The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

BEST PRACTICE : สื่อการเรียนการสอนแบบออนไลน์การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

BEST PRACTICE : สื่อการเรียนการสอนแบบออนไลน์การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์

BEST PRACTICE : สื่อการเรียนการสอนแบบออนไลน์การศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอกันทรลักษ์

ค ำน ำ นวัตกรรม สื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ที่ใช้ในกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมหลักสูตรกำรศึกษำนอกระบบ ระดับ กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ เป็นสื่อกำรเรียนกำรสอน ที่ช่วยให้ผู้เรียนสำมำรถเรียนได้ทุกที่ทุก เวลำ ซึ่ง เหมำะกับกำรจัดกำรเรียนกำรสอน แบบพบกลุ่ม ของ กศน. ซึ่งประกอบด้วย ๑.โครงสร้ำงสื่อกำรเรียน กำรสอนแบบ ออนไลน์สร้ำงจำก Google site,NFE-LMS ระบบเรียนออนไลน์๒.สื่อหนังสือเรียนและใบควำมรู้ใน รูปแบบ E-book ๓.แบบทดสอบหลังเรียน สร้ำงจำก Google from ๔.ใบงำน worksheet ๕.แบบทดสอบ เก็บ คะแนน ๖.แบบประเมินควำมพึงพอใจกำรใช้สื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์โดยน ำเนื้อหำทั้งหมดมำรวบรวม ให้เป็นเว็บไซต์เพื่อใช้เป็นสื่อกำรสอน และน ำมำเผยแพร่ให้ผู้เรียนใช้งำนผ่ำนสมำร์ทโฟน หรือคอมพิวเตอร์ได้ อย่ำงสะดวก ผลกำรใช้นวัตกรรมพบว่ำ ผู้เรียนสำมำรถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลำ และมีทักษะในกำรใช้สมำร์ทโฟนหรือ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีในกำรเรียนรู้ผู้เรียนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจ สำมำรถวิเครำะห์และแก้ปัญหำได้ครูผู้สอนมี ควำมรู้ควำมเข้ำใจและมีทักษะในกำรออกแบบสื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ ปัจจุบันประเทศไทยให้ ควำมส ำคัญกับกำรยกระดับและกำรขยำยโอกำสทำงกำรศึกษำอย่ำงต่อเนื่องโดยเฉพำะ กำรศึกษำนอกระบบและ กำรศึกษำตำมอัธยำศัย เพรำะยังมีคนจ ำนวนมำกที่ยังเข้ำไม่ ถึงกำรศึกษำในระบบ เนื่องจำกข้อจ ำกัดบำงประกำร ไม่ว่ำจะเป็นเรื่องฐำนะทำงเศรษฐกิจ หรือกำรที่ต้องเข้ำสู่ภำค แรงงำนก่อนวัยอันควร นำงสำวณัฐธยำน์ ชนำภัทรภณ นักวิชำกำรศึกษำ


สำรบัญ เรื่อง หน้ำ ชื่อผลงาน 1 ที่มาและความสําคัญของผลงาน 1-2 วัตถุประสงค์ 2 วิธีดําเนินการ 2-5 ขั้นตอนการตรวจสอบและประเมินผล 5-10 บทสรุป 10-11 ภำคผนวก


รำยงำนผลปฏิบัติงำนที่ดี (Best Practice) ชื่อผลงำน กำรพัฒนำสื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ตำมหลักสูตรกำรศึกษำนอกระบบ ระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยอ ำเภอกันทรลักษ์ ชื่อเจ้ำของผลงำน นำงสำวณัฐธยำน์ ชนำภัทรภณ ต ำแหน่ง นักวิชำกำรศึกษำ สังกัด ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยอ ำเภอกันทรลักษ์ ส ำนักงำนส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยจังหวัดศรีสะเกษ ส ำนักส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย ส ำนักปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร ๑.ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญ นวัตกรรม สื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ ที่ใช้ในกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมหลักสูตรกำรศึกษำนอกระบบระดับ กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ เป็นสื่อกำรเรียนกำรสอน ที่ช่วยให้ผู้เรียนสำมำรถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลำ ซึ่ง เหมำะกับกำรจัดกำรเรียนกำรสอน แบบพบกลุ่ม ของ กศน. ซึ่งประกอบด้วย ๑.โครงสร้ำงสื่อกำรเรียนกำรสอนแบบ ออนไลน์สร้ำงจำก Google site,NFE-LMS ระบบเรียนออนไลน์ ๒.สื่อหนังสือเรียนและใบควำมรู้ ในรูปแบบ E-book ๓.แบบทดสอบหลังเรียน สร้ำงจำก Google from ๔.ใบงำน worksheet ๕.แบบทดสอบ เก็บคะแนน ๖.แบบประเมิน ควำมพึงพอใจกำรใช้สื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ โดยน ำเนื้อหำทั้งหมดมำรวบรวมให้ เป็นเว็บไซต์เพื่อใช้เป็นสื่อกำร สอน และน ำมำเผยแพร่ให้ผู้เรียนใช้งำนผ่ำนสมำร์ทโฟน หรือคอมพิวเตอร์ ได้ อย่ำงสะดวก ผลกำรใช้นวัตกรรมพบว่ำ ผู้เรียนสำมำรถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลำ และมีทักษะในกำรใช้สมำร์ทโฟนหรือ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีในกำรเรียนรู้ ผู้เรียนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจ สำมำรถวิเครำะห์และแก้ปัญหำได้ ครูผู้สอนมี ควำมรู้ควำมเข้ำใจและมีทักษะในกำรออกแบบ สื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ ปัจจุบันประเทศไทยให้ควำมส ำคัญกับกำรยกระดับและกำรขยำยโอกำสทำงกำรศึกษำ อย่ำงต่อเนื่องโดยเฉพำะ กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย เพรำะยังมีคนจ ำนวนมำกที่ยังเข้ำไม่ ถึง กำรศึกษำในระบบ เนื่องจำกข้อจ ำกัดบำงประกำร ไม่ว่ำจะเป็นเรื่องฐำนะทำงเศรษฐกิจ หรือกำรที่ต้องเข้ำสู่ภำค แรงงำน ก่อนวัยอันควร ดังนั้นเพื่อแก้ไขปัญหำดังกล่ำว และเพื่อเปิดโอกำสทำงกำรศึกษำเรียนรู้อย่ำงทั่วถึงและมีคุณภำพ ให้กับผู้ที่ ขำดโอกำสทำงกำรศึกษำในระบบโรงเรียน จึงได้มีกำรจัดตั้ง กศน.ต ำบลขึ้น โดยให้มีฐำนะเป็นหน่วยในกำรจัด กิจกรรม กำรศึกษำเรียนรู้นอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย เพื่อให้ประชำชนในชุมชนสำมำรถเข้ำถึงกำรศึกษำได้ ทั่วถึงและมี คุณภำพ โดยมีภำรกิจเป็นทั้งศูนย์กำรเรียนรู้ (จัดกิจกรรมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยเพื่อ ส่งเสริมกำร รู้หนังสือให้แก่คนในชุมชนที่สนใจ) และศูนย์ข้อมูลข่ำวสำรชุมชน (เป็นสถำนที่ให้ชุมชนได้มำพบปะ เสวนำ แลกเปลี่ยน เรียนรู้และจัดกิจกรรมต่ำง ๆ) ซึ่งอำจกล่ำวได้ว่ำ กศน.ต ำบลนั้นถูกตั้งขึ้นมำเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ที่เป็นทำงเลือกให้กับ ประชำชนที่อยู่ในชุมชนและท้องถิ่นอย่ำงแท้จริงกำรแพร่ระบำดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ ๒๐๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙: COVID-๑๙) ท ำให้เกิดกำร ปรับตัวเป็นวิถีชีวิตแบบใหม่ (New Normal) โดยเฉพำะสถำบันทำง กำรศึกษำที่ไม่สำมำรถจัดกำรเรียนกำรสอนแบบปกติ ได้ จึงจ ำเป็นต้องใช้รูปแบบกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ เพื่อให้ ๑


กำรเรียนรู้เกิดควำมต่อเนื่อง กำรเรียนกำรสอนแบบ ออนไลน์มีองค์ประกอบ ได้แก่ ผู้สอน ผู้เรียน เนื้อหำ สื่อกำรเรียนและ แหล่งเรียนรู้กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ ระบบกำร ติดต่อสื่อสำร ระบบเครือข่ำยเทคโนโลยีสำรสนเทศ กำรวัดและกำร ประเมินผล รูปแบบกำรเรียนกำรสอนมีหลำกหลำยวิธี ที่ท ำให้ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันได้กำรพิจำรณำ องค์ประกอบและรูปแบบที่สอดคล้องและบริบทของผู้เรียนจะน ำไปสู่กำรประยุกต์ใช้ส ำหรับกำรจัดกำรเรียนกำรสอนแบบ ออนไลน์อย่ำงมีประสิทธิภำพ ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดผลลัพธ์กำรเรียนรู้ตำมวัตถุประสงค์ สื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ ที่ใช้ในกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมหลักสูตรกำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศึกษำขั้น พื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ เป็นสื่อกำร เรียนที่มีควำมมีควำมยึดหยุ่นสูง เหมำะส ำหรับกำรจัดกำรศึกษำ ตำมหลักสูตร กำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศึกษำขั้น พื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ ช่วยให้ผู้เรียนสำมำรถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลำ ซึ่ง เหมำะกับกำรจัดกำรเรียนกำรสอน แบบพบ กลุ่ม ของ กศน. ซึ่งประกอบด้วย ๑.โครงสร้ำงสื่อกำรเรียนกำรสอนแบบ ออนไลน์สร้ำงจำก Google site,NFE-LMS ระบบ เรียนออนไลน์๒.สื่อหนังสือเรียนและใบควำมรู้ในรูปแบบ E-book ๓.แบบทดสอบหลังเรียน สร้ำงจำก Google from ๔. ใบงำน worksheet ๕.แบบทดสอบ เก็บคะแนน ๖.แบบประเมินควำมพึงพอใจกำรใช้สื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ โดยน ำเนื้อหำทั้งหมดมำรวบรวมให้ เป็นเว็บไซต์เพื่อใช้เป็นสื่อกำรสอน และน ำมำเผยแพร่ให้ผู้เรียนใช้งำนผ่ำนสมำร์ทโฟน หรือคอมพิวเตอร์ ได้ อย่ำงสะดวก ๒.วัตถุประสงค์ ๑.เพื่อใช้ประกอบกำรจัดกำรเรียนกำรสอนตำมหลักสูตรกำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ ๒.เพื่อให้ผู้เรียนสำมำรถเรียนรู้ด้วยตัวเองผ่ำนสมำร์ทโฟน หรือคอมพิวเตอร์ได้ทุกที่ทุกเวลำ ๓.กระบวนกำรพัฒนำ ๑) สภำพปัญหำก่อนกำรพัฒนำ (P) ผู้อยู่นอกระบบโรงเรียนมีลักษณะที่มีควำมแตกต่ำง เพศ อำยุ วุฒิทำงกำรศึกษำ สถำนภำพกำร อำชีพ และ พื้นฐำน ทำงกำรศึกษำ ดังนั้นกำรจัดกำรศึกษำตำมหลักสูตรกำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ ในรูปแบบกำรพบกลุ่ม จึงท ำให้ผู้เรียนไม่สำมำรถมำเรียนแบบพร้อมเพียงกันได้ ๒) กำรออกแบบนวัตกรรมเพื่อกำรพัฒนำ ๒.๑ กำรออกแบบสื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ กำรออกแบบและจัดท ำสื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ ที่ใช้ในกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมหลักสูตร กำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ มีขั้นตอนนี้มีวิธีกำรด ำเนินกำรดังนี้ ๒


Flowchart กำรท ำงำน ๑. ขั้นกำรวิเครำะห์ ๒. ขั้นก ๓


๔. ขั้นกำรวิเครำะห์ (D) กำรวิเครำะห์เป็นขั้นตอนแรกของกระบวนกำรออกแบบกำรเรียนกำรสอนผู้ออกแบบจะต้องก ำหนดควำมจ ำเป็น ในกำรเรียนท ำกำรวิเครำะห์เนื้อหำหรือกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน คุณลักษณะของผู้เรียน และวัตถุประสงค์ของกำรเรียน กำรสอนเพื่อรวบรวมข้อมูล ส ำหรับใช้เป็นแนวทำงในกำรก ำหนดขอบเขตของบทเรียน ขั้นกำรวิเครำะห์ประกอบด้วย ขั้นตอนย่อย ดังนี้ ๑.๑ วิเครำะห์ควำมจ ำเป็น (Need Analysis) คือกำรวิเครำะห์เพื่อก ำหนดเลือกว่ำควรจัดกำรเรียนกำรสอน เกี่ยวกับอะไร โดยอำจหำข้อมูลจำกควำมต้องกำรของผู้เรียน หรืออำจหำข้อมูลจำกกำรก ำหนดควำมจ ำเป็น ปัญหำขัดข้อง หรืออุปสรรคที่ท ำให้กำรเรียนกำรสอนไม่บรรลุผลตำมจุดมุ่งหมำยที่ก ำหนดไว้ และพิจำรณำว่ำมีควำมจ ำเป็นหรือไม่ที่ จะต้องจัดกำรเรียนกำรสอน หำกจ ำเป็นหรือสมควรจัด และควรจัดอย่ำงไร ๑.๒ วิเครำะห์เนื้อหำ หรือ กิจกรรมกำรเรียนกำรสอน (Content and Task Analysis) คือ กำรวิเครำะห์เพื่อ จัดกำรเรียน กำรสอนให้ครอบคลุม หรือสอดคล้องกับควำมต้องกำร ควำมจ ำเป็นในกำรเรียนกำรสอน โดยพิจำรณำอย่ำง ละเอียดด้ำน เนื้อหำ มีกำรแบ่งเนื้อหำเป็นหัวข้อใหญ่ และหัวข้อย่อย ๆ เพื่อให้มีควำมชัดเจน ก ำหนดเลือกกิจกรรมกำร เรียนกำรสนที่ เหมำะสมที่จะให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ๑.๓ วิเครำะห์ผู้เรียน (Analyze Learner Characteristic) เป็นกำรวิเครำะห์เพื่อสรุปเป็นข้อมูลส ำหรับกำร จัดกำรเรียน กำรสอนให้เหมำะสมกับผู้เรียน โดยวิเครำะห์ทั้งลักษณะทั่วไป เช่น อำยุ ระดับ ควำมรู้ควำมสำมำรถ เพศ สังคม วัฒนธรรม เป็นต้น และควรวิเครำะห์ ลักษณะเฉพำะของผู้เรียนด้วย เช่น ควำมรู้พื้นฐำน ทักษะควำมช ำนำญ หรือ ควำม ถนัด รูปแบบกำรเรียน ทัศนคติ เป็นต้น ๑.๔ วิเครำะห์วัตถุประสงค์ (Analyze Objective) วัตถุประสงค์ของกำรเรียนกำรสอน คือ จุดหมำยปลำยทำงที่ ก ำหนด ไว้เพื่อให้ผู้เรียนและผู้สอนรู้ว่ำเมื่อเรียนบทเรียนนั้น ๆ แล้วจะเกิดกำรเรียนรู้อะไรบ้ำง ดังนั้นกำรก ำหนด วัตถุประสงค์จึง ต้องมีกำรวิเครำะห์อย่ำงละเอียดและรอบคอบโดยอำจก ำหนดจุดมุ่งหมำยหรือเป้ำหมำยหลักของกำรเรียนกำรสอนก่อน แล้วจึงก ำหนดเป็นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่สำมำรถประเมินผลได้ชัดเจนเป็นรูปธรรมว่ำผู้เรียนบรรลุผลกำรเรียนตำม วัตถุประสงค์ที่ก ำหนดไว้หรือไม่ โดยวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมแยกเป็น ๓ ด้ำนคือ ตัวอย่ำง ๑) วัตถุประสงค์ทำงด้ำนพุทธิพิสัย คือ พฤติกรรมเกี่ยวกับควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ๒) วัตถุประสงค์ด้ำนจิตพิสัย คือ พฤติกรรมเกี่ยวกับควำมรู้สึก ค่ำนิยม ทัศนคติ ๓) วัตถุประสงค์ด้ำนทักษะพิสัย คือ พฤติกรรมเกี่ยวกับกำรกระท ำหรือกำรปฏิบัติ ๑.๕ วิเครำะห์สภำพแวดล้อม (Analyze Environment) วัตถุประสงค์กำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อมในกำรสอน เพื่อเป็นกำร เตรียมกำรล่วงหน้ำว่ำ สถำนที่ เวลำ และบริบทในกำรเรียนกำรสอนที่จะด ำเนินกำรนั้นจะอยู่ในสภำพใด เช่น ขนำดห้องเรียน อุปกรณ์สื่อกำรเรียนกำรสอนที่จะใช้คืออะไร ๔


๒. ขั้นกำรออกแบบและตรวจสอบ (C) กำรออกแบบเป็นกระบวนกำรก ำหนดว่ำจะด ำเนินกำรเรียนกำรสอนอย่ำงไร โดยมีกำรเขียนวัตถุประสงค์จัดท ำ ล ำดับขั้นตอนของกำรเรียน ก ำหนดวิธีสอน เลือกสื่อกำรเรียนกำรสอนที่เหมำะสม และก ำหนดวิธีกำรประเมินผลว่ำผู้เรียน บรรลุวัตถุประสงค์ที่ก ำหนดไว้หรือไม่ ขั้นกำรออกแบบประกอบด้วยขั้นตอนย่อย ทั้งด้ำนกำรระบุวัตถุประสงค์ ระบุวิธี สอน ระบุสื่อกำรสอน และระบุวิธีกำรประเมินผล ๓. ขั้นกำรพัฒนำ (A) กำรพัฒนำเป็นกระบวนกำรด ำเนินกำรเตรียมกำรจัดกำรเรียนกำรสอน หรือ สร้ำงแผนกำรเรียนกำรสอน เลือกใช้ สื่อกำรเรียนกำรสอนโดยพิจำรณำสื่อที่มีอยู่ว่ำเหมำะสมที่จะใช้ ควรปรับปรุงก่อนใช้หรือควรสร้ำงสื่อใหม่ และท ำกำร ประเมินผลขณะด ำเนินกำรพัฒนำหรือสร้ำงเพื่อปรับปรุง แก้ไขให้ได้ ระบบกำรเรียนกำรสอนที่มีประสิทธิภำพ พัฒนำ แผนกำรเรียนกำรสอน พัฒนำสื่อกำรเรียนกำรสอน ประเมินผลขณะด ำเนินกำรพัฒนำ ขั้นกำรพัฒนำประกอบด้วยขั้นตอน ย่อย เช่น กำรพัฒนำแผนกำรเรียนกำรสอน กำรพัฒนำสื่อกำรเรียนกำรสอน และกำรประเมินผลระหว่ำงด ำเนินกำร พัฒนำ ๔. ขั้นกำรน ำไปใช้ กำรน ำไปใช้เป็นขั้นตอนกำรด ำเนินกำรเรียนกำรสอนตำมที่ได้ออกแบบและพัฒนำไว้แล้ว ในสภำพจริง ๕. ขั้นกำรประเมินผล กำรประเมินผลเป็นขั้นตอนสุดท้ำยของกระบวนกำรออกแบบระบบกำรเรียนกำรสอน เพื่อประเมินผล ขั้นตอนต่ำง ๆ ว่ำเป็นไปตำมที่ได้วำงแผนหรือไม่ และท ำกำรปรับปรุง แก้ไขให้ได้ระบบกำรสอนที่มีประสิทธิภำพ ๓) ขั้นตอนกำรด ำเนินงำนพัฒนำ ๑. ขั้นกำรวิเครำะห์ กำรวิเครำะห์เป็นขั้นตอนแรกของกระบวนกำรออกแบบกำรเรียนกำรสอนผู้ออกแบบจะต้องก ำหนดควำมจ ำเป็น ในกำรเรียน ท ำกำรวิเครำะห์เนื้อหำหรือกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน คุณลักษณะของผู้เรียน และวัตถุประสงค์ของกำรเรียน กำรสอนเพื่อรวบรวมข้อมูล ส ำหรับใช้เป็นแนวทำงในกำรก ำหนดขอบเขตของบทเรียน ขั้นกำรวิเครำะห์ประกอบด้วย ขั้นตอนย่อย ดังนี้ ๑.๑ วิเครำะห์ควำมจ ำเป็น (Need Analysis) คือกำรวิเครำะห์เพื่อก ำหนดเลือกว่ำควรจัดกำรเรียนกำรสอน เกี่ยวกับอะไร โดยอำจหำข้อมูลจำกควำมต้องกำรของผู้เรียน หรืออำจหำข้อมูลจำกกำรก ำหนดควำมจ ำเป็น ปัญหำขัดข้อง หรืออุปสรรคที่ท ำให้กำรเรียนกำรสอนไม่บรรลุผลตำมจุดมุ่งหมำยที่ก ำหนดไว้ และพิจำรณำว่ำมีควำมจ ำเป็นหรือไม่ที่ จะต้องจัดกำรเรียนกำรสอน หำกจ ำเป็นหรือสมควรจัด และควรจัดอย่ำงไร ๑.๒ วิเครำะห์เนื้อหำ หรือ กิจกรรมกำรเรียนกำรสอน (Content and Task Analysis) คือ กำรวิเครำะห์เพื่อ จัดกำรเรียนกำรสอนให้ครอบคลุม หรือสอดคล้องกับควำมต้องกำร ควำมจ ำเป็นในกำรเรียนกำรสอน โดยพิจำรณำอย่ำง ๕


ละเอียดด้ำนเนื้อหำ มีกำรแบ่งเนื้อหำเป็นหัวข้อใหญ่ และหัวข้อย่อย ๆ เพื่อให้มีควำมชัดเจน ก ำหนดเลือกกิจกรรมกำร เรียนกำรสนที่เหมำะสมที่จะให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ๑.๓ วิเครำะห์ผู้เรียน (Analyze Learner Characteristic) เป็นกำรวิเครำะห์เพื่อสรุปเป็นข้อมูลส ำหรับกำร จัดกำรเรียน กำรสอนให้เหมำะสมกับผู้เรียน โดยวิเครำะห์ทั้งลักษณะทั่วไป เช่น อำยุ ระดับ ควำมรู้ควำมสำมำรถ เพศ สังคม วัฒนธรรม เป็นต้น และควรวิเครำะห์ ลักษณะเฉพำะของผู้เรียนด้วย เช่น ควำมรู้พื้นฐำน ทักษะควำมช ำนำญ หรือ ควำม ถนัด รูปแบบกำรเรียน ทัศนคติ เป็นต้น ๑.๔ วิเครำะห์วัตถุประสงค์ (Analyze Objective) วัตถุประสงค์ของกำรเรียนกำรสอน คือ จุดหมำยปลำยทำงที่ ก ำหนดไว้เพื่อให้ผู้เรียนและผู้สอนรู้ว่ำเมื่อเรียนบทเรียนนั้นๆแล้วจะเกิดกำรเรียนรู้อะไรบ้ำงดังนั้นกำรก ำหนด วัตถุประสงค์จึงต้องมีกำรวิเครำะห์อย่ำงละเอียดและรอบคอบโดยอำจก ำหนดจุดมุ่งหมำยหรือเป้ำหมำยหลักของกำรเรียน กำรสอนก่อนแล้วจึงก ำหนดเป็นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่สำมำรถประเมินผลได้ชัดเจนเป็นรูปธรรมว่ำผู้เรียนบรรลุผล กำรเรียนตำมวัตถุประสงค์ที่ก ำหนดไว้หรือไม่ โดยวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมแยกเป็น ๓ ด้ำนคือ ตัวอย่ำง ๑) วัตถุประสงค์ทำงด้ำนพุทธิพิสัย คือ พฤติกรรมเกี่ยวกับควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ๒) วัตถุประสงค์ด้ำนจิตพิสัย คือ พฤติกรรมเกี่ยวกับควำมรู้สึก ค่ำนิยม ทัศนคติ ๓) วัตถุประสงค์ด้ำนทักษะพิสัย คือ พฤติกรรมเกี่ยวกับกำรกระท ำหรือกำรปฏิบัติ ๑.๕ วิเครำะห์สภำพแวดล้อม (Analyze Environment) วัตถุประสงค์กำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อมในกำรสอน เพื่อเป็นกำรเตรียมกำรล่วงหน้ำว่ำสถำนที่ เวลำ และบริบทในกำรเรียนกำรสอนที่จะด ำเนินกำรนั้นจะอยู่ในสภำพใด เช่น ขนำดห้องเรียน อุปกรณ์สื่อกำรเรียนกำรสอนที่จะใช้คืออะไร ๒. ขั้นกำรออกแบบ กำรออกแบบสื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ที่ใช้ในกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมหลักสูตรกำรศึกษำ นอก ระบบระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ ซึ่งประกอบด้วย ๑. โครงสร้ำงสื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ สร้ำงจำก Google site ๒. แบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน สร้ำงจำก Google from ๓. สื่อหนังสือเรียนและใบควำมรู้ ในรูปแบบ E-book ๔. แบบทดสอบ เรื่อง ควำมรู้ควำมเข้ำเกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่ำ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ๕. แบบประเมินควำมพึงพอใจกำรใช้สื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ ๑. โครงสร้ำงสื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ สร้ำงจำก Google site Google Sites คืออะไร Google Sites ให้บริกำรครั้งแรกเมื่อเดือนพฤษภำคม ๒๕๕๑ Google Sites คือโปรแกรมของ Google ที่ให้บริกำร ๖


สร้ำงเว็บไซต์ฟรี สำมำรถสร้ำงเว็บไซต์ได้ง่ำย ปรับแตงรูปลักษณ์ได้สำมำรถรวบรวมควำมหลำกหลำยของข้อมูลไวในที่เดียว เช่น วิดีโอ, ปฏิทิน, เอกสำร อื่นๆ สำมำรถน ำมำแทรกในหนำเว็บเพจได้ให้ได้ใช้งำนได้ง่ำย ท ำให้ช่วย อ ำนวยควำมสะดวกได้ เป็นอย่ำงมำก จุดเด่นของ Google Sites • ให้บริกำรฟรี ไมเสียค่ำใช้จ่ำย • พื้นที่จัดเก็บขอมูลมีพื้นที่ให้บริกำร ๑๐ GB. • มี Gadget มำกมำย • สำมำรถเผยแพรขอมูลที่เป็นประโยชน์และเป็นควำมรู้หรือบทเรียน อะไรอีกหลำยๆอย่ำงได้ในSITE ได้ ๒. แบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน สร้ำงจำก Google from Google Form คืออะไร Google Form เป็นส่วนหนึ่งในบริกำรของกลุ่ม Google Docsที่ช่วยให้เรำสร้ำงแบบสอบถำมออนไลน์หรือใช้ ส ำหรับรวบรวมข้อมูลได้อย่ำงรวดเร็ว โดยที่ไม่ต้องเสียค่ำใช้จ่ำย ในกำรใช้งำน Google Form ผู้ใช้สำมำรถน ำไปปรับ ประยุกต์ใช้งำนได้หลำยรูปแบบอำทิ เช่น กำรท ำแบบฟอร์มส ำรวจควำมคิดเห็นกำรท ำแบบฟอร์มส ำรวจควำมพึงพอใจกำร ท ำแบบฟอร์มลงทะเบียน และกำรลงคะแนนเสียง เป็นต้น ๓. สื่อหนังสือเรียนและใบควำมรู้ ในรูปแบบ E-book E-book คืออะไร E-Book ย่อมำจำกค ำว่ำ Electronic Book หมำยถึงหนังสือที่สร้ำงขึ้นด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มี ลักษณะเป็น เอกสำรอิเล็กทรอนิกส์ โดยปกติมักจะเป็นแฟ้มข้อมูลที่สำมำรถอ่ำนเอกสำรผ่ำนทำงหน้ำจอคอมพิวเตอร์ ทั้ง ในระบบ ออฟไลน์ และออนไลน์ คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สำมำรถเชื่อมโยงจุดไปยังส่วนต่ำง ๆ ของหนังสือ เว็บไซต์ ต่ำง ๆ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธ์และโต้ตอบกับผู้เรียนได้ นอกจำกนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สำมำรถแทรกภำพ เสียง ภำพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และสำมำรถสั่งพิมพ์เอกสำรที่ต้องกำรออกทำงเครื่องพิมพ์ได้ อีกประกำรหนึ่งที่ส ำคัญก็คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สำมำรถปรับปรุงให้ทันสมัยได้ตลอดเวลำ ซึ่งคุณสมบัติเหล่ำนี้จะไม่มีในหนังสือธรรมดำทั่วไป ประเภทของ E-book ผู้ผลิตสำมำรถเลือกสร้ำง E-Books ได้ ๔ รูปแบบ คือ ◆ Hyper Text Markup Language (HTML) ◆ Portable Document Format (PDF) ◆ Peanut Markup Language (PML) ◆ Extensive Markup Language (XML) ๗


ซึ่งรำยละเอียดของไฟล์แต่ละประเภทจะมีดังนี้ HTML : เป็นรูปแบบที่ได้รับควำมนิยมสูงสุด HTML เป็น ภำษำมำร์กอัปออกแบบมำเพื่อใช้ในกำร สร้ำงเว็บเพจ หรือข้อมูลอื่นที่เรียกดูผ่ำนทำงเว็บBrowser เริ่มพัฒนำโดย ทิม เบอร์เนอรส์ ลี (Tim Berners Lee) ส ำหรับ ภำษำ SGML ในปัจจุบัน HTML เป็นมำตรฐำนหนึ่งของ ISO ซึ่งจัดกำรโดย World Wide Web Consortium (W๓C) ใน ปัจจุบัน ทำง W ๓C ผลักดัน รูปแบบของ HTML แบบใหม่ ที่เรียกว่ำ XHTML ซึ่งเป็นลักษณะของโครงสร้ำง XML แบบ หนึ่งที่มีหลักเกณฑ์ ในกำรก ำหนดโครงสร้ำงของโปรแกรมที่มีรูปแบบที่มำตรฐำนกว่ำ มำทดแทนใช้ HTML รุ่น ๔.๐๑ ที่ใช้ กันอยู่ในปัจจุบัน HTML ยังคงเป็นรูปแบบไฟล์อย่ำงหนึ่ง ส ำหรับ .html และ ส ำหรับ .htm ที่ใช้ในระบบปฏิบัติกำรที่ รองรับ รูปแบบ นำมสกุล ๓ ตัวอักษร PDF : ไฟล์ประเภท PDF หรือ Portable Document Format ถูกพัฒนำโดย Adobe System Inc เพื่อจัด เอกสำรให้อยู่ในรูปแบบที่เหมือนเอกสำรพร้อมพิมพ์ ไฟล์ประเภทนี้สำมำรถใช้งำนได้ในระบบปฏิบัติกำรจ ำนวน มำกและ รวมถึงอุปกรณ์ E-Book Reader ของ Adobe ด้วยเช่นกัน และยังคงลักษณะเอกสำรเหมือนต้นฉบับ เอกสำรใน รูปแบบ PDF สำมำรถจัดเก็บ ตัวอักษร รูปภำพ รูปลำยเส้น ในลักษณะเป็นหน้ำหนังสือ ตั้งแต่หนึ่งหน้ำ หรือหลำยพัน หน้ำได้ในแฟ้ม เดียวกัน PDF เป็นมำตรฐำนที่เปิดให้คนอื่นสำมำรถเขียนโปรแกรมมำ ท ำงำนร่วมกับ PDF ได้ กำรใช้งำนแฟ้มแบบ PDF เหมำะสมส ำหรับงำนที่กำรแสดงผลให้มีลักษณะเดียวกันกับต้นฉบับ ซึ่งแตกต่ำงกับกำรใช้งำนรูป Browser แบบอื่น เช่น HTML กำรแสดงผลของ HTML จะแตกต่ำงกันออกไป ขึ้นอยู่กับ โปรแกรมที่ใช้ และจะแสดงผลต่ำงกัน ถ้ำใช้คอมพิวเตอร์ ต่ำงกัน PML : พัฒนำโดย Peanut Press เพื่อใช้ส ำหรับสร้ำง E-Books โดยเฉพำะ อุปกรณ์พกพำต่ำงๆ ที่สนับสนุน ไฟล์ประเภท PML นี้จะสนับสนุนไฟล์นำมสกุล .pdb ด้วย XML : ส ำหรับกำรใช้งำนทั่วไป พัฒนำโดย W๓C โดยมีจุดประสงค์เพื่อเป็น สิ่งที่เอำไว้ติดต่อกันในระบบ ที่มีควำม แตกต่ำงกัน (เช่น ใช้คอมพิวเตอร์มี่มีระบบปฏิบัติกำรคนละตัว หรืออำจจะเป็นคนละโปรแกรมประยุกต์ที่มีควำม ต้องกำร สื่อสำรข้อมูลถึงกัน)และเพื่อเป็นพื้นฐำนในกำรสร้ำงภำษำมำร์กอัปเฉพำะทำงอีกขั้นหนึ่ง XML พัฒนำมำจำก SGML โดย ดัดแปลงให้มีควำมซับซ้อนลดน้อยลง XML ใช้ในแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่ำงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่แตกต่ำงกัน และเน้นกำร แลกเปลี่ยนข้อมูลผ่ำนอินเทอร์เน็ต XML ยังเป็นภำษำพื้นฐำนให้กับภำษำอื่นๆ อีกด้วย (ยกตัวอย่ำง เ ช่ น Geography Markup Language (GML), RDF/XML, RSS, MathML, Physical Markup Language (PML), XHTML, SVG, MusicXML และ cXML) ซึ่งอนุญำตให้โปรแกรมแก้ไขและท ำงำนกับเอกสำรโดยไม่จ ำเป็นต้องมีควำมรู้ในภำษำนั้นมำก่อน ข้อดีของ e-Book ๑. อ่ำนที่ไหน เมื่อไหร่ ได้ตลอดเวลำ เนื่องจำกพกไปได้ตลอดและได้จ ำนวนมำก ๒. ประหยัดกำรตัดไม้ท ำลำยป่ำ เพรำะไม่ต้องตัดไม้มำท ำกระดำษ ๓. เก็บรักษำได้ง่ำย ประหยัดเนื้อที่ในกำรจัดเก็บ ประหยัดค่ำเก็บรักษำ ๔. ค้นหำข้อควำมได้ ยกเว้นว่ำอยู่ในลักษณะของภำพ ๘


๕. ใช้พื้นที่น้อยในกำรจัดเก็บ (cd ๑ แผ่นสำมำรถเก็บ e-Book ได้ประมำณ ๕๐๐ เล่ม) ๖. อ่ำนได้ในที่มืด หรือแสงน้อย ๗. ท ำส ำเนำได้ง่ำย ๘. จ ำหน่ำยได้ในรำคำถูกกว่ำในรูปแบบหนังสือ ๙. อ่ำนได้ไม่จ ำกัดจ ำนวนครั้ง เพรำะไม่ยับหรือเสียหำยเหมือนกระดำษ ๑๐. สะดวกสบำย ไม่ต้องเดินทำง แค่คลิกเดียวก็สำมำรถเลือกอ่ำนหนังสือที่ต้องกำรได้ทันที ๑๑. เป็นส่วนหนึ่งในกำรรักษำธรรมชำติ โดยลดกำรใช้กระดำษกับ True e-Book ข้อเสียของ e-Book ๑. ต้องอำศัยพลังงำนในกำรอ่ำนตลอดเวลำ ไม่ว่ำจะเป็นไฟฟ้ำหรือแบตเตอรี่ ๒. เสียสุขภำพสำยตำ จำกกำรได้รับแสงจำกอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ๓. ขำดควำมรู้สึก หรืออรรถรส หรือควำมคลำสสิก ๔. อำจเกิดปัญหำกับกำร ลง hardware หรือ software ใหม่หรือแทนที่อันเก่ำ ๕. ต้องมีกำรดูแลไฟล์ให้ดี ไม่ให้เสียหรือสูญหำย ๖. กำรอ่ำนอำจเกิดอันตรำยต่อสำยตำ ๗. เกิดกำรละเมิดลิขสิทธิ์ได้ง่ำย ๘. ไม่เหมำะกับบำง format เช่น รูปวำด รูปถ่ำย แผนที่ใหญ่ เป็นต้น สื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ ๓. ขั้นกำรพัฒนำ กำรพัฒนำเป็นกระบวนกำรด ำเนินกำรเตรียมกำรจัดกำรเรียนกำรสอน หรือ สร้ำงแผนกำรเรียนกำรสอน เลือกใช้ สื่อกำรเรียนกำรสอนโดยพิจำรณำสื่อที่มีอยู่ว่ำเหมำะสมที่จะใช้ ควรปรับปรุงก่อนใช้หรือควรสร้ำงสื่อใหม่ และท ำกำร ประเมินผลขณะด ำเนินกำรพัฒนำหรือสร้ำงเพื่อปรับปรุง แก้ไขให้ได้ ระบบกำรเรียนกำรสอนที่มีประสิทธิภำพ พัฒนำ แผนกำรเรียนกำรสอน พัฒนำสื่อกำรเรียนกำรสอน ประเมินผลขณะด ำเนินกำรพัฒนำ ขั้นกำรพัฒนำประกอบด้วยขั้นตอน ย่อย เช่น กำรพัฒนำแผนกำรเรียนกำรสอน กำรพัฒนำสื่อกำรเรียนกำรสอน และกำรประเมินผลระหว่ำงด ำเนินกำร ๔. ขั้นกำรน ำไปใช้ น ำสื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ ที่ใช้ในกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมหลักสูตรกำรศึกษำนอกระบบระดับ กำรศึกษำ ขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ เผยแพร่ให้ผู้เรียนในช่องทำงต่ำงๆ เช่น กลุ่ม Line,facebook ๕. ขั้นกำรประเมินผล กำรประเมินผลเป็นขั้นตอนสุดท้ำยของกระบวนกำรออกแบบระบบกำรเรียนกำรสอน เพื่อประเมินผล ขั้นตอนต่ำง ๆ ว่ำเป็นไปตำมที่ได้วำงแผนหรือไม่ และท ำกำรปรับปรุง แก้ไขให้ได้ระบบกำรสอนที่มีประสิทธิภำพ ๙


๕) กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ เป็นส่วนส ำคัญอีกส่วนหนึ่งของกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ ซึ่งหลังจำกที่ผู้เรียนเรียนรู้แล้วต้องมีกำร ประเมินกำร เรียนรู้ของผู้เรียนเพื่อน ำผลมำพิจำรณำว่ำผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้หรือไม่มำกน้อยอย่ำงไร กำรวัดผลกำรเรียนรู้ สำมำรถ กระท ำได้ ดังนี้ ๑ กำรจัดท ำแบบทดสอบ โดยกำรท ำแบบทดสอบออนไลน์ที่ครูผู้สอนจัดท ำไว้ในระบบ ซึ่งมีวิธีกำรให้ครูผู้สอน สำมำรถจัดท ำได้ในหลำย ๆ รูปแบบ ขึ้นอยู่กับลักษณะของเนื้อหำควำมรู้ที่ต้องกำรวัดกำรทดสอบอำจท ำซ้ ำได้หลำย ๆ ครั้ง หรือให้ท ำเพียงครั้งเดียวก็ได้ และเมื่อท ำแบบทดสอบเสร็จสิ้น ทำงระบบจะท ำกำรประเมินผลกำรสอบให้ผู้เรียน ทรำบทันที หรืออำจปรับระบบให้ผู้เรียนทรำบในภำยหลังก็ได้ ๒. กำรประเมินผลกำรเรียนรู้เป็นกำรประเมินกำรเรียนรู้ของผู้เรียนในด้ำนต่ำง ๆ เช่น ด้ำนควำมรู้ ควำมคิด ด้ำนทักษะ ด้ำนเจตคติ โดยพิจำรณำจำกข้อมูลที่รวบรวมไว้ ทั้งจำกผลงำนที่ผู้เรียนจัดท ำและส่งให้ประเมินตำมที่ผู้สอน ก ำหนด กำรท ำแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน รวมถึงกำรพิจำรณำกำรเข้ำเรียน กำรส่งงำน ควำม รับผิดชอบ กำรมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนหรือผู้เรียนคนอื่น ๆ หรือคุณลักษณะอื่น ๆ ตำมที่ได้ก ำหนดไว้ในบทเรียน ครูผู้สอน จะต้องรวบรวมข้อมูลต่ำง ๆ เหล่ำนี้เพื่อท ำกำรประเมินกำรเรียนรู้เป็น รำยบุคคล ๔) ผลงำนที่เกิดขึ้นจำกกำรด ำเนินงำน ๖) สรุปสิ่งที่เรียนรู้และกำรปรับปรุงให้ดีขึ้น องค์ควำมรู้ที่ได้จำกกำรพัฒนำสื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ ที่ใช้ในกำรจัดกำรเรียนรู้ตำม หลักสูตร กำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ คือ ๑. สะดวกในกำรเรียน กำรน ำสื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ มำใช้ในกำรจัดกำรศึกษำ นั้นกระท ำได้ ตลอดเวลำ ผู้เรียนสำมำรถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลำ ตำมควำมสนใจอย่ำงสะดวก ๒.เข้ำถึงได้ง่ำย ผู้เรียนสำมำรถเข้ำไปเรียนรู้ได้อย่ำงง่ำย โดยใช้งำนผ่ำนสมำร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ ได้ ๓.ช่วยส่งเสริมให้เกิดกำรเรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ รวมทั้งเนื้อหำมีควำมทันสมัย และตอบสนองต่อเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ในปัจจุบันได้อย่ำงทันที ๔.ท ำให้เกิดกำรเรียนกำรสอนแก่ผู้เรียนในวงกว้ำงขึ้น เป็นกำรสนับสนุนกำรเรียนรู้ตลอดชีวิต ๗) กำรขยำยผลและเผยแพร่ผลกำรพัฒนำ ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยอ ำเภอกันทรลักษ์ได้ขยำยผลและเผยแพร่ สื่อกำรเรียน กำร สอนแบบออนไลน์ ที่ใช้ในกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมหลักสูตรกำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ ผ่ำนช่องทำงสื่อต่ำงๆ รวมทั้ง ให้ บุคลำกรศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยอ ำเภอกันทรลักษ์ ๘. ข้อเสนอแนะและแนวทำงกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง ๑. พัฒนำระบบฐำนข้อมูลสำรสนเทศให้ครอบคลุมทุกกิจกรรมและเป็นปัจจุบัน ๑๐


๒.พัฒนำรูปแบบสื่อออนไลน์อย่ำงสม่ ำเสมอ ๓. เผยแพร่งำนวิชำกำรที่หลำกหลำยช่องทำงเพื่อควำมสะดวกในกำรเข้ำถึงของผู้รับบริกำร ๔.สถำนศึกษำควรมี กำรขยำยหรือพัฒนำ เผยแพร่ให้ครูและบุคลลำกร ในส ำนักงำนส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบ และกำรศึกษำตำมอัธยำศัย จังหวัดหนองคำยและผู้ที่สนใจช่วยกันพัฒนำสื่อกำรเรียนกำรสอนอย่ำงต่อเนื่อง ๙. จุดเด่นหรือลักษณะพิเศษของผลงำนนวัตกรรม สื่อกำรเรียนกำรสอนแบบออนไลน์ ที่ใช้ในกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมหลักสูตรกำรศึกษำนอกระบบระดับกำรศึกษำขั้น พื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑ มีจุดเด่นหรือลักษณะพิเศษของผลงำนนวัตกรรม ดังนี้ ๑.มีกำรออกแบบและกำรจัดรูปแบบ (Design) มีควำมสวยงำม ควำมทันสมัย น่ำสนใจ มีสีสันในกำรออกแบบ เว็บไซต์มีควำมเหมำะสม มีเมนูง่ำยต่อกำรใช้งำน มีกำรจัดรูปแบบในเว็บไซต์ง่ำยต่อกำรอ่ำนและกำรใช้งำน ๒.ด้ำน คุณภำพของเนื้อหำ (Content) มีเนื้อหำมีควำมถูกต้องและทันสมัย แบบทดสอบมีควำมสอดคล้องกับ บทเรียน บทเรียน ออนไลน์ ช่วยให้นักเรียนมีควำมคิดสร้ำงสรรค์มำกขึ้น ๑๑


ภำคผนวก


แบบทดสอบระดับ ม.ปลาย ผ่านระบบ google form


แบบทดสอบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ผ่านระบบ google form


แบบทดสอบระดับประถมศึกษา ผ่านระบบ google form


คลังสื่อผ่านระบบ google site


ระบบบริการนักศึกษา


บัตรระบบการเรียนการสอนออนไลน์ LMS ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น


บัตรระบบการเรียนการสอนออนไลน์ LMS ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


บัตรระบบการเรียนการสอนออนไลน์ LMS ระดับประถมศึกษา


คณะผู้จัดท ำ ที่ปรึกษำ นำยชนะชำติ เต็งศิริ ผู้อ ำนวยกำรกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยอ ำเภอกันทรลักษ์ พิมพ์/สรุป/เรียบเรียง นำงสำวณัฐธยำน์ ชนำภัทรภณ นักวิชำกำรศึกษำ


Click to View FlipBook Version