The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี <br>โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by paeng.wichittra, 2022-12-18 20:34:29

ภาวะซึมเศร้า เราพร้อมเข้าใจ (Depression)

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี <br>โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

Keywords: Depression,SUT

Depression"""ภภภาาาวววะะะซซซึึึมมมเเเศศศรรร้้้าาาเเเรรราาาพพพรรร้้้อออมมมเเเขขข้้้าาาใใใจจจ"""

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

คำนำ

ในสถานการณ์ปัจจุบัน นักศึกษาหรือบุคลากร มทส. อาจจะประสบกับปัญหา
ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม ชีวิตส่วนตัวและความเป็นอยู่ จนอาจก่อให้เกิดความเครียดได้
โดยเฉพาะนักศึกษาที่ต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย ทั้งเพื่อนใหม่

ต้องแยกจากผู้ปกครองมาอยู่ในที่อยู่ใหม่ รวมถึงวิธีการเรียนที่ต้องพึ่งพาการเรียน
ด้วยตนเองมากขึ้น ดังนั้นการรู้จักวิธีในการจัดการกับความเครียดสำหรับนักศึกษา
และบุคลากรจึงเป็นสิ่งจำเป็น เพื่อป้องกันตนเองไม่ให้เป็นโรคเครียดหรือโรคซึมเศร้า
จนอาจก่อให้เกิดการทำร้ายตัวเองได้

ส่วนกิจการนักศึกษาจึงได้รวบรวมข้อมูลและจัดทำคู่มือขึ้นมา เพื่อให้ผู้อ่าน
ได้รู้จักวิธีสังเกตตนเองหรือบุคคลรอบข้างว่าเป็นโรคเครียดหรือซึมเศร้าหรือไม่
วิธีการป้องกันตัวเองเพื่อไม่ให้เป็นโรคซึมเศร้า การดูแลปฏิบัติและเข้าใจผู้เป็นโรคซึมเศร้า

รู้ว่าอะไรควรหรือไม่ควรทำต่อผู้ป่วย หวังว่าคู่มือเล่มนี้จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจและไม่เป็น
โรคเครียดหรือซึมเศร้า สามารถอยู่ร่วมกันและช่วยเหลือผู้ป่วยได้ เพื่อป้องกันไม่ให้
เกิดเหตุการณ์ที่รุนแรงหรือการสูญเสียขึ้น

คณะผู้จัดทำ

"ภาวะซึDมเeศpรr้าeเรsาsพioร้nอมเข้าใจ"

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

สารบัญ 1
2
ลิงก์เชิญชวนประเมิน 9Q กับงานแนะแนว ฯ 3
โรคซึมเศร้า 4
สาเหตุของโรคซึมเศร้า 5
สัญญาณเตือนภัยภาวะซึมเศร้า 6
พฤติกรรมบ่งบอกคุณกำลังเป็นโรคซึมเศร้า 7
ความแตกต่างระหว่างโรคเครียดและโรคซึมเศร้า 8
การรับมือกับโรคซึมเศร้า 9
วิธีป้องกันภาวะซึมเศร้าในคนวัยหนุ่มสาว 10
วิธีปฏิบัติเมื่อคนใกล้ชิดมีภาวะซึมเศร้า 11
ทำอย่างไรเมื่อ นศ.มี ภาวะซึมเศร้า 12
ความเชื่อผิดๆเกี่ยวกับ ภาวะซึมเศร้า 13
คำพู ดที่ไม่ควรพู ดกับผู้ที่มีภาวะซีมเศร้า 14
5 สัญญาณเตือนเสี่ยงฆ่าตัวตาย 15
อยู่อย่างไรกับคนใกล้ตัวที่มีภาวะซึมเศร้า 16
5 วิธีในการสร้างความหวัง พลังใจ
ช่องทางติดต่อขอรับคำปรึกษา

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

แแบบบบปปรระะเเมมิินนโโรรคคซซึึมมเเศศรร้้าา 99 คคำำถถาามม ((99QQ)) 1

ในช่วง 2 สัปดาห์ที่ผ่านมารวมทั้งวันนี้ ไม่มีเลย เป็นบางวัน เป็นบ่อย เป็นทุกวัน
ท่านมีอาการเหล่านี้ บ่อยแค่ไหน 1-7 วัน > 7 วัน
3
1.เบื่อ ไม่สนใจอยากทำอะไร 01 2
3
2.ไม่สบายใจ ซึมเศร้า ท้อแท้ 01 2
3
3.หลับยาก หรือหลับๆตื่นๆ หรือหลับมากไป 01 2
3
4.เหนื่อยง่าย หรือไม่ค่อยมีแรง 01 2
3
5.เบื่ออาหาร หรือกินมากเกินไป 01 2 3
6.รู้สึกไม่ดีกับตัวเอง รู้สึกว่าตัวเองล้อมเหลง 01 2




3
หรือครอบครัวผิดหวัง 01 2

7. สมาธิไม่ดีเวลาทำอะไร เช่น ดูโทรทัศน์ ฟังวิทยุ


3
01 2

หรือทำงานที่ต้องใช้ความตั้งใจ


3
8. พู ดช้า ทำอะไรช้าลงจนคนอื่นสังเกตเห็นได้ 01 2

หรือกระสับกระส่าย ไม่สามารถอยู่นิ่งเหมือนที่เคยเป็น
9. คิดทำร้ายตัวเอง หรือคิดว่าตายไปคงจะดี

คะแนนรวมทั้งหมด

การแปลผล

คะแนน < 7 ไม่มีอาการของโรคซึมเศร้า

หรือมีอาการของซึมเศร้าน้อยมาก

คะแนน 7-12 มีอาการของโรคซึมเศร้า ระดับน้อย
คะแนน 13-18 มีอาการของโรคซึมเศร้า ระดับปานกลาง
คะแนน 13-18 มีอาการของโรคซึมเศร้า ระดับรุนแรง

สแกน
เพื่ อทำแบบประเมิน

ซึมเศร้า 9Q

เพื่ อรับคำปรึกษากับนักจิตวิทยา
งานแนะแนวฯ

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

2

Depression

โรคซึมเศร้า

หรือ โรคประสาทซึมเศร้า มีชื่อภาษาอังกฤษว่า Depression เป็นโรคทางจิตเวช
ที่เกิดขึ้นจากความผิดปกติของสารสื่อประสาทในสมอง ที่ส่งผลกระทบได้ทั้ง
ทางร่างกายและจิตใจ ทำให้รู้สึกเศร้า วิตกกังวล ไม่มีความสุข อยากร้องไห้

นอนหลับยาก และปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้างลดลง จนส่งผลต่อกิจกรรมต่างๆ
ในชีวิต ทั้งการเรียนและการทำงาน

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

สาเหตมุาขจาอกหงลาโยปรัจจคัย ไซด้ึแมก่ เศร้า 3

1 2

ปัญหาครอบครัวและ ปัญหาเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์

3 4

ผลกระทบจากเหตุการณ์ ความเครียด
ในชีวิตที่รุนแรง

6

5 สิ่งแวดล้อมใหม่
การย้ายถิ่น
การอพยพ

ฮอร์โมนเปลี่ยนแปลง

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

4

รู้สึกแย่เศร้า ไม่สนใจหรือ รู้สึกเหนื่อยล้า
หงุดหงิด หรือสิ้นหวัง ไม่ค่อยมีเรีย่ วแรง

ไม่มีความสุขเวลาทำอะไร

(ถึงแม้จะเป็นสิ่งที่เคยชอบ)

จดจ่อกับอะไรได้ยาก พูดหรือทำอะไรช้า หรือ


เช่น อ่านหนังสือ กระวนกระวายมาก

รู้สึกแย่กับตัวเอง

เบื่ออาหาร หรือ กิน
นอนไม่หลับ

มากกว่าปกติ สัญญาณเตือน หรือหลับมากไป

ภาวะโรคซึมเศร้า

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

พ คุ 5มเศร้อาก

ณฤกตำิลกังรเรป็มนบโ่รงคบซึ

หากมีอาการเหล่านี้เกิน 5 ข้อหรือครบทุกข้อ และมีอาการต่อเนื่องอย่างน้อย 2 สัปดาห์
อาจบอกได้ว่า คุณกำลังเสี่ยงกับโรคซึมเศร้า หากไม่แน่ใจสามารถเข้ามาปรึกษาแพทย์เพิ่มเติม

เพื่ อวินิจฉัยและรับการรักษาด้วยวิธีที่ถูกต้อง

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

6 ซึมเศร้า

ความเครียด

ความแตกต่างระหว่าง โรคเครียดและโรคซึมเศร้า

นอนไม่หลับ นอนมากหรือน้อยกว่าปกติ

รู้สึกเกินจะทนไหว ไม่เห็นคุณค่าของตัวเอง

มีปัญหาเรื่องความจำ เหนื่อยตลอดเวลา ไม่ค่อยมีแรง

โกรธและโมโหง่าย เก็บตัว แยกตัวออกจากสังคม

รู้สึกหมดแรง ไร้แรงบันดาลใจจะทำอะไร

พฤติกรรมการกินเปลี่ยนไป ทำสิ่งที่ชอบมาตลอดไม่ได้
โฟกัสอะไรไม่ค่อยได้ สมาธิสั้น โฟกัสอะไรไม่ได้

รู้สึกกังวล ประสาทเสีย กินมากหรือน้อยกว่าปกติ

กระสับกระส่าย รู้สึกเศร้าและสิ้นหวัง
ส่งผลต่อการเรียนและการใช้ชีวิต รู้สึกผิดตลอดเวลา

รู้สึกว่าเราผ่านอะไรยากๆ รู้สึกว่าไม่สามารถผ่าน

ในชีวิตไม่ไหวแล้ว เรื่องราวอะไรยากๆในชีวิตได้




โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสกุขารภดาูแวละอสุงขคภ์ราววมะ แแกก่่นนัักกศศึึกกษษาามมหหาาววิิททยยาาลลััยยเเททคคโโนนโโลลยยีีสสุุรรนนาารรีี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์



8

การดูแลตัวเองหรือ
ผู้อยู่ในภาวะซึมเศร้า

สัญญาณและอาการอื่นๆ
ของภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นและหนุ่มสาว

แยกตัว เฉยชา ไม่สนใจตัวเอง หงุดหงิด ไม่ร่าเริง
ไม่อยากพู ดคุยกับใคร ร้องไห้หนัก ไม่มีเหตุผล
กินไม่ได้ ไม่อยากเจอเพื่ อน วิตกกังวล ไม่กล้าตัดสินใจ
หรือกินมากขึ้น
ไม่มีสมาธิ เหนื่อยง่าย
ไม่อยากไปโรงเรียน ในการเรียน รู้สึกไม่ดีกับตัวเอง
ไม่อยากเรียนหนังสือ การทำงาน รู้สึกผิด ไร้ค่า
นอนไม่หลับหรือ
สิ้นหวัง เบื่อโลก
นอนมากขึ้น มีความคิดทำร้ายตัวเอง
คิดหรือฆ่าตัวตาย

วิธีปฏิบัติเมื่อท่านรู้สึกจิตตก หรือซึมเศร้า

คุยกับคนที่ไว้ใจได้ พยายามคิดด้านบวก ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
มองโลกในแง่ดี นาน 30 นาที อย่างน้อย
เล่นกีฬา ดนตรี ชื่นชมกับความสำเร็จ สัปดาห์ละ 3 ครั้ง
ของตัวเอง
รับประทานอาหาร

และนอนให้เป็นเวลา
เข้าใจกับอารมณ์
ขอความช่วยเหลือจาก
ทุก ๆ วัน เศร้าว่าทุกคนเป็นได้
บุคลากรทางการแพทย์
และชีวิตอาจไม่ได้
เช่น แพทย์ พยาบาล
งดดื่มเครื่องดื่มที่มี
สมหวังไปทุกเรื่อง นักจิตวิทยา
แอลกอฮอล์ นักสังคมสงเคราะห์
ไม่ใช้สารเสพติด พบปะกับเพื่ อน
และครอบครัว สม่ำเสมอ

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

9

10 เมเเืมม่ืือ่่ออนนนักัักกศศึศึกึกกษษษาาามมีมีภีภภาาาววทวะทะซำึซำมอึมอเย่ยเา่างงไไรร
ศรศ้าร้า

ไม่ควรแนะนำให้ไปเข้าวัด

นั่งสมาธิ ฟังธรรม

รับฟังอย่างตั้งใจ
ให้ผู้ป่วยได้แสดงความรู้สึก

อย่าแสดงความ
สงสารหรือเห็นใจผู้ป่วย

ไม่กดดันหรือคาดหวัง
กับอาการป่วย
ที่หายช้า

พึ งระลึกไว้เสมอ
ว่าเขาป่วย

ไม่ใช่จิตใจอ่อนแอ

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

ความเชื่อผิดๆ 11

ที่หลายคนมองต่อผู้ป่วยโรคซึมเศร้า

ออ่ออ่่ออนนแแออ มมมออองงงโโโลลลกกกใในนนแแแงง่งร่่ร้รา้้าายยย

อ่ใอใจนจไแม่อสูู้้ ไไไมมม่่่ออดดทททนนน
เเออเาอาแาแตต่่คคิิดดลลบบ
เเปปรราาะะบบางาางง

ยยัังงมมีีคคนนททีี่่แแยย่่กกววว่่่าาานนนีีี้้้

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

12 ไม่ควร

" คำพูด "

ที่ คว
ร และ

ที่จะใช้กับผู้ป่ วยซึมเศร้า

คำพูด อยากให้ฉันกอดไหม
ที่ควร เธอไม่ได้อยู่คนเดียวนะ
เธอสำคัญสำหรับฉันเสมอนะ

ฉันจะอยู่ข้างๆ เธอนะ
ฉันอาจไม่เข้าใจ
แต่ให้กำลังใจเธอนะ
ฉันรักเธอนะ

คำพูด

ลืมๆ มันไปซะเถอะ ทคี่ไวมร่

ไม่อยากรู้สึกแบบนี้ ก็เลิกคิดสิ
ไม่เป็นไรหรอก เดี๋ยวก็ผ่านไป

จะเศร้าไปถึงไหนกัน

เข้าใจว่ารู้สึกอย่างไร ฉันก็เคยเป็น

เลิกเศร้าได้แล้ว

" จริงๆกำลังใจเล็กๆหรือคำพูดดีดี

อาจช่วยเหลือเพื่อนเราได้ในยามที่ท้อแท้
หรือให้กำลังใจตัวเราเองได้ เริ่มต้นในวันนี้

แม้กับคนใกล้ตัวหรือเพื่อนคนรอบข้าง"

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

13

1. โพสต์สั่งเสียเป็นนัยๆ

ขอบคุณ ขอโทษ ลาก่อน

2. โพสต์เกี่ยวกับความตาย

ไม่อยากอยู่อีกต่อไปแล้ว

3. โพสต์เกี่ยวกับความเจ็บปวด

ความทุกข์ทรมาน

4. โพสต์ว่ารู้สึกผิด ล้มเหลว

ผิดหวังในชีวิต

5. โพสต์ว่าเป็นภาระของผู้อื่น

รู้สึกไร้คุณค่า

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

14 อยู่อย่างไร ?

กับคนใกล้ตัว ที่มีภาวะซึมเศร้า

คุณสามารถช่วยเขาได้

เข้าหา พาไป

และบอกว่ายินดีช่วยเหลือ พบจิตแพทย์และไปเป็นเพื่ อน

พร้อมรับฟังอย่างตั้งใจ เสมอเมื่อถึงวันตรวจตามนัด

และเข้าใจ ดูแล

ทำ ให้กินและนอน
เป็นเวลาทุกวัน
ทำความเข้าใจและหาความรู้
เกี่ยวกับโรคซึมเศร้า ชวน
ให้มากขึ้น ออกกำลังกายและร่วมกิจกรรม
ในชุมชนด้วยกัน

หากผู้มีภาวะซึมเศร้าบอกไม่อยากมีชีวิตอยู่ หรืออยากทำร้ายตัวเอง
อย่าปล่อยให้อยู่คนเดียวให้ความช่วยเหลืออย่างใกล้ชิดตลอด 24 ชั่วโมง

เก็บสิ่งอันตรายไม่ให้มีในบ้าน เช่น เชือก ของมีคม อาวุธปืน
ยาปราบศัตรูพืช ยาฆ่าแมลง หรือยาอันตรายต่างๆ

การรับฟังคือพลังที่ดีที่สุด
คุณต้องฟังเค้าอย่างเข้าใจ ฟังอย่างไร ?

ฟังด้วยหู ฟังเรื่องราว เนื้อหาและสาเหตุ
ฟังด้วยตา ฟังสีหน้า ท่าที กริยา
ฟังด้วยใจ ฟังอารมณ์ ความรู้สึก ความต้องการลึกๆ ในใจ

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

15

วิธีสร้างความหวัง
และพลังใจ

ในสถานการณ์ที่ยากลำบาก

1. สำรวจความคิด 2. จัดการในสิ่งที่พอจัดการได้
และอารมณ์ของตนเอง
เริ่มแบ่งสัดส่วนของปัญหาต่างๆ
หากมีลักษณะสิ้นหวังให้ลองพยายาม จัดการเรื่องเล็กน้อยที่พอจะทำได้ก่อน
ปรับมุมมองและพยายาม
แล้วขยับไปจัดการเรื่องที่ใหญ่ขึ้น
ควบคุมความคิดและอารมณ์ให้คงที่่ พั กเรื่องที่จัดการไม่ได้ไว้ทีหลัง
เท่าที่จะทำได้

3. เชื่อมต่อกับคนรอบข้าง 4. หาตัวอย่างของความหวัง 5. ช่วยสร้างความหวังให้ผู้อื่น

เน้นเปิดใจพู ดคุย อาจหาได้จากสื่อต่างๆ ผ่านการทำจิตอาสาหรือ
กับคนในครอบครัว หรือจากเรื่องราวคนรอบข้าง ช่วยเหลือคนที่กำลัง
ที่ผ่านพ้ นอุปสรรคมาได้ในอดีต ยากลำบาก
หรือคนที่สนิท เพื่ อให้เชื่อมั่นว่าเราสามารถเติบโต จะทำให้เกิดมุมมอง
และพร้อมที่จะรับฟัง จากวิกฤตได้ ต่อความหวังที่ดีขึ้น

หากนักศึกษา กำลังหาคนรับฟัง ไม่ว่าจะทุกข์ใจ เครียด หรือซึมเศร้า

สแกนคิวอาร์โค้ดเพื่อขอคำปรึกษาส่วนตัว

เลือกผู้ให้คำปรึกษาได้ เพียงสแกน
เพื่อเปิดห้องแชทส่วนตัว

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

14 ช่องทาง งานแนะแนวและพัฒนานักศึกษา
การให้คำรึกษา
ชั้น 2 อาคารกิจการนักศึกษา 1
รายบุคคล/รายกลุ่ม
0 4422 3120,0 4422 3110

เปิดบริการทุกวันพฤหัสบดี เวลา 13.00-16.00 น. งานแนะแนวและพัฒนานักศึกษา
ณ ชั้น 2 อาคารรัตนเวชพัฒน์ ส่วนกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

บริการให้คำปรึกษาดัดกรอง ตรวจรักษา แอดไลน์
GDCounseling

อุ่นทั้งกาย อุ่นทั้งใจ
รู้ทันข่าวสารอบรม/ดูแลสุขภาพจิต

โรคติดต่อทางเพศสัมพั นธ์ ปัญหาสุขภาพจิต...
ปรึกษาปัญหาน้ำหนักเกิน/โรคอ้วน พบนักจิตวิทยาให้คำปรึกษา
ปัญหาเรื่องท้องไม่พร้อม
ยุติการตั้งครรภ์ คุมกำเนิด ปัญหาสุขภาพจิต เครียด
โรคซึมเศร้า
ปัญหาครอบครัว การเรียน
ความรัก

โดยงานแนะแนวและพั ฒนานักศึกษา

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

ข้อมูลอ้างอิงแหล่งที่มา

- กรมสุขภาพจิต
- ออนไลน์ https://www.mangozero.com/how-to-deal-

with-depression-people/
- สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น ราชนครินทร์
- ศุนย์ความรู้เทคโนโลยีซึมเศร้าไทย

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

คณะผู้จัดทำ

ที่ปรึกษา

1. รศ.ดร. อติชาต วงศ์กอบลาภ
รองอธิการบดีฝ่ายพั ฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพั นธ์
2. ผศ.ดร. เกียรติศักดิ์ บัตรสูงเนิน
ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายพั ฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพั นธ์
3. นายธัญเทพ พรหมสอน
หัวหน้าส่วนกิจการนักศึกษา

คณะทำงาน

1. นางปุณยวีร์ ดวงสุขสุริยะ
หัวหน้างานแนะแนวและพั ฒนานักศึกษา
2. นางสาวสุภาภรณ์ ประชากูล
งานแนะแนวและพั ฒนานักศึกษา
3. นางชุติมา ไชยเสน
งานแนะแนวและพั ฒนานักศึกษา
4. นางสาวฐาปนี เณรผึ้ง
งานแนะแนวและพั ฒนานักศึกษา

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์

Seeแล้yวเoจอuกันtวoันmพoรุ่งrนีr้ ow

โครงการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาวะองค์รวมแก่นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ส่วนกิจการนักศึกษา ฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์


Click to View FlipBook Version