ
3. การสรา งเปา หมาย หมายถึง จํานวนที่ระบุไว และสามารถวัดไดในระยะเวลาสั้น ๆ
เชน ภายในป พ.ศ. 2552 จะตอ งจําหนา ยนํ้าสมนุ ไพรได 100,000 ขวด เปนตน
4. การกําหนดแผนการดําเนนิ งาน หมายถึง การกําหนดข้ันตอนในการดําเนินงานตาง ๆ
ซึ่งการกําหนดแผนการดําเนินงานน้ีจะชวยทําใหการดําเนินงานภายในกิจกรรมนั้น บรรลุ
ตามวัตถปุ ระสงคทก่ี ําหนดไวไ ดอยา งมีประสิทธภิ าพ
64
5. แผนปฏิบัติงาน ในการดําเนินการกิจกรรมตาง ๆ นั้น การมีแผนปฏิบัติงาน
อยางเดียวนั้นยังไมเพียงพอ หากแตตองดําเนินการกิจกรรมน้ัน ๆ อยางตอเน่ืองตามแผนท่ีกําหนดไว
กจิ กรรมน้ันจึงจะสําเร็จตามเปาหมาย
6. ในการดําเนินการกิจกรรม ในบางคร้ังตองมีการปรับแผนตามขอมูลยอนกลับ
นั่นหมายถงึ การปฏบิ ตั ิงานตามแผนแลว ผลท่ีไดไมเปนไปตามแผน จะตองปรับแผน อาจจะเปนระบบ
ของงาน หรอื ตัวบคุ คล หรือวิธีการดําเนนิ งานท่ีวางไว
ตวั อยาง ตารางแสดงการจดั ทําแผนการจัดการตลาด
กจิ กรรม ตารางแสดงแผนการดาํ เนินการของกลมุ แมบ าน
เดอื นทดี่ าํ เนนิ การ
วางแผนการตลาด
ประชาสมั พันธ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ใหความรฝู ายขาย
ดําเนินการขาย
สรปุ ผลการขาย
65
ใบงานท่ี 14
ใหผ ูเ รยี นวางแผนการขายสนิ คา ของตนเอง แลว เขยี นแผนภมู ิวางแผนการจัดการตลาด
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
66
บทที่ 5
การขบั เคล่อื นสรางธรุ กจิ เพ่ือเขา สูอาชพี
สาระสําคญั
สิ่งสาํ คญั ในการขบั เคลือ่ นธรุ กจิ เพอ่ื เขาสูอาชีพ ผปู ระกอบการจะตองมีความรูเก่ียวกับ
การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนปฏิบัติการ การพัฒนาแผนปฏิบัติการ ขั้นตอนการขับเคลื่อน
การสรา งธุรกิจ สรปุ ปญหาอปุ สรรค และแนวทางแกไขที่เกิดจากการขับเคลื่อนธุรกิจ เพ่ือการตัดสินใจ
ดําเนนิ การ
ตวั ชี้วัด
1. วิเคราะหค วามเปน ไปไดข องแผนปฏบิ ัตกิ าร
2. พฒั นาแผนปฏบิ ตั กิ าร
3. อธิบายข้นั ตอนการขบั เคล่ือนสรา งธุรกิจได
4. อธบิ ายปญ หา อุปสรรค และแนวทางแกไ ขทเี่ กดิ จากการขับเคล่ือนธรุ กจิ
ขอบขายเนอ้ื หา
เร่ืองที่ 1 การวเิ คราะหความเปนไปไดข องแผนปฏบิ ตั ิการ
เรอ่ื งท่ี 2 การพฒั นาแผนปฏบิ ตั กิ าร
เรื่องที่ 3 ขนั้ ตอนการขับเคลื่อนการสรา งธรุ กิจ
เรื่องท่ี 4 ปญ หา อุปสรรค และแนวทางแกไข
สอ่ื การเรียนรู
1. ใบความรู
2. แหลงเรียนรู
3. ใบงาน
67
เรือ่ งท่ี 1
การวิเคราะหความเปน ไปไดข องแผนปฏบิ ัตกิ าร
เมื่อดําเนินการจัดทําแผนปฏิบัติการเปนท่ีเรียบรอยแลว ผูประกอบการควรจะตองมีการ
วเิ คราะหค วามเปน ไปไดข องแผนควบคูไ ปดวย เพ่ือประเมนิ ความเปนไปไดของแผน เพราะแผนท่ีดีตอง
อยบู นพื้นฐานความเปน ไปไดและนํามาปฏบิ ัตจิ ริง จงึ จะเกดิ ประโยชนค มุ คาในการดาํ เนินการจัดทาํ แผน
ดงั กลาวผปู ระกอบธุรกิจจาํ เปน ท่ีจะตองมคี วามรูและประสบการณเฉพาะดานเปนอยางดี หรืออาจสงให
ผเู ช่ียวชาญเฉพาะดา นในแตล ะแผนยอ ย ๆ ในแผนธุรกิจ เปนผูว ิเคราะหใหความเห็น ในความเปนไปได
ของแผนดังกลา ว ดังน้ี
1. วิเคราะหค วามถูกตองนาเช่ือถือของขอมูลพื้นฐานที่จะนํามาใชในการกําหนดแผน
วามีความเที่ยงตรงเพียงใด เพราะถาหากไมเท่ียงตรงมาเสียต้ังแตจุดเริ่มตนแลว สิ่งท่ีจะถูกกําหนดขึ้น
ตามมาก็จะคลาดเคล่ือน และหางไกลความเปนจริงที่อาจเปนไปไดในแผนทั้งหมด เชน การไดขอมูล
เกี่ยวกับคูแขงขันมาไมถูกตอง ก็ทําใหเราประเมินความสามารถของคูแขงขันผิดไป ผลที่ตามมาคือ
อาจทําใหเ ราประมาทคแู ขง ขัน หรอื ใชกลยุทธท ผี่ ดิ ทางไปก็เปนได ดงั น้ัน ในการวเิ คราะหต องตรวจสอบ
แหลงท่มี าของขอ มูลใหเปนแหลงที่ถูกตอ งสาํ หรับฐานขอมูล และความทันสมยั ของขอมูล
2. วิเคราะหวัตถุประสงค จะทําอะไรเพื่อใคร ในส่ิงที่จะทํามีความยาก - งาย สามารถ
หาวัสดุ หรือวัตถุดิบท่ีจะใชไดตลอดทุกฤดู ท้ังคุณภาพ และปริมาณ เพื่อตอบสนองตอผูบริโภคท่ีได
กําหนดไว เมือ่ วัตถุดบิ มนี อย หรือไมพอจาํ นวนผบู รโิ ภคจาํ เปน ตองลดลงตาม เพอ่ื การดาํ เนนิ ธุรกิจจะได
ดําเนนิ การไดอยา งราบรื่น ลดความเสี่ยงจากปญ หาส่งิ แวดลอ ม เชน สภาพเศรษฐกจิ สงั คม การเมือง และ
ภยั ทางธรรมชาติ
3. วิเคราะหเปาหมายที่ไดกําหนดไว ควรมีการวิเคราะหพฤติกรรมของผูบริโภค
จะเกิดประโยชนห ลายประการ คือ
3.1 ใชป รบั ปรุงกลยทุ ธก ารตลาด โดยการวเิ คราะห และออกแบบกลยทุ ธไดถกู ตองกวา
3.2 สามารถมีกลวิธกี ารเขาพบลูกคากอนหลงั ดว ยวธิ กี ารตา งกนั
3.3 สามารถปรับสว นประสมทางการตลาดท่ีถกู ตองไดป ระสทิ ธภิ าพหลายแงม ุม
ยงิ่ ขึ้น โดยใชก ลยุทธเชิงรวมจึงไดผ ลกวา
3.4 สามารถเพ่ิมคณุ ภาพของศิลปะการปฏบิ ัติตามผลการตลาด โดยเฉพาะการโนมนา ว
ชักจงู และการสรา งอทิ ธิพลเหนือผูบรโิ ภค
4. วเิ คราะหถ ึงผลตอบแทนของแผนปฏิบัตกิ าร เปนการวเิ คราะหว าจะไดผลตอบแทน
คมุ กับการลงทุนหรือไมเม่ือส้นิ สดุ แผนการปฏิบัตกิ ารแลว ตามผลที่คาดวาจะไดรับวาจะไดกําไรเทาไร
หรอื ขาดทนุ เทา ใด
68
หลังจากผานการวิเคราะหทั้ง 3 ขอแลวก็พอประเมินไดวา สมควรท่ีจะจัดทํา
ตามแผนปฏิบัตกิ าร หรอื โครงการนีห้ รอื ไม โดยพจิ ารณาความพรอมของตนเอง และสภาพแวดลอมอื่น ๆ
นาํ มารวมพิจารณาตัดสินใจดวย แผนปฏิบัติการจะเปนไปไดมากนอยเพียงใดก็ข้ึนอยูกับผูปฏิบัติ และ
วิธีปฏิบตั เิ ปนสาํ คัญ หากคิดใหดีแลว จะเห็นวาแมแผนท่ีเขียนข้ึนไวจะดีเพียงใดหากผูนําไปปฏิบัติไมมี
ความเขาใจในแผน ไมเหน็ ความสําคัญ หรือไมใ หความรวมมือดวยแลว ทุกอยา งกอ็ าจลมเหลว ส่ิงที่ผูทําแผน
คิดวาเปนไปไดก อ็ าจเปนไปไมไดใ นทส่ี ุด ทางที่ดแี ลว ในข้ันตอนการเขียนแผน ควรจะไดเปดโอกาสให
ผูท่ีเกี่ยวของ โดยเฉพาะผูท่ีมีหนาที่ในการนําแผนไปปฏิบัติ ไดมีสวนรวมในการจัดทําแผนดวยเพื่อให
แผนนั้น ๆ เกิดความเปนไปไดมากท่ีสดุ ในการนาํ ไปปฏิบัติ
69
ใบงานท่ี 15
ใหผเู รียนนําแผนการปฏบิ ัติการในบทท่ี 2 มาวิเคราะหความเปน ไปไดของแผนปฏบิ ตั ิการ
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
70
เร่อื งที่ 2
การพัฒนาแผนปฏิบตั ิการ
การพฒั นาแผนปฏบิ ัตกิ าร เปน การนาํ ผลการวิเคราะหค วามเปนไปไดของแผนปฏิบัติการ
ของผูประกอบการมาตอยอด เพื่อพัฒนางานอาชีพในธุรกิจของตนใหดําเนินงานไดดียิ่งข้ึน กลาวคือ
บางครั้งอาชีพหนึ่งอาจมีความสัมพันธกับอีกอาชีพหนึ่งได หรือผลพลอยไดจากอาชีพหนึ่ง กอใหเกิด
รายไดใ นอีกอาชพี หน่ึง เปน การเชื่อมโยงกันเพ่ือลดความเส่ียงของธุรกิจ หรือเพื่อใหเกิดรายไดเพิ่มข้ึน
ซง่ึ สามารถเช่อื มโยงได 3 รูปแบบ ดังนี้
1. ความสัมพนั ธร ะหวา งอาชพี โดยศึกษาขอมูลอาชีพหนึ่ง กับอีกอาชีพหนึ่งท่ีเกิดข้ึนใหม
เพื่อใหอาชพี ที่มีอยเู กดิ ความสัมพนั ธกัน เชน อาชีพชาวนาเมื่อนวดขา วเสรจ็ แลวจะมฟี างมากมาย ไมมเี วลา
และอุปกรณในการอัดฟาง ก็จะเกิดอาชีพพอคาอัดฟางขายใหกับผูเล้ียงโค กระบือ และฟารมเห็ดฟาง
และจะเกิดอาชีพการทําปยุ หมกั จากมูลโค และกระบอื กับเศษกองเหด็ ทเ่ี พาะเห็ดแลว เมอ่ื ไดป ยุ หมกั ก็จะมี
ธุรกิจทําดนิ ปลกู ตนไม ซ่งึ กาํ ลงั เปนที่นิยมกันอยา งแพรหลาย
ขาวเปลอื ก ชาวนา ฟาง
โรงสี อัดฟาง
ปลายขาว เล้ียงสัตว
ขาวสาร แกลบ รําละเอยี ด มลู สตั ว เพาะเห็ด
แปรรปู บริโภค ปยุ หมัก
2. ผลพลอยไดจากการประกอบอาชพี ในการประกอบอาชพี หน่งึ หลังจากทไ่ี ดผลผลิต
ออกแลว มกั จะมผี ลพลอยไดของผลิตภณั ฑอ อกมา เชน โรงเล่ือยไมยางพารา จะมีขี้เล่ือยออกมาก จะเกิดอาชีพ
พอคาขายข้ีเลื่อยไมยางพารา ซึ่งกําลังเปนที่ตองการของผูประกอบการเพาะเห็ดกอน โดยรับจัดสงได
ทั่วประเทศ จะเกิดอาชีพการเพาะเห็ดกอน เม่ือเห็ดออกหมดแลวกอนเห็ดจะถูกทิ้งไป จะมีคนมารับ
ไปทําปยุ หมกั ตอ อกี
71
โรงเล่อื ยไมยางพารา
ไมอดั ข้เี ลื่อย ปุยหมกั
เพาะเหด็ ถงุ ดินเพาะปลกู
3. การประยุกตใชทรัพยากรที่มีอยู เกิดอาชีพรับซื้อของเกา ก็กําลังเปนที่นิยม ท่ีเปน
อาชีพอิสระที่มีรายไดดี และก็เกิดรานรับซื้อของเกา แลวนําเอาทรัพยากรเหลานี้มาใชใหม โดยใช
เทคโนโลยเี ขา ชวยก็สามารถไดท รัพยากรกลับมาใชไ ดอกี
ขายเอง รานรบั ซอื้ ของเกา พอ คาของเกา
นํามาใชใหม นาํ มาแปรรูป
ขวดชนิดตา ง ๆ ใหม
ทําโมบาย
โรงงานตาง ๆ รา นคา ปลีก
4. ประกอบอาชีพควบคูเก้ือกูลกัน เชน การเลี้ยงสุกรบนบอปลา เมื่อใหอาหารสุกร
เศษอาหารลวงหลน ลงน้ําเปนอาหารของปลา ลา งคอกสกุ รเศษอาหารรวมทั้งสิง่ ขับถายของสุกรก็จะเปน
อาหารปลา น้าํ ในบอปลาใชร ดผัก ดงั นั้นไมไดล งทนุ ดา นอาหารในการเล้ียงปลา แตตองปรึกษาผูรูกอน
วาจะเลี้ยงปลาอะไรและสกุ ร 1 ตวั ตอการเลี้ยงปลากีต่ วั จึงจะไดผ ลตอบแทนท่ีดีและน้ําไมเ นา เสีย
เลยี้ งสุกร มลู สกุ ร เลยี้ งปลา นํา้ ในบอปลา ปลูกผัก
72
ใบงานท่ี 16
ใหผูเรียนยกตัวอยางการพัฒนาแผนปฏิบัติการอาชีพในชุมชนโดยการเช่ือมโยงมา
อยา งนอ ย 2 วิธี พรอมยกตัวอยางประกอบ
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
73
เรื่องท่ี 3
ขนั้ ตอนการขบั เคล่ือนการสรางธุรกิจ
เมื่อผูเรียนไดจัดทําแผนปฏิบัติการแลว จําเปนที่จะตองนําแผนดังกลาวไปจัดทําขั้นตอนการ
ขับเคลื่อนเพ่ือสรางธุรกิจใหเกิดข้ึน จากน้ันนําขอบกพรองในการดําเนินงานมาวิเคราะห เพื่อจะได
ปรับปรุงแกไ ขใหแผนปฏิบตั ิการสมบูรณยิ่งขึ้น
ขั้นตอนการขบั เคล่อื นการสรางธุรกจิ
1. การทําผลิตภณั ฑห รืออาชีพ
เปนการคนหาความคิดของตนเองในการทําผลิตภัณฑ วาจะมีความเปนไปได
หรือไม และมองเห็นชองทางท่จี ะจําหนา ยผลติ ภัณฑของตนเองตามทีก่ ําหนดไวไ ด ซึ่งตองมีการกําหนด
ผลติ ภณั ฑ ดังน้ี
1.1 การจัดซ้ือวัตถุดิบในการผลิต ตองมีการวางแผนการจัดซื้อ จัดหาวัตถุดิบ
มีการตรวจสอบวัตถุดิบท้ังหมด และทุกคร้ังท่ีมีการตรวจรับ ตลอดจนวัตถุดิบคงเหลือควรจดบันทึก
โดยมงุ ไปทว่ี ตั ถใุ นทองถน่ิ หรือบรเิ วณใกลเ คยี ง เพ่อื ลดคา ใชจา ยในการขนสง
1.2 ตองดูคุณสมบัติของผลิตภัณฑ เม่ือทําผลิตภัณฑขึ้นมาแลว ตองมีปริมาณ
เพยี งพอกับความตองการของผบู รโิ ภคไมม ากเกินไปจนผลิตภัณฑเ หลือ และหมดอายุตองนําผลิตภัณฑ
กลับเสียคา ใชจ า ยเพิ่มขึ้น
1.3 ตองกําหนดความตองการและปญหา ตองรูวาผลิตภัณฑที่จะทําสามารถ
แกป ญหาอะไรใหก บั ผูบ ริโภคได ทงั้ ในดานบรกิ าร ความสะดวกสบาย ความสนใจในสนิ คา
2. การทดสอบผลติ ภัณฑ
เปนการพัฒนาแนวความคิดของตนเองเก่ียวกับผลิตภัณฑที่ตนเองสรางข้ึน
และพยายามสรางภาพลักษณท่ีดีในผลิตภัณฑของตนเอง เชน การกําหนดชื่อสินคา และตราสินคาที่
เหมาะสม และสอดคลองกบั ผลิตภัณฑ และจะตอ งมีคําถามในการทดสอบผลติ ภัณฑเสมอ เชน
2.1 ผลติ ภัณฑทส่ี รางขนึ้ นาเชอ่ื ถือหรอื ไม
2.2 ผลิตภัณฑเปนที่ตองการ หรือแกปญหา หรือตอบสนองความพึงพอใจของ
ผบู ริโภคหรือไม
2.3 ผใู ด หรอื เปาหมายใดท่จี ะเปน คนใชผลิตภัณฑ
2.4 ราคาทก่ี าํ หนดไวเ หมาะสมกับผลิตภัณฑ ยดึ หลกั ความมีคุณธรรม
2.5 จัดทําการรับรองสินคาใหไดตามมาตรฐานท่ีกําหนด เพื่อจะไดเครื่องหมาย
รับรอง
74
3. การพัฒนาการตลาด
การพฒั นาการตลาด ตอ งคาํ นงึ ถึงสง่ิ ตาง ๆ ไดแก
3.1 ราคาของผลิตภณั ฑ เหมาะสมกับคุณภาพ และกําลังซอื้ ของผบู ริโภคหรอื ไม
3.2 การบรรจหุ บี หอ ตอ งมกี ารออกแบบบรรจุภัณฑใหสนิ คาเปนท่นี า สนใจสาํ หรับ
ผบู ริโภค
3.3 การขาย ตองมีการสงเสริมการขายที่เปนรูปธรรม และเขาถึงกลุมเปาหมาย
หรอื ผตู อ งการผลิตภณั ฑไ ดรวดเรว็
3.4 การประชาสมั พนั ธ ตอ งมีการโฆษณา หรอื ทาํ การชวนเชื่อใหผ สู นใจซอ้ื สนิ คา ได
3.5 ผลกําไร และขาดทนุ ตองมีการประเมนิ รายได และรายจา ยในการดําเนินงาน
4. การประเมนิ และวิเคราะหผลิตภณั ฑข องตนเอง
เปนการประเมนิ ความตอ งการของผบู ริโภค และยอดขาย กําหนดผลกาํ ไรและขาดทุน
ของการดําเนนิ งานวาเหมาะสมจะขยายกิจการ หรอื ลดขนาดกิจการลง โดยทั่วไปนิยมประเมินจากผลกําไร
และขาดทนุ ในการดาํ เนนิ งาน พรอมท้ังปจ จัยทีส่ ําคญั อีกประการหน่ึง คือ ตัวของผูประกอบอาชีพเองวามี
ความมุงม่นั ทีจ่ ะดําเนินอาชพี ตอไปหรอื ไม
5. การพฒั นาผลติ ภณั ฑ หรืออาชพี ใหเจรญิ กา วหนา
เปนการตอบคําถามตนเองหลังจากประเมิน และวิเคราะหวาตนเองสามารถ
ปรับปรงุ หรอื เปลย่ี นแปลงผลิตภัณฑ โดยใชเทคนิค และวิธีการตาง ๆ ท่ีตนเองมีความรูความสามารถ
เชน การบรรจุหีบหอ การปรุงแตง และการประชาสัมพันธ เปนตน ซึ่งสิ่งตาง ๆ เหลานี้ตองคํานึงถึง
การยอมรบั ของผูบ รโิ ภคเปนสําคญั
75
เรอ่ื งท่ี 4
ปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไ ข
ปญหาอปุ สรรค
ในการปฏิบัติงานมักจะมีปญหาและอุปสรรคเขามาเก่ียวของ ทําใหธุรกิจไมสามารถ
ดําเนนิ งานไปตามแผนปฏบิ ัติการทวี่ างไว สว นใหญปญ หาจะเกดิ จากสง่ิ ทเ่ี ราไมส ามารถควบคมุ ได เชน
1. ปญ หาจากภัยธรรมชาติ
1.1 ภัยแลง เกิดจากการที่ฝนไมตกตามฤดูกาล หรือการขาดที่กักนํ้าไวใชในฤดูแลง
สงผลใหเ กษตรกรประกอบอาชพี ทางการเกษตรไมไดเ น่อื งจากการขาดนํ้า
1.2 อุทกภัย (ภัยน้ําทวม) ในบางครั้งฝนตกมากเกินไป จนเกินความตองการ
ของเกษตรกร ทาํ ใหเกดิ นํา้ ทว ม ไรนาเสยี หาย บางรายถึงขนาดหมดตัว
1.3 วาตภัย (ภัยลม) อาจจะมาในลักษณะของพายุฤดูรอนที่มีกระแสลมพัดแรงมาก
ซง่ึ กอ ใหเกดิ ผลเสียหายแกพชื ไร พืชสวน เปน ตน
1.4 อคั คภี ยั (ภยั ไฟไหม) มักจะเกดิ ในชวงฤดูรอน จากการที่กิ่งไมเสียดสีกัน ทําใหเกิด
ไฟปา ซึง่ อาจจะลุกลามเขามาในเขตไรน าของชาวบา น ทาํ ใหเ กิดความเสยี หาย
1.5 ศัตรูพืช เกือบทุกปพืชไร พืชสวน มักจะถูกทําลายจากต๊ักแตน หนู ฯลฯ ทําให
เกษตรกรเสียหาย และเดอื ดรอน
2. ปญหาการตลาด
2.1 ปญหาการผลิตสินคาและบริการคุณภาพ ปริมาณ ราคา หีบหอ เปนขอมูลในการ
พฒั นาผลิตภัณฑ จุดเสนอขาย จุดโฆษณา
2.2 ปญหาดานตลาดท่ีตองการขาย คือ การกําหนดเปาหมายการขายเปนชวงสั้น ๆ
3 เดือน 6 เดอื น และปรับปรงุ ทกุ 3 เดือน 6 เดือน โดยกาํ หนดพ้ืนที่
2.3 ปญหาดานนโยบาย และการขาย ไดแก ชองทางการจําหนายสินคาออกสูตลาด
เปนการสรา งความเขมแขง็ ความม่ันคงของกจิ การ กลมุ หรือองคก ร
2.4 ปญ หาโฆษณา เพ่อื สง เสริมการขาย การโฆษณา มีอิทธิพลทาํ ใหผ บู รโิ ภคอยากลอง
จงึ ควรเลอื กขอ ความทีเ่ หมาะสมกับกลุมบรโิ ภค จะเกิดประโยชนมากท่สี ดุ
3. ปญหาแหลงเงนิ ทนุ
การประกอบอาชีพขนาดยอ ม ลงทนุ ไมม าก แตแหลง เงินทนุ ไมส นบั สนนุ เพราะธนาคาร
มักใหก ารสนับสนนุ การลงทนุ โครงการใหญเปน สวนใหญ
76
4. ปญหาการขาดการควบคมุ การผลิต
ปญหาการขาดการควบคุมการผลิตเกิดจากการทําตามกัน ทําใหเกิดผลเสียหายกับ
ผูลงทนุ โดยเฉพาะอาชีพทางการเกษตร นอกจากจะตอ งอาศยั ธรรมชาตแิ ลว ยังตองอาศัยตลาดเพอื่ รบั รอง
ผลผลติ ดวย โดยทไ่ี มมหี ลกั ประกนั วา จะขายไดราคาดีเสมอไป เพราะขึ้นอยูกับความตองการของตลาด
เปนสําคญั หากไมม กี ารควบคุมการผลติ เกษตรกรทําตามกนั มาก ๆ ผลผลิตก็จะลนตลาด ตวั อยางปญหา
ที่เกดิ จากการทาํ ตามอยา งกัน
1. เกษตรกรเห็นวาปน้ี แตงโมขายไดราคาสูง คนปลูกแตงโมในปนี้ ไดกําไรมากก็มี
การตามอยางกัน โดยตางก็หันไปปลูกแตงโมกันในปหนา เปลี่ยนจากไรขาวโพด มันสาํ ปะหลัง เปน
ไรแตงโม เม่ือเกษตรกรปลูกมาก ผลติ มาก ผลผลิตลนตลาด ราคาแตงโมจึงตกตํ่ามาก เกษตรกรขายได
ราคาถูก เนาเสีย ขาดทุนมากมาย แตราคาขาวโพด และมันสําปะหลังราคาสูงข้ึน ถาเกษตรกรหันไป
ปลูกขาวโพด และมนั สําปะหลังอีก ในปถัดไปราคาอาจถกู ลงเพราะปรมิ าณมากเกินไป
2. หางสรรพสินคาเกิดขึ้นมาแขงขันกันมากเกินความจําเปน ทําใหผูบริโภคไปใช
บริการทห่ี างสรรพสินคา เพราะมเี ครอื่ งอาํ นวยความสะดวก มสี นิ คาครบทุกอยา ง และมีรายการสงเสริม
การขายดวย
3. ปญหาคนวางงาน ในปจจุบันมีประชากรเพิ่มขึ้นในขณะท่ีทํามาหากินเทาเดิม
และอาชีพตาง ๆ ก็ไมไดเพ่ิมขึ้น ดังน้ันจึงเกิดปญหาคนไมมีงานทํามากข้ึน ปริมาณการวางงานของ
ประชากรมีผลเสียหายตอเศรษฐกิจของชาติโดยตรง เพราะการมีงานทําคือการสรางผลผลิต และ
การสรางผลผลิต คือ การทาํ ใหเ ศรษฐกจิ ของชาติดีขึ้น เหตผุ ลของการวา งงานอาจมาจาก
- คนวา งงาน เพราะตลาดแรงงานมนี อ ย
- คนวางงาน เพราะไมมีฝม ือ
- คนวา งงาน ตามฤดกู าล เชน หลงั การทํานา
สรุปผลกระทบท่เี กดิ จากการวางงานไดดงั น้ี
- เกิดความสญู เปลา ทางแรงงาน
- ทาํ ใหเ ศรษฐกิจในครอบครัวตกต่ํา และกอ ใหเ กดิ ความตกตํ่าตอ เศรษฐกจิ
โดยรวม
- ทําใหเกิดปญหาสังคม
- ทําใหสขุ ภาพจิตเสอื่ มโทรม
77
แนวทางแกไ ข
1. ปญ หาจากภัยธรรมชาติ ในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
เกษตรกรควรนําเอาการเกษตรผสมผสานตามแนวทฤษฎีใหมของพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาใช โดยใหแบง พน้ื ที่ออกเปน 4 สวน ตามโครงสรางในอัตราสวน
30 : 30 : 30 : 10
สวนแรก รอ ยละ 30 ใหขดุ สระกกั เกบ็ นํา้ ในฤดูฝนไวเพาะปลูก และใชเสริมการปลูกพืช
ในฤดูแลงไดตลอดป ทั้งยังใชเลี้ยงปลา และปลูกพืชน้ํา พืชริมสระเพื่อบริโภค และเพิ่มรายไดใหกับ
ครอบครัวอีกทางหน่ึงดวย โดยพระราชทานแนวทางการคํานวณวาตองมีน้ํา 1,000 ลูกบาศกเมตรตอ
การเพาะปลกู 1 ไร โดยประมาณ และบนสระนา้ํ อาจสรางเลา ไก เลาหมูไดดว ย
สว นท่สี อง รอ ยละ 30 ใหทาํ นาขาว เนือ่ งจากคนไทยบริโภคขาวเปนอาหารหลัก โดยมี
เกณฑเ ฉลยี่ เกษตรกรบริโภคขาวคนละ 200 กโิ ลกรัมขา วเปลือกตอป เกษตรกรมีครอบครัวละ 3 - 4 คน
ดังนั้นปลูกขาว 5 ไร ผลผลิตประมาณไรละ 30 ถัง ซ่ึงเพียงพอตอการบริโภคตลอดป หลังจากการ
เก็บเก่ียวขาวแลวยังสามารถปลูกพืชตระกูลถั่วจะไดประโยชนอีก 2 ทาง คือ ไดผลผลิตจากถั่ว และ
พชื ตระกลู ถ่วั จะมีความสามารถตรึงธาตุไนโตรเจนจากอากาศมาเก็บไวท ป่ี มราก ทาํ ใหเพ่มิ ปยุ ไนโตรเจน
ในดินดว ย
สวนท่ีสาม รอ ยละ 30 ใหปลูกไมผล ไมย นื ตน ไมใชส อย ไมทําเช้ือเพลิง ไมสรางบาน
พืชผัก พืชไร พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อการบริโภค และใชสอยอยางพอเพียง หากเหลือบริโภคก็นําไป
จําหนายเปนรายไดต อ ไป
สวนท่ีส่ี รอยละ 10 เปนท่ีอยูอาศัย และอ่ืน ๆ เชน ถนน คันดิน ลานตากผลผลิต
กองปุยหมกั โรงเพาะเห็ด พชื ผักสวนครวั คอกสกุ ร เลาไก เปน ตน
การบริหารจัดการดังกลาว จะสามารถแกปญหาภัยจากธรรมชาติได ทั้งภัยแลง จะมี
แนวกนั้ นา้ํ รอบพ้ืนท่ีอทุ กภัย จะมีแนวกําบังลมจากตนไมปลูกรอบแปลงทํากิน วาตภัยไมสามารถเขาได
เพราะมีคนั ดนิ รองน้าํ ปอ งกัน สวนศัตรพู ชื มีการปลูกพชื หมนุ เวยี นทาํ ใหวงจรชีวติ เปล่ียนไป ไมสามารถ
เจรญิ เติบโตได
2. ปญหาการตลาด
ในการแกป ญ หาเกีย่ วกบั แหลงเงนิ ทุน และการขาดการควบคมุ ควรยึดหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมาปฏิบัติ ดงั นี้
ความพอเพยี ง
1. ความพอประมาณ พอดี ไมมากไมนอยจนเกินไปกับศักยภาพของตนเองกับ
ภูมสิ ังคม และไมเ บยี ดเบียนตนเองและผอู ื่น
78
2. ความมเี หตผุ ล ตดั สินใจเกี่ยวกบั ความพอเพียง ตองเปนไปอยา งมีเหตมุ ีผล
ตัดสนิ ใจจากเหตุปจ จัยที่เก่ยี วขอ ง และตดั สนิ ใจโดยคํานึงถึงผลที่จะเกดิ ข้นึ
อยางรอบคอบ
3. การมภี ูมิคุมกนั ในตัวทีด่ ี คาดการณความเส่ยี งจากการเปล่ยี นแปลงดา นตาง ๆ
ทีค่ าดวาจะเกิดขึ้นในอนาคตทัง้ ใกล และไกล เตรียมตัวใหพ รอ มรับผลกระทบ
กับความเปลย่ี นแปลงตาง ๆ
การใชคุณธรรมกาํ กบั ความรู
1. เง่ือนไขคุณธรรม ซ่ือสัตยสุจริต อดทน ความเพียร ใชสติปญญาในการ
ดาํ รงชวี ติ รูร กั สามัคคี
2. เง่ือนไขความรู ความรูดานวิชาการท่ีเก่ียวของ และความรอบคอบท่ีจะนํา
ความรมู าพิจารณาเชื่อมโยงกันเพ่อื ดําเนินชวี ติ
“.....คําวา พอก็พอเพียง เพียงนี้ก็พอ ดังนั้นคนเราถาพอในความตองการ ก็มีความโลภนอย เมื่อมี
ความโลภนอยกเ็ บยี ดเบยี นคนอืน่ นอย ถา ทกุ ประเทศมคี วามคิด อันนี้ไมใชเศรษฐกิจ มีความคิดวาทําอะไร
ตอ งพอเพียง หมายความวา พอประมาณไมส ุดโตง ไมโ ลภอยางมาก คนเราก็อยูเปนสุข พอเพียงน้ีอาจจะ
มีของหรูหราก็ได แตวาตองไมไปเบียดเบียนคนอ่ืน ตองใหพอประมาณ ตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง
ทําอะไรกพ็ อเพยี ง ปฏิบัติตนก็พอเพียง.....”
พระราชดํารสั พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช
ณ ศาลาดสุ ดิ าลัย สวนจิตรดา
4 ธนั วาคม 2541
79
ใบงานที่ 17
ใหผ ูเรยี นคนควาหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ท่เี กี่ยวกบั ปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไขมา 2 ขอ
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
80
บทท่ี 6
โครงการเขา สูอาชีพ
สาระสาํ คญั
ในการเขาสอู าชพี ใด ๆ กต็ าม โครงการเปนเสมอื นแนวทาง ทิศทางทีจ่ ะชวยใหการทําอาชีพนั้น
มีความชัดเจน ดงั น้ัน ผูป ระกอบการจะตอ งมีความรู ความเขาใจ ความสําคัญของโครงการประกอบอาชีพ
โดยมีข้นั ตอนการเขียนโครงการไดถ กู ตอง พรอมเขยี นแผนปฏิบตั กิ ารประกอบอาชีพ สามารถตรวจสอบ
โครงการไดถ ูกตองและเหมาะสม
ตัวช้ีวดั
1. อธบิ ายความสาํ คัญของการทําโครงการประกอบอาชีพ
2. เขยี นโครงการ
3. เขียนแผนปฏบิ ัติการ
4. สามารถตรวจสอบโครงการไดถ ูกตอ งและเหมาะสม
ขอบขายเนอ้ื หา
เรอื่ งที่ 1 ความสาํ คญั ของการทําโครงการประกอบอาชีพ
เร่ืองท่ี 2 ขัน้ ตอนการเขียนโครงการ
เร่ืองท่ี 3 การเขยี นแผนปฏบิ ตั กิ าร
เรอ่ื งที่ 4 การตรวจสอบโครงการ
ส่อื ประกอบการเรยี นรู
1. ใบความรู
2. ใบงาน
3. อินเทอรเ น็ต
81
เรือ่ งท่ี 1
ความสําคัญของการทาํ โครงการประกอบอาชพี
โครงการประกอบอาชีพ เปนการทํางานเพอื่ นําไปสูอาชีพ และการมีรายได โดยกําหนดวิธีการ
ทํางาน และระยะเวลาลวงหนา เชน โครงการถนอมอาหารจากผลไม โดยการปลูกผักปลอดสารพิษ
โครงการถนอมอาหารจากพชื โครงการทาํ ชดุ รบั แขกจากไมยางพารา โครงการทําปุยหมัก เปนตน ซ่ึง
ในการศกึ ษาเรื่องโครงการประกอบอาชพี ควรทราบรายละเอยี ดตอไปนี้
1. ประเภทของโครงการประกอบอาชพี
โครงการประกอบอาชีพมีหลายประเภท สามารถเลือกตามความถนัด ความสนใจของแตละ
บุคคล การทําโครงการจึงควรเรียนรูประเภทโครงการ และลักษณะโครงการใหละเอียด เพ่ือใชเปน
ขอมูลในการตัดสินใจเลือกโครงการที่ตรงกับความสนใจของตนเอง โดยสามารถแบงประเภทของ
โครงการ ดังน้ี
1.1 ประเภทอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทย เปนโครงการที่ใหคุณคา และเอกลักษณ
ความเปน ไทย ซงึ่ เปนการสบื ทอดมรดกไทยใหคงอยูต ลอดไป เชน งานประดิษฐต าง ๆ การทาํ อาหารไทย
และขนมไทย ตลอดจนงานศิลปหตั ถกรรมตาง ๆ เปน ตน
1.2 ประเภทรวบรวมเอกสาร หรอื แหลงคน ควา อ่ืน ๆ อาจเปน สมุดภาพ แฟม สะสมงาน
และเอกสารการศึกษาเรื่องท่ีสนใจ โดยมีเน้ือหาสาระเพียงพอ และเหมาะสมกับวุฒิภาวะของบุคคล
ท้ังดานปรมิ าณ และคณุ ภาพ
1.3 ประเภททดลอง เปนการทดลองเพอื่ หาคําตอบ หรอื หาผลที่จะเกิดข้ึน จากการทดลอง
ท่เี หมาะสมกับวุฒิภาวะของบคุ คล เชน การสกัดสีจากพืช การถนอมอาหารจากพชื ผกั และการผสมพันธุ
ปลากัด เปน ตน
1.4 ประเภทพัฒนาจากงานเดิม เปนการปรับเปลี่ยนรูปแบบวัสดุท่ีใช สีสัน ขนาด
และรปู รา งใหแ ตกตางจากของเดมิ หรือดกี วา เดมิ ทง้ั ดานความสวยงาม และคุณภาพ เชน กลอ งใสป ากกา
ดินสอ พรมเช็ดเทา กระเปาผา ถงุ ใสของขวัญ เปนตน
2. ปจจัยการทาํ โครงการประกอบอาชีพ
การทําโครงการประกอบอาชีพมีปจจยั ตาง ๆ ทเี่ ขา มาเกย่ี วของ ดงั นี้
2.1 ความถนัดและความสนใจในการเลือกโครงการ เพ่ือปองกันความผิดพลาด
ทจี่ ะเกิดขนึ้ ระหวา งเรียน ทาํ ใหไมส ามารถทําโครงการไดส าํ เรจ็ ตองเปลีย่ นโครงการในระหวางภาคเรยี น
ซงึ่ มีผลกระทบตอการพฒั นา และพฒั นาตนเอง
82
2.2 การรวมกลมุ ทําโครงการ เลือกทําโครงการในส่ิงท่ีสนใจ และมีความถนัดตรงกัน
เพื่อพัฒนาทักษะการทํางานเปนทีม สรางผูนํา และผูตามที่ดี ตลอดทั้งคุณลักษณะที่พึงประสงค
ในการทํางานรว มกับผูอ น่ื ไดอ ยางเหมาะสม
2.3 การนําทรัพยากรทองถิ่นมาใชทําโครงการ ซึ่งประกอบดวยวัสดุตาง ๆ ที่มี
ตามธรรมชาติ หรอื เศษวัสดุทีเ่ หลือใช รวมท้งั ภูมิปญญาทอ งถ่นิ ท่มี ีความรคู วามสามารถดา นตา ง ๆ นํามา
เปนท่ปี รกึ ษาในการทําโครงการ
2.4 งบประมาณในการทาํ โครงการ ควรใชง บประมาณอยา งประหยดั และราคาไมแพง
เกนิ ไป ถา สามารถหาวัสดุที่ไมต อ งใชเ งินทนุ ไดจ ะชว ยลดคาใชจา ย ทาํ ใหต น ทนุ ตา่ํ และมีโอกาสท่ีจะได
กําไรมากขน้ึ
2.5 เวลาในการทําโครงการ การทําโครงการควรพิจารณาดานเวลาอยางรอบคอบ
ทัง้ ในการปฏบิ ตั โิ ครงการตงั้ แตตอนแรก จนถึงขัน้ ตอนสดุ ทาย และประเมนิ วา ต้งั แตแ รกจนผลงานสาํ เร็จ
จะตอ งใชร ะยะเวลานานเทา ใด และอาจเลือกไดม ากกวา 1 โครงการตอภาคเรียน ซ่ึงกําหนดไวในตาราง
แผนปฏิบตั ิงาน ดังน้ี
ลําดับที่ ข้ันตอน ภาคเรียนที่ .....1/..........
พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
2.6 สถานทีท่ าํ โครงการ ควรสาํ รวจสถานทเี่ หมาะสม และกําหนดสถานท่ีทัง้ ภายใน
หรอื ภายนอกโรงเรยี นใหช ดั เจน เพอื่ ปองกนั ปญ หาขาดแคลนสถานที่ทาํ โครงการ
2.7 วัสดุอุปกรณ และเครื่องมือที่จําเปน ควรสํารวจวาสิ่งใดที่มีในโรงเรียน และ
ส่ิงใดขาดแคลน ควรจัดหามาจากแหลงใดตามความเหมาะสม
83
เรอื่ งท่ี 2
ขนั้ ตอนการเขยี นโครงการ
การเขียนโครงการ กอนการปฏิบัตจิ รงิ ควรมกี จิ กรรมดังนี้
1. การรวมกันศึกษาตัวอยางโครงการประเภทตาง ๆ เพื่อเปนขอมูลในการตัดสินใจ
เลอื กโครงการใหต รงกับความชอบ และความสนใจของตนเอง นอกจากน้ีตองพิจารณาทักษะพื้นฐาน
ในการทําโครงการแตละประเภทวามีความยากงายเพียงใด มีความรู ความสามารถ และความถนัด
เพยี งพอหรอื ไมในการทําโครงการ
2. การรวมกลมุ คนที่มคี วามสนใจตรงกนั มคี วามมุงมนั่ ในการทํางานรว มกัน รักการทํางาน
มีความรับผดิ ชอบ มนี า้ํ ใจชว ยเหลอื ซ่งึ กันและกนั ไมเอาเปรยี บผอู ่นื โดยเฉพาะอยางยิง่ ตองมคี วามสนใจ
ในการทาํ โครงการเร่ืองเดยี วกัน และรว มหุนกนั ทําธรุ กจิ บริษัทแบบจาํ ลอง
3. การสํารวจความสนใจ และความตองการของทองถิ่น รวมท้ังทรัพยากรแวดลอม
และวตั ถุดบิ ทจ่ี ะนํามาใชใ นการทาํ โครงการวามจี าํ นวน และปรมิ าณเพียงพอในการทําโครงการหรือไม
เพื่อเปนแนวทางการพัฒนาไปสอู าชีพในอนาคต
4. การตัดสินใจ เปนการนําขอมูลจากการศึกษา และการสํารวจมาพิจารณา
และตัดสินใจเลือกโครงการ โดยทกุ คนมสี ว นรวมในการตัดสนิ ใจเลอื กโครงการ
5. การประชุมกลุม เพื่อเลือกบุคคลเขาสูตําแหนงที่กําหนดไว ตามบทบาทหนาท่ี
ของแตล ะคน โดยมีตําแหนง สาํ คญั ดงั นี้
5.1 กรรมการผจู ดั การ
5.2 กรรมการฝายผลติ
5.3 กรรมการฝายการเงนิ
5.4 กรรมการฝา ยบัญชี และเลขานกุ าร
ในกรณีสมาชิกในกลุมมีจาํ นวนนอย หรือมากกวา 5 คน อาจปรบั ปรงุ ตาํ แหนง
และจํานวนคนใหเหมาะสม
6. ผใู หค ําปรกึ ษา โดยสมาชิกเลือกอาจารย หรือผูชํานาญเปนท่ีปรึกษา โดยพิจารณา
จากความรคู วามสามารถท่เี หมาะสมกบั โครงการทีก่ าํ หนดไว
7. การประสานงาน สมาชิกภายในกลมุ จะตอ งประสานงานกนั เพอ่ื รับผดิ ชอบข้ันตอนตาง ๆ
ของการทํางาน และขออนุญาตอาจารยมาเปนท่ีปรึกษา พรอมกับขอคําแนะนําในการทําโครงการ
ตลอดจนการเขียนโครงการ บันทึกการปฏิบัติงาน การทําบัญชีรายรับ รายจาย และการคิดตนทุน
ผลกาํ ไร - ขาดทุน เพ่ือความถกู ตองของโครงการ
84
1. ช่อื โครงการ การเขยี นโครงการ
2. หลกั การเหตุผล
3. วตั ถปุ ระสงค ทาํ อะไร
4. เปา หมาย ทาํ ไมจงึ เลอื กประกอบอาชีพนี้
5. ระยะเวลาดําเนินการ ทําแลว จะไดอ ะไรหรอื เกดิ ประโยชนอ ยา งไร
6. ขัน้ ตอนการดําเนนิ งาน ทาํ แลว มผี ลงานอะไรมากนอยเพยี งใด
7. สถานท่ี ทําเมื่อใด
8. งบประมาณ ทําอยา งไร มีข้ันตอนทําอยา งไร
9. ผลท่คี าดวา จะไดร ับ ทาํ ที่ไหน
10. ชือ่ ผูดําเนินโครงการ ใชท รพั ยากรอะไรบาง จาํ นวนเทาใด
11. ครทู ปี่ รกึ ษาโครงการ ส่ิงทีค่ ดิ วา จะเกดิ ขึ้น
ใครเปน ผูท าํ
ใครเปนผูคอยชว ยเหลือ ใหค ําปรึกษา
ตวั อยางการเขยี นโครงการ
1. ชือ่ โครงการ การผลติ ดินผสมปลูกพชื
2. หลักการและเหตุผล
ในปจจุบัน ดินผสมปลูกพืชกําลังเปนที่ตองการของประชาชนที่นิยมชมชอบกับ
งานอดิเรกปลกู ตน ไม และแมแตผ ูท ีป่ ลูกตน ไมเปนอาชีพ โดยเฉพาะงานปลูกไมดอกไมประดับในภาชนะ
หรือพืชผักตาง ๆ ทั้งในเมืองหลวง และในทองถิ่น ตางก็หาซื้อดินผสมปลูกพืชที่บรรจุถุงวางจําหนาย
อยูท่ัวไป จงึ เกิดธรุ กิจการซอ้ื ขายดนิ ผสมปลูกพืชข้ึนอยา งกวางขวางตามทองถ่ินตาง ๆ ดังจะเห็นไดจาก
ในตลาดจาํ หนา ยวัสดเุ กษตร จะมผี ผู ลติ สินคาดินผสมจําหนา ยในนามของดนิ ผสมสดี า ลพบุรี เฟองฟา ฯลฯ
การผลติ ดนิ ผสมปลกู พืช เปนงานท่ีทําไดไมยาก และไมคอยสลับซับซอนมากนัก เพียงแตผูผลิตทราบ
สูตรผสม และจัดหาวัสดุในทองถ่ินมาผสมเขาดวยกัน ก็จะไดดินผสมไปปลูกพืชเปนอยางดี ดังน้ัน
เม่อื ไดจ ดั ทําโครงการผลิตดินผสมปลูกพืชข้ึนแลว กจ็ ะทําใหม ีความรู และประสบการณใ นการศึกษาวิชา
เกษตรกรรม ซงึ่ สามารถชวยเหลอื ครอบครวั ไมต องไปหาซื้อดินผสมปลกู พืช ซง่ึ สามารถทําไดดีเชนกัน
อีกทงั้ ยังชว ยใหมกี ารทดลองศึกษาคนควาเกี่ยวกับการปลูกพืช โดยใชดินผสมสูตรตาง ๆ ในการศึกษา
วิชาเกษตรกรรมระดบั สงู ตอไป
3. วัตถปุ ระสงค
เพ่ือศกึ ษาสูตรดินผสมปลกู พชื จาํ นวน 3 สูตร
85
4. เปา หมาย
ไดส ตู รดินผสมปลูกพืช จํานวน 3 สูตร
5. ระยะเวลาดาํ เนนิ การ
1. เรมิ่ โครงการ วันที่ 1 ตลุ าคม 2552
2. สิ้นสุดโครงการ วันที่ 31 ธนั วาคม 2552
3. รวมระยะเวลาดําเนินงาน 3 เดอื น
6. ขน้ั ตอนการดาํ เนินงาน
1. ศกึ ษาขอมูลจากหนังสือและเอกสารเกีย่ วกบั ดิน ปุย และการปรบั ปรงุ ดนิ ปลกู พืช
2. ขอคาํ แนะนาํ วธิ ีผสมดินจากผรู ู
3. จัดทาํ โครงการเสนอตอ ครทู ี่ปรกึ ษาใหความเห็นชอบ
4. จัดหาวัสดุอุปกรณ ไดแก ปุยคอก ทราย ดิน จากบริเวณบาน ซ้ือปูนขาว หรือ ปูนมารล
เมลด็ ผักบุง กระถาง และปุย ยเู รยี
5. การเตรยี มดนิ ผสมปลูกพชื
5.1 ทบุ ดนิ เหนียวใหแ ตกเปน กอ นเล็ก ๆ และผสมตามสูตรทง้ั 3 สูตร ดังนี้
สูตรท่ี 1
1. ดนิ เหนยี ว 1 สว น
2. ทราย 1 สว น
3. อินทรียวัตถุ (ขุยมะพราว ขเ้ี ถาแกลบ เปลอื กถ่วั ปยุ คอก ปยุ หมกั )
4. ปนู ขาว หรือปูนมารล รอ ยละ 0.5 ของปรมิ าตรสว นผสมทั้ง 3 สวน
สตู รที่ 2 1 สวน
1. ดินเหนียว 1 สว น
2. ปยุ คอกเกา 1 สว น
3. ปุยหมัก
1 สว น
สูตรท่ี 3 ½ สว น
1. ดินรว น 1 สวน
2. ทราย 1 สว น
3. ใบไมผ ุ
4. ปุยคอก
86
สว น หมายถงึ สดั สว นโดยปริมาตร 1:1:1: เชน ดินเหนียว 1 บุงก๋ี ผสมปุยคอก 1 บุงก๋ี
และปุย หมัก 1 บงุ ก๋ี
5.2 ปลูกพืชเปรียบเทียบดนิ โดยใชด นิ ท่ีผสมทง้ั 3 สตู ร ใสลงในกระถาง สตู รละ
1 ใบ ใชดินธรรมดาใสกระถางอกี 1 ใบ
5.3 นาํ เมล็ดผักบงุ ไปแชน ํ้า ประมาณ 2 ชว่ั โมง คดั เมลด็ ทีล่ อยน้าํ ออก
เพราะเปน เมล็ดเสยี
5.4 ปลกู ผกั บงุ โดยการหวา นลงไปในกระถางท้ัง 4 ใบ ๆ ละ 20 เมล็ด
5.5 ปฏิบัติดูแลรักษา โดย รดน้ําเชา เย็น กําจัดวัชพืช ใสปุยยูเรีย 2 ครั้ง ๆ ละ
1 ชอนแกง 10 วันครัง้
5.6 จดบันทึกการปฏิบัติงาน และขอมูลการเจริญเติบโต สภาพแวดลอม ดินฟา
อากาศ อื่น ๆ
7. สถานที่
จัดทาํ โครงการทบี่ ริเวณเรอื นเพาะชาํ ของสถานศึกษา
8. งบประมาณ
จาํ นวน............................บาท
9. ผลท่ีคาดวาจะไดร ับ
1. ไดรับความรู ทักษะ และประสบการณเ กย่ี วกบั การผสมดนิ ปลกู พืช
2. ไดป ระสบการณเ กีย่ วกับการปลกู พชื เปรียบเทยี บดิน ซ่ึงจะเปนแนวทางศึกษาคนควา
วิชาเกษตรกรรมในระดับสูงตอไป
3. ไดด ินผสมท่มี ีคณุ ภาพดี สาํ หรบั นําไปปลูกพชื ท่ีบา น
4. ไดค วามชนื่ ชมยนิ ดจี ากครู อาจารย และพอแม ผูป กครอง
10. ชอ่ื ผูท าํ โครงการ
นาย / นาง / นางสาว...................................................
11. ช่ือครทู ปี่ รึกษา
นาย / นาง / นางสาว...................................................
87
การเขยี นรายงานโครงการ
การเขียนรายงานโครงการ จัดทําเมื่อไดปฏิบัติโครงการบรรลุตามจุดมุงหมายเรียนรู
จบแลว ลกั ษณะการเขยี นจะตองใชภาษาที่เขาใจงา ย ส้นั รดั กุม และสรปุ ไดช ัดเจน ตรงไปตรงมา เพ่ือให
ผูอานไดเขาใจแนวความคิด การดําเนินงาน ศึกษาคนควา และผลที่ไดรับ หัวขอการเขียนรายงาน
โครงการควรประกอบดว ย
1. ชือ่ โครงการ
2. ชอ่ื ผูทาํ โครงการ
3. ชอ่ื ครู อาจารยท ีป่ รึกษา
4. ผลการดําเนินงาน (ระบุจุดมุงหมาย ความสําคัญของโครงการ การดําเนินงาน
และผลการดาํ เนนิ งาน โดยเขียนสรุปอยางยอ ๆ ใชถอยคําไมม ากนกั )
5. สรุปและขอเสนอแนะ (สรุปผลการปฏิบัติงาน โครงการ และใหขอเสนอแนะ
หรือแนวทางท่ดี ําเนนิ งานตอ ไป)
6. เอกสารอา งองิ
ตัวอยางการเขยี นรายงานโครงการ
1. ช่ือโครงการ การผลิตดินผสมปลกู พืช
2. ช่อื ผูทําโครงการ
นาย / นาง / นางสาว...................................................
3. ชื่อครอู าจารยท ป่ี รกึ ษา
นาย / นาง / นางสาว...................................................
4. ผลการดาํ เนนิ งาน
จากการศึกษาโครงการการผลิตดินผสมปลูกพืช โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาสูตร
ดินผสมปลูกพืช เพ่ือใหเกษตรกรไดนําไปใชในการเพาะปลูกพืช และเปนการผลิตดินผสมจําหนาย
เพื่อเพิ่มรายได โดยมีเปาหมายไดสูตรดินผสมปลูกพืชจํานวน 3 สูตร จากการศึกษาในครั้งนี้พบวา
สูตรดินผสมปลกู ทเี่ หมาะสมมีสวนผสม ดังน้ี
ดินผสมสูตรที่ 1 เหมาะสําหรับปลูกพืชผักชนิดตาง ๆ โดยเฉพาะในภาคกลาง เชน
ผกั บุง ผกั กาด คะนา มะเขอื เทศ ถั่วฝกยาว แตงกวา ฯลฯ
88
ดินผสมสูตรท่ี 2 เหมาะสําหรับปลูกพืชผักบางชนิด เชน ผักกาดหัว หอมแบง
หอมแดง กระเทียม กะหล่ําปลี กะหล่ําดอก ผักสลัด และไมดอกไมประดับบางชนิด เชน กุหลาบ
เบญจมาศ แกลดิโอลัส ฯลฯ
ดินผสมสูตรที่ 3 เหมาะสําหรับปลูกไมดอกไมประดับ เชน กุหลาบ เฟองฟา ชบา
โกสน เยอบรี า บอนสี
5. สรุปและขอเสนอแนะ
จากสตู รดินผสมปลูกพืชทั้ง 3 สตู ร จะตอ งใชก บั การปลูกพชื และไมดอก ตามความเหมาะสม
ของพชื และจากผลการดําเนินการโครงการน้ี ทาํ ใหเกษตรกรสามารถผลิตดินผสมปลูกพืชไดใชเองได
และสามารถผลติ เพอื่ จาํ หนายเปน การเพม่ิ รายไดข องครอบครวั
6. เอกสารอา งองิ
1. กองบรรณาธิการวารสารบานและสวน. สารานุกรมไมประดับในประเทศไทย
กรุงเทพมหานคร. อมรินทรก ารพมิ พ. 2525
2. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. การใชและปรับปรุงดินปลูกตนไมในบาน
กรงุ เทพมหานคร. โรงพิมพรงุ เรอื งธรรม. 2523
89
ใบงานที่ 18
ใหผ เู รียนเขยี นโครงการท่ตี ัวเองชอบ และมคี วามถนดั มา 1 โครงการ
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
90
เร่อื งที่ 3
การเขียนแผนปฏิบตั ิการ
การเขียนแผนปฏิบัติการ เปนการนํากิจกรรมตาง ๆ ในโครงการมาเขียน เพื่อนํา
เขาสูการปฏบิ ตั ิ โดยมกี ารกําหนดงาน ระยะเวลา และผปู ฏิบัติ หรอื ผรู บั ผิดชอบไวใ นตารางดังนี้
ตัวอยา งแผนปฏบิ ตั กิ าร
กิจกรรม การปลูกหนอไมฝ ร่งั เกษตรอินทรยี 2 ไร
ผูรับผดิ ชอบ.....................................................
ท่ี กิจกรรม/โครงการ ระยะเวลาดําเนินการ หมาย
ม.ค ก.พ ม.ี ค เม.ย พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค เหตุ
1 ศกึ ษาขอมูลตาง ๆ
- เกษตรอินทรีย
- การปลกู หนอ ไมฝรั่ง
2 เขยี นโครงการ
3 จดั หาและรวบรวม
4 วัสดุ อปุ กรณ เงนิ ทุน
5 สถานท่ี
6 เตรยี มดนิ
7 ปลูกพชื ตระกลู ถ่ัว
8 เพาะเมลด็
9 ไถกลบพชื ตระกลู ถว่ั
10 ใสปุย หมกั 1 ตัน/ไร
11 เตรยี มแปลงปลกู
12 ปลกู หนอไมฝรงั่
13 รดนํ้า
14 แตง ตน
15 ฉดี เช้ือไตรโคเดอรมา
16 พรวนดนิ ดายหญา
17 ใสปุยหมัก 300 กก/ไร
18 เกบ็ หนอ ไมเ ขา เกรด
ซึง่ การปฏบิ ตั งิ านโครงการตามแผนทีก่ าํ หนดไว จะตองระบุใหชัดเจนวา ทําเรื่องอะไร
มีใครทําบา ง และกําหนดระยะเวลาเสรจ็ สิน้ โครงการดว ย
91
ใบงานท่ี 19
ใหผ เู รยี นจดั ทาํ แผนการปฏบิ ตั ิการ 1 เรอื่ ง ตามแบบฟอรมท่กี ําหนดให
แผนปฏบิ ัตกิ าร
กิจกรรม.................................................................
ผรู ับผิดชอบ................................................
ท่ี กจิ กรรม/โครงการ ระยะเวลาดําเนนิ การ หมาย
ม.ค ก.พ ม.ี ค เม.ย พ.ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย ต.ค พ.ย ธ.ค เหตุ
92
เรื่องที่ 4
การตรวจสอบโครงการ
การตรวจสอบโครงการ
การตรวจสอบโครงการ หมายถึง การตรวจสอบความคืบหนาของโครงการ ตลอดอายุ
ของโครงการ คาํ ถามทส่ี าํ คัญสําหรบั ผทู าํ โครงการไดแ ก
- โครงการนีค้ ืบหนาตามกําหนดเวลาหรอื ไม
- โครงการนจ้ี ะเสรจ็ ภายในงบประมาณทกี่ าํ หนดหรอื ไม
- ผลงานจะเปนไปตามวัตถุประสงคห รือไม
การวิเคราะหขอมูลท่ีไดรับเปนเครื่องมือหน่ึงท่ีใชตอบคําถามเหลานี้ รายงานจะขึ้นอยูกับ
การสรางองคก รและรายงานที่กําหนดไวก อ นหนา น้ี
การตรวจสอบโครงการแบงเปน 2 ประเภท
1. การตรวจสอบโครงการในระหวางการดําเนินการ เพ่ือปรับปรุง เปล่ียนแปลง แกไขใน
กรณีท่ีปจจัยตาง ๆ เปล่ียนแปลงไปจากเดิม
2. การตรวจสอบโครงการหลงั การดาํ เนินงาน เพอ่ื ปรบั ปรุงการบริหารโครงการในอนาคต
ลักษณะการตรวจสอบ
- โครงการหลัก ใชว ิธกี ารเย่ยี มชม สอบถาม จดบันทกึ
- โครงการขนาดกลาง มแี ผนการเขา ตรวจสอบชดั เจน ตรวจสอบเปนระยะ
- โครงการขนาดใหญ มแี ผนการตรวจสอบทชี่ ัดเจนรัดกุม และมีความถี่ในการตรวจสอบมากขึน้
ผูตรวจสอบ
- คนในธุรกจิ กจิ การ องคก ร ท่ไี ดร ับการแตง ต้ัง
- ผูตรวจสอบภายนอกซึ่งเปนกลุมวิชาชีพที่ไดรับการฝกฝน การตรวจสอบโครงการ
มาโดยเฉพาะ
คณุ สมบัติของผตู รวจสอบ
1. มคี วามเช่ยี วชาญความรูดานการตรวจสอบ
2. ไดรบั การยอมรับจากกลุมอาชพี
3. มีความรดู า นเทคนิคการบรกิ ารโครงการ : การเงนิ บัญชี ผลกระทบตอสง่ิ แวดลอม
4. มคี วามสามารถในการวเิ คราะห
5. ตองมีความสามารถในการเขยี นรายงาน
6. มคี วามสามารถในการฟง