The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือความปลอดภัยฯ NST - (น้องฝึกงาน)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sattawat-mc, 2022-03-23 21:31:55

คู่มือความปลอดภัยฯ NST - (น้องฝึกงาน)

คู่มือความปลอดภัยฯ NST - (น้องฝึกงาน)

คมู ือ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ มในการ

ทำงาน สำหรับลูกจางทั่วไปและลูกจางเขาทำงานใหม

คำนำ
ขอ บังคับและคูมือความปลอดภยั ฉบบั นี้ จดั ทำข้ึนเพื่อใหพนักงานทุกทาน และผูร บั เหมาชวงที่เขามาทำงานใน
บริษัทฯ ใชเปนหลักในการปฏิบัติงาน เพ่ือกอใหเกิดความปลอดภยั ท่สี ดุ จากการปฏบิ ัติงาน
ดวยบรษิ ทั ฯ มีความหวงใยตอความปลอดภยั และสุขภาพอนามัยของพนักงานทุกทาน ซ่ึงบรษิ ัทฯ มีความเชือ่ มั่น
วา อุบตั ิเหตทุ เี่ กิดจากการทำงานนั้น สามารถปอ งกันได
บริษัทฯ มคี วามต้งั ใจทีจ่ ะเสริมสรา งพัฒนางานดานความปลอดภัยใหพ นักงานทุกคนอยางตอเน่ือง โดยยึดหลกั

“ปลอดภยั ไวกอน SAFETY FIRST” เปน หัวใจสำคัญ
คณะกรรมการบริหาร บรษิ ทั นวิ ซาวด อนิ ดสั ทร่ีย (ประเทศไทย) จำกัด
9 มีนาคม 2565

1

สารบญั
คำนำ......................................................................................................................................................................1
นโยบายดา นความปลอดภัย...................................................................................................................................2
โครงสรา งความปลอดภยั อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทำงาน..............................................................3
หวั ขอที่ 1 ความรูเก่ยี วกับความปลอดภยั ในการทำงาน.........................................................................................4
คาํ จํากัดความท่ีเก่ียวของ.......................................................................................................................................4
สาเหตขุ องอบุ ัติเหตุจากการทำงาน........................................................................................................................6
การเจ็บปวยจากสภาพแวดลอมในการทำงาน......................................................................................................12
การปอ งกนั อบุ ัติเหตุและการเจ็บปว ยจากการทำงาน..........................................................................................13
หัวขอที่ 2 กฎหมายอาชวี อนามัย อาชวี อนามัยและสภาพแวดลอ มในการทำงาน................................................14
หัวขอ ท่ี 3 ขอบงั คบั วาดว ยความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ มในการทำงาน…...............................26
กฎความปลอดภัยทั่วไปบรษิ ัทนวิ ซาวด อนิ ดสั ทย่ี  (ประเทศไทย) จำกดั ..............................................................27
กฎความปลอดภัยเฉพาะเร่อื ง..............................................................................................................................31
การรกั ษาความสะอาด และการจดั เกบ็ วัสดุในบรเิ วณสถานทที่ ำงาน...................................................................31
การปอ งกันและระงบั อัคคภี ยั และเคร่ืองดบั เพลิง.................................................................................................32
อุปกรณคมุ ครองความปลอดภยั สวนบุคคล..........................................................................................................35
ความปลอดภัยในการทำงานสำหรบั ผูรับจาง/ผรู บั งานชว ง..................................................................................36
ความปลอดภยั ในการทำงานเกี่ยวกับเคร่ืองมือ เคร่ืองจกั ร..................................................................................37
ความปลอดภยั ในการทำงานเกย่ี วกับสภาวะแวดลอม..........................................................................................38
ความปลอดภัยในการทำงานเกย่ี วกบั วสั ดุอนั ตราย…………...................................................................................39
ความปลอดภยั ในการใชเครื่องตดั ดัดเหล็ก…………………......................................................................................41
ความปลอดภัยในการทำงานกอ สรางวาดวยเขตกอ สราง......................................................................................42
ความปลอดภยั ในการทำงานในสถานที่มีอันตรายจากการตกจากทส่ี งู .................................................................43
ความปลอดภยั ในงานเชอื่ มดว ยแกส.....................................................................................................................45
ความปลอดภยั ในงานเจยี ร....................................................................................................................................46
ความปลอดภยั ในการทำงานบนทส่ี งู ....................................................................................................................47
ความปลอดภยั ในการยกเคลอ่ื นยายของหนักดวยมือ……………………...………........................................................49
ความปลอดภยั ในการใชเคร่ืองกลหนักและขนยา ยสง่ิ ของดวยรถเครน.................................................................50
ความปลอดภัยในสำนักงาน..................................................................................................................................50
ความปลอดภัยวาดว ยบันได..................................................................................................................................51
ปา ยสญั ลกั ษณความปลอดภัยความปลอดภัย.......................................................................................................52
ปายเคร่อื งหมายอุปกรณปองกันและระงับอัคคีภยั ...............................................................................................54
ปา ยสัญลักษณส ารเคมีและวัตถุอันตราย..............................................................................................................55
การปฐมพยาบาล.................................................................................................................................................57
การควบคุมยาเสพติดและแอลกอฮอล.................................................................................................................61

นโยบายดานความปลอดภยั
ดวยบริษัท นิวซาวด อินดัสทรีส (ประเทศไทย) จำกัด มีความหวงใยตอ ชีวิตและสุขภาพของพนักงานทุกคน
ดังน้ัน จงึ เห็นสมควรใหม ีการดำเนินงานดานความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดลอ ม ควบคูไปกับหนาที่ประจำ
ของพนักงาน จงึ ไดก ำหนดนโยบายไวดังนี้
1. ความปลอดภัยในการทำงานถือเปนหนา ที่รับผดิ ชอบอันดบั แรกในการปฏบิ ัติงานของพนกั งานทุกคน
2. บริษัทฯจะสนับสนุนใหมีการปรับปรุงสภาพการทำงานและสภาพแวดลอ มใหปลอดภยั
3. บรษิ ัทฯจะสนับสนุนสง เสรมิ ใหม กี จิ กรรมความปลอดภัยตา งๆ ท่จี ะชวยกระตนุ จิตสำนึกของพนักงาน เชน การ
อบรม จงู ใจ ประชาสมั พนั ธ การแขงขนั ดานความปลอดภัย เปน ตน
4. ผบู งั คับบญั ชาทุกระดบั จะตองกระทำตนใหเ ปนแบบอยา งทด่ี เี ปน ผูน ำอบรมฝกสอน จงู ใจใหพ นักงานปฏบิ ตั ิ
ดวยวิธที ่ีปลอดภยั
5. พนักงานทุกคนตองคำนึงถึงความปลอดภยั ของตนเองเพ่ือนรวมงานตลอดจนทรพั ยส นิ ของบริษทั ฯ เปน สำคญั
ตลอดเวลาท่ีปฏบิ ตั งิ าน
6. พนกั งานทุกคนตองดูแลความสะอาดและความเปน ระเบียบเรยี บรอ ยในพ้ืนท่ที ปี่ ฏิบัตงิ าน
7. พนกั งานทกุ คนตอ งใหความรว มมือในโครงการความปลอดภยั อาชวี อนามยั ของบริษัทและมสี ทิ ธิเสนอความ
คดิ เห็นในการปรับปรุงสภาพการทำงานและวิธกี ารทำงานใหป ลอดภยั
8. บรษิ ทั ฯ จะจัดใหมีการประเมินผลการปฏบิ ตั ิตามนโยบายทีก่ ำหนดไว

2

โครงสรางคณะกรรมการ
ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน

กรรมการบรหิ าร
คุณฮอย ยี ฮิลดา ลี

ประธานคณะกรรมการความปลอดภยั
คณุ จารจุ ินดา จวงตระกลู

จป. ระดับวิชาชพี
กรรมการและเลขานกุ าร
นางสาว กุลจริ ัฐ ศลิ าเกษ

กรรมการผแู ทนนายจางระดับบงั คับบัญชา กรรมการระดบั บังคบั ปฏิบัติการ
คณุ วภิ ารัตน ปจ จสุ มยั คณุ สุพัตรา มะอนิ ทร

3

ประกอบดว ยหัวขอ
1. คําจํากดั ความทเี่ กีย่ วของ
2. สาเหตุของอุบัติเหตุจากการทำงาน
3. การเจ็บปวยจากสภาพแวดลอมในการทำงาน
4. การปองกัน อุบตั เิ หตุและการเจ็บปว ยจากการทำงาน

วตั ถปุ ระสงค : เมื่อเขา รบั การฝก อบรมในหวั ขอวิชาน้แี ลว ผูเ ขา รับการฝก อบรมตอง
สามารถอธิบาย

1. ความหมายของคาํ ทเี่ กี่ยวของกบั ความปลอดภัยในการทํางานได
2. สาเหตขุ องอบุ ตั ิเหตจุ ากการทํางานได
3. สาเหตขุ องการเจบ็ ปวยจากสภาพแวดลอมในการทํางานได
4. การปองกันอุบตั ิเหตแุ ละการเจ็บปวยจากการทำงานได

1. คาํ จํากดั ความทเี่ ก่ียวของ
(1) พระราชบญั ญตั ิความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพ แวดลอมในการทำงาน พ.ศ. 2554 ไดใหคาํ จํากัดความของ
คําวา
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน หมายถึง การกระทำ หรอื สภาพการทำงานซึ่ง
ปลอดจากเหตุอนั จะทำใหเ กดิ การประสบอันตรายตอชวี ิต รางกาย จติ ใจ หรอื สขุ ภาพอนามัยอนั เนอื่ งจากการทำงาน
หรอื เกย่ี วกบั การทำงานของลูกจา ง
นายจาง หมายถึง นายจางตามกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงานและให หมายความรวมถงึ ผปู ระกอบกจิ การ
ซง่ึ ยอมใหบคุ คลหน่ึงบุคคลใดมาทำงาน

4

ผลประโยชน ใหแ กหรอื ในสถานประกอบกิจการ นั้นจะเปนสว นหนึ่ง สว นใดหรอื ทง้ั หมดในกระบวนการผลติ หรอื
ธรุ กิจในความรับผดิ ชอบของผูประกอบกจิ การนัน้

ลกู จาง หมายถึง ลกู จา งตามกฎหมายวา ดวยการคมุ ครองแรงงานและใหหมายความ รวมถึงผซู ึง่ ไดร ับความ
ยนิ ยอมใหท ำงานหรอื ทำผลประโยชนใ หแ กห รอื ในสถานประกอบกจิ การของนายจาง

เจาหนาที่ความปลอดภยั ในการทำงาน หมายถึง ลูกจา งซงึ่ นายจางแตง ต้งั ใหป ฏิบัติ หนาที่ดานความปลอดภยั อา
ชีวอนามยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน

(2) พระราชบัญญตั เิ งินทดแทน พ.ศ. 2537 ไดใ หคาํ จํากัดความ ของคาํ วา ประสบอันตราย หมายถึง การท่ี
ลกู จางไดรับอนั ตรายแกรางกายหรือผลกระทบแกจิตใจ หรือถงึ แกความตายเนอ่ื งจากการทำงาน

การเจบ็ ปว ยจากการทำงานมีสาเหตมุ าจากสภาพแวดลอ มการทำงานและทาทางการทำงาน เชน ปวดหลงั จาก
การยกของผิดวิธอี าการตาลา จากการทำงาน เปนตน

สว นโรคจากการทำงาน หรือโรคจากการประกอบอาชพี หมายถงึ โรคท่ีเกิดจากปจ จยั จากการทำงานโดยตรง
เชน หูตงึ จากเสยี งดงั ในโรงงานปมโลหะ เคร่อื งจักรทเี่ สียงดัง โรคปอดฝุน ทรายในโรงงานโมบดหนิ

(3) มาตรฐานระบบการจัดการดานความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานไดใ หคําจํากดั
ความของ คําวา อนั ตราย หมายถึง สภาวการณที่มีเหตอุ ันจะทำให เกิดความสญู เสีย

ความเสี่ยง หมายถึง ระดับของอนั ตรายที่บงบอกวา ยอมรับไดห รอื ยอมรับไมได ระเบียบการปฏบิ ตั ิงาน
หมายถึง การอธบิ ายภาพรวมของการทำงานในกระบวนการ ทำงานวา เกี่ยวของกบั อะไร ใคร เม่อื ไหร ท่ีไหน อยา งไร มี
เอกสารอะไรบางที่เก่ียวของ

ขนั้ ตอนและวธิ กี ารปฏบิ ัติงาน หมายถึง การอธิบายวา แตละขั้นตอนงานมีรายละเอียด การปฏิบัติงานอยางไร

5

2. สาเหตขุ องอุบตั ิเหตุทีเ่ กิดจากการทำงาน
อุบตั ิเหตุจากการทำงาน จากนยิ ามคําวาอบุ ัตเิ หตุ หมายถงึ เหตุการณท ไี่ มมีผูใ ดต้ังใจให เกิด เมือ่ เกดิ ข้ึนแลว มีผลให เกดิ
การบาดเจ็บ หรือเสยี ชีวติ หรอื ทรัพยส ินเสียหาย ในทน่ี จี้ ะกลา วถึงอุบัติเหตทุ ี่เกดิ ขนึ้ จากการทำงานเทานน้ั เชน ลกู จา ง
ตกจากทสี่ ูงขณะทำงานบนหลังคา ลูกจางถูกสารเคมกี ระเด็นเขาต าขณะผสมสารเคมี

2.1 คาํ จํากัดความที่เก่ยี วของ
อุบัติเหตุ (Accident) หมายถึง เหตุการณท่ีไมพึงประสงค เกิดข้ึนโดยไมคาดคิดและไมได ควบคุมไวกอน เมื่อ

เกดิ ขึน้ แลวมผี ลทำใหเกดิ การบาดเจบ็ พิการหรือทรพั ยสนิ เสียหาย
อบุ ัติการณ (Incident) หมายถงึ เหตุการณผิดปกติ เมื่อเกิดขึน้ แลว มีแนวโนมท่จี ะกอ ใหเ กิดอุบัติเหตุ
เหตุการณเกือบเกิดอุบัติเหตุ (Near Miss) หมายถึง เหตุการณผิดปกติ เม่ือเกิดข้ึนแลวมีแนวโนมท่ีจะกอใหเกิด

อุบัติเหตุ (เกดิ อบุ ัติการณแลว แตไมม กี ารสูญเสียรางกายและทรัพยสิน)
อันตราย (Hazard) หมายถึง แหลงหรือสภาพการท่ีมีโอกาสทำใหเกิดอันตรายตอคนเราในลักษณะของการ

บาดเจบ็ เจ็บปว ย ความเสยี หายตอทรัพยส นิ สภาพแวดลอมในการทำงานหรือทั้งหมดที่กลา วมา

6

2.2 สาเหตขุ องอบุ ัตเิ หตุ การเกิดอุบัติเหตทุ ่ีทำใหเ กิดการบาดเจบ็ และความเสยี หายมีสาเหตหุ ลัก 2 สาเหตุ
(1) การกระทำที่ไมป ลอดภัย (Unsafe act) 85% เปนการกระทำของผูปฏิบตั งิ านในขณะทำงาน ซึ่งอาจ จะ
ทำใหเ กิดอุบัตเิ หตุไดต วั อยางเชน
1) ใช เครอ่ื งจักร เคร่ืองกล เคร่อื งมือ หรอื อปุ กรณตา ง ๆ โดยพลการ
2) ทำงานเรว็ เกนิ สมควรและใช เคร่อื งจกั รในอัตราท่ีเร็วเกนิ กำหนด
3) ซอ มแซมหรือบำรงุ รักษาในขณะทีเ่ ครื่องยนตกาํ ลงั หมนุ
4) ถอดอปุ กรณความปลอดภัยจากเครื่องจกั รโดยไมม เี หตุอันสมควร
5) หยอกลอกนั ในขณะทำงาน
6) ทำงานในที่ท่ีไมป ลอดภัย
7) ใชเ คร่ืองมือท่ีชาํ รดุ หรือไมถูกวิธี
8) ยกหรือเคลื่อนยา ยวัสดดุ วยทา ทางหรือวิธกี ารท่ีไมปลอดภยั
9) ไมสวมใสอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสว นบุคคลท่จี ัดให
10) ไมปฏบิ ตั ติ ามขอ บงั คบั ขอหาม ปา ยหรอื สัญลกั ษณ เตือนตาง ๆ
(2) สภาพการณท ่ีไมป ลอดภัย 15% เปนสภาพแวดลอมทอี่ ยรู อบๆตัวผูป ฏิบัติงานในขณะ ทำงานซ่งึ อาจเปน
สาเหตกุ อ ใหเ กิดอุบตั ิเหตุไดต ัวอยางเชน
1) ไมมีท่ีครอบหรือการดปด คลุมสว นทีห่ มุนไดและสวานสง ถา ยกาํ ลงั ของเคร่ืองจกั ร 2) ท่ีครอบหรอื การด ของ
เคร่อื งจักรไมปลอดภัยหรือ ไมเหมาะสม
3) เครอ่ื งจกั ร เคร่ืองมือท่ีใชม ีการออกแบบทไี่ มเหมาะสม
4) บรเิ วณพ้นื ที่ทำงานลนื่ ขรุขระ หรอื สกปรก
5) บริเวณทีท่ ำงานมีการวางของไม เปนระเบยี บ กีดขวางทางเดนิ
6) การกองวัสดสุ ูงเกินไป หรือการซอนวสั ดุไมถูกวิธี
7) การจดั เก็บสารเคมีสารไวไฟตา ง ๆ ไม เหมาะสม
8) ความรอน แสงสวา ง เสยี ง เกินคามาตรฐานกำหนด
9) ไมมีระบบการระบายและถายเทอากาศท่ีเหมาะสม

7

ตอมาไดมีการอธิบายเชิงลึกถึงสาเหตุท่ีทำให เกิดการกระทำที่ไมปลอดภัยและ สภาพการณที่ไม
ปลอดภัย วามาจากความบกพรองของฝายบริหารที่ขาดการบริหารจัดการอยางเปน ระบบ หรือละเลยท่ีจะ
ดำเนินการให เกิดความปลอดภัยอยางตอเนื่อง ทำใหสถานประกอบกิจการ ขาดโครงการ/กิจกรรมความ
ปลอดภัยท่ีครอบคลุมทุกงานอันตราย ขาดการนํามาตรฐานความ ปลอดภัยที่เก่ียวของมาใชอยางครบถวนใน
กิจกรรมที่จําเปน รวมถึงขาดการดําเนินงานดานความ ปลอดภัย ที่สอดคลองกับขอกําหนดของกฎหมาย
มาตรฐาน และขอเสนอแนะตาง ๆ อยางเครงครัด ดังน้ัน ความบกพรองในการจัดการของฝายบริหารของสถาน
ประกอบกิจการ จงึ เปนสาเหตหุ ลกั ท่ีทำให เกิดการประสบอนั ตรายและความสญู เสียในสถานประกอบกจิ การ
2.3 ความสูญเสียจากการเกิดอุบัตเิ หตุ
ความสญู เสยี หรือคา ใชจายอันเน่ืองมาจากอุบตั ิเหตุจากการทำงาน อาจแบงออกไดเ ปน 2 ประเภท ดงั นี้

(1) ความสญู เสียทางตรง หมายถงึ คา ใชจายทเี่ กย่ี วของกับผูประสบอุบัตเิ หตโุ ดยตรง
ไดแก
1) คา รักษาพยาบาล 2) คา ทดแทน 3) คาทำขวัญ คาทำศพ 4) คาประกันชีวติ

8

(2) ความสูญเสยี ทางออม หมายถงึ คาใชจายนอกเหนือจากคาใชจา ยจากความสญู เสียทางตรง ไดแก
1) การสูญเสียเวลาทำงานของ
2) คา ใชจา ยในการซอมแซมเครอ่ื งจักร เครื่องมือ อปุ กรณทีไ่ ดรบั ความเสียหาย
3) วตั ถุดิบหรอื สินคาท ี่ไดร บั ความเสยี หายตอ งทิ้ง ทำลาย หรอื ขายท้ิง
4) ผลผลติ ลดลง เนื่องจากกระบวนการผลิตขดั ขอ ง ตองหยุดชะงัก
5) คาสวัสดกิ ารตา ง ๆ ของผูบาดเจ็บ
6) สถานประกอบกจกิ ารตองจายคาจางใหแ กผบู าดเจบ็ ตามปกตแิ มจะทำงานได
ไมเ ตม็ ท่ี หรอื ตองหยดุ ทำงาน
7) การสญู เสียโอกาสทางการคา เชน ผลผลติ ลดลง ทำงานไมไ ดต ามเปา หมาย
8) การเสียช่ือเสียง และภาพลักษณของสถานประกอบกิจการ

2.4 เมื่อเกิดอุบตั เิ หตเุ กดิ ข้ึนท่บี รษิ ทั พนักงานตอ งปฏบิ ัตอิ ยางไร

“เมื่อเกิดอุบัติเหตุข้ึนกับตนเองหรือเพื่อนรวมงาน ใหแจงตอหัวหนางานหรือผูบังคับบัญชารบั ทราบอยางรวดเร็ว
ทกุ ครงั้ เพราะคอื เปน ความปลอดภัยในชวี ิต และความรวดเร็วในการนำสงตอ ไปเพอื่ รับการรักษาอยางทนั ทว งท”ี

9

2.5 การปองกันและควบคมุ การเกดิ อบุ ตั ิเหตุ

1) การปอ งกนั ที่แหลง กำเนดิ (เครื่องจักร เครอื่ งมือ อุปกรณ)
 การออกแบบเครอ่ื งจกั ร โดยคำนึงถึงความปลอดภยั ของผปู ฏิบตั ิงาน
 การสรา งการด ครอบสวนท่เี ปน จดุ เส่ียง จดุ หมนุ จุดทีเ่ ปน อนั ตราย
 การสรา งส่ิงกีดขวางไมใ หค นเขาใกลสว นทเ่ี ปน อันตราย
 ทำปุมกดเปน แบบ 2 hand switch
 มปี ุม กดหยดุ กรณีฉุกเฉนิ (Emergency stop)
 มีการตรวจเชค็ สภาพเคร่ืองจักร การบำรงุ รักษาเปนระยะๆ

2) การปอ งกันท่ที างผาน
 กำหนดข้ันตอนการทำงานทีป่ ลอดภยั เปน ขอ บงั คับของบริษัทฯ
 สถานทีท่ ำงานตองมรี ะเบียบ สะอาด
 การจัดเก็บเคร่ืองมือ อปุ กรณหรอื วัตถดุ บิ ตอ งแยกกนั เปนสดั สว น
 มสี ญั ลกั ษณและปา ยเตือนอนั ตราย
 ไมวางส่งิ ของขวางทางออกฉุกเฉิน
 การสรางฉากแยกกัน้ สวนท่เี ปนอนั ตรายออกจากพ้นื ท่ีทำงาน

10

3) การปองกนั ทีผ่ ปู ฏบิ ตั ิงาน
 การแตง กายขณะปฏิบตั งิ าน ตอ งแตงกายดว ยเส้ือผาที่รัดกุม ไมป ลอยชายรุย รา ย ตองรวบผมใหเ รยี บรอ ย
 ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บขอ บงั คับของบริษัทฯ
 ตองสวมใสอปุ กรณป องกันอันตรายสว นบุคคล (Personal protective equipment : PPE) ขณะ
ปฏิบตั งิ านตลอดเวลา

2.6 วธิ ีปฏิบตั ิของพนกั งานเพ่อื ปองกันอุบตั ิเหตุและความสูญเสีย
1. ศกึ ษากฎระเบยี บความปลอดภัยใหเขา ใจและปฏบิ ตั ิอยา งเครงครัด
2. ศึกษาวิธกี ารปฏิบตั ิงานที่ถูกตองและปฏิบตั ิอยางตอเน่ืองสมำ่ เสมอ
3. ศกึ ษาหาความรใู นการทำงานทถ่ี ูกตอ ง
4. เชือ่ ฟง คำแนะนำหรอื การส่ังสอนจากหวั หนา งาน หากไมเขาใจใหส อบถามกอน
5. เมอ่ื พบเห็นส่งิ ผดิ ปกตทิ ีป่ ลอยไวแลวอาจจะเปนอันตรายตอผูอื่นหรือตนเองใหรบี แจงและแกไ ขทนั ที
6. ใชอ ปุ กรณปองกันอันตรายสวนบคุ คลตลอดระยะเวลาขณะปฏบิ ตั ิงาน

11

3. การเจ็บปว ยจากสภาพแวดลอมในการทำงาน
3.1 สภาพแวดลอมในการทำงานที่เปนอันตรายตอสุขภาพสภาพแวดลอมในการทำงานที่อยูรอบตัวผูปฏิบัติงาน

ซึ่งอาจทำให เกิดการเจ็บปวย หรือโรค จากการทำงาน แบงเปน 5 กลุม ไดแก 1. สภาพแวดลอมทางกายภาพ 2.ทาง
เคมี 3.ทางชวี ภาพ 4.ทางการยศาสตร 5. ทางจติ วิทยาสังคม ดังภาพท่ี 1

ภาพที่ 1 : สภาพแวดลอ มในการทำงานท่เี ปน อนั ตรายตอสุขภาพ

3.2 องคประกอบที่ทำใหเ กิดการเจบ็ ปว ย/โรคจากการทำงานมี 3 ปจ จยั ไดแก
(1) ผปู ฏบิ ัตงิ าน เชน อายุ เพศ กรรมพนั ธุ เชอ้ื ชาตภิ าวะโภชนาการของแตละบุคคล โรคประจาํ ตัว ความไวตอ
การเกิดโรค พนื้ ฐานการศึกษาของผปู ฏบิ ัติงานองคป ระกอบดา นจิตใจ และองคป ระกอบดานพฤติกรรม
(2) สภาพแวดลอ มในการทำงานท่เี ปน อันตรายตอ สุขภาพ คอื สาเหตทุ สี่ ำคัญของการเกดิ การเจบ็ ปว ยและ/หรือ
โรคจากการทำงาน ซ่ึงแบงไดเ ปนกลุมใหญ ๆ ไดแก สภาพแวดลอมทาง กายภาพ ทางเคมี ทางชีวภาพ ทางการย
ศาสตร และทางจติ วทิ ยาสังคม
(3) ส่ิงแวดลอมทั่วไป เปนปจจัยภายนอกท่ีกระตุนและสงเสรมิ ทั้งทางตรงและทางออมท่ีจะทำใหโรคเกิดเร็วขึ้น
เชน สภาพทพี่ กั อาศยั ไมถ ูกสขุ ลกั ษณะ สภาพภมู ิอากาศ และสภาพเศรษฐกิจ

12

4. การปองกนั อบุ ตั ิเหตุและการเจบ็ ปว ยจากการทำงาน

มาตรการปอ งกนั อนั ตรายหรือควบคุมความเส่ียง ท่ีอาจจะเกดิ ข้ึนจากการทำงาน เปนการดำเนินการ เพื่อขจัดหรือ
ลดอันตรายที่อาจเกดิ ขน้ึ จากการทำงานใหหมดไปหรืออยูในระดบั ยอมรบั ได ซึ่งควรดำเนินการตามลำดบั โดยเรมิ่
จากมาตรการลำดับท่ี 1 จนถึงมาตรการลำดับที่ 5 แตโดยทั่วไปแลว จะใชมาตรการควบคมุ มากกวา 1 มาตรการ เพ่ือให
การควบคุมอนั ตรายและลด ความเสยี่ งเปนไปอยางไดผล

13

ประกอบดว ยหัวขอ
1. พระราชบญั ญัติความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน พ.ศ. 2554

วัตถปุ ระสงค : เมอื่ เขา รับการฝก อบรมในหัวขอวชิ านแ้ี ลว ผเู ขา รับการฝก อบรมตองสามารถอธบิ ายสาระสำคัญของ
พระราชบัญญัติความปลอดภัยอาชวี อนามัยและ สภาพแวดลอ มในการทำงาน พ.ศ. 2554 ได

1. พระราชบญั ญัติความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน พ.ศ. 2554 ประกอบดวย 8
หมวด 74 มาตรา ดงั นี้

หมวด 1 บททวั่ ไป ประกอบดวยมาตรา 6 และ 7
หมวด 2 การบรหิ าร การจัดการ และการดำเนนิ การดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอมในการ
ทำงาน ประกอบดว ยมาตรา 8 ถงึ มาตรา 23
หมวด 3 คณะกรรมการความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ มในการทำงาน ประกอบดวยมาตรา 24 ถึง
มาตรา 31
หมวด 4 การควบคุม กำกับ ดแู ล ประกอบดว ยมาตรา 32 ถงึ มาตรา 34
หมวด 5 พนักงานตรวจความปลอดภยั ประกอบดว ยมาตรา 35 ถงึ มาตรา 43
หมวด 6 กองทุนความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน ประกอบดว ยมาตรา 44 ถึงมาตรา 51
หมวด 7 สถาบันสงเสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ มในการทำงาน ประกอบดว ยมาตรา 52
หมวด 8 บทกำหนดโทษ ประกอบดว ยมาตรา 53 ถงึ มาตรา 72 บทเฉพาะกาล ประกอบดวยมาตรา 73 และมาตรา 74

14

มาตราสำคญั ทล่ี ูกจางควรทราบและตองปฏิบัติมีดังนี้
หมวด 1 บทท่ัวไป ประกอบดวยมาตรา 6
มาตรา 6 ใหน ายจางมีหนาท่ีจัดและดแู ลสถานประกอบกจิ การและลกู จางใหมสี ภาพการ ทำงานและสภาพแวดลอมใน
การทำงานทป่ี ลอดภยั และถูกสุขลักษณะ รวมทงั้ สงเสริมสนับสนนุ การ ปฏบิ ตั งิ านของลกู จางมิใหล ูกจางไดรบั อันตราย
ตอ ชีวติ รา งกาย จติ ใจ และสขุ ภาพอนามัย ใหลูกจา งมีหนาทใี่ หค วามรว มมอื กับนายจางในการดำเนนิ การและสง เสรมิ
ดา นความ ปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน เพอ่ื ใหเ กดิ ความปลอดภยั แกล ูกจางและ สถาน
ประกอบกิจการ
หมวด 2 การบริหาร การจดั การ และการดำเนินการดา นความปลอดภัย อาชวี อนามัย และ สภาพแวดลอมในการ
ทำงาน ประกอบดวยมาตรา 8 ถึงมาตรา 23
มาตรา 8 ใหนายจางบรหิ าร จัดการ และดำเนนิ การดานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน
พ.ศ.2554 ใหเ ปนไปตามมาตรฐานทีก่ ำหนดในกฎกระทรวงการกำหนดมาตรฐานตามวรรค
มาตรา 14 ในกรณีที่นายจางใหล กู จางทำงานในสภาพการทำงานหรอื สภาพแวดลอมในการทำงานท่ีอาจทำใหล ูกจา ง
ไดร ับอันตรายตอชีวติ รา งกาย จติ ใจ หรือสขุ ภาพอนามยั ใหน ายจางแจง ใหล กู จางทราบถึงอนั ตรายท่อี าจจะเกดิ ขนึ้ จาก
การทำงานและแจกคมู ือปฏบิ ัตงิ านใหลกู จางทุกคนกอนทล่ี ูกจางจะเขา ทำงาน เปลยี่ นงาน หรือเปลี่ยนสถานทที่ ำงาน
มาตรา 16 ใหนายจา งจดั ใหผบู ริหาร หวั หนางาน และลกู จางทุกคนไดรบั การฝก อบรมความปลอดภยั อาชวี อนามัย
และสภาพแวดลอมในการทำงาน เพื่อใหบ ริหาร จัดการและดำเนินการดา นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดลอ มในการทำงานไดอยา งปลอดภัยในกรณีที่นายจา งรบั ลกู จางเขา ทำงาน เปลีย่ น งาน เปลย่ี น สถานที่
ทำงาน หรือเปล่ยี นแปลง เคร่ืองจักรหรืออปุ กรณซงึ่ อาจทำใหล ูกจางไดรบั อนั ตรายตอ ชีวิต รา งกาย จิตใจ หรือสุขภาพ
อนามัยใหน ายจางจัดใหมีการฝกอบรมลกู จางทุกคนกอนการเริ่มทำงาน

15

การฝกอบรมตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง และคมุ ครอง แรงงาน เรอื ง หลกั เกณฑว ธิ ีการ มสี าระสำคญั คอื

(1) นายจา งตองจดั ใหม ีการฝกอบรมดา นความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ ม กรณีลกู จางเขา
ทำงานใหม เปล่ยี นงาน เปลยี่ นสถานทที่ ำงาน หรอื เปลี่ยนแปลง เคร่ืองจกั รหรืออุปกรณซ่งึ อาจทำใหล กู จา งไดร ับ
อนั ตรายตอชีวติ รางกาย จิตใจ หรือสขุ ภาพอนามยั ใหน ายจา งจดั ใหมกี ารฝกอบรมลกู จางทกุ คนกอ นการเรม่ิ ทำงาน

(2) หลกั สตู รฝก อบรมดานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ มในการทำงาน สำหรบั ลูกจา งระดบั
บริหาร ใหมรีะยะเวลาการฝกอบรม 12 ชวั่ โมง

(3) หลักสตู รฝก อบรมดา นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน สำหรบั ลูกจางระดบั
หัวหนา งาน มรี ะยะเวลาการฝกอบรม 12 ช่ัวโมง

(4) หลกั สตู รฝกอบรมดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน สำหรบั ลูกจางท่วั ไป
และลูกจางเขา ทำงานใหม มรี ะยะเวลาการฝกอบรม 6 ช่วั โมง

(5) หลักสูตรฝก อบรมดานความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน สำหรับลกู จา งเปล่ียน
งาน เปลี่ยนสถานท่ีทำางาน หรือเปล่ยี นแปลงเครื่องจกั รหรืออุปกรณซึง่ มีปจ จัยเสยี่ ง แตกตา งไปจากเดิม มรี ะยะเวลา
การฝก อบรม 3 ชว่ั โมง

มาตรา 17 ใหนายจางตดิ ประกาศสัญลกั ษณ เตือนอันตรายและเครื่องหมายเกี่ยวกบั ความปลอดภยั อาชีวอนา
มยั และสภาพแวดลอมในการทำงาน

กรมสวัสดกิ ารและคมุ ครองแรงงานไดออกประกาศกรมสวัสดกิ ารและคุม ครอง แรงงาน เรอื ง สญั ลกั ษณ เตือน
อันตราย เคร่ืองหมายเก่ียวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน และขอความแสดงสิทธิ
และหนาทีข่ องนายจางและลูกจาง มีสาระสำคญั คือ

(1) ใหนายจา งติดประกาศสัญลกั ษณ เตือนอนั ตรายและเครื่องหมายเกยี่ วกับความ ปลอดภยั อาชวี อนามยั และ
สภาพแวดลอ มในการทำงาน ให เหมาะสมกบั ลักษณะงาน

(2) ใหนายจางติดประกาศขอความแสดงสทิ ธแิ ละหนาท่ีของนายจางและลูกจางในท่ี ที่เหน็ ไดงา ย ณ สถาน
ประกอบกจิ การ ซ่งึ ตองประกอบดว ยขอความดงั ตอไปนี้

1) นายจางและลูกจาง มหี นาทใ่ี นการปฏบิ ตั ิตามพระราชบัญญัตคิ วามปลอดภัย อาชีวอนามยั และ
สภาพแวดลอมในการทำงาน

16

2) นายจา ง มีหนา ทจี่ ัดและดแู ลสถานประกอบกิจการและลูกจางใหมีสภาพการ ทำงานและสภาพแวดลอ ม
ในการทำงานท่ปี ลอดภยั และถูกสขุ ลักษณะ รวมท้งั สง เสริมและสนับสนนุ การปฏบิ ตั งิ านของลูกจางมใิ หล ูกจา ง
ไดร ับอนั ตรายตอ ชีวิต รา งกาย จติ ใจ และสขุ ภาพอนามยั (มาตรา 6)

3) นายจางมี หนาท่ีจัดและดูแลใหลูกจางสวมใสอ ปุ กรณคุมครองความปลอดภัย สวนบคุ คลทไี่ ดมาตรฐาน
ถาลูกจา งไมส วมใสอุปกรณดังกลาว ใหน ายจา งสั่งใหหยดุ การทำงาน จนกวาลกู จางจะสวมใสอ ปุ กรณนน้ั (มาตรา
22)

4) นายจาง มหี นา ทีจ่ ัดใหผ ูบริหาร หวั หนา งาน และลกู จางทุกคนไดรบั การ ฝกอบรมใหสามารถบรหิ าร
จัดการและดำเนินการดานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และ สภาพแวดลอมในการทำงานไดอยางปลอดภยั กอ น
การเขา ทำงาน เปล่ียนงาน เปลย่ี นสถานที่ทำงาน หรือเปลย่ี นแปลงเคร่ืองจกั รหรอื อปุ กรณ

5) นายจาง มีหนาที่แจง ใหล กู จางทราบถึงอันตรายท่อี าจเกิดข้นึ จากการทำงาน และแจกคูมือปฏบิ ัติงานให
ลกู จา งทุกคนกอนท่ีลกู จางจะเขา ทำงาน เปล่ยี นงาน หรือเปล่ยี นสถานที่ ทำงาน (มาตรา 14)

6) นายจางมหี นาทต่ี ดิ ประกาศ คําเตือน คำส่ัง หรือคําวินิจฉยั ของอธิบดีกรม สวัสดกิ ารและคุมครอง
แรงงาน พนักงานตรวจความปลอดภัย หรอื คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ มใน
การทำงาน แลว แตกรณี (มาตรา 15)

7) นายจา ง เปน ผอู อกคาใชจา ยในการดาํ เนนิ งานดานความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอมใน
การทำงาน (มาตรา 7)

8) ลกู จา ง มหี นาท่ใี หความรว มมอื กับนายจา งในการดำเนนิ การและสง เสรมิ ดาน ความปลอดภัย อาชีวอนา
มัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน

9) ลูกจาง มหี นาทแี่ จงขอบกพรองของสภาพการทำงาน หรอื การชาํ รดุ เสียหาย ของอาคาร สถานที่
เคร่อื งมือ เครอื่ งจักร หรืออุปกรณท ่ีไมสามารถแกไขไดด ว ยตนเองตอเจา หนา ที่ความปลอดภยั ในการทำงาน
หัวหนา งาน หรือผูบริหาร

17

10) ลูกจา ง มหี นา ทสี่ วมใสอ ปุ กรณค มุ ครองความปลอดภัยสวนบุคคลทนี่ ายจางจัด ใหและดูแลให
สามารถใชง านไดต ามสภาพและลกั ษณะของงานตลอดระยะเวลาทำงาน (มาตรา 22)

11) ลูกจา ง มสี ิทธไิ ดร ับความคุมครองจากการเลิกจาง หรือถกู โยกยายหนา ทก่ี าร งานเพราะเหตุที่ฟองรอ ง
เปน พยาน ใหห ลกั ฐาน หรือใหขอ มลู เกี่ยวกบั ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานตอ
พนกั งานตรวจความปลอดภยั คณะกรรมการความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ มในการทำงาน
(มาตรา 42)

12) ลูกจาง มสี ทิ ธิไดร บั คา จางหรอื สทิ ธปิ ระโยชนอื่นใดในระหวางหยดุ การทำงาน หรือหยดุ กระบวนการ
ผลิตตามคำส่งั ของพนักงานตรวจความปลอดภยั เวน แตล ูกจางที่จงใจกระทำการอนั เปนเหตใุ หม ีการหยดุ การ
ทำงานหรือหยดุ กระบวนการผลติ (มาตรา 39)
มาตรา 21 ลูกจาง มีหนา ที่ดูแลสภาพแวดลอมในการทำงานตามมาตรฐานท่ีกำหนด ในกฎกระทรวงที่ออกตาม
มาตรา 8 เพือ่ ให เกดิ ความปลอดภยั ตอ ชวี ติ รา งกาย จิตใจ และสุขภาพอนามยั โดยคำนึงถึงสภาพของงานและพ้ืนทที่ ี่
รบั ผิดชอบ ในกรณีทล่ี ูกจางทราบถึงขอบกพรองหรอื การชํารุดเสยี หาย และไมสามารถแกไข ไดดว ยตนเอง ใหแจง ตอ
เจา หนาทีค่ วามปลอดภยั ในการทำงาน หัวหนางาน หรอื ผูบรหิ าร และใหแ จง เปนหนงั สือตอ นายจางโดยไมชกั ชา
มาตรา 22 ใหนายจา งจดั และดแู ลใหล กู จางสวมใสอปุ กรณคมุ ครองความปลอดภัยสว น บุคคลท่ีไดมาตรฐาน
ตามท่ีอธบิ ดปี ระกาศกำหนด ลกู จางมีหนา ทส่ี วมใสอ ปุ กรณค ุมครองความปลอดภัยสว นบุคคลและดูแลรักษา อปุ กรณ
ตามวรรคหนึ่งใหส ามารถใชง านไดตามสภาพและลักษณะของงานตลอดระยะเวลาทำงาน ในกรณีทีล่ ูกจางไมส วมใส
อุปกรณดงั กลาว ใหนายจางสั่งใหล ูกจางหยดุ การทำงานนั้น จนกวา ลูกจา งจะสวมใสอปุ กรณดงั กลาว

18

มาตรา 74 ในระหวางที่ยังมิไดออกกฎกระทรวง ประกาศ หรอื ระเบียบเพอ่ื ปฏิบตั ติ ามพระราชบญั ญตั ินี้ใหนํา
กฎกระทรวงทอ่ี อกตามความในหมวด 8 แหง พระราชบัญญตั ิคมุ ครองแรงงานพ.ศ. 2541 มาใชบ ังคบั โดยอนุโลม
กฎกระทรวงท่ีออกตามความในหมวดท่ี 8 แหง พระราชบัญญัติคุม ครองแรงงานพ.ศ. 2541 ที่ยงั มีผลบังคบั ใชอ ยูตาม
มาตรา 74 ไดแก

(1) กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑแ ละวิธีการตรวจสุขภาพของลูกจา งและสงผลการตรวจแกพนกั งาน
ตรวจแรงงาน พ.ศ. 2547
1. ใหน ายจางจัดใหลูกจาง ไดรบั การตรวจสุขภาพตามกำหนดระยะเวลา ดังนี้

1.1 ตรวจสุขภาพลกู จา งครง้ั แรกภายใน 30 วัน นบั แตว ันทีร่ ับลกู จางเขา ทำงาน
1.2 ตรวจสุขภาพคร้ังตอไปอยางนอ ยปละครัง้
1.3 กรณีทน่ี ายจา งเปล่ียนงานลูกจา ง โดยท่งี านนนั้ มีอนั ตรายแตกตางไปจากเดิมนายจา งตองจัดใหม กี าร
ตรวจสขุ ภาพของลกู จางทกุ ครง้ั ภายใน 30 วัน นับแตวันท่ีเปลี่ยนงาน
2. ใหนายจางจัดใหมีสมุดตรวจสุขภาพประจำตัวของลูกจาง ที่ทำงานเก่ียวกับปจจัยเส่ียงตามแบบท่ีอธิบดี
ประกาศกำหนด และบนั ทึกผลการตรวจสขุ ภาพของลูกจางในสมุดสขุ ภาพประจำตวั ของลูกจาง
3. นายจางตอ งเกบ็ บันทึกผลการตรวจสขุ ภาพของลกู จา งไวไ มน อยกวา 2 ป นับแตว ันสิน้ สดุ การจา ง เวน แตม กี าร
รองทุกขวานายจางไมปฏิบัติตามกฎหมายหรือการฟองรองคดี ใหนายจางเก็บรักษาเอกสารนั้นไวจนกวาคดีจะ
ส้ินสดุ
4. ใหนายจา งแจงผลการตรวจสุขภาพใหแกลกู จา งทราบ ดงั นี้
4.1 กรณผี ลการตรวจสุขภาพผดิ ปกติ ใหแ จง แกล ูกจางภายใน 3 วนั นับแตว ันทีท่ ราบผลการตรวจ
4.2 กรณีผลการตรวจสุขภาพปกติ ใหแ จงแกล กู จา งภายใน 7 วัน นับแตว ันท่ที ราบผลตรวจ
5. ใหนายจา งมอบสมุดตรวจสุขภาพประจำตวั ลกู จา งทีทำงานเก่ยี วกบั ปจจยั เสีย่ งใหแกล กู จางเมื่อส้นิ สุดการจาง

19

(2) กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการดานความปลอดภยั อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดลอมในการทำงานเกย่ี วกับความรอ น แสงสวา ง และเสยี ง พ.ศ.2549

1. ใหน ายจางควบคุมและรกั ษาระดับความรอนภายในสถานประกอบการ มใิ หเกินมาตรฐาน ดังน้ี
1.1 งานที่ลูกจา งทำในลักษณะงานเบา มรี ะดับความรอนไมเกนิ คา เฉล่ียอณุ หภมู เิ วตบัลบโ กลบ 34 องศา
เซลเซียส
1.2 งานที่ลกู จางทำในลกั ษณะงานปานกลาง มรี ะดบั ความรอนไมเกินคาเฉลีย่ อุณหภูมิเวตบลั บโกลบ 32
องศาเซลเซียส
1.3 งานท่ีลกู จา งทำในลักษณะงานหนนัก มีระดบั ความรอ นไมเ กินคา เฉล่ยี อุณหภูมิเวตบัลบโ กลบ 30
องศาเซลเซียส

2. ใหน ายจางจดั ใหสถานประกอบการมีความเขมของแสง ไมต ำ่ กวา มาตรฐานทก่ี ำหนดไว
3. ใหน ายจา งดำเนนิ การในการควบคมุ เสยี งในสถานประกอบการ มิใหเกินมาตรฐาน ดังนี้

3.1 ใหนายจา งควบคุมระดับเสียงเฉลย่ี ตลอดระยะเวลาการทำงาน 8 ช่ัวโมง ไมใ หเกิน 85 dB(A)
3.2 หากมีเสยี งดังเฉลยี่ ตลอดระยะเวลาการทำงาน 8 ชัว่ โมงเกนิ 85 dB(A) ขนึ้ ไป ใหนายจางจดั ทำ
โครงการอนุรักษการไดยนิ
3.3 และหากในบริเวณทล่ี ูกจางทำงานนน้ั มีระดับเสียงเกิน 140 dB(A) นายจา งตอ งใหล ูกจางหยุดงาน
4. ใหนายจา งจัดใหม กี ารตรวจ และวเิ คราะหสภาพแวดลอ มในการทำงานเก่ียวกบั ความรอ น แสงสวา งและเสยี ง
ดัง อยางนอยปละ 1 คร้ัง และจัดทำรายงานโดยมี จป.วชิ าชพี เปน ผูรบั รองรายงานดังกลา ว สงหนวยงานภาครัฐ
ที่รับผิดชอบ ภายใน 30 วนั นับแตวันท่ที ำการตรวจวัดและเก็บหลกั ฐานไวใหตรวจสอบได

20

(3) กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจดั การดานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และ
สภาพแวดลอ มในการทำงาน พ.ศ.2549

1. ใหนายจางจัดใหมีขอบังคับ และคูมือวาดวยความปลอดภัยในการทำงาน รวมท้ังจัดใหมีการอบรมใหลูกจาง

ทำงานอยางปลอดภัย ทั้งน้ีใหรวมไปถึงผูรบั เหมาข้ันตนและผูรับเหมาชวงที่ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ

นนั้ ดว ย

2. กรณีที่มีลูกจางใหม หรือเปล่ียนงานใหม ซึ่งอาจเปนอันตรายตอสุขภาพ ใหนายจางจัดอบรมลูกจางใหมี

ความรู ตามขอบังคบั และคูมือดังกลา วกอนการปฏิบัติงาน

3. กรณีสั่งใหลูกจางไปทำงาน ณ สถานที่อื่นซึ่งอาจเปนอันตรายตอลูกจาง ใหนายจางแจงขอมูลเกี่ยวกับ

อนั ตรายและวธิ ีการปองกันใหล ูกจา งทราบกอ นการปฏบิ ตั ิงาน

4. ใหนายจางในสถานประกอบการตามรายการตอไปนี้ แตงตั้งบุคลากรทำหนาท่ีดานความปลอดภัยในการ

ทำงานตามตารางขางลางนี้

ประเภทกจิ การ จาํ นวนลกู จ้าง จป. จป. จป. จป. จป. หน่วยงาน
(คน) หวั หน้างาน เทคนคิ เทคนิคขน�ั สงู วิชาชพี บริหาร ความปลอดภยั

1 2 คนขึ�นไป √ √√ √

2-19 √ √

20-49 √ √ √√
√√
2-5 50-99 √ √√

100-199 √

200 คนขน�ึ ไป √ √

6-14 20 คนข�ึนไป √ √

5. ใหนายจา งท่ีมีลกู จางตัง้ แต 50 คนข้ึนไป ตองจัดใหมีคณะกรรมการความปลอดภยั ฯ ของสถานประกอบการ
และมีองคประกอบตามขอกำหนดของกฎหมาย ภายใน 30 วัน นบั แตว ันท่มี ีลูกจา งครบ 50 คน

6. ใหน ายจา งแจง ชอื่ จป. และคณะกรรมการความปลอดภยั ฯ ตอ หนวยงานภาครัฐที่รบั ผดิ ชอบ

21

7. ใหนายจางสงรายงานผลการดำเนินงานของเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิคขั้นสูงและ
ระดับวิชาชีพ ตอ หนว ยงานรัฐทร่ี บั ผดิ ชอบ ทกุ 3 เดือน ตามปปฏทิ นิ ภายใน 30 วนั

8. ใหน ายจา งแจงการประสบอันตราย กรณีลูกจางประสบอันตราย เจ็บปวย หรือสญู หายภายใน 15 วนั และ
กรณเี สยี ชวี ิต แจงภายใน 7 วัน นบั แตนายจางทราบเรื่องดงั กลาว ตอหนว ยงานภาครัฐท่ีดแู ลระผดิ ชอบ

(4) กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการดา นความปลอดภยั อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดลอ มในการทำงานเกย่ี วกบั เครื่องจักร ปน จั่นและหมอนำ้ พ.ศ. 2552

1. การทำงานกบั เครื่องจกั ร นายจา งตองมกี ารดำเนนิ การและปฏบิ ัติ ดังน้ี
1) เม่ือมีการติดต้ัง ซอมแซมและตรวจสอบเคร่ืองจักร ตองจัดใหมีปายเตือนเพื่อปองกันอันตรายในบริเวณ

เครือ่ งจักรและทส่ี วติ ชเ ครอื่ งจกั ร
2) การประกอบ ติดตัง้ ซอ มแซม และการใชง านเครือ่ งจักรตองมวี ิศวกรเปน ผูรับรอง
3) จัดใหมวี ิธกี ารปฏิบัติงานกบั เครื่องจักรติดไวท ีบ่ ริเวณท่ีลูกจา งทำงาน
4) ตองฝกใหลูกจางท่ีมีความชำนาญในการทำงานกับเครื่องจักรและตองผานการอบรมตามหลักเกณฑและ

วิธีการที่อธบิ ดีประกาศกำหนด
5) จัดใหเคร่ืองจักรอยูในสภาพปลอดภัยพรอมใชงาน และตองมีสายดินหรือติดตั้งระบบปองกันไฟฟารั่วในกรณี

ใชพลังงานไฟฟา สายไฟตองรอยทอในกรณีเดินมาจากฝาหรือเพดาน หรือฝงดิน เครื่องจักรท่ีกอใหเกิด
ประกายไฟหรือเศษวัตถุ เคร่ืองจักรขึ้นรูปโดยการฉีก เปา ตองออกแบบอุปกรณชวยปองกันหรือมีตะแกรง
ครอบสว นท่ีหมุนไดแ ละมกี ารบำรุงรักษาใหอยูในสภาพปองกันอนั ตรายได

22

6) จัดใหมีชองทางเดินเขาออกระหวางเครื่องจักรกวางไมนอยกวา 80 ซม. และมีเสนแสดงเขตหรือรั้วก้ัน
เคร่อื งจกั ร
2. การทำงานเกยี่ วกับเครอ่ื งปมโลหะ นายจางตอ งมกี ารดำเนินการและปฏิบัติ ดงั นี้
1) เครื่องปมโลหะตองมีอุปกรณปองกันอันตราย เมื่อสวนของรางกายเขาไปในบริเวณท่ีเปนอันตราย เชน ท่ี

ครอบปดคลุมอปุ กรณท สี่ ามารหยุดเครอื่ งไดทนั ที หรอื อปุ กรณอื่น
2) เครื่องปม โลหะท่ใี ชมอื ปอ งวสั ดุ ตอ งมสี วติ ชกดสองอันหางกนั 30 ซม.
3) เครือ่ งปมโลหะแบบเทาเหนียบตองมีท่ีพักเทาและแผน เหยียบอยูในสภาพที่ไมล นื่ ไถล
4) เคร่อื งปม โลหะแบบคนั โยกตอ งมีสลกั คันโยกปอ งกนั การทำงานโดยบงั เอิญ
5) เครื่องปมโลหะแบบน้ำหนักเหว่ียง ต้ัมน้ำหนักตองอยูสูงกวาศีรษะ และไมมีสายไฟในแนวรัศมีของน้ำหนัก

เหว่ยี ง
3. การใชเ ครื่องเชอ่ื มไฟฟาและเคร่ืองเชอ่ื มกา ซ นายจา งตองมีการดำเนินการและปฏิบตั ิ ดงั น้ี

1) กอนทำงานเชื่อมตองจัดใหมีเคร่ืองดับเพลิงมือถือ อุปกรณคุมครองความปลอดภัย มีฉากกั้นจากประกายไฟ
และแสงจา และบริเวณน้ันตอ งไมม ีวสั ดตุ ิดไฟงายวางอยู

2) มีมาตรการความปลอดภัย และหามผูที่ไมมีหนาทีเ่ ขาไปบรเิ วณงานเชอ่ื ม
3) ถังบรรจุกาซไวไฟตองจัดเก็บในสถานที่ท่ีมีการระบายอากาศดี หางจากแหลงความรอนหรือประกายไฟ ไมมี

ความสัน่ สะเทือน สภาพของถงั เปนไปตามมาตรฐานผลิตภณั ฑอุตสาหกรรมสำหรับการใชง านถังกา ซไวไฟตอ ง
ติดต้ังอุปกรณป อ งกนั ไฟยอ นกลบั

23

4. การใชแ ละทำงานเกีย่ วกับรถยก นายจางตอ งมกี ารดำเนินการและปฏิบตั ิ ดงั น้ี
1) รถยกตองมีโครงสรางหลังคาปองกันอันตรายจากวัสดุตกหลน มีสัญญาณเสียงหรือแสงในขณะทำงาน
ติดปา ยพิกัดน้ำหนักรถยกไวท่ตี วั รถ และหา มทำการดดั แปลงใหความสามารถในการยกลดลง
2) ตรวจสอบสภาพรถยกกอนการใชง านทกุ ครั้ง
3) ผขู บั รถยกตอ งผา นการฝกอบรมตามหลกั สูตรท่ีอธิบดีกำหนด
4) หามโดยสารไปกบั รถยก และมีการตเี สน กำหนดชองทางเดินรถในอาคาร ทางโคงหรือทางแยกตองมี
กระจกนนู หรืออุปกรณอื่น

(5) กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการดา นความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดลอ มในการทำงานเก่ยี วกบั ไฟฟา พ.ศ. 2554

1. ใหนายจางจัดใหมีขอบังคับเก่ียวกับการปฏิบัติงานดานความปลอดภัยฯกับไฟฟา เพ่ือเปนคูมือใหลูกจางปฏิบัติ
และนายจา งตอ งจดั ใหมีการอบรมการทำงานเก่ยี วกบั ไฟฟา ใหล ูกจา งกอนการปฏิบัติงาน

2. ใหนายจางจัดใหมีแผนผังวงจรไฟฟาภายในสถานประกอบการและใหมีการรับรองโดยวิศวกรหรือการไฟฟา
ประจำทองถนิ่

3. ใหนายจางจัดใหมีแสงสวางอยางเพียงพอบริเวณที่ลูกจางทำงานกับไฟฟาและปดปายเตือนในบริเวณท่ีอาจะเกิด
อันตรายจากกระแสไฟฟา

4. บริเวณท่ีมีกระแสไฟฟาท่ีมีแรงดันมากๆ หามนายจางมิใหลูกจางเขาไปทำงานใกลๆบริเวณน้ัน เวนแตจะจัดหา
อุปกรณค ุมครองความปลอดภัยใหอ ยางเหมาะสม หรือมวี ศิ วกรควบคมุ การปฏิบัตงิ าน

5. ใหนายจางดูแลมิใหล ูกจา งสวมใสเคร่อื งนุงหมมี่เปยกหรือเปน สื่อไฟฟา ทำงานบริเวณท่ีมีกระแสไฟฟาแรงดันเกิน
กวา 50V โดยไมมฉี นวนปด กั้น เวน แตจ ะหาอุปกรณค มุ ครองความปลอดภัยอยางเหมาะสม

24

1. ใหน ายจางจัดทำแผน ปายพรอมคำอธิบายเก่ียวกบั วธิ ปี ฏบิ ตั เิ ม่ือประสบอันตรายจากไฟฟา และวิธปี ฐม
พยาบาล ไวใ นบริเวณทล่ี กู จางปฏิบตั งิ านกับไฟฟา

2. ใหนายจางจัดใหมการตรวจสอบและบำรุงรักษาระบบไฟฟา อยางนอยปละ 1 ครั้ง และเก็บหลักฐานไวให
พนกั งานตรวจแรงงานตรวจสอบไดตลอดเวลา

3. กรณีท่ีมีการติดตั้ง ตรวจสอบหรือซอมแซมอุปกรณท่ีมีกระแสไฟฟา ใหนายจางปลดสวิตชและผูกหรือแขวน
ปา ยท่ีสวิตช โดยมขี อ ความวา “หามสับสวติ ช” หรือใสก ญุ แจปอ งกนั การสับสวิตช

4. ใหนายจา งติดต้งั เตา รบั ไวใหเ พียงพอตอการใชง าน เพือ่ มใิ หม ีการตอไฟโดยวิธีทไ่ี มป ลอดภยั
5. ใหนายจางติดต้ังระบบปองกันฟาผาในอาคารหรือบริเวณท่ีเก็บของเหลวไวไฟหรือกาซไวไฟ หรือปลองควัน

ตามกฎเกณฑแ ละวธิ กี ารทกี่ ฎหมายกำหนด
6. ใหนายจางจัดหาอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล เชน ถุงมือหนัง ถุงมือยาง หมวกนิรภัย รองเทา

พื้นยางหมุ ขอชนิดมีสน ใหเหมาะสมตามลักษณะงาน และใหลูกจา งสวมใสตลอดระยะเวลาการปฏิบตั ิงานกับ
ไฟฟา กรณที ำงานสูงเกนิ 4 เมตร ใหน ายจางจดั หาเขม็ ขดั นริ ภยั แบะหมวกนริ ภัยใหดวย

25

ประกอบดว ยหัวขอ
1. กฎความปลอดภัยทั่วไปบรษิ ทั นิวซาวด อินดัสทีย่  (ประเทศไทย) จำกดั
2. กฎความปลอดภยั ในการทำงานเฉพาะเรอ่ื ง
3. ข้นั ตอนและวิธีการปฏบิ ัติงานอยางปลอดภยั
4. ขอ บงั คับวาดว ยความปลอดภัย

วตั ถุประสงค : เม่ือเขารับการฝกอบรมในหัวขอวิชานี้แลว ผูเขา รับการฝกอบรมตองสามารถปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบและ
ขอบังคับวาดวยความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงานของสถานประกอบกิจการท่ีตนเอง
ปฏิบตั ิงานอยไู ดอ ยางถกู ตอ งปลอดภัย
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการดานความปลอดภอาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการ
ทำงาน พ.ศ. 2549
ขอ 3 ใหนายจา งจัดใหมีขอบงั คับและคมู อื วาดวยความปลอดภยั ในการทำงานไวใ นสถาน
ประกอบกิจการขอบังคับวาดวยความปลอดภัยในการทำงานตามวรรคหนึ่ง อยางนอยตองกำหนดข้ันตอนและวิธีการ
ปฏิบัติงานท่ีปลอดภัยเพื่อควบคุมมิใหมีการกระทำที่อาจกอใหเกิดความไมปลอดภัยในการทำงาน รวมท้ังจัดวางระบบ
ควบคุม กำกับ ดูแล โดยกําหนดใหเปนหนาท่ีรับผิดชอบของเจาหนาท่ีความปลอดภัยในการงานทุกระดับ หากยังไมมี
นายจางตองจัดทำข้ันตอนและวิธีการปฏิบัติงานทปี่ ลอดภัย โดยเรม่ิ จากการวิเคราะหง านเพอื่ ความปลอดภยั แลวนําผล
ท่ไี ดจากการวเิ คราะหง านเพ่ือความปลอดภยั มาจัดทำเปน ขน้ั ตอนและวิธีการปฏิบตั งิ านทป่ี ลอดภยั

26

ดังน้ันลูกจางจะตองปฏิบัติตามขอบังคับและคูมือวาดวยความปลอดภัยในการทำงานท่ีกำหนดไวอยางเครงครัด
เน่ืองจากการจัดทำขอคับและคูมือวาดวยความปลอดภัยในการทำงานไดผานกระบวนการวิเคราะหงานเพ่ือความ
ปลอดภัยมาอยางละเอียดแลว แตหากมีข้ันตอนและวิธีการปฏิบัติงานใดมีปจจัยที่เปล่ียนแปลงไปจากเดิมที่กำหนดไวใน
ขอ บงั คบั ลูกจา งควรแจงใหหัวหนางานทำการวิเคราะหงานเพอ่ื ความปลอดภยั และนาํ ไปกำหนดเปนขอ บังคับและคูมอื วา
ดว ยความปลอดภยั ในการทำงานท่เี ปน ปจจุบนั ของสถานประกอบกิจการตอไป

“การอบรมตามหัวขอที่ 3 น้นี ายจางจะตองจดั อบรมใหแกลูกจา งโดยใชข อ บังคับวา ดวยความปลอดภัยอาชวี อนา
มยั และสภาพแวดลอมในการทำงานทจี่ ดั ทำขนึ้ สำหรับลูกจางที่ปฏิบตั งิ านใน บรษิ ัท นวิ ซาวด อนิ ดัสทส่ี  (ประเทศไทย)
จำกัด”

27

1. กฎความปลอดภัยทวั่ ไปนวิ ซาวด อินดสั ท่ีย (ประเทศไทย) จำกดั
1) ผปู ฏบิ ัติงานทุกคนตองปฏบิ ัตติ ามระเบียบ คำแนะนำตางๆ อยางเครงครัด อยาฉวยโอกาสหรือละเวน ถา ไม
ทราบไมเขาใจใหถามเจาหนาท่ีความปลอดภยั หรอื หวั หนางาน
2) ผูปฏิบัติงานทุกคนเมื่อพบเห็นสภาพการทำงานที่ไมปลอดภัย หรือพบวาเครื่องมือเคร่ืองใชชำรุดไมอยูใน
สภาพที่ปลอดภัย ถาแกไขดวยตนเองไดใหดำเนินการแกไขทันที ถาแกไขไมไดใหรายงานใหผูบังคับบัญชา
ทราบโดยเร็ว
3) สังเกตและปฏิบัติตามปา ยหามปายเตอื นอยา งเครงครัด
4) หามบุคคลทีไ่ มเกย่ี วขอ งเขาไปบริเวณทำงานทีต่ นไมม ีหนาท่ีเกย่ี วของ
5) อยาทำงานในทลี่ บั ตาผูคนเพยี งคนเดยี ว โดยไมม ีใครทราบโดยเฉพาะการทำงานหลงั เวลาทำงานปกติ
6) ตองแตงกายใหเรียบรอยรัดกุม ไมขาดรุงร่ิง หามมีสวนย่ืนหอย และหามถอดเสื้อในขณะท่ีปฏิบัติงาน
ตามปกติ
7) ตอ งใสหมวกนริ ภัยตลอดเวลาทำงานในสภาพปกตทิ สี่ ามารถใสได
8) หามใสร องเทาแตะ และตองใสรองเทา หมุ สน ตลอดเวลาทำงานในสภาพปกติทสี่ ามารถใสไ ด
9) หามหยอกลอเลนกนั ในขณะปฏบิ ตั ิงาน
10) หามเสพของมนึ เมา และเขา มาในสถานทป่ี ฏบิ ัตงิ านในลักษณะมึนเมาโดยเดด็ ขาด
11) หามปรบั แตง หรอื ซอ มแซมเครอ่ื งจกั รกลตางๆ ทต่ี วั เองไมม ีหนา ทห่ี รือไมไดรบั อนุญาต
12) ใหใ ชอ ปุ กรณปองกันตา งๆ และรกั ษาอุปกรณเหลาน้ันใหอยใู นสภาพท่ีดีอยูเสมอ
13) ในการซอมแซมอุปกรณต า งๆ ทางไฟฟา ตองใหช างไฟฟา หรอื ผทู ่ีรูวธิ ีการเทานั้นปฏบิ ตั หิ นา ท่นี ี้

28

1) เมื่อไดรับบาดเจ็บไมวาจะเล็กนอยเพียงใดก็ตาม ตองรายงานใหหัวหนางานและเจาหนาท่ีความปลอดภัย
ทราบเพื่อสอบถามสาเหตุหาวิธีปองกันและแจงใหผูปฏิบัติงานอ่ืนๆ ทราบเพ่ือจะไดรูและหาวิธีการที่ดีกวา
และรับการปฐมพยาบาลเพราะหากปลอยไวอาจเกดิ อนั ตรายในภายหลงั

2) ถา หัวหนางานเห็นวาผูใตบังคับบัญชาไมอยูในสภาพท่ีจะทำงานไดอยางปลอดภัย ตองส่ังใหหยุดพักทำงาน
ทนั ที

29

2. กฎความปลอดภยั ในการทำงานเฉพาะเรื่อง
2.1 การรักษาความสะอาด และการจดั เก็บวสั ดุในบรเิ วณสถานทที่ ำงาน/การจัดการวสั ดุกอ สราง/การซอมบำรงุ

1) ผา ที่เปอนนำ้ มันตอ งเกบ็ ลงถงั ขยะทีท่ ำดวยโลหะท่มี ีฝาปด มดิ ชดิ เพือ่ ปองกันการติดไฟ
2) หามจดั วางวสั ดุทีง่ ายตอการลุกไหมใ กลก ับจดุ ตดิ ตัง้ หลอดไฟ หรอื วสั ดทุ ีม่ ีความรอ น /มีประกายไฟ
3) ขยะในบรเิ วณที่ทำงานจะตองเกบ็ กวาดใหส ะอาดอยางสม่ำเสมอ เพอ่ื ความเปน ระเบยี บเรียบรอย

และลดการเกดิ อบุ ัตเิ หตเุ ปนการปองกัน อุบตั ภิ ยั ได
4) ใหมีผูดูแลการจดั การวัสดุ ซ่งึ จะทำหนาท่ีควบคุมดแู ลวัสดุกอสรา งทกุ ชนิดที่เขา มาที่หนางานใหมีปรมิ าณ เพยี งพอใน

การใชงาน และคงไวซง่ึ คุณภาพทีด่ ีตลอดไป

30

2.2 การปอ งกนั อัคคีภยั และเคร่ืองดบั เพลิง
(ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ือง การปองกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบการเพ่ือความปลอดภัย

ในการทำงานสำหรับลูกจา ง)
1) ปฏิบัตติ ามแผนปอ งกนั อคั คีภัย
2) การทำงานที่มปี ระกายไฟ และความรอนใกลกับวัสดุท่อี าจติดไฟได ตองจดั เตรียมเครือ่ งดับเพลิงตามจำนวน
และชนิดทเ่ี หมาะสมท่จี ะสามารถดับเพลิงไดท ันทวงที
3) หามสูบบุหรี่ในบริเวณท่ีมีปายหามสูบและบริเวณพื้นที่กอสรางท่ีไมมีปายอนุญาตใหสูบบุหรี่ และเก็บขยะ
ตา งๆ เชน เศษผา เศษกระดาษ หรือขยะอนื่ ๆ ทีต่ ดิ ไฟไดง ายลงทท่ี จ่ี ัดไวใ หเ รยี บรอ ย
4) หามเทน้ำมันเชื้อเพลิงหรือของเหลวไวไฟลงไปในทอ น้ำหรอื ทอระบายสิ่งโสโครกอ่นื ๆ
5) หามทำใหเ กิดประกายไฟในบริเวณที่เก็บวตั ถไุ วไฟ
6) กอนใชอุปกรณไฟฟาตองตรวจบริเวณรอยตอ หรือขอตอตางๆ วาแนนหนาดีหรือไม ถาหลวมอาจเกิด
ประกายไฟหรอื ความรอ นซึง่ จะเปนสาเหตุใหเกดิ เพลงิ ไหมได
7) กอ นเลิกงานจะตอ งตัดสวทิ ซไ ฟฟา สำหรับอุปกรณไ ฟฟา ท่ไี มไ ดใชงานทุกจุด
8) เม่ือเกิดเพลิงไหม ใหผูที่ประสบเหตุระงับหรือดับไฟโดยอุปกรณดับเพลิงท่ีมีอยู ถาไมสามารถดับดวยตนเอง
ไดใ หแ จงผูบังคับบัญชาทราบโดยเร็ว และปฏบิ ตั ิตามแผนการดับเพลงิ
9) ตองจัดใหมีเคร่ืองดับเพลิงตามลักษณะของเพลิงอันเน่ืองมาจากวัตถุหรือของเหลวท่ีมีใชงานอยูเชนเครื่อง
ดับเพลิงชนิด ABC, DRY POWDER CHEMICAL หนัก 5-7 กิโลกรัม เปนตน โดยมีจำนวนตามที่กำหนดใน
ประกาศอางถึง
10) จัดใหม ีการฝก อบรมดบั เพลิง โดยเชญิ วิทยากรจากกองดบั เพลงิ หนว ยบรรเทาสาธารณภยั

เก็บใหเรยี บรอ ย ใชสอยงาย ไมเสยี่ งเสยี หายจากอบุ ตั ิเหตุ

31

2.2 การปอ งกนั อคั คภี ัยและเครื่องดับเพลงิ
(ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การปองกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบการเพื่อความปลอดภัย
ในการทำงานสำหรับลกู จา ง)
11) ปฏบิ ตั ิตามแผนปอ งกนั อัคคีภัย
12) การทำงานท่ีมปี ระกายไฟ และความรอ นใกลก บั วสั ดุทอ่ี าจติดไฟได ตองจัดเตรยี มเคร่อื งดบั เพลิงตามจำนวน

และชนิดที่เหมาะสมทีจ่ ะสามารถดบั เพลิงไดท ันทวงที
13) หามสูบบุหร่ีในบริเวณที่มีปายหามสูบและบริเวณพ้ืนท่ีกอสรางที่ไมมีปายอนุญาตใหสูบบุหรี่ และเก็บขยะ

ตางๆ เชน เศษผา เศษกระดาษ หรอื ขยะอ่นื ๆ ทต่ี ิดไฟไดงา ยลงท่ที ี่จัดไวใ หเ รียบรอ ย
14) หา มเทนำ้ มนั เชือ้ เพลงิ หรือของเหลวไวไฟลงไปในทอน้ำหรอื ทอระบายสงิ่ โสโครกอน่ื ๆ
15) หามทำใหเ กดิ ประกายไฟในบริเวณทเ่ี ก็บวตั ถไุ วไฟ
16) กอนใชอุปกรณไฟฟาตองตรวจบริเวณรอยตอ หรือขอตอตางๆ วาแนนหนาดีหรือไม ถาหลวมอาจเกิด

ประกายไฟหรือความรอ นซึ่งจะเปน สาเหตุใหเ กดิ เพลงิ ไหมได
17) กอ นเลิกงานจะตอ งตัดสวทิ ซไฟฟา สำหรับอุปกรณไ ฟฟาท่ไี มไดใชงานทกุ จุด
18) เม่ือเกิดเพลิงไหม ใหผูที่ประสบเหตุระงับหรือดับไฟโดยอุปกรณดับเพลิงท่ีมีอยู ถาไมสามารถดับดวยตนเอง

ไดใ หแจงผูบงั คับบญั ชาทราบโดยเร็ว และปฏบิ ัตติ ามแผนการดบั เพลิง
19) ตองจัดใหมีเคร่ืองดับเพลิงตามลักษณะของเพลิงอันเน่ืองมาจากวัตถุหรือของเหลวที่มีใชงานอยูเชนเครื่อง

ดับเพลิงชนิด ABC, DRY POWDER CHEMICAL หนัก 5-7 กิโลกรัม เปนตน โดยมีจำนวนตามที่กำหนดใน
ประกาศอา งถึง
20) จดั ใหม ีการฝกอบรมดับเพลงิ โดยเชญิ วทิ ยากรจากกองดบั เพลงิ หนวยบรรเทาสาธารณภัย

32

2.2 การปอ งกันและระงับอัคคีภยั และเครื่องดบั เพลิง
2.2.1 องคประกอบของการเกดิ ไฟ

ไฟ แบง ออกเปน 4 ประเภท คือ
ประเภท ก. (CLASS A)คอื ไฟท่ีเกดิ จากการลกุ ไหมของไม กระดาษ เศษผา เราสามารถดบั ไฟชนิดน้ไี ดด วย
นำ้ และผงเคมีแหง
ประเภท ข. (CLASS B)คอื ไฟที่เกดิ จากน้ำมนั เช้ือเพลิง ควรจะดบั ไฟชนิดนีด้ วยโฟมคารบอนไดออกไซด
และน้ำยาเคมี
ประเภท ค. (CLASS C)คือ ไฟท่ลี ุกไหมจ ากการท่ีไฟฟาลัดวงจร ควรจะดับไฟชนดิ นด้ี วยคารบอนไดออกไซด
นำ้ ยาเคมี และผงเคมีแหง
ประเภท ง. (CLASS D)คือ ไฟที่เกิดจากการลุกไหมของแรธ าตุทางเคมี เชน โปรแทสเซียม อลมู เิ นยี ม,
สงั กะส,ี โซเดียม. ลิเทียม ไฟที่เกดิ จากการลกุ ไหมของแรธาตุเหลา นี้ เราสามารถไดดว ยผลเคมีแหง

2.2.2 ถังดับเพลงิ ท่ีทางบรษิ ทั ใช

33

2.2.3 วธิ กี ารใชถ ังดับเพลงิ
2.2.4 การปฏิบตั เิ มือ่ เกิดเหตเุ พลิงไหมและจดุ รวมพลของทางบริษทั

34

2.3 อปุ กรณคมุ ครองความปลอดภยั สว นบุคคล
1) ตอ งใสห มวกนิรภยั ตลอดเวลาทป่ี ฏบิ ตั ิงานตามสภาพงานทสี่ ามารถสวมใสไ ด
2) ตองใสรองเทา หุมสนในขณะทำงานตลอดเวลาในสภาพงานทส่ี ามารถใสได หา มใสรองเทาแตะ
3) ควรใชถ ุงมือท่ีเหมาะสมกบั งานแตละชนิด
4) ตอ งใชเ คร่ืองมือปองกันหู หรือที่อุดหู ถา ทำงานในสภาพซึ่งมีเสยี งดงั กวา ปกติ
5) หมวกนิรภัย รองเทา ถุงมอื เคร่ืองปองกันเสยี ง เครอ่ื งปองกันฝนุ เคร่ืองปองกันสายตา และอปุ กรณ

ฉกุ เฉิน สำหรบั การคนหาไดงายในกรณเี กดิ อุบตั เิ หตโุ ดยมิไดค าดหมาย

35

2.4 ความปลอดภัยในการทำงานสำหรับผูรับจาง/ผูรับงานชวง ตองจัดหาใหผูปฏิบัติงานกฎระเบียบความปลอดภัยของ
ทางบรษิ ทั อยางเครง คดั และกรอกแบบฟอรมขออญุ าติเขา พ้ืนที่กอนทำงานทุกครง้ั

36

2.5 ความปลอดภยั ในการทำงานเก่ยี วกบั เคร่ืองมือ เครื่องจักร (ตามประกาศ กระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง ความปลอดภัยใน
การทำงานเก่ยี วกับเคร่ืองจักร ลงวนั ท่ี 23 กรกฎาคม 2519)

1) ตองมีตระแกรงเหล็กเหนยี ว ครอบสว นทีห่ มุน และสวนสงถายกำลังใหมิดชิด
2) จดั ทำทีค่ รอบปองกนั อันตรายจากเครื่องจกั ร และติดต้งั สายดินเพื่อปองกนั กระแสไฟฟาร่ัว
3) ผทู ีท่ ำงานกับเคร่ืองจกั รตองสวมใสเคร่ืองปองกนั อนั ตรายที่เหมาะสมตามสภาพและลกั ษณะงานอยา ง

เครง ครดั
4) เคร่ืองจักรทที่ ำงานแลว มีประกายไฟ จะมีทปี่ ดบงั ประกายไฟของเคร่ืองจักร

5) เม่ือซอมแซมตองตดิ ปาย “กำลงั ซอมหา มเปด สวทิ ซ”
6) หา มใชเครอื่ งมอื เคร่ืองจกั รผิดประเภท
7) หามถือเคร่อื งมือโดยหวิ้ ทสี่ ายไฟ และถอดปล๊กั โดยการดงึ ท่ีสายไฟ
8) เมอ่ื พบเครื่องมือเคร่ืองจกั รชำรุดตอ งหยดุ การใช ตดั สวิทซจายพลงั งานแขวนปาย ”ชำรุดหา มใช” และสง

ซอมทันที
9) หามโดยสารไปกับรถ หรือเคร่ืองจกั รกลที่ไมไ ดทำไวเ พอ่ื การโดยสาร

37

2.6 ความปลอดภยั ในการทำงานเก่ียวกับสภาวะแวดลอ ม (ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่อื ง ความปลอดภัยใน
การทำงานเกี่ยวกบั ภาวะแวดลอ ม ลงวนั ท่ี 12 พฤศจิกายน 2519)

1) บริเวณทำงานตองมีแสงสวา งเพียงพอโดยสามารถมองเหน็ ไดชดั เจนในระยะ 20 เมตร.
2) ทางเดนิ ตองมแี สงสวา งเพียงพอ และมีตลอดเสนทาง
3) หากเสยี งดังขนาดยนื หางกัน 1 เมตร แลวตองตะโกนพูดกัน ตอ งใชเ ครอื่ งอดุ หู หรือครอบหูลดเสยี ง
4) การทำงานทม่ี ีแสงจา และรงั สจี ะตองใสแ วนตาปอ งกนั แสง และรังสี
5) การทำงานในบริเวณที่มีความรอ นสูงเกินกวา 38 องศาเซลเซียสจะตองมีการระบายความรอน หรือสวมใส

อุปกรณปอ งกนั ความรอ นทีเ่ หมาะสม
6) การทำงานเกีย่ วกับสารเคมที มี่ ี กล่นิ ฝนุ ละออง แกส ไอระเหย จะตองสวมใสอ ุปกรณป อ งกนั ทีเ่ หมาะสม

38

2.7 ความปลอดภยั ในการทำงานเกีย่ วกับสารเคมีและวัสดุอันตราย
1) การจัดเก็บวัสดุไวไฟประเภทของเหล็ก จะตองจดั เก็บวสั ดอุ ันตรายอยูในภาชนะท่ีมฝี าปดสนิทแยกจากวัตถุ
ไวไฟประเภทอน่ื โดยตอ งติดตัง้ ปา ยเตือนใหเ ห็นอยา งชดั เจน
2) ตองมีการปองกันเหตุการณที่อาจนำไปสูการเกิดเพลิงไหม ในบริเวณจัดเก็บวัสดุไวไฟ โดยตองติดตั้งปาย
หามสบู บหุ รี่ใหเห็นอยางชัดเจน
3) อุปกรณด ับเพลิง ผูรบั จา งจะจัดเตรยี มใหมอี ยา งพอเพยี ง และอยใู นสภาพท่ีพรอมใชง านตลอดเวลา
4) ผรู บั จา งจะจัดใหม ีการระบายอากาศในบรเิ วณทจ่ี ดั เก็บอยางเพียงพอ
5) ผูทส่ี ามารถเขาสูพนื้ ที่จัดเก็บวัตถุไวไฟ ตอ งเปน ผทู ่ไี ดรบั อนญุ าตเทา น้นั
6) ผูรับจางจะจัดใหมีมาตรการปองกันภาชนะบรรจุกาซจากอุณหภูมิ ท่ีจะกอใหเกิดความเสียหายอยาง
พอเพยี ง
7) สารเคมเี ขา สรู างกายได 4 ชอ งทาง 1) ทางการกิน 2) ทางการสูดดม 3) ทางผิวหนงั 4) ทางดวงตา

39

8) สารเคมีอนั ตรายอยใู นครอบครองจดั ทำบญั ชรี ายชื่อสารเคมอี ันตราย และรายละเอียดขอมลู ความปลอดภัย
ของสารเคมีอันตราย และตองแจงใหลูกจางทราบและเขาใจ รายละเอียดสารเคมีอันตราย รวมท้ังอุปกรณ
ปาย คูมือ ฉลาก ทเ่ี กย่ี วของกับสารเคมอี นั ตราย

9) ผูรับจางจะตองสวมใสอุปกรณปองกันสวนบุคคลในกรณีทำงานเก่ียวกับสารเคมีที่มีความเปนอันตรายตาม
ขอ มูล SDS ฉบับยอ

ตัวอยาง SDS ฉบับยอ บรษิ ทั นิวซาวด อินดสั ทรย่ี  (ประเทศไทย) จำกดั
40

2.8 ความปลอดภยั ในการใชเ คร่ืองตดั ดดั เหลก็
1) ผคู วบคมุ เครอื่ ง และผปู อนเหลก็ จะตองเปน ผูท ชี่ ำนาญงาน และทำหนาทีน่ ้ปี ระจำเทาน้ัน
2) ผคู วบคุมเครอ่ื ง และผูปอนเหล็กตองติดบตั รผูควบคมุ เคร่ือง และผูปอ นเหล็กไวใหเ ห็นไดช ัดตลอดเวลาท่ีทำ
หนา ท่ี
3) หามตัด หรือดัดเหล็กในขณะท่ีผูปอนเหล็กยังจับเหล็ก หรือตัวคน หรืออวัยวะของรางกายอยูในบริเวณท่ี
เหล็ก หรอื เคร่อื งจักรอาจบบี ,ชน,กระแทกได
4) การแบกหามเหล็ก เขาเครื่องตัดหรือดัดจะตองเปนไปในทิศทางไปดานเดียวเทานั้นไมมีการเดินสวนกัน
เพราะปลายเหล็กอาจทม่ิ แทงกันได
5) เศษเหล็กที่ใชไ มไดแลว จะตอ งแยกขนาด และนำออกวันตอวนั ไปเก็บไวในทท่ี งิ้ เศษเหลก็
6) ผูป ฏิบัตงิ านตอ งสวมใสอุปกรณปองกันสว นบุคคลใหเ หมาสมกับลักษณะงานเสอ้ื ผา ท่ีสวมใสควรปองกันการ
ตดิ ไฟและควรสวมใสห นากากเชือ่ มเพอ่ื หองกนั แสงจากการเช่ือมทำลายดวงตา

41

2.9 ความปลอดภัยในการทำงานกอ สรางวาดวยเขตกอสราง (ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ือง ความปลอดภัย
ในการทำงานกอสรา งวา ดว ยเขตกอ สราง ลงวนั ท่ี 10 กันยายน 2528)

1) บริเวณเขตกอสรางตองจัดทำรั้วหรอื คอกกั้น พรอมปดปายประกาศบริเวณเขตกอสรางโดยรอบบริเวณที่ทำ
การกอสรา ง“เขตกอ สรา ง บุคคลภายนอกหามเขา ”

2) บริเวณเขตอันตรายตองจัดทำรั้วหรือคอกก้ัน พรอมปดปายประกาศบริเวณเขตอันตราย“เขตอันตรายใน
การ กอสราง” และมไี ฟสัญญาณสีแดงแสดงใหเ ห็นอยางชัดเจนในเวลากลางคนื

3) ไมอนุญาตใหผูท่ีไมเก่ียวของ หรือหมดหนาที่เขาไปในเขตกอสราง และเขตอันตรายในการกอสราง ยกเวน
แตไดรบั อนญุ าตจากนายจา งหรอื ตัวแทน

4) หา มผูปฏิบตั งิ านพักอาศยั ในบริเวณเขตกอ สรา ง

42

2.10 ความปลอดภัยในการทำงานในสถานที่มีอันตรายจากการตกจากที่สูง วัสดุกระเด็น ตกหลน และการพังทลาย
(ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงานในสถานท่ีมีอันตรายจากการตกจากท่ีสูง วัสดุ
กระเดน็ ตกหลน และการพงั ทลาย ลงวันที่ 18 ตุลาคม 2534)

1) งานทสี่ งู / ตำ่ กวา ๒ เมตรจากพน้ื ดินตอ งมบี ันไดขึ้นลงพรอมราวจับอยา งนอย ๑ ขาง
2) ชอ งเปด หรอื ปลองตางๆ ตอ งจัดทำฝาปด หรือรั้วก้ันที่มีความสงู ไมน อยกวา 90 เซนตเิ มตรเพ่ือปองกันการตก

หลน
3) ตองมีการปดกั้นดวยน่ังราน ตาขายปองกันมิใหผูที่ปฏิบัติงานตกหลนลงมาจากท่ีสูงพื้นที่ลาดชันระหวาง

๑๕–๓๐ องศานายจางจะตองจัดการปองกันมิใหลูกจางตกหลน ตองมีการปองกันการพังทลาย และวัสดุ
กระเด็นตกจากท่สี งู โดยทำผนังค้ำยัน ทำผา ใบปดกนั หรือทำท่ีรองรับ
4) ตอ งสวมหมวกแขง็ ปองกันศีรษะ รวมท้งั อุปกรณอื่นๆตามความเหมาะสมในระหวางทำงานในทส่ี งู

43

2.11 ความปลอดภยั ในงานเช่อื ม
1) เมื่อเลิกงานใหด ับสวทิ ซไ ฟฟาท่จี า ยไปยังตเู ชื่อม
2) ถาจำเปนตองเชื่อมภาชนะท่ีมีสารไวไฟอยูภายใน เชน ถังน้ำมัน จะตองลางทำความสะอาดเสียกอน และ
กอ นเช่ือมจะตอ งแนใ จวา ไมมีไอระเหยของสารไวไฟตกคา งอยู
3) กอนจะเช่ือมจะตองแนใจวาไมมีวัสดุติดไฟอยูใกลกับบริเวณที่จะทำการเชื่อม ถามีตองทำการปดปองกัน
ดวยวัสดุ ท่ีเปนฉนวนใหม ดิ ชดิ
4) ใหระมัดระวังควันจากการเช่ือม โดยเฉพาะการเชื่อมตะกั่ว โลหะอาบสังกะสี เพราะควันจากการเชื่อมมี
อันตรายมาก
5) ในกรณีท่ีตองเช่ือมในท่ีเปยกช้ืนตองสวมรองเทายาง และหาวัสดุที่เปนฉนวนไฟฟารองพื้นตรงจุดท่ีทำการ
เช่อื ม
6) การตอสายดนิ ตอ งตอใหแนน จุดตอ ตอ งอยใู นสภาพดี และใหใกลช้ินงานเชื่อมมากทสี่ ุด

44

2.12 ความปลอดภยั ในงานตัดดว ยแกส
1) กอนเคลื่อนยายถังออกซิเจน/แกส ตองถอดหัวปรับความดันออก และขณะเคลื่อนยายตองปดฝาครอบหัว
ถงั ดว ยทกุ ครัง้ หา มกลง้ิ ถงั
2) เม่ือตองวางสายออกซิเจน/แกส ขามผา นทางตอ งใชวัสดวุ างกนั้ ท้ังสองขา งหรอื ฝง กองดินทับเพื่อกันรถทับ
3) ตรวจสาย และถังออกซิเจน/แกส เสมอๆ และทุกครั้งกอนนำออกใช สายตองไมรั่วแตก ขอตอตองไม
หลวม/รว่ั และหามใชสายทมี่ รี อยไหม
4) หัวตดั ตองมวี าลว กนั ไฟยอนกลับ (CHECK VALVE)
5) หวั ตดั แกส หัวปรบั ความดนั ถาเกดิ บกพรอ งตองแจงหัวหนาเพื่อเปลย่ี นหรือซอม
6) การตอทอ ออกซิเจน/แกส ตองใชเข็มขดั รัดทอ หามใชลวดผูก
7) ถังออกซเิ จน/แกส ตองวางตงั้ และหาเชือกหรอื โซผูกใหม น่ั คงกันลม

45

2.13 ความปลอดภัยในงานเจียร
1) กอ นทำงานเจียรท ุกครง้ั ตองสวมแวนตานิรภยั
2) ตรวจสอบเครื่องมือใหอยูในสภาพที่ปลอดภยั เครื่องเจียรตองมีกำบงั ใบกนั ใบแตกกระเด็นโดนผใู ช
3) การเปลี่ยนใบเจยี รทุกครง้ั ตองดับสวทิ ซ และดงึ ปลัก๊ ไฟออก
4) เวลายกเครอ่ื งเจยี รใหจับที่ตัวเครอ่ื ง อยา หิว้ สายไฟโดยเด็ดขาด

46

2.14 ความปลอดภัยในการทำงานบนทส่ี ูง
1) พนื้ ท่สี ูงทม่ี ชี องเปดตางๆ รวมท้งั ราวบนั ได ตองทำราวกันตกท่ีม่นั คงแขง็ แรง
2) พ้นื รองรับขาต้งั และขอ ตอ ตางๆ ของน่งั รานจะตอ งอยูในสภาพดีและมัน่ คงและไมสัน่ คลอนในขณะทำงาน
3) พืน้ ไมห รอื เหลก็ จะตองยดึ วางอยา งมัน่ คงกบั โครงสรางของน่งั ราน
4) โครงสรางของนั่งรานที่เปนเสาค้ำยันจะตองใหไดฉากกับแนวระดับ ชิ้นสวนของน่ังรานท่ีเสียหายหาม
นำมาใชง านเดด็ ขาด
5) ตรวจสอบอปุ กรณท ุกชนิดที่เกีย่ วกับของกบั การใชงาน เชน รถเครน, ลวดสลงิ , เชือก, ตะขอ, สะเก็น วา อยู
ในสภาพดีทุกครั้งกอนเร่ิมทำงาน หากชำรดุ หามนำมาใช
6) ผูปฏิบัติงานบนที่สูงเกิน 4 เมตร ในท่ีโดดเดี่ยวเปดโลงตองสวมเข็มขัดนิรภัยและคลองเมื่ออยูในสภาพท่ี
คลองได
7) ขณะทมี่ พี ายุหรือฝนตก ผปู ฏิบตั ิงานบนท่ีสูงตอ งหยุดทำงานและลงมาขางลา ง
8) ในกรณีท่ีพื้นนั่งรานล่ืนชำรุดหรือเปนชอง ตองทำการแกไขโดยทันทีและหามใชไมที่ชำรุดผุกรอนมาทำพ้ืน
น่ังเรียบ น่งั รา นที่สูงกวา 2 เมตร ตองมรี าวกนั ตก สงู 90 ซม. แตไมเ กิน 1.10 เมตร

47

2.15 ความปลอดภยั ในการใชอปุ กรณไฟฟา (ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภยั เก่ียวกับไฟฟา ลง
วันที่ 8 มีนาคม 2522)

1) จัดทำแผนผังวงจรไฟฟาชั่วคราวท่ีใชในระหวางกอสราง พรอมปรับปรุงขอมูลในกรณีท่ีมีการแกไข
เปลี่ยนแปลง

2) จดั ทำปายเตือนอันตรายติดตั้งไวในบรเิ วณจุดติดตั้งแผงควบคุมและหมอแปลงไฟฟา เม่ือเกิดไฟฟาลัดวงจร
หรือมีผูประสบอันตรายเนื่องจากกระแสไฟฟา ตองทำการตัดกระแสไฟทันที ดวยการปดสวิทซท่ีใกลที่สุด
โดยเรว็ ทส่ี ุด

3) ถาพบอปุ กรณไ ฟฟา ชำรุดตองเลิกใชแ ละรบี แจงผูรบั ผิดชอบทำการแกไขทันที
4) การตอเชอ่ื มอุปกรณไฟฟาตองใชอุปกรณหรือชุดตอที่เหมาะสม รอยตอสายไฟทุกแหง ตองใชเทปพันสายไฟ

พนั หมุ ลวดทองแดง ใหมดิ ชิด และแนน หนาจนแนใ จวาจะไมห ลดุ
5) หลอดไฟฟา และเคร่ืองใชไฟฟาทุกชนิดที่จะทำใหเกิดความรอนไดไมควรใหอยูติดกับผาหรือเช้ือเพลิงอ่ืนๆ

ทีอ่ าจทำใหเกิดการลกุ ไหมไดงา ย
6) หามตอ สายไฟฟาโดยไมผานอุปกรณตัด-จา ยกระแสไฟ และหา มใชต ัวนำอน่ื ๆ แทนฟว ส
7) หา มใชสายไฟชนดิ ฉนวนชน้ั เดยี ว (THW.) ใหใ ชส ายไฟชนดิ ฉนวน 2 ชน้ั (VCT.) (NYY.) ซง่ึ ทนทานทจี่ ะใชใ น

งานกอ สรา ง
8) การชวยผูประสบอันตรายใหหลุดพนจากกระแสไฟฟา อยาเอามือเปลาจับ จงใชผา ไม เชือก สายยาง

ท่แี หงสนิทดึงผูประสบอันตรายใหหลุดออกมา และถาผูประสบอันตรายหมดสติใหรีบใหการปฐมพยาบาล
โดยการเปาลมทางปากและการนวดหวั ใจ
9) ตอสายดินกับโลหะท่ีครอบเครือ่ งใชไฟฟาทุกชนิดเพ่ือปองกันอันตรายเมื่อไฟฟารัว่

48


Click to View FlipBook Version