The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Yuiza Yuiza, 2023-01-03 03:06:00

Ramayana

Ramayana

คํานาํ

โท ร ศั พ ท ส ม า ร ท โฟ น แ ล ะ แ ท็ บ เล็ ต ถื อ เป น อุ ป ก ร ณ ส่ื อ ส า ร สํ า คั ญ อ ย า ง ห น่ึ ง
ในยุคแหงสื่อสารสนเทศไรพรมแดนที่เขามามีบทบาทในวงการการศึกษาและกิจกรรม
การเรียนการสอนในหองเรียน ซึ่งการนําโทรศัพทสมารทโฟนและแท็บเล็ตมาใชน้ัน
กอใหเ กิดการเปลย่ี นแปลงในการจดั การเรยี นรูที่ดขี ึ้น จงึ ถอื ไดวาเปนสิ่งจําเปนและเพ่ือให
ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมในยุคโลกาภิวัฒน โดยเฉพาะดานเทคโนโลยี
คอมพวิ เตอรท ่ีมีความเจรญิ กาวหนาไปอยา งรวดเรว็

บทเรียนเสมือนจริง เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก นี้ ประกอบดวย
ความเปนมา ผแู ตง จุดประสงคใ นการแตง ลักษณะคําประพนั ธ เนอ้ื เรือ่ งและเนอ้ื เรอ่ื งยอ
อธบิ ายคําศพั ท ตัวละครสาํ คญั และวิเคราะหคุณคา

ขอขอบคุณผูอํานวยการ ดร.วันรักษ ขันหอม ผูอํานวยการโรงเรียนดงเจน
วิทยาคม ที่ใหการสงเสริมสนับสนุนการพัฒนาส่ือและนวัตกรรม คณะครูกลุมสาระ
การเรียนรูภาษาไทย คณะครูกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียน
ดงเจนวิทยาคม ที่ใหคําปรึกษา แนะนําและเปนผูเช่ียวชาญในการประเมินคุณภาพของ
บทเรยี นมา ณ ทน่ี ี้

นายพิพธิ พัฒน ณ นาน

สารบัญ หนา

เรื่อง ก

คาํ นํา
สารบัญ ๑

บทเรียนเสมอื นจริง เร่ือง รามเกยี รติ์ ตอน นารายณปราบนนทก ๔
คาํ ช้ีแจง ๕
ความเปน มา ๖
ผูแตง ๗
จดุ ประสงคในการแตง ๙
ลักษณะคําประพันธ ๑๙
เน้ือเรอื่ งยอ ๒๑
บทละครเรอื่ ง รามเกยี รต์ิ ตอน นารายณปราบนนทก ๒๓
อธิบายคําศพั ท ๓๑
ตัวละครสาํ คญั ๓๔
วิเคราะหค ุณคา ๓๙
แบบทดสอบ ๔๗
ใบงาน ๕๕
ชดุ กจิ กรรมแอปพลิเคชนั Kahoot
แบบเฉลย ๕๖

บรรณานุกรม
ภาคผนวก

ประวัติผูจัดทาํ



คําช้แี จง

วิธีใชง านแอปพลเิ คชนั Aurasma
๑. ตองใชอุปกรณประเภท Smart Phone, Tablet รวมถึงอุปกรณคอมพิวเตอร

พกพาตา ง ๆ ท่ีใชระบบปฏบิ ัติการ ios หรอื Android เวอรช ั่น 4.0 ข้ึนไป
๒. ตดิ ตัง้ แอปพลิเคชนั Aurasma ไดฟ รี ไมมคี า ใชจ า ยใด ๆ ทัง้ สิ้น
- ระบบปฏบิ ตั ิการ ios ดาวโหลดแอพพลิเคช่นั ไดท ่ี App store
- ระบบปฏบิ ตั ิการ Android ดาวโหลดแอพพลิเคชน่ั ไดที่ Play store
๓. เขา แอปพลิเคชัน Aurasma แลวกดไอคอนตัว A (สมี วง)
๔. กดไอคอนแวนขยายเพอ่ื คน หาคําวา mapandy หลังจากนน้ั แตะรูปท่แี สดงผล
๕. กดที่ Follow ใหเ ปลยี่ นเปน Following
๖. กดทไี่ อคอนรปู สี่เหล่ียมเพ่ือเขา สูโหมดของกลอง หลังจากน้นั ใหนําไปสอ งภาพ

ตาง ๆ ในบทเรียน ก็จะมขี อมูลออกมาแสดงใหช ม

วิธใี ชงานแอปพลเิ คชัน Kahoot
๑. ตองใชอุปกรณประเภท Smart Phone, Tablet รวมถึงอุปกรณคอมพิวเตอร

พกพาตา ง ๆ ที่ใชร ะบบปฏิบัติการ ios หรือ Android 2.3.3 ขนึ้ ไป
๒. ตดิ ต้ังแอปพลเิ คชนั Kahoot ไดฟรี ไมม ีคาใชจา ยใด ๆ ทง้ั ส้นิ
- ระบบปฏิบตั กิ าร ios ดาวโหลดแอพพลิเคชน่ั ไดท่ี App store
- ระบบปฏิบัติการ Android ดาวโหลดแอพพลิเคช่ันไดท ี่ Play store
๓. เขา แอปพลเิ คชัน Kahoot
๔. ใส Game PIN (ตัวเลข 6 หลัก) ท่ีไดร ับแจงจากครูผสู อน จากนนั้ กดปุม Enter
๕. ใสชื่อผูเ ลน ในชอ ง Nickname จากน้นั กดปมุ OK, go!
๖. ตอบคําถามโดยการกดปมุ สีใหตรงกบั ตวั เลอื กทถี่ ูกตอ ง



บทเรยี นเสมือนจรงิ
เรอื่ ง “รามเกยี รต์ิ ตอน นารายณปราบนนทก”

สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
มาตรฐานการเรยี นรู

ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทย
อยางเห็นคณุ คาและนํามาประยุกตใ ชใ นชีวติ จริง

ตวั ชีว้ ดั : สง่ิ ท่นี กั เรยี นพึงรูและปฏิบตั ไิ ด
๑. สรุปเนอ้ื หาวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี านในระดับที่ยากข้นึ
๒. วิเคราะหและวิจารณวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถ่ินท่ีอาน

พรอ มยกเหตผุ ลประกอบ
๓. อธิบายคุณคา ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อาน
๔. สรุปความรูและขอคดิ จากการอา นไปประยกุ ตใ ชในชีวติ จรงิ

จดุ ประสงคก ารเรียนรู
๑. จบั ใจความสําคญั ของเรอ่ื งได
๒. วเิ คราะหหลักการอา นวรรณคดีเพ่อื พิจารณาคุณคาดานวรรณศิลปไ ด
๓. พิจารณาคุณคาดานวรรณศิลปของบทละครเร่ือง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ

ปราบนนทก
๔. นาํ ความรูและขอ คิดจากเรื่องไปประยกุ ตใชได



ความเปนมา

ร า ม เกี ย ร ต์ิ เป น ว ร ร ณ ค ดี สํ า คั ญ ข อ ง ไท ย ท่ี มี ต น กํ า เนิ ด จ า ก คั ม ภี ร ร า ม า ย ณ ะ
ของอินเดีย สันนิษฐานวาพอคาชาวอินเดียเปนผูนํามาเผยแพรในประเทศไทยในรูปแบบ
การถายทอดทางมุขปาฐะ คือเปนการเลานิทานเรื่อง “พระราม” ตอมาจึงนํามาแตงใหม
ตามฉันทลักษณรอยกรองของไทย ดังจะเห็นไดวากวีไทยนิยมนําเร่ืองรามเกียรติ์มาแตง
ตงั้ แตสมัยอยธุ ยาแลว

ภาพจติ รกรรมฝาผนังเลาเรอ่ื งราวรามเกยี รติ์ วัดพระศรีรตั นศาสดาราม

ในสมัยรัตนโกสินทร พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช
ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหทํานุบํารุงวรรณกรรมของชาติไวใหเปนสมบัติของอนุชน
รุนหลังสืบไป โปรดเกลาฯ ใหกวีรวบรวมบทละครเรื่องรามเกียรติ์ไวเปนตนฉบับสําหรับ
พระนคร บทละครเรื่องรามเกียรต์ิสํานวนน้ีจึงนับวาเปนสํานวนท่ีสมบูรณท่ีสุด มีจํานวน
๑๑๖ เลมสมุดไทย มีเหตุการณสําคัญหลายตอนและตัวละครสําคัญหลายตัว ซ่ึงมีเนื้อหา
สบื เนือ่ งกนั มาตัง้ แตตนเรอ่ื ง



ผูแ ตง

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช มีพระนามเดิมวา “ทองดวง”
ทรงพระราชสมภพ เมื่อวันท่ี ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๒๗๙ ในรัชกาลของพระเจาอยูหัว
บรมโกศ เสด็จข้ึนครองราชย เมื่อวันท่ี ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ ขณะมีพระชนมพรรษา
ได ๔๖ พรรษา และเสด็จสวรรคต พ.ศ. ๒๓๕๒ รวมพระชนมายุได ๗๓ พรรษา
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมีพระราชกรณียกิจที่สําคัญหลายดาน
ต้ังแตทรงเริ่มครองราชย เชน ทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร และพระราชทานนาม
พระนครใหมวา “กรุงเทพมหานครบวรรัตนโกสินทร มหินทรายุทธยามหาดิลกภพ
นพรัตนราชธานีบุรีรมยอุดมราชนิเวศนมหาสถานอมรพิมานอวตารสถิต สักกทัตติยะ
วิษณุกรรมประสิทธ์ิ” ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงแปลง
สรอยพระนามพระนครจาก “บวรรัตนโกสินทร” เปน “อมรรัตนโกสินทร” และ
โปรดเกลาฯ ใหอ ัญเชญิ พระพทุ ธมหามณีรัตนปฏิมากร หรือพระแกว มรกตมาประดิษฐาน
ณ พระอโุ บสถ วัดพระศรรี ัตนศาสดาราม



โปรดเกลาฯ ใหต้ังการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมบูรณแบบอยางโบราณราชประเพณี
ณ พระท่ีนั่งอมรินทราภิเษกมหาปราสาท ซ่ึงโปรดเกลาฯ ใหสรางข้ึนดวยไมท้ังองค
หลังคาดาดดวยดีบุกโดยถายแบบจากพระท่ีน่ังสรรเพชญปราสาทในพระนครศรีอยุธยา
โปรดเกลาฯ ใหฟนฟูการเลนสักวา ในดานศาสนา โปรดเกลาฯ ใหสังคยนาพระไตรปฎก
พรอมท้ังอรรถกถาฎีกา ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ สรางหอมณเฑียรธรรมข้ึนใน
บริเวณวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เพ่ือใชสําหรับเก็บคัมภีรทางพุทธศาสนา เปนตน
ดานอักษรศาตร พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกทรงพระราชนิพนธวรรณคดี
หลายเร่ือง เชน บทละครเร่ืองรามเกียรติ์ บทละครเร่ืองอุณรุท นิราศรบพมาทาดินแดง
และทรงชาํ ระพระราชพงศาวดาร

จุดประสงคในการแตง

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงพระราชนิพนธขึ้นดวย
เหตุผลหลายประการ ไดแ ก

๑. เพื่อใชเปนบทละครใน
๒. เพอ่ื ปลุกใจใหประชาชนเกิดความกลา หาญ
๓. เพ่อื ใหมีเร่อื งรามเกียรติฉ์ บับสมบรู ณ
๔. เพอ่ื แสดงใหเหน็ วา “ธรรมะยอมชนะอธรรม”
๕. เพ่ือใหม ีความซอ่ื สตั ยส ุจรติ ตอบดิ ามารดา
๖. เพอ่ื ใหเหน็ ตัวอยางของความไมเทย่ี งแทข องสิง่ ตา ง ๆ ในโลก



ลกั ษณะคําประพนั ธ

บทละครในเร่ืองรามเกียรติ์แตงเปนกลอนบทละคร ซึ่งมีลักษณะบางประการ
คลา ยกลอนสุภาพหรือกลอนแปด กลอนบทละครแตง ขึน้ เพือ่ ใชป ระกอบการแสดงละคร

๑. ลักษณะบงั คบั มีดังน้ี
๑.๑ บทหนึ่งมี ๔ วรรค หรือ ๒ บาท ในแตละวรรคนิยมใชคํา ๖ – ๗ คํา

ไมเ กิน ๘ คํา เพราะรองไดล งจงั หวะและเขากับทํานองไดดีกวา
๑.๒ สัมผัสบังคับมดี งั น้ี
• คาํ สุดทายของวรรคที่ ๑ สงสัมผสั ไปยังคาํ ท่ี ๓ หรือ ๕ ของวรรคท่ี ๒
• คาํ สุดทายของวรรคท่ี ๒ สงสมั ผสั ไปยงั คําสดุ ทายของวรรคท่ี ๓
• คําสดุ ทา ยของวรรคท่ี ๓ สงสัมผัสไปยังคําท่ี ๓ หรอื ๕ ของวรรคที่ ๔
• ถาแตงหลายบท คําสุดทายของวรรคที่ ๔ ตองสงสัมผัสระหวาง
บทไปยังคาํ สุดทายของวรรคที่ ๒ ของบทตอไป

๒. มีคาํ นาํ หรือคําขน้ึ ตนเมอ่ื จะเริ่มบท ดงั นี้
๒.๑ “มาจะกลา วบทไป” ใชสําหรับขน้ึ ตนเรอ่ื ง หรือกลาวถึงเร่ืองทีแ่ ทรกเขา มา
๒.๒ “เม่ือนั้น” ใชข้ึนตนเมื่อกลาวถึงผูมียศศักด์ิ เชน พระมหากษัตริย

พระมเหสี เทวดาผูเปน ใหญ
๒.๓ “บัดน้ัน” ใชขึ้นตนเมื่อกลาวถึงผูนอย หรือผูใตบังคับบัญชา เชน

อํามาตย เสนาทหาร สามญั ชน
๒.๔ อาจใชคําข้ึนตนอ่ืน ๆ ได เชน “ฟ งพ าที” หรือ ข้ึนตนคลาย

กลอนดอกสรอย คือ วรรคสดับ มี ๔ คํา มีคําวา “เอย” หรือ “เอย” เปนคําท่ี ๒ เชน
สดุ เอยสดุ สวาท โฉมเอยโฉมเฉลา



๓. คําข้นึ ตนดงั กลา วสามารถใชแทนวรรคสดับได เชน

• “เมื่อน้ัน นางสดี านารีศรีใส”

• “บดั น้นั กรมเมอื งรบั ส่งั ใสเ กศี”

แผนผงั คําประพันธ

ตวั อยาง

มาจะกลาวบทไป ถงึ นนทกน้ําใจกลาหาญ
ตั้งแตพระสยมภูวญาณ ประทานใหลา งเทาเทวา
อยบู นั ไดไกรลาสเปน นจิ สุราฤทธ์ิตบหัวแลวลูบหนา
บา งใหต ักนาํ้ ลางบาทา บางถอนเสน เกศาวนุ ไป



เนือ้ เร่ืองยอ

รามเกียรติ์ ตอน นารายณป ราบนนทก ฉบับการตนู

ยักษช่ือนนทกเปนบริวารของพระอิศวร น่ังประจําอยูที่เชิงเขาไกรลาส โดยมี
หนาที่ลางเทาใหเหลาเทวดาท่ีจะขึ้นไปเฝาพระอิศวร เทวดาแกลงตบหัวถอนผมนนทก
จนศีรษะโลน ไดรับความอับอาย นนทกแคนใจจึงไปขอพรจากพระอิศวรใหตนมีน้ิวเพชร
ช้ีสังหารใคร ๆ ได พระอิศวรประทานพรใหเพราะเห็นวานนทกทําความดีความชอบ
มาชานาน ต้ังแตน้ันมานนทกก็มีใจกําเริบใชนิ้วเพชรสังหารเทวดาท่ีมากลั่นแกลงตน
พระอิศวรจึงขอใหพระนารายณไปปราบ พระนารายณแปลงเปนนางรํารูปรางงดงาม
ไปย่ัวยวนนนทก โดยใหนนทกรําตามทาตาง ๆ จนถึงทานาคามวนหาง คือช้ีน้ิวลงที่ขา
ตนเอง นนทกขาหักลมลง นางรําแปลงกลับรางเปนพระนารายณ นนทกตอวา
พระนารายณวามีถึงส่ีกรแตยังไมกลาสูกับตนซ่ึงหนา พระนารายณทาวาขอใหนนทก
ไปเกดิ ใหมมีสิบหนายส่ี ิบมือ เหาะเหินเดินอากาศไดและมอี าวธุ พรอ มสรรพ สวนพระองค
จะอวตารเปนมนุษยสองมือ เพ่ือสูกันในโลกมนุษยอีกครั้งหน่ึง แลวจึงสังหารนนทก
นนทกลงมาเกิดเปนทศกณั ฐ สวนพระนารายณอ วตารลงมาเปนพระราม



บทละครใน เรอื่ ง รามเกยี รต์ิ
ตอน นารายณปราบนนทก

๏ มาจะกลา วบทไป ถงึ นนทกนํ้าใจกลาหาญ

ต้ังแตพระสยมภวู ญาณ ประทานใหล างเทา เทวา

อยบู ันไดไกรลาสเปนนจิ สุราฤทธิต์ บหัวแลว ลูบหนา

บางใหต กั นํา้ ลางบาทา บางถอนเสน เกศาวนุ ไป

จนผมโกรนโลนเกลย้ี งถึงเพยี งหู ดเู งาในนํ้าแลวรองไห

ฮึดฮดั ขดั แคนแนน ใจ ตาแดงดงั่ แสงไฟฟา

เปนชายดดู ูมาหมิ่นชาย มิตายจะไดม าเหน็ หนา

คิดแลวกร็ บี เดินมา เฝา พระอิศราธบิ ดี ฯ

ฯ ๘ คํา ฯ เสมอ

๏ ครน้ั ถงึ จึ่งประณตบทบงสุ ทูลองคพ ระอิศวรเรืองศรี

วาพระองคเ ปนหลกั ธาตรี ยอมเมตตาปรานีทัว่ พักตร

ผใู ดทาํ ชอบตอ เบอื้ งบาท กป็ ระสาททัง้ พรแลยศศกั ดิ์

ตัวขา กม็ ีชอบนกั ลางเทา สรุ ารักษถึงโกฏปิ 

พระองคผ ทู รงศกั ดาเดช ไมโ ปรดเกศแกขาบทศรี

กรรมเวรสง่ิ ใดดัง่ นี้ ทูลพลางโกกรี าํ พัน ฯ

ฯ ๖ คํา ฯ โอด

๑๐

๏ เมือ่ น้นั พระอศิ วรบรมรงั สรรค
เหน็ นนทกโศกาจาบัลย พระทรงธรรมใ หคิดเมตตา
จง่ึ มีเทวราชบรรหาร เอง็ ตองการสิ่งไรจงเรง วา
ตวั กูจะใหดั่งจนิ ดา อยาแสนโศกาอาลยั ฯ

ฯ ๔ คํา ฯ

๏ บดั นนั้ นนทกผูม ีอัชฌาสัย
นอมเศียรบังคมแลวทลู ไป จะขอพรเจา ไตรโลกา
ใหน ว้ิ ขาเปน เพชรฤทธี จะช้ีใครจงมวยสงั ขาร
จะไดร องเบ้อื งบาทา ไปกวา จะสนิ้ ชวี ี ฯ

ฯ ๔ คํา ฯ

๏ เมอื่ น้นั พระสยมภูวญาณเรืองศรี
ไดฟงนนทกพาที ภมู นี ิ่งนกึ ตรกึ ไป
อายนีม่ ีชอบมาชานาน จําเปนจําจะประทานให
คิดแลว กป็ ระสทิ ธพ์ิ รชัย จงไดส าํ เรจ็ มโนรถ ฯ

๔ คํา ฯ

๏ บดั น้ัน นนทกผูใจสาหส

รับพรพระศุลมี ยี ศ บงั คมแลว บทจรไป ฯ

ฯ ๒ คํา ฯ เสมอ

๑๑

๏ ครนั้ ถึงบนั ไดไกรลาส ขดั สมาธนิ ั่งยิ้มรมิ อางใหญ

คอยหมูเทวาสรุ าลยั ดวยใจกําเริบอหังการ ฯ

ฯ ๒ คํา ฯ

๏ เมอ่ื นัน้ เทวาสรุ าฤทธิ์ทุกทศิ า

สบุ รรณคนธรรพวทิ ยา ตางมาเฝาองคพ ระศลุ ี ฯ

ฯ ๒ คํา ฯ เหาะ

๏ ครั้นถงึ ซ่งึ เชิงไกรลาส คนธรรพเ ทวราชฤๅษี

ก็ชวนกันยา งเย้ืองจรลี เขา ไปยงั ท่อี ัฒจนั ทร ฯ

ฯ ๒ คํา ฯ

๏ นนทกกล็ า งเทาให เมื่อจะไปกจ็ ับหวั สั่น

สัพยอกหยอกเลนเหมือนทุกวัน สรวลสันตเยาะเยยเฮฮา ฯ

ฯ ๒ คาํ ฯ เจรจา

๏ บดั นัน้ นนทกนํา้ ใจแกลว กลา
กรว้ิ โกรธรอ งประกาศตวาดมา อนจิ จาขมเหงเลน ทกุ วัน
จนหัวไมม ีผมติด สุดคดิ ทเ่ี ราจะอดกลน้ั
วนั นจี้ ะไดเ หน็ กัน ขบฟนแลว ช้นี ้วิ ไป

ฯ ๔ คาํ ฯ

๏ ตอ งสุบรรณเทวานาคี ด่ังพิษอสุนไี มทนได

ลมฟาดกลาดเกลื่อนลงทันใด บรรลัยไมทนั พรบิ ตา ฯ

ฯ ๒ คาํ ฯ โอด

๑๒

๏ เม่ือนั้น หัสนัยนเจา ตรัยตรึงศา

เหน็ นนทกนน้ั ทําฤทธา ช้หี มูเทวาวายปราณ

ตกใจตะลึงรําพึงคดิ ใครประสิทธใิ์ หม ันสังหาร

คดิ แลวขนึ้ เฝา พระทรงญาณ ยังพมิ านทิพรัตนรจู ี ฯ

ฯ ๔ คํา ฯ เสมอ

๏ ครัน้ ถึงจงึ่ ประณตบทบงสุ ทลู องคพระอศิ วรเรืองศรี
วานนทกมันทําฤทธี ชีห้ มูเทวาบรรลยั
อนั ซึ่งนว้ิ เพชรของมนั พระทรงธรรมป ระทานฤๅไฉน
จึง่ ทําอาจองทะนงใจ ไมเกรงใตเบอื้ งบาทา ฯ

ฯ ๔ คํา ฯ

๏ เมือ่ น้ัน พระอศิ วรบรมนาถา
ไดฟ งองคอมรินทรา จงึ่ มีบญั ชาตอบไป
อา ยน่ีทําชอบมาชานาน เราจึ่งประทานพรให
มนั กลบั ทรยศกระบถใจ ทําการหยาบใหญถงึ เพยี งน้ี ฯ

ฯ ๔ คํา ฯ

๏ ตรสั แลวจึ่งมบี ญั ชา ดรู าพระนารายณเรอื งศรี
ตวั เจา ผมู ฤี ทธี เปน ทีพ่ ่งึ แกห มูเ ทวญั
จงชว ยระงับดบั เข็ญ ใหเยน็ ท่ัวพิภพสรวงสวรรรค
เชญิ ไปสงั หารอายอาธรรม ใหมนั ส้ินชพี ชีวา ฯ

ฯ ๔ คํา ฯ

๑๓

๏ เม่ือนัน้ องคพระนารายณน าถา

รบั สงั่ ถวายบงั คมลา ออกมาแปลงกายดว ยฤทธี

ฯ ฯ ๒ คํา ฯ ตระ

๏ เปนโฉมนางเทพอัปสร ออ นแอนอรชรเฉลิมศรี

กรายกรยางเยื้องจรลี ไปอยทู ี่นนทกจะเดนิ มา ฯ

ฯ ๒ คํา ฯ เชดิ เพลง

๏ บัดน้ัน นนทกผูใจแกลวกลา

สิ้นเวลาเฝาเจาโลกา สาํ ราญกายาแลวเทย่ี วไป ฯ

ฯ ๒ คํา ฯ เชดิ

๏ เหลือบเหน็ สตรีวไิ ลลกั ษณ พศิ พกั ตรผอ งเพียงแขไข

งามโอษฐง ามแกม งามจไุ ร งามนัยนเนตรงามกร

งามถันงามกรรณงามขนง งามองคย่งิ เทพอปั สร

งามจริตกริ ิยางามงอน งามเอวงามออ นท้งั กายา

ถึงโฉมองคอคั รลกั ษมี พระสรุ ัสวดเี สนห า

สนิ้ ทัง้ ไตรภพจบโลกา จะเอามาเปรียบไมเทียบทัน

ดูไหนกเ็ พลนิ จาํ เรญิ รัก ในองคเยาวลกั ษณสาวสวรรค

ยงิ่ พิศยิ่งคิดผูกพนั กเ็ ดินกระชน้ั เขา ไป ฯ

ฯ ๘ คํา ฯ เขามาน

๑๔

๏ โฉมเอยโฉมเฉลา เสาวภาคยแนง นอยพสิ มัย
เจามาแตส วรรคช ้ันใด นามกรชือ่ ไรนะเทวี
ประสงคส ิง่ ใดจะใครรู ทําไมมาอยูที่นี่
ขาเหน็ เปนนาปรานี มารศรจี งแจงกิจจา ฯ

ฯ ๔ คาํ ฯ

๏ เมื่อน้นั นางนารายณเยาวลกั ษณเ สนห า
ไดฟ ง ยงิ่ ทาํ มารยา ชําเลอื งนยั นาแลวตอบไป
ทาํ ไมมาลว งไถถาม ลวนลามบุกรุกเขามาใกล
ทา นนี้ไมมคี วามเกรงใจ เราเปน ขาใชเจา โลกา
พนักงานฟอ นรําระบําบนั ชื่อสุวรรณอปั สรเสนห า
มที กุ ขจ ่งึ เที่ยวลงมา หวงั วา จะใหค ลายรอน ฯ

ฯ ๖ คํา ฯ

๏ สดุ เอยสุดสวาท โฉมประหลาดลํ้าเทพอัปสร
ทัง้ วาจาจริตก็งามงอน ควรเปน นางฟอ นวไิ ลลักษณ
อนั ซ่งึ ธุระของเจา หนักเบาจงแจง ใหป ระจกั ษ
ถาวาสนาเราเคยบํารุงรัก กจ็ ะเปน ภักษผลสบื ไป
ตวั พีม่ ไิ ดล วนลาม จะถอื ความสงิ่ นนี้ ไ่ี มไ ด
สาวสวรรคขวญั ฟา ยาใจ พ่ไี รคูจะพ่ึงแตไ มตรี ฯ

ฯ ๖ คํา ฯ

๑๕

๏ เมอื่ นัน้ นางเทพนมิ ติ โฉมศรี
คอนแลวจ่งึ ตอบวาที วา น้ไี พเราะเปนพน ไป
อันซง่ึ จะฝากไมตรขี า ขอ นั้นอยา วา หารูไม
เราเปนนางรําระบาํ ใน จะมีมติ รท่ใี จผกู พัน
ในการนักเลงเพลงฟอน จงึ่ จะผอ นดวยความเกษมสนั ต
ราํ ไดก ม็ ารําตามกัน นั่นแหละจะสมดง่ั จินดา ฯ

ฯ ๖ คํา ฯ

๏ บัดน้นั นนทกผใู จแกลวกลา
ไมรวู า นารายณแปลงมา ก็โสมนสั สาพันทวี
ยม้ิ แลวจ่ึงกลาวสุนทร ดูกอ นนางฟา เฉลมิ ศรี
เจา จักปรารมภไ ปไยมี พเ่ี ปน คนเกา พอเขาใจ
เชญิ เจารําเถิดนะนางฟา ใหส ้ินทาท่ีนางจําได
ตวั พี่จะรําตามไป มิใหผดิ เพลงนางเทวี ฯ

ฯ ๖ คํา ฯ

๏ เม่ือนั้น พระนารายณทรงสวัสดิ์รัศมี

เหน็ นนทกหลงกลกย็ นิ ดี ทําทีเยื้องกรายใหยวนยิน ฯ

ฯ ๒ คํา ฯ เจรจา

๏ เทพนมปฐมพรหมสห่ี นา สอดสรอยมาลาเฉดิ ฉนิ
ทงั้ กวางเดนิ ดงหงสบ นิ กนิ รินเลียบถ้าํ อําไพ
อีกชานางนอนภมรเคลา ทัง้ แขกเตาผาลาเพียงไหล
เมขลาโยนแกวแววไว มยเุ รศฟอนในอมั พร

๑๖

ลมพดั ยอดตองพรหมนมิ ติ ทงั้ พสิ มัยเรยี งหมอน

ยา ยทามัจฉาชมสาคร พระสกี่ รขวางจักรฤทธิรงค

ฝายวานนทกกร็ ําตาม ดว ยความพสิ มยั ใหลหลง

ถึงทา นาคามวนหางวง ชีต้ รงถกู เพลาทนั ใด ฯ

ฯ ๘ คาํ ฯ เพลง

๏ ดวยเดชน้ิวเพชรสิทธิศักดิ์ ขาหักลม ลงไมท นได

นางกลายเปนองคนารายณไ ป เหยียบไวจ ะสังหารราญรอน ฯ

ฯ ๒ คํา ฯ เชดิ

๏ บัดนน้ั นนทกแกลว หาญชาญสมร
เหน็ พระองคทรงสงั ขคทาธร เปนสี่กรกร็ ูป ระจกั ษใ จ
วาพระหริวงศทรงฤทธิ์ ลวงลางชวี ติ กเ็ ปน ได
จึ่งมวี าจาถามไป โทษขา เปนไฉนใหว ามา ฯ

ฯ ๔ คํา ฯ

๏ เมอ่ื น้นั พระนารายณบรมนาถา

ไดฟ ง จึง่ มีบัญชา โทษามึงใหญห ลวงนกั

ดว ยทําโอหงั บงั เหตุ ไมเกรงเดชพระอศิ วรทรงจักร

เอ็งฆาเทวาสรุ ารักษ โทษหนักถงึ ทบี่ รรลัย

ตัวกูก็คดิ เมตตา แตจ ะไวช ีวามงึ ไมได

ตรสั แลวแกวงตรเี กรียงไกร แสงกระจายพรายไปด่ังไฟกาล ฯ

ฯ ๖ คํา ฯ

๑๗

๏ บัดนนั้ นนทกผใู จแกลวหาญ
ไดฟง จ่ึงตอบพจมาน ซง่ึ พระองคจะผลาญชวี ี
เหตุใดมิทาํ ซ่ึงหนา มารยาเปนหญิงไมบ ดั สี
หรอื วา กลวั นิ้วเพชรนี้ จะชพ้ี ระองคใ หบรรลยั
ตัวขามีมือแตสองมือ ฤๅจะสูทงั้ ส่กี รได
แมนสีม่ ือเหมอื นพระองคทรงชัย ท่ีไหนจะทาํ ไดดั่งนี้ ฯ

ฯ ๖ คาํ ฯ

๏ เมอ่ื นั้น พระนารายณทรงสวัสดิร์ ศั มี

ไดฟ ง จง่ึ ตอบวาที กูน้แี ปลงเปน สตรีมา

เพราะมงึ จะถงึ แกความตาย ฉบิ หายดวยหลงเสนหา

ใชว า จะกลวั ฤทธา ศักดาน้ิวเพชรนน้ั เมอ่ื ไร

ชาตินี้มึงมีแตสองหตั ถ จงไปอบุ ตั เิ อาชาติใหม

ใหส ิบเศียรสบิ พักตรเ กรยี งไกร เหาะเหินเดินไดในอัมพร

มมี ือยส่ี บิ ซายขวา ถือคทาอาวุธธนูศร

กจู ะเปน มนษุ ยแตสองกร ตามไปราญรอนชีวี

ใหส น้ิ วงศพ งศมงึ อนั ศักดา ประจกั ษแ กเทวาทุกราศี

วาแลว กวัดแกวงพระแสงตรี ภมู ีตดั เศียรกระเด็นไป ฯ

ฯ ๑๐ คํา ฯ เชิด โอด

๏ ครัน้ แลว นนทกมรณา พระจกั ราผูมอี ชั ฌาสัย
เหาะระเหจ็ เตร็ดฟาดวยวองไว ไปยังเกษยี รวารี ฯ

ฯ ๒ คาํ ฯ เชดิ

๑๘

๏ เมื่อน้นั ฝา ยนางรชั ดามเหสี
องคทา วลัสเตยี นธิบดี เทวมี ีราชบุตรา
คือวา นนทกมากําเนิด เกิดเปน พระโอรสา
ชื่อทศกัณฐก ุมารา สบิ เศยี รสิบหนาย่ีสบิ กร
อันนองซง่ึ ถัดมานั้น ช่อื กมุ ภกรรณชาญสมร
องคพ ระบติ เุ รศมารดร มิใหอ นาทรสกั นาที

ฯ ๖ คาํ ฯ

๑๙

อธบิ ายคาํ ศพั ท

กระบถ กบฏ หมายถึง ความทรยศ
เกษยี รวารี เกษยี รสมุทร คอื ทะเลนํา้ นมทป่ี ระทบั ของพระนารายณ
ไกรลาส ช่อื ภูเขาที่เปนท่ีประทับของพระอิศวร
โกฏิ ชื่อมาตรานบั เทากบั ๑๐ ลา น
ขมเหง ใชก าํ ลังรังแกแกลงทาํ ความเดือดรอนใหผ ูอ่ืน
แขไข พระจันทร
คนธรรพ ชาวสวรรคพ วกหนึง่ มีความชํานาญในวิชาดนตรีและขบั รอง
จุไร ผมที่เกลาเปน จุกประดบั อยา งสวยงาม
ตรยั ตรงึ ศา ตรยั ตรึงศห รือดาวดงึ ส แปลวาสามสิบสาม เปนชอื่ สวรรคท ่ีมีเทพ
ชน้ั ผใู หญส ามสบิ สามองค และมพี ระอินทรเ ปนหัวหนา เปนสวรรค
ตรี ช้นั ทสี่ องแหง ฉกามาพจร (สวรรค ๖ ช้นั ฟา)
เทพอปั สร คือ ตรศี ลู เปนอาวธุ สามงาม
ธาตรี นางฟา
นาคี แผน ดนิ , โลก
บทบงสุ, บทศรี นาค คอื งูใหญมหี งอน เปน สัตวใ นเทพนิยาย
บงั เหตุ ในทีน่ หี้ มายถงึ พระบาทของเทวดาหรือกษตั ริย
บัดสี ทําใหเปน เหตุ
พระหรวิ งศ นา อับอายขายหนา เปนท่ีนา รังเกียจ
พิภพ พระนารายณ
ไฟกาล โลก
ไฟกัลปห รือไฟบรรลัยกัลป ตามคตพิ ราหมณเชื่อวาเปนไฟไหมลา ง
ภกั ษผล โลก เมือ่ ส้นิ อายขุ องโลกคร้ังหนึง่ ๆ
ผลสาํ เรจ็

๒๐

ลวนลาม ลว งเกินในลกั ษณะชูสาวดว ยการพดู หรอื การกระทําเกินสมควร
ลกั ษมี ชายาของพระนารายณ
วายปราณ ตาย
วิทยา ในท่ีน้คี ือ วิทยาธร ชาวสวรรคพวกหน่งึ ทมี่ ีวิชาอาคม
ศักดา อํานาจ
สัพยอก หยอกเยา
สาหส สาหสั หมายถงึ รายแรง รุนแรงเกินสมควร
สน้ิ ทา ในทีน่ ้ีหมายถงึ ครบทุกทารํา
สบุ รรณ ครุฑ คือ พญานกในเทพนิยาย
สรุ ารักษ เทวดาผูคมุ ครอง
สุรัสวดี ชายาของพระพรหม
โสมนสั า ยนิ ดี
หสั นยั น ผูม ีพันตา หมายถงึ พระอินทร เปนเทวราชผเู ปน ใหญในสวรรคช้นั ดาวดึงส
อสุนี คือ อสุนบี าต หมายถงึ ฟา ผา
อหงั การ ความเยอ หยงิ่ จองหอง ความทะนงตัว ความกาวราวดว ยการถือวา
ตนเองสาํ คญั
อัฒจันทร ในที่นี้หมายถึง ขัน้ บนั ได
อมั พร ฟา ทอ งฟา อากาศ
อาธรรม ช่ัว ไมเปนธรรม ไมเ ทีย่ งธรรม ไมย ุตธิ รรม

๒๑

ตัวละครสําคัญ

๑. พระอิศวร

เทวดาผูเปนใหญในสวรรค มีกายสีขาวแตพระศอเปนสีดํา เพราะเคยด่ืมยาพิษ
เพื่อรักษาโรคใหพนจากเศษนาค เมื่อคราวกวนเกษียรสมุทร
มีพระเนตร ๓ ดวง ดวงที่ ๓ อยูกลางพระนลาฎ ซ่ึงตามปกติ
จะหลับอยู เน่ืองจากพระเนตรดวงน้ีมีอานุภาพรายแรงมาก
หากลืมตาขึ้นเม่ือใดจะเผาผลาญทุกอยางใหมอดไหมได
พระมเหสีของพระองค คือ พระอุมา มีพระราชโอรสคือ
พระขันทกุมาร เทพเจาแหงสงคราม และพระพิฆเนศ
เทพเจาแหงศิลปวิทยาการ พระอิศวรมีนาคเปนสังวาล
มีพระจันทรเปนปน อาวุธประจําพระองคคือ ตรีศูล

(หลาวสามงาม) พาหนะของพระองค คือ โคอุศุภราช พระอิศวรมีชื่ออีกหลายชื่อ เชน
พระศุลี พระศิวะ พระภูเตศวร พระตรีเนตร พระสยมภู พระมเหศวร ชาวฮินดูนับถือวา
เปน เทพเจา สงู สดุ ในบรรดาเทพทง้ั สาม ไดแก พระอศิ วร พระนารายณ พระพรหม

๒. พระนารายณ

เทวดาฝายปราบปราม มีกายเปนสีดอกตะแบก มี ๔ กร
กรท้ัง ๔ นั้น ถืออาวุธตาง ๆ กัน คือ คฑา ตรี จักร สังข
ทรงมงกุฎชัย (ชฎาเดินหน) ประทับอยูกลางเกษียรสมุทรบนหลัง
พญานาค ช่ือ “อนันตนาคราช” พระมเหสีของพระองค คือ
พ ระ ลั ก ษ มี พ ระ น าราย ณ มี ชื่ อ เรีย ก อ ย างอื่ น อี ก เช น
พระทรงครุฑ พระส่ีกร พระทรงสังข พระวิษณุ พระธรา
พระสงั ขกร

๒๒

๓. พระอินทร

เทวดาผูเปนใหญในสวรรคช้ันดาวดึงส มีกายสีเขียว มีพระเนตรถึงพันดวง
ใชวัชระ (สายฟา) เปนอาวุธ มีชางเอราวัณเปนพาหนะ
พระองคมีมเหสี ๔ องค คือ สุจิตรา สุธรรม สุนันทาและ
สุชาดา พระอินทรเปนผูดูแลทุกขสุขของมนุษยโลก ยามใด
ท่ีมีเรื่องเดือดรอนข้ึนบนโลกมนุษย อาสนะของพระองค
ที่เคยออนนุม ก็จะแข็งกระดาง หรือบางครั้งก็รอน
จนไมสามารถประทับอยูได พระอินทรมีช่ือเรียกอยางอ่ืน
เชน ทาวสหัสนัยน ทาวโกลีย ทาวสักกะเทวราช อมรินทร
ศกั รินทร มฆั วาน

๔. นนทก

ยักษท่ีทําหนาท่ีลางเทาเทวดาที่เชิงเขาไกรลาส ถูกพวกเทวดาแกลงตบหัวบาง
ถอนผมบาง จนหัวโลน นนทกมีความแคนมากจึงเขาเฝาพระอิศวรทูลขอพรใหมีนิ้ว
เปนเพชร สามารถชี้ใหผูใดตายก็ได จากนั้นนนทกก็ใชน้ิวเพชรช้ีใหเทวดา พญาครุฑ
คนธรรพ ตายเกลื่อนกลาด พระนารายณจึงตองไปปราบ
กอนตายนนทกตอวาพระนารายณวา ตนเองมีเพียง
สองมือเทาน้ันจะชนะพระนารายณที่มีถึงสี่กรไดอยางไร
พระนารายณจึงประทานพรใหนนทกไปเกิดเปนยักษ
มีสิบหนาย่ีสิบมือ แลวพระองคจะไปเกิดเปนมนุษย
มีเพียงสองมือเพ่ือสูนนทกในชาติใหม ใหหมดสิ้น
ทง้ั วงศย กั ษ นนทกจงึ กลบั ชาตมิ าเกิดเปนทศกัณฑ

๒๓

วเิ คราะหคณุ คา

คุณคาดา นวรรณศิลป

ไดแก การสรรคําไดกระชับและกินความ และการใชภาพพจน
๑. การสรรคําไดกระชับและกินความ บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอนนารายณ
ปราบนนทกน้ีเปนเร่ืองสั้น ๆ ที่ปรากฏอยูตอนตนเรื่อง มีการเลือกสรรคํามาใชไดกระชับ
และกินความ โดยแสดงอากัปกิริยาและอารมณความรูสึกของตัวละครอยางเดนชัด
ดงั ตัวอยา งเมอื่ บรรยายภาพนนทกวา

อยบู นั ไดไกรลาสเปนนจิ สรุ าฤทธ์ิตบหวั แลวลบู หนา
บางใหต กั น้าํ ลางบาทา บางถอนเสนเกศาวุนไป
จนผมโกรน โลน เกล้ียงถึงเพียงหู ดูเงาในนาํ้ แลว รองไห
ฮดึ ฮัดขดั แคน แนน ใจ ตาแดงดง่ั แสงไฟฟา

การสรรคําในตัวอยางน้ีแสดงพฤติกรรมของเหลาเทวดาที่มีตอนนทก ดังนี้

“ตบหัวแลวลูบหนา” “ใหตักน้ําลางบาทา” และ “ถอนเสนเกศาวุนไป” คําท่ีใช
เปนคํางาย ๆ ที่สื่อความไดชัดเจน ทําใหเห็นวาส่ิงตาง ๆ ที่เทวดาทํานี้เองท่ีทําใหนนทก
มีสภาพ “ผมโกรนโลนเกลี้ยงถึงเพียงหู” ซึ่งแสดงวาเหลาเทวดาตางแกลงนนทก
มาเปนเวลานาน คําตาง ๆ เหลาน้ีส่ือความไดกระชับและชัดเจน ผูแตงแสดงความรูสึก

ของนนทกเม่ือเห็นเงาตนเองในน้ําวา “รองไห” ซ่ึงเปนคําที่แสดงสภาพจิตใจของนนทก
ที่เสียใจแตทําอะไรไมได ทําไดเพียงแสดงกิริยา “ฮึดอัดขัดแคนแนนใจ” คือ ท้ังเสียใจ
โกรธเคืองและแคนใจ จนตองไปขอพรพระอิศวร เมื่อไดพรจากพระอิศวรแลว นนทก

แสดงพฤตกิ รรมท่ีเปลยี่ นไปดังน้ี

๒๔

ครน้ั ถงึ บนั ไดไกรลาส ขัดสมาธนิ งั่ ยมิ้ รมิ อางใหญ
คอยหมูเทวาสรุ าลยั ดวยใจกาํ เรบิ อหังการ

การสรรคําวา “น่ังยิ้มริมอางใหญ” แสดงความรูสึกของนนทกไดเปนอยางดีวา
มีความสุข มีดีเหนือกวาผูอ่ืน การน่ังรอคอยเหลาเทวดา “ดวยใจกําเริบอหังการ”
แสดงถึงจิตใจท่ีไมกลัวเกรงใคร รูวามีอํานาจเหนือกวาผูอื่น จะเห็นไดวาเปนการสรรคํา

ท่ีกระชับและกินความไดเปนอยางดี ลักษณะการเลือกใชคําเชนน้ีปรากฏอยางเดนชัด

ตลอดทั้งเรอ่ื ง

๒. การใชภาพพจน นอกจากจะมีการสรรคําไดกระชับและกินความแลว
ยังปรากฏการใชภาพพจนเพื่อเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งกับอีกส่ิงหน่ึง เพ่ือทําใหเกิดภาพและ

ส่ือความไดชัดเจนยิ่งขึ้น โดยเปนความเปรียบงาย ๆ สวนใหญเปนการอุปมา ดังตัวอยาง

ตอนนนทกโกรธเทวา

จนผมโกรนโลนเกลย้ี งถงึ เพียงหู ดเู งาในนํา้ แลว รองไห
ฮดึ ฮดั ขดั แคนแนนใจ ตาแดงดัง่ แสงไฟฟา

ภาพพจนอุปมาตอนน้ีใชคําวา “ด่ัง” เพื่อเปรียบวา ตาของนนทกแดงเหมือน
แสงไฟจากฟา ซ่ึงแสดงใหเห็นวาเปนตาที่มีประกายแปลบปลาบ มีสีแดงกํ่า อันเปน
ตาของผูที่มีความโกรธแคนและตองอดกล้ันความโกรธแคนนั้นเอาไวขางใน การใช
ภาพพจนอุปมาอีกตัวอยางหนึ่งเปนตอนท่ีนนทกไดรับพรจากพระอิศวร และใชน้ิวเพชร
ทาํ รายเหลา เทวดา ดังนี้

๒๕

ตอ งสบุ รรณเทวานาคี ด่งั พษิ อสุนไี มทนได
ลมฟาดกลาดเกลือ่ นลงทนั ใด บรรลยั ไมท ันพริบตา

อานุภาพนิ้วเพชรของนนทกเปรียบเหมือน “ดั่งพิษอสุนีไมทนได” คือ ฟาผา
น่ันเอง สายฟาผามีความรุนแรงและอันตรายจนทําใหเหลาเทวดาลมตายอยางรวดเร็ว

ความเปรียบทงั้ สองตวั อยา งนเ้ี ปน ความเปรียบงาย ๆ ทีส่ อื่ ความไดช ัดเจน

ในบทชมโฉมพระนารายณในรางนางรําแปลง มีการใชความเปรียบเพ่ือชม
ความงามของนางราํ แปลง ดงั นี้

เหลอื บเหน็ สตรวี ไิ ลลักษณ พศิ พักตรผ องเพียงแขไข
งามโอษฐงามแกมงามจุไร งามนัยนเ นตรงามกร
งามถนั งามกรรณงามขนง งามองคย ่งิ เทพอปั สร
งามจรติ กิริยางามงอน งามเอวงามออนทงั้ กายา
ถึงโฉมองคอ คั รลักษมี พระสรุ สั วดีเสนห า
สน้ิ ทั้งไตรภพจบโลกา จะเอามาเปรยี บไมเทยี บทัน
ดูไหนก็เพลนิ จาํ เรญิ รกั ในองคเ ยาวลักษณสาวสวรรค
ยงิ่ พิศย่ิงคิดผูกพนั ก็เดนิ กระชนั้ เขาไป

การเปรียบใบหนาของนางรําแปลงวางาม “เพียงแขไข” แสดงถึงความผุดผอง
เปนแสงสีนวลดังพระจันทร ทุกสวนบนใบหนางดงาม ชวนมอง แลวจึงสรปุ วาความงามนี้
“ส้ินท้ังไตรภพจบโลกา จะเอามาเปรียบไมเทียบทัน” นั่นคือนางรําแปลงงามย่ิงกวา
หญิงในสวรรค มนุษย และบาดาล ซึ่งเปนความเปรียบที่เกินจริง และผูแตงพรรณนา

เพอื่ ยกยองความงามของนางราํ แปลงวางามยอดยิง่ กวา หญงิ ใด

๒๖

คุณคาดานขอคิด

คุณคาดานขอคิด ไดแก การใหอํานาจแกคนที่ไมควรให การใชอํานาจโดย
ไมย บั ยัง้ ช่งั ใจ และการกลาวโทษผูอืน่ มากกวา ตนเอง

๑. การใหอ าํ นาจแกค นท่ีไมค วรให พระราชนิพนธเ รอ่ื งรามเกียรตต์ิ อนน้ีมีเนอ้ื หา
ใหขอคิดสําคัญวา การใหอํานาจแกคนท่ีไมควรใหนั้นยอมทําใหเกิดผลรายตามมา
ผูมอบอํานาจจึงตองพิจารณาอยางรอบคอบ ดังท่ีพระอิศวรทรงมอบอํานาจแกนนทก
เพราะทรงเห็นวา “อายน่ีทําชอบมาชานาน” แตนนทกกลับใชอํานาจที่ไดทํารายผูอ่ืน
การพิจารณาใหอํานาจแกใครจึงตองไตรตรองอยางรอบคอบ เพราะหากผูนั้นเปนคนที่
ลืมตัว มีใจกําเริบ ไมยับย้ังชั่งใจในการใชอํานาจดังเชนนนทก ก็อาจใชอํานาจน้ันระราน
ผูอื่นได เดิมนนทกโกรธท่ีถูกเทวดาหยอกเลนแตทําไดเพียง “ฮึดฮัดขัดแคนแนนใจ
ตาแดงด่ังแสงไฟฟา” คือ สะกดกลั้นความโกรธของตนเองไดแตเม่ือมีอํานาจ
ก็กลับสังหารเทวดามากมาย การพิจารณามอบอํานาจแกใครจึงอาจตองจํากัดขอบเขต
ของอาํ นาจ เพอ่ื ไมตอ งมาแกไ ขเหตรุ ายภายหลงั

๒. การใชอํานาจโดยไมยับย้ังชั่งใจ นอกจากความไพเราะงดงามดานภาษาแลว
บทละครในเรื่องรามเกียรติ์ ตอนนารายณปราบนนทก ยังมีเนื้อหาใหขอคิดสําคัญคือ
การใชอํานาจโดยไมยับยั้งช่ังใจยอมเกิดผลเสียตอผูอืน่ และบางครั้งก็เปนผลเสียตอ ตนเอง
ดวย ดังตัวอยางอํานาจนิ้วเพชรนนทก นนทกทําความดีความชอบมาชานานจึงไดรับ
รางวลั จากพระอศิ วร นั่นคือการมอบอาํ นาจในการใชน ิ้วเพชรแกนนทก

อายนีม่ ีชอบมาชานาน จาํ เปนจําจะประทานให
คิดแลวกป็ ระสทิ ธพ์ิ รชัย จงไดส าํ เร็จมโนรถ

๒๗

เม่ือนนทกทําความดีและขอรางวัลตอบแทน พระอิศวรก็ตอง “จําเปนจําจะ

ประทานให” นั่นคือไมไดเต็มใจใหแตไมอาจปฏิเสธได เม่ือนนทกมีอํานาจแลวก็เปล่ียน
พฤติกรรมไป จากเดิมที่เปนคนอดทนอดกลั้นก็กลายเปนผูที่ “กําเริบอหังการ” และใช
อํานาจน้ันทํารายเหลาเทวดาจนลมตายไปเปนจํานวนมาก นับเปนการกระทําที่
“หยาบใหญ” ยิ่งนัก พระอิศวรจึงใหพระนารายณไปปราบนนทก จะเห็นไดวา
การมีอํานาจเปนรางวัลตอบแทนจากการทําความดีความชอบมาชานาน แตเมื่อนําไปใช

ในทางที่ผิดก็ยอมเกิดผลเสียตามมามากมายซึ่งทํารายทั้งตนเองและผูอื่น นนทกจึงเปน

ตวั อยางของบคุ คลผใู ชอ าํ นาจในทางทีผ่ ดิ และผลรา ยนัน้ กส็ นองคืนมาสตู นเอง

ดว ยเดชนิว้ เพชรสิทธศิ ักด์ิ ขาหักลม ลงไมทนได
นางกลายเปนองคน ารายณไป เหยยี บไวจะสังหารราญรอน

๓. การกลาวโทษผอู ื่นมากกวาตนเอง นนทกเปน ตัวอยางของผูท่ีกลาวโทษผอู ่ืน
โดยไมมองเห็นความผิดของตนเอง จากเดิมท่ีเคยอดทนอดกล้ันทําหนาท่ี “ลางเทา
สุรารักษถึงโกฏิป” และกลาหาญขอพรพระอิศวรคือ “นิ้วเพชร” โดยมีเจตนาชัดเจนวา
“จะช้ีใครจงมวยสังขาร” ซึ่งเปนการผูกโกรธผูอ่ืนและตั้งใจจะทํารายถึงชีวิต
เม่ือพระนารายณแปลงเปนนางรํามายั่วยวนนนทก และนนกทกเองก็ “พิสมัยใหลหลง”
จนนิ้วเพชรกลับมาทาํ รายตนเอง นนทกก็กลับยอนถามพระนารายณวา “โทษขา เปนไฉน
ใหวามา” แสดงวานนทกไมเ คยมองเห็นความผิดของตนเองแตกลับโทษผูอนื่ เม่ือตนเปน
ฝายพา ยแพก ย็ งั โทษผอู ่นื วา

เหตุใดมทิ ําซง่ึ หนา มารยาเปนหญิงไมบดั สี
ฤๅวา กลัวนิ้วเพชรน้ี จะชพ้ี ระองคใ หบรรลัย
ดว ยขา มีมือแตส องมือ ฤๅจะสทู ้งั สก่ี รได
แมนสีม่ ือเหมือนพระองคทรงชัย ที่ไหนจะทําไดด ัง่ น้ี

๒๘

จะเห็นไดวานนทกมองไมเห็นความผิดของตนเอง จึงกลาลบหลูดูหมิ่นเกียรติของ
พระนารายณซึ่ง “เปนท่ีพ่ึงแกหมูเทวัญ” คําพูดของนนทกจึงแสดงลักษณะนิสัยของ
ตนเองอยางเดนชัด และทําใหพระนารายณทรงทาใหนนทกไปเกิดใหมใหมีสิบหัวยี่สบิ มือ
มีฤทธานุภาพ สวนพระองคขอเปนเพียงมนุษยธรรมดาและจะตามไปทําลายวงศของ
นนทกใหส้ินไป จะเห็นวา ขอ คดิ น้เี ปน คุณคาประการหนึ่งจากการศกึ ษารามเกยี รตติ์ อนน้ี

คุณคาดานนาฏศิลป

บทละครเรื่องรามเกียรต์ิเปนบทละครรําเร่ืองหนึ่งที่รูจักกันอยางแพรหลาย
โดยเฉพาะอยางยิ่งตอนนารายณปราบนนทกไดแสดงทารํา “แมบท” ในตอน
พระนารายณเปนนางรําไปย่ัวยวนนนทก ทารายรําอันงดงามน้ีเองท่ีทําใหนนทกหลงใหล
และรา ยรําตาม ดังนี้

๏ เทพนมปฐมพรหมส่ีหนา สอดสรอยมาลาเฉิดฉนิ
ท้งั กวางเดินหงสบนิ กนิ รินเลยี บถํ้าอําไพ
อกี ชา นางนอนภมรเคลา ทงั้ แขกเตา ผาลาเพียงไหล
เมขลาโยนแกว แววไว มยเุ รศฟอ นในอมั พร
ลมพดั ยอดตองพรหมนมิ ติ ทั้งพสิ มยั เรียงหมอน
ยา ยทามจั ฉาชมสาคร พระสก่ี รขวา งจกั รฤทธริ งค
ฝา ยนนทกก็รําตาม ดวยความพสิ มัยใหลหลง

ถงึ ทา นาคามว นหางวง ชี้ตรงถกู เพลาทันใด
ดว ยเดชนว้ิ เพชรสิทธศิ กั ด์ิ
ขาหกั ลม ลงไมทนได
นางกลายเปน องคน ารายณไ ป
เหยียบไวจะสงั หารราญรอน

๒๙

ทา รําของนางรําแปลงมีดังน้ี
๑. เทพนม
๒. ปฐม
๓. พรหมสหี่ นา
๔. สอดสรอยมาลา
๕. กวางเดินดง
๖. หงสบนิ
๗. กนิ รนิ เลียบถาํ้
๘. ชา นางนอน
๙. ภมรเคลา
๑๐. แขกเตาเขา รัง
๑๑. ผาลาเพียงไหล
๑๒. เมขลาลอ แกว
๑๓. มยุเรศฟอ น
๑๔. ลมพัดยอดตอง
๑๕. พรหมนิมิต
๑๖. พิสมัยเรยี งหมอน
๑๗. มจั ฉาชมสาคร
๑๘. พระสกี่ รขวา งจกั ร
๑๙. นาคามวนหาง

บทละครเร่ืองรามเกียรติ์ ตอนนารายณปราบนนทก จึงเปนวรรณคดีท่ีไดบันทึก
หลักฐานเก่ียวกับเรื่องทารําเอาไว ซึ่งเปนประโยชนแกการศึกษาประวัตินาฏศิลปไทย
ทําใหนักเรียนไดรับความรูในเร่ืองทารําตาง ๆ จึงควรหาโอกาสชมโขนหรือละครตอนน้ี
หรอื หาภาพประกอบ เพ่ือจะไดเหน็ ความงดงามของนาฏศลิ ปไทย

๓๐

สรุปสาระสําคญั

บทละครในเร่ืองรามเกียรต์ิ ตอนนารายณปราบนนทก เปนพระราชนิพนธ
ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก เปนตอนตนเร่ืองรามเกียรติ์ กลาวถึงกําเนิด
ของพระรามและทศกัณฐ แตงเปนกลอนบทละครโดยมีการสรรคาํ ไดกระชบั และกนิ ความ
ใชความเปรียบงาย ๆ เพ่ือเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหน่ึง ทําใหเกิดภาพและสื่อความ
ไดชัดเจนขึ้น นอกจากน้ีเนื้อหายังใหขอคิดสําคัญ ไดแก การใชอํานาจโดยไมยับย้ังช่ังใจ
และการกลาวโทษผูอื่นมากกวาตนเอง โดยเสนอผานพฤติกรรมของตัวละครสําคัญ
คอื “นนทก” อกี ทัง้ ยงั มีทา ราํ ซ่ึงเปน ตนแบบของการรําแมบทของนาฏศิลปไทย

รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก ฉบับนาฏศลิ ปไทย (โขน)

๓๑

แบบทดสอบกอนและหลังเรยี น
บทละครใน เรอ่ื ง รามเกยี รติ์ ตอน นารายณป ราบนนทก

คําช้แี จง ใหท ําเครอ่ื งหมายกากบาท (X) ลงในกระดาษคาํ ตอบ

๑. เหตกุ ารณข อใด "ไมป รากฏ" ในเรื่อง
ก. พระอนิ ทรทลู พระอศิ วรเร่ืองนนทกทาํ รา ยเทวดา
ข. พระอินทรบ อกอุบายปราบนนทกแกพระนารายณ
ค. นนทกรายราํ ตามนางสุวรรณอัปสร
ง. พระนารายณสงั หารนนทกตามคําสัง่ พระอิศวร

๒. ขอ ใดเปนสาเหตุท่พี ระอิศวรประทานพรใหนนทก
ก. อา ยนีม่ ชี อบมาชานาน
ข. ถงึ นนทกนํ้าใจกลา หาญ
ค. เห็นนนกทกโศกาจาบลั ย
ง. จนผมโกรน โลน เกลย้ี งถึงเพยี งหู

๓. "ตองสุบรรณเทวานาคี ดั่งพิษอสนุ ีไมท นได" คาํ ประพนั ธขา งตน น้ี มคี ุณคาวรรณศลิ ป
ในเร่ืองใด
ก. อุปมา
ข. สัทพจน
ค. อุปลกั ษณ
ง. อตพิ จน

๓๒

๔. ขอคดิ เรือ่ งใดทน่ี กั เรียนสามารถนาํ ไปใชในชีวิตประจาํ วนั ได
ก. แคนนี้ตองชําระ
ข. การอดทน อดกลั้น
ค. การไตรตรองกอนใชอ ํานาจ
ง. เวรยอ มระงบั ดว ยการจองเวร

๕. ขอใดเปน เหตกุ ารณท ่ีเกิดกอนเหตกุ ารณอื่น
ก. พระอศิ วรประทานพรใหนนทก
ข. นนทกถกู เทวดากลั่นแกลง
ค. นนทกทูลขอน้วิ เพชรจากพระอิศวร
ง. นนทกหลงรกั นางสวุ รรณอัปสร

๖. ขอ ใดเปน พฤติกรรมของนนทกหลังไดรบั พรจากพระอศิ วร
ก. ฮดึ ฮดั ขดั แคนแนน ใจ
ข. ดูเงาในน้าํ แลว รอ งไห
ค. สดุ คดิ ท่ีเราจะอดกลนั้
ง. บา งใหตกั น้าํ ลางบาทา

๗. ตวั ละครในขอใดควรไดรับการตาํ หนมิ ากท่ีสดุ
ก. เทวดา
ข. นนทก
ค. พระนารายณ
ง. พระอศิ วร

๓๓

๘. ทารําทแ่ี สดงความหมายของการเคารพกราบไหวบูชาอธษิ ฐาน คือทารําช่อื ใด
ก. เทพนม
ข. พรหมนมิ ิต
ค. พรหมสี่หนา
ง. พิสมัยเรียงหมอน

๙. “ตวั เจา ผูม ีฤทธี เปนทีพ่ ง่ึ แกห มเู ทวัญ” บทประพันธน้หี มายถงึ ใคร
ก. พระอิศวร
ข. พระอินทร
ค. พระพรหม
ง. พระนารายณ

๑๐. เหตใุ ดนนทกจึงพายแพ
ก. เหตุใดมิทําซ่ึงหนา
ข. ตวั ขา มีมือแตสองมอื
ค. ฉิบหายดว ยหลงเสนห า
ง. ไมเ กรงเดชพระอิศวรทรงจักร

๓๔

ใบงานท่ี ๑
เรื่อง พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช

ช่อื -นามสกลุ .............................................................................. ชัน้ ................ เลขท่ี .............
คาํ ชแ้ี จง : ใหน ักเรยี นอา นประวตั ผิ ูแตงบทละครในเรื่อง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณป ราบนนทก

แลว สรปุ เติมลงในผังความคิด

พระราชประวัติ .......................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

พระราชนพิ นธ พระบาทสมเดจ็ พระราชกรณียกิจ
...................................... พระพทุ ธยอดฟา จุฬาโลก ดานฟน ฟปู ระเพณี
...................................... ......................................
...................................... มหาราช ......................................
...................................... ......................................
...................................... ......................................
...................................... ......................................
...................................... ......................................

พระราชกรณียกจิ ดานการทาํ นุบํารุงประเทศชาติ ...................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

๓๕

ใบงานที่ ๒
เร่ือง การเขียนเรอ่ื งยอ

ชื่อ-นามสกุล.............................................................................. ชนั้ ................ เลขท่ี .............
คําชี้แจง : ใหน กั เรียนเขียนเลาเรือ่ งยอบทละครในเรื่อง รามเกยี รต์ิ ตอน นารายณป ราบนนทก

....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................

๓๖

ใบงานที่ ๓
เร่อื ง การเขียนแผนผังคําประพนั ธของกลอนบทละคร

ชือ่ -นามสกุล.............................................................................. ชัน้ ................ เลขท่ี .............
คําช้แี จง : ใหน กั เรยี นเขยี นแผนผังพรอ มลกั ษณะคาํ ประพันธข องกลอนบทละคร

....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................

๓๗

ใบงานท่ี ๔
เรือ่ ง การวเิ คราะหพฤติกรรมของตัวละคร

ช่อื -นามสกลุ .............................................................................. ช้นั ................ เลขที่ ............
คาํ ชแี้ จง : ใหน ักเรียนวิเคราะหพฤตกิ รรมของตวั ละครตอไปนีว้ า ดหี รือไม อยา งไร พรอมบอก

เหตุผลประกอบ

ตวั ละคร พฤติกรรม เหตุผล
พระอิศวร
...................................................... .........................................................
พระนารายณ ...................................................... .........................................................
...................................................... .........................................................
นนทก ...................................................... .........................................................

เทวดา ...................................................... .........................................................
...................................................... .........................................................
...................................................... .........................................................
...................................................... .........................................................

...................................................... .........................................................
...................................................... .........................................................
...................................................... .........................................................
...................................................... .........................................................

...................................................... .........................................................
...................................................... .........................................................
...................................................... .........................................................
...................................................... .........................................................

๓๘

ใบงานท่ี ๕
เรอื่ ง คาํ ศัพทจ ากเรอ่ื ง รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก

ชอ่ื -นามสกุล........................................................................... ...ช้นั ................ เลขที่ .............
คาํ ช้ีแจง : ใหนักเรยี นนาํ ตัวอกั ษรหนาความหมายไปใสหนา คาํ ศพั ทใหถ ูกตอง

.............. ๑. ไกลลาส ก. พระนารายณ
.............. ๒. คนธรรพ ข. เทวดาผคู มุ ครอง
.............. ๓. เทพอัปสร ค. ในทน่ี ีห้ มายถงึ ขัน้ บนั ได
.............. ๔. ธาตรี ง. ตาย
.............. ๕. นาคี จ. ผลสําเร็จ
.............. ๖. ภกั ษผล ฉ. ฟาผา
.............. ๗. ส้ินทา ช. ชื่อภเู ขาทปี่ ระทับของพระอศิ วร
.............. ๘. อสนุ ี ซ. นางฟา
.............. ๙. อฒั จนั ทร ฌ. แผน ดิน, โลก
.............. ๑๐. พระสก่ี ร ญ. ผูม ีพันตา หมายถงึ พระอินทร
.............. ๑๑. สรุ ารักษ
.............. ๑๒. หัสนยั น ผเู ปนใหญใ นสวรรคชนั้ ดาวดงึ ส
.............. ๑๓. วายปราณ ฎ. ราํ ครบทกุ ทา
.............. ๑๔. ตรี ฏ. ชาวสวรรคพวกหน่งึ ทม่ี ีความชํานาญ
.............. ๑๕. แขไข
ในวิชาดนตรีและขับรอ ง
ฐ. นาค คืองูใหญ เปน สัตวม หี งอนใน

นยิ าย
ฑ. พระจนั ทร
ฒ. คือ ตรีศูล เปนอาวุธสามงาม

๓๙

ชุดกจิ กรรมแอปพลเิ คชัน Kahoot ชดุ ท่ี ๑ เรอ่ื ง ความรทู ่วั ไปเก่ียวกับรามเกยี รต์ิ

คําชแี้ จง : ใหนักเรยี นนาํ ตัวอกั ษรหนาความหมายไปใสห นาคําศพั ทใ หถกู ตอง

๑. เรอ่ื ง "รามเกียรต"ิ์ มตี น กําเนดิ มาจากชาตใิ ด ข. มาลายู
ก. ศรลี ังกา ง. ชวา
ค. อินเดยี

๒. ตนเคาของเรอื่ งรามเกียรติม์ าจากเร่ืองใด ข. รามอิศวร
ก. ศุวกรณ ง. รามายณะ
ค. พรหมสิทธิ์

๓. บิดาของนางสีดาคอื ใคร ข. พระราม
ก. ทศกัณฐ ง. พระลักษณ
ค. พระพาย

๔. ขอใดคือลกั ษณะของทศกณั ฐ ข. ๔ หนา ๔ มือ
ก. ๑ หนา ๔ มอื ง. ๑๐ หนา ๒๐ มอื
ค. ๑๐ หนา ๑๐ มอื

๕. ตวั ละครเอกจากเร่ืองรามเกยี รติค์ อื ใคร ข. พระราม
ก. ทศกัณฑ ง. พระลกั ษณ
ค. หนุมาน

๔๐

ชุดกจิ กรรมแอปพลเิ คชัน Kahoot ชุดที่ ๒ เร่อื ง ผแู ตง และลักษณะคําประพนั ธ

คาํ ช้ีแจง : ใหนักเรียนนําตัวอักษรหนาความหมายไปใสห นา คาํ ศัพทใ หถกู ตอ ง

๑. ใครคือผแู ตงบทละครเร่อื ง "รามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก"

ก. รัชกาลที่ ๑ ข. รัชกาลท่ี ๒

ค. รัชกาลที่ ๓ ง. รัชกาลท่ี ๔

๒. ขอ ใดไมใชบทพระราชนิพนธใ นพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟาจฬุ าโลก

ก. อุณรุท ข. นริ าศรบพมา ทาดินแดง

ค. บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ง. พระอภยั มณี

๓. เรอื่ ง รามเกยี รติ์ แตงดว ยคําประพันธชนดิ ใด ข. กลอนบทละคร
ก. กลอนนิราศ ง. กลอนนิทาน
ค. กลอนเพลงยาว

๔. กลอนบทละครมีลักษณะพเิ ศษตา งจากกลอนสุภาพอยางไร

ก. คําขึ้นตนบท ข. การลงทา ยบท

ค. การรับสง สมั ผัส ง. จํานวนคํานอยกวากลอนสุภาพ

๕. ขอ ใดไมใชคาํ ขน้ึ ตนในกลอนบทละคร ข. บดั น้นั
ก. เมือ่ นน้ั ง. มาจะกลาวบทไป
ค. ครนั้ วา

๔๑

ชดุ กิจกรรมแอปพลิเคชนั Kahoot ชดุ ที่ ๓ เร่อื ง รามเกยี รติ์ ตอน นารายณปราบนนทก

คาํ ชแี้ จง : ใหน ักเรยี นนําตัวอกั ษรหนา ความหมายไปใสห นา คาํ ศัพทใ หถ กู ตอง

๑. นนทกมีภาระหนาที่ประจาํ อะไรท่ีเชงิ เขาไกรลาส

ก. ลางเทาใหเ หลาเทวดา ข. ปราบมารผมู ารกุ ราน

ค. ปรนนบิ ตั ิพระอิศวร ง. สอนหนังสอื เหลา เทวดา

๒. พระอศิ วรประทานพรใดแกนนทก ข. นิว้ เพชรที่สามารถสงั หารผใู ดก็ได
ก. รา งกายท่งี ดงาม ง. พร ๓ ประการ
ค. แกว แหวนเงินทอง

๓. ทารําสดุ ทา ยท่ีนนทกใชนิ้วทํารายตวั เองคอื ทารําใด

ก. กินรินเลียบถ้ํา ข. มจั ฉาชมสาคร

ค. เมขลาโยนแกว ง. นาคามว นหาง

๔. ตวั ละครในขอใดท่ีประพฤตติ นไมถ ูกตอ ง ข. พระอินทร
ก. พระนารายณ ง. เทวดา
ค. พระอศิ วร

๕. ขอใดไมใ ชบุคลกิ ลกั ษณะของพระอิศวรจากเนอื้ เรื่องตอนน้ี

ก. ใจดี ข. ชอบใชอ ํานาจ

ค. ตดั สินใจเรว็ ง. ใหขวญั และกาํ ลงั ใจคนทําความดี

๔๒

ชุดกจิ กรรมแอปพลเิ คชนั Kahoot ชดุ ที่ ๔ เรอื่ ง คาํ ศัพทจ ากเรื่อง

คาํ ชแ้ี จง : ใหนกั เรยี นนําตัวอักษรหนาความหมายไปใสหนาคําศัพทใ หถ กู ตอง

๑. คาํ วา นาคี หมายถึงขอใด ข. พญานาค
ก. นางฟา ง. พระยาครุฑ
ค. พิทยาธร

๒. คําในขอใดมีความหมายตางจากขออนื่ ข. พระอศิ วร
ก. หสั นัยน ง. พระสยมภูวญาณ
ค. พระอิศราธบิ ดี

๓. “งามจุไร” คําวา จไุ ร มคี วามหมายตรงกับขอ ใด
ก. คิ้ว ข. ผม
ค. จมูก ง. คาง

๔. “องคเ ทา ลัสเตยี นธบิ ดี เทวมี รี าชบตุ รา” คาํ วา “เทวี” หมายถึงใคร
ก. นางไกยเกษี ข. นางรชั ดา
ข. นางเกาสุรยิ า ง. นางสุวรรณอปั สร

๕. “เปนโฉมงามเทพอปั สร” คําวา “อัปสร” หมายถงึ ขอใด

ก. เทวดา ข. พระยาครฑุ

ค. คนธรรพ ง. นางฟา

๔๓

ชดุ กจิ กรรมแอปพลเิ คชัน Kahoot ชุดที่ ๕ เรือ่ ง วิเคราะหต วั ละคร

คําช้แี จง : ใหน กั เรียนนําตัวอกั ษรหนา ความหมายไปใสห นาคาํ ศัพทใหถ กู ตอ ง

๑. ชาวสวรรคพ วกหน่ึง มีความชาํ นาญในวชิ าดนตรี และขบั รอ ง เรียกวา อะไร

ก. นางอัปสร ข. คนธรรพ

ค. ฤๅษี ง. นางเมขลา

๒. “จากยกั ษรบั ใชกลายเปน เจาเมืองลงกา” เปนลักษณะของตวั ละครใด

ก. พระลักษณ ข. พระราม

ค. นนทก ง. พระอศิ วร

๓. ขอใดตอไปน้ีไมไ ดห มายถงึ พระอศิ วร ข. พระศลุ ี
ก. พระสยมภูวญาณ ง. เจาไตรโลกา
ค. พระทรงสุบรรณ

๔. ตัวละครตวั ใดในเรือ่ งท่ีสมควรไดร ับการเห็นใจมากทสี่ ดุ

ก. เทวดา ข. พระอศิ วร

ค. นนทก ง. พระนารายณ

๕. ใครคือผูทีพ่ ระอิศวรขอใหม าลงปราบนนทก ข. พระราม
ก. พระนารายณ ง. พระอนิ ทร
ค. หนมุ าน

๔๔

ชุดกิจกรรมแอปพลเิ คชนั Kahoot ชุดที่ ๖ เรอ่ื ง วเิ คราะหค ณุ คาจากเรื่อง

คําชแ้ี จง : ใหนกั เรยี นนาํ ตัวอกั ษรหนาความหมายไปใสห นาคาํ ศัพทใ หถกู ตอง

๑. สมมตุ ิวานักเรียนตกอยูในสภาพแบบนนทกนักเรียนจะทาํ อยา งไร

ก. วางเฉย ข. หาทางแกแ คน

ค. สาปแชง ง. พาเพ่ือนมารุมทําราย

๒. ขอ ใดมีอุปมาโวหาร ข. ตาแดงด่ังแสงไฟฟา
ก. กจู ะเปนมนุษยแ ตส องกร ง. เชญิ ไปสังหารอายอาธรรม
ค. ครัน้ ถึงบันไดไกรลาส

๓. ขอ ใดคอื ทารําแมบทจากเร่อื งรามเกยี รติ์ ข. ภมรเดนิ ดง
ก. หงสเ รียบถ้าํ ง. นกกระจบิ เขารัง
ค. มจั ฉาชมสาคร

๔. ขอใดไมใชค ุณคาดานขอคดิ จากเรอื่ งรามเกียรติ์ ตอน นารายณปราบนนทก

ก. การใหอํานาจแกค นที่ไมค วรให ข. การใชอ ํานาจโดยไมยับยงั้ ชงั่ ใจ

ค. การกลาวโทษผูอน่ื มากกวา ตนเอง ง. การทําความสะอาดท่ีอยอู าศัย

๕. เหตกุ ารณใดเหมือนตวั ละครนนทกในเรื่องรามเกียรต์ิ ตอน นารายณป ราบนนทก

ก. สมเดชสอบไดที่ ๑ ของหอ ง ข. เพอื่ นในหอ งไมพดู กับสมศรี

ค. สมชายถูกเพ่อื น ๆ ในหอ งรมุ ทําราย ง. สมศักด์ไิ ดรับคัดเลอื กเปนนักเรยี นดีเดน

๔๕

ชดุ กจิ กรรมแอปพลเิ คชนั Kahoot ชุดที่ ๗ เรือ่ ง สรปุ สาระสําคญั ของเรื่อง

คาํ ช้แี จง : ใหน ักเรียนนําตัวอกั ษรหนา ความหมายไปใสหนาคาํ ศัพทใ หถ กู ตอ ง

๑. พฤติกรรมของนนทกตรงกับขอใด ข. ย่งิ วายิง่ ยุ
ก. ขิงกร็ า ขาก็แรง ง. ย่งิ กดย่ิงดัน
ค. เพชรตัดเพชร

๒. นนทกมีหนา ท่ีใดในสวรรค ข. อารักขาเทพในสวรรค
ก. รบั ใชพ ระอิศวร ง. ตกั น้าํ ลา งเทาใหเหลาเทวดา
ค. จัดลําดบั ใหเทวดาเขาเฝาพระอิศวร

๓. ขอ ใดเปน ทา ราํ แมบท ข. ภมรเคลา
ก. กินนรเลียบถ้ํา ง. พระรามขวางจกั ร
ค. ยอดตองตอ งลม

๔. ตัวละครในขอ ใดไมตอ งใชค าํ ราชาศพั ทในการสื่อสารกับตัวละครอืน่

ก. เทวดา ข. พระอศิ วร

ค. พระอินทร ง. พระนารายณ

๕. ขอใดไมใชค ณุ คา จากบทละครเรอ่ื งรามเกยี รติ์ ตอน นารายณป ราบนนทก

ก. คุณคา ดานวรรณศลิ ป ข. คุณคา ดา นขอ คดิ

ค. คุณคา ดานนาฏศิลป ง. คุณคาดานประติมากรรม

๔๖

กระดาษคําตอบ

บทเรยี นเสมอื นจรงิ เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณป ราบนนทก
วชิ าภาษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ ๒

ช่อื -นามสกลุ ...........................................................................ช้นั ................ เลขที่ .............

แบบทดสอบกอนเรยี น ง แบบทดสอบหลงั เรียน ง
ขอ ก ข ค ขอ ก ข ค
๑ ๑
๒ ๒
๓ ๓
๔ ๔
๕ ๕
๖ ๖
๗ ๗
๘ ๘
๙ ๙
๑๐ ๑๐

รวมคะแนน : รวมคะแนน :

ต้งั ใจทาํ แบบทดสอบนะครบั

๔๗

เฉลยแบบทดสอบกอนและหลังเรียน
บทละครใน เรือ่ ง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณปราบนนทก

๑. เหตกุ ารณขอ ใด "ไมป รากฏ" ในเรื่อง
ตอบ ข. พระอนิ ทรบ อกอุบายปราบนนทกแกพ ระนารายณ

๒. ขอใดเปน สาเหตุที่พระอศิ วรประทานพรใหน นทก
ตอบ ก. อายนมี่ ีชอบมาชา นาน

๓. "ตอ งสบุ รรณเทวานาคี ดั่งพิษอสนุ ไี มทนได" คําประพนั ธขา งตน น้ี มคี ณุ คา วรรณศลิ ปในเร่อื งใด
ตอบ ก. อปุ มา

๔. ขอ คิดเร่ืองใดทน่ี ักเรียนสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได
ตอบ ค. การไตรต รองกอนใชอ ํานาจ

๕. ขอ ใดเปน เหตกุ ารณท ่ีเกิดกอนเหตุการณอ ่ืน
ตอบ ข. นนทกถูกเทวดากลัน่ แกลง

๖. ขอใดเปน พฤตกิ รรมของนนทกหลงั ไดรับพรจากพระอิศวร
ตอบ ค. สดุ คิดท่ีเราจะอดกล้ัน

๗. ตวั ละครในขอใดควรไดร ับการตําหนมิ ากทีส่ ุด
ตอบ ก. เทวดา

๘. ทา รําที่แสดงความหมายของการเคารพกราบไหวบชู าอธษิ ฐาน คอื ทา ราํ ชื่อใด
ตอบ ก. เทพนม

๙. “ตัวเจา ผมู ฤี ทธี เปนทพี่ ่ึงแกห มเู ทวัญ” บทประพันธน ้หี มายถงึ ใคร
ตอบ ง. พระนารายณ

๑๐. เหตใุ ดนนทกจงึ พายแพ
ตอบ ค. ฉบิ หายดว ยหลงเสนห า


Click to View FlipBook Version