The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือจัดทำเล่มโครงงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jantipa3401, 2020-03-06 04:36:41

คู่มือจัดทำเล่มโครงงาน

คู่มือจัดทำเล่มโครงงาน

คมู อื การจัดทํา
งานวจิ ยั ทางเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร

สาขาวิชาเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร
คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี วทิ ยาลยั เซาธอ ีสทบ างกอก

ปก ารศกึ ษา 2561

2

คํานํา

การศึกษารายวิชาวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร นั้นมีวัตถุประสงคเพื่อใหนักศึกษาคณะ
วิทยาศาสตร สาขาวชิ าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร ไดทดลองพัฒนาระบบงานทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร
และทางนวัตกรรม และพัฒนางานที่เกี่ยวของใหเสร็จสมบูรณ ซึ่งจะมีอาจารยท่ีปรึกษาคอยกํากับดูแล
นักศึกษาจะตองสงเอกสารงานวิจัยและนําเสนอตอกรรมการ ท้ังน้ีเพ่ือใหเปนบัณฑิตท่ีมีคุณภาพ และ
หลังจากที่สําเร็จการศึกษาแลวสามารถปฏิบัติงานไดจริงและเพ่ือเปนแนวทางในการทําวิจัยของ
นักศึกษา สาขาวิชาฯ จึงไดจัดทําคูมือในการจัดทําวิจัยซึ่งประกอบดวย ข้ันตอน วิธีการ รูปแบบของ
เอกสารตางๆ ทางสาขาวิชาหวังเปนอยางย่ิงวาคงจะเปนประโยชนไมมากก็นอยในการจัดทําปริญญา
นพิ นธข องนักศกึ ษา

หากพบขอผิดพลาด หรือขอสงสัย สามารถสอบถามไดจากอาจารยประจําสาขาวิชาและ
อาจารยท ่ปี รึกษา

สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร
31 มกราคม 2561

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

สารบัญ 3

คาํ นาํ หนา
สารบัญ 2
บทที่ 1 ขนั้ ตอนการจดั ทําโครงงาน 3

1.1 การกาํ หนดหัวเร่อื ง 5
1.2 การเสนอโครงงาน 6
1.3 การพฒั นาโปรแกรม 6
1.4 การยืน่ เรื่องขอสอบ 6
1.5 การเตรยี มตวั สอบ 6
1.6 สรปุ ผลการสอบ 7
1.7 ขอแนะนําสวนของนกั ศึกษา 7
1.8 ปฏทิ นิ การจดั ทํางานวจิ ัยทางเทคโนโลยคี อมพิวเตอร 8
บทท่ี 2 แบบฟอรม ตา งๆ
2.1 แบบเสนอเคาโครง 10
2.2 แบบขอกาํ หนดสอบโครงงาน 12
2.3 แบบเสนอขอเปลีย่ นอาจารยท ี่ปรึกษาเคา โครงงาน 13
2.4 แบบเสนอขอเปลี่ยนหวั เร่ืองเคาโครงโครงงาน 14
2.5 แบบประเมินผลการสอบโครงงาน 15
บทที่ 3 การเขยี นเอกสารประกอบโครงงาน
3.1 คําแนะนําในการพมิ พ 16
3.2 ขนาดตัวอักษรและการเวนระยะ 17
3.3 การจดั ทํารปู ภาพ 19
3.4 การจัดทําตาราง 19
3.5 การเขยี นสมการ 20
3.6 การเขยี นอัลกอริธึม 20
3.7 การเขยี นบรรณานุกรม 23

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

สารบญั (ตอ) 4

เรือ่ ง หนา
บทที่ 4 สวนประกอบของเอกสารโครงงาน
30
4.1 สว นนํา (Preliminaries) 30
4.2 สวนเนื้อความ(Text) 33
4.3 สวนเอกสารอางอิงหรือบรรณานกุ รม (References or Bibliography) 33
4.4 ภาคผนวก (Appendix) 34
4.5 ประวตั ผิ เู ขียน (Curriculum vitae หรอื Vita)
บทที่ 5 สวนประกอบของซดี ีโครงงาน 36
5.1 เน้อื หาภายในซีดี 36
5.2 รปู แบบปกซดี ี

เอกสารอา งอิง
ภาคผนวก
* ตวั อยางปกนอก
* ตวั อยา งปกใน
* ตัวอยางหนาอนมุ ัติ
* ตวั อยางหนาบทคัดยอ
* ตวั อยางประวัติผูเขียน
* ตวั อยางสนั ปก
* แบบฟอรม บันทกึ ของอาจารยแ ละนกั ศกึ ษา

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

5

บทที่ 1
ขั้นตอนการดาํ เนินการ

ในสวนนี้จะเปนสวนที่จะกลาวถึงกระบวนการหรือวิธีการในการเรียนรายวิชาวิจัยทาง
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร เมื่อนักศึกษาพรอมที่จะลงทะเบียนเรียนในรายวิชาดังกลาว นักศึกษาควรจะ
เตรียมความพรอมในการเรียนดังนี้

1.1 การกําหนดหวั เรื่อง
การต้ังหัวเร่ืองของงานวิจัยนั้นเปนข้ันตอนที่สําคัญข้ันตอนหนึ่ง เพราะการที่งานวิจัยจะไดรับความ

สนใจมากนอยเพียงใดน้ัน ข้ึนอยูกับวาหัวของานวิจัยนั้นสื่อความหมายตอผูอานไดมากนอยเพียงใด
ดงั น้นั นกั ศกึ ษาจะตอ งคน ควา เพ่อื หาหัวเร่อื งท่ีจะทาํ งานวจิ ัยโดยสาํ รวจตัวเองวา มีความถนัดทางดานใด
เชน นักศึกษาที่มีความถนัดทางดานการเขียนโปรแกรม ก็ควรที่จะจัดทํางานวิจัยเก่ียวกับนวัตกรรม
นักศึกษาท่ีมีความถนัดทางดานอื่น เชน ทางดาน Internet ก็สามารถที่จะคิดหัวเร่ืองปริญญานิพนธที่
เก่ียวของกับทางดาน Internet ได หรือนักศึกษาท่ีไมถนัดทางดานที่กลาวมา อาจจะไปศึกษาหัวเร่ือง
ทางดาน การเขียนโปรแกรมชวยสอน เกมส โดยนักศึกษาสามารถขอคําปรึกษาจากอาจารยภายใน
สาขาวิชาได โดยการกําหนดหวั เรื่องที่ดีน้นั ควรคาํ นงึ ถงึ หลักเกณฑ ตอไปน้ี

1.1.1 กาํ หนดหวั เรอ่ื งใหมีความเหมาะสมตรงกบั ความหมายของเน้อื หา ประเด็น และ
วตั ถปุ ระสงคข องปรญิ ญานพิ นธ

1.1.2 หวั เร่ืองไมควรสั้น หรือ ยาวจนเกินไป
1.1.3 การเรยี งลาํ ดับคาํ หรือวลหี ากไมถ ูกตองชดั เจน อาจจะทาํ ใหเขา ใจความหมายผิดไป
1.1.4 หวั ขอ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ควรส่อื ความหมายทีช่ ัดเจน และ สอดคลอ งกัน โดย

ท่ี หัวขอที่เปนภาษาไทยทุกคําตองเขียนเปนภาษาไทย กรณีที่คําน้ันไมมีคําแปล หรือ
ศัพทบัญญัติก็ใหใชทับศัพท โดยยึดหลักเกณฑของราชบัณฑิตยสถาน การเขียนช่ือ
ภาษาอังกฤษ ของตําบล อําเภอ จังหวัด ใหใชหลักเกณฑตามประกาศสํานัก
นายกรัฐมนตรี เชน Amphoe Muang, Changwat Chiang Mai หรือ District Chiang
Mai Province เปน ตน
1.1.5 ไมควรตงั้ หวั ขอ โดยแยกเปน หัวขอ หลกั และตามดว ยหวั ขอรอง เชน พาณชิ ยกรรม
อิเล็กทรอนิกส : การซื้อ-ขาย รานคาหัตถกรรม ควรเปน ระบบพาณิชยกรรมของ
รา นคาหัตถกรรม
1.1.6 หัวขอ ภาษาไทยและหัวขอ ภาษาองั กฤษ ควรสอ่ื ความหมายชัดเจนและสอดคลอ งกัน
ทั้งสองภาษา

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

6

1.2 การเสนอวจิ ยั
เม่ือนักศึกษาไดหัวเร่ืองงานวิจัยเปนท่ีเรียบรอยแลว ใหเขียนแบบเสนอเคาโครงงานวิจัยโดยใช

แบบฟอรม เสนองานวิจัยซึ่งในแบบฟอรมจะมีหัวขอตาง ๆ ท่ีนักศึกษาจะตองเขียน และสงอาจารยที่
นักศึกษาตองการขอเปนที่ปรึกษางานวิจัยเพ่ือพิจารณาถึงความเหมาะสมในการจัดทํางานวิจัยของ
นกั ศกึ ษา เม่ืออาจารยทป่ี รึกษาไดพจิ ารณาเรียบรอ ยแลว จะประกาศใหนักศึกษาทราบในงานวิจัยที่ไดรับ
อนุมตั ิ พรอมกับอาจารยทป่ี รึกษางานวิจยั น้ัน ๆ นกั ศึกษาสามารถจัดทาํ วจิ ัยดงั กลา วไดทันที
1.3 การพฒั นาโปรแกรม

เมื่อหวั ของานวจิ ัยไดรับอนุมัตแิ ลว ใหทําการพัฒนาโปรแกรม ตามขั้นตอนตางๆ ที่ไดเรียนมา และ
นักศึกษาจะตองเขาพบอาจารยปรึกษาอยางนอย 2 ครั้งตอเดือน เมื่อนักศึกษาเขาพบ อาจารยจะบันทึก
ความกาวหนาในการพัฒนาระบบงาน โดยอาจารยท่ีปรึกษาจะเปนผูลงความเห็นและบันทึก
ความกาวหนา ของนกั ศกึ ษา
1.4 การยื่นเรอ่ื งขอสอบ

นักศึกษาสามารถย่ืนเรื่องขอสอบงานวิจัยได โดยใชแบบฟอรมขอกําหนดสอบงานวิจัยซึ่งจะตอง
ไดรับอนุมัติจากอาจารยที่ปรึกษาเปนที่เรียบรอยแลว (ถาหากนักศึกษาไมไดย่ืนคํารองขอสอบภายใน
ระยะเวลาท่ีกําหนด จะไดรับผลการเรียนเปน I) ในการยื่นใบขอสอบตองแนบเอกสารรายงาน
ความกาวหนา 5 ชุดโดยพรอมเอกสารปริญญานพิ นธท ีย่ ังไมไดเขา เลม
1.5 การสอบงานวจิ ยั ทางเทคโนโลยเี ทคโนโลยคี อมพิวเตอร

กําหนดการสอบเปน 2 ชวง
ชว งท่ี 1

เปน การสอบความกา วหนาของงานวจิ ยั โดยกําหนดการสอบจะทาํ การสอบหลงั จากผา นการ
พจิ ารณษใหทําหวั ขอแลว ในภาย 2 เดอื น เม่อื นกั ศึกษาไดดาํ เนินงานจน 50 % จงึ จะสามารถเขาสอบ
หัวขอ ได
ชวงที่ 2
เมอ่ื นกั ศกึ ษาไดดําเนนิ งานจนพรอมสมบูรณท จ่ี ะทําการสอบงานวิจยั ไดแลว ใหดาํ เนินการ
ตามขนั้ ตอนตอไปน้ี

1. นักศึกษาทําหนังสือขอสอบงานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอรตาม แบบฟอรมการขอสอบ
พรอมทัง้ สงเอกสารรายงานตน ฉบบั ทสี่ มบูรณ จํานวน 3 ชุด ภายในระยะเวลาที่กําหนด โดยรายงานนี้
ตองไดรับการยอมรับจากอาจารยที่ปรึกษา และอาจารยที่ปรึกษารวม (กรณีที่มีอาจารยที่ปรึกษารวม)
และถูกตองสมบูรณตามรูปแบบของรายงานที่กําหนดไว (ดูรายละเอียดเกี่ยวกับการเขียนรายงาน ใน
เรอ่ื งการเขียนเอกสารโครงงาน)

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

7

2. นักศกึ ษาดปู ระกาศเกย่ี วกบั กาํ หนดการสอบโครงงานของแตละกลุม และเตรียมตัว เขาสอบตาม

เวลาและสถานท่ีท่ีกําหนดไว โดยอาจมีนักศึกษาเขารวมฟงการนําเสนอผลการศึกษา ของนักศึกษาแต

ละกลุมได การนําเสนอผลการศึกษาควรมีการเตรียมตัวทั้งในเรื่องการจัดเตรียมเอกสารลําดับข้ันตอน

ในการนําเสนอ บุคลิกในการพูด ฯลฯ โดยเตรียมเน้ือหาใหสามารถบรรยายไดเสร็จสิ้นภายใน

ระยะเวลาไมเกิน 30 นาที หลังจากนั้นจะเปนชวงเวลาที่นักศึกษาตองตอบคําถามของกรรมการอีก

ประมาณ 15 นาที

3. เมื่อการสอบเสร็จสิ้น หากไมมีการแกไขก็ใหนักศึกษาเตรียมจัดทําและสงเอกสารรายงานที่เปน
รูปเลมที่สมบูรณ (รายงานฉบับสมบูรณ) จํานวน 2 ชุด พรอมใบรับรองท่ีมีลายเซ็นตของกรรมการทุก
คนในหนาอนุมัติใหค รบถว น โดยตองสง ภายในระยะเวลาที่กําหนด แตถามีการแกไข นักศึกษาตองไป

ทาํ การแกไ ขงานวิจัยและรายงานตามทกี่ รรมการสอบระบุ
1.6 สรปุ ผลการสอบ
เมื่อผานการสอบรอบแรกใหนักศึกษาเขาพบอาจารยท่ีปรึกษาเพ่ือรับฟงการสรุปผลการสอบจาก

คณะกรรมการ เพอ่ื ดาํ เนินการตอไป
คณะกรรมการในการสอบ
การสอบจะมกี รรมการจํานวน 3-5 คน (รวมอาจารยที่ปรึกษา) ใหอาจารยที่ปรึกษางานวิจัยเปนประธาน

กรรมการโดยตาํ แหนง กรณีท่มี ีอาจารยที่ปรึกษารวม อาจารยท่ีปรึกษาทานใดทานหน่ึงหรือทั้งสองทาน

เขา รวมเปนกรรมการสอบกไ็ ด (กรณีเขา รวมทัง้ สองทานตองมกี รรมการรวม 4 คน)
การใหค ะแนน
ในการใหคะแนนผลการสอบงานวิจัยน้ัน มี 2 องคประกอบ คือ ผูใหคะแนน และงานท่ีใชในการให

คะแนน โดยคะแนนท่ีไดจะเปนคะแนนที่มาจากตั้งแตเริ่มโครงงานจนถึงส้ินสุดโครงงานมีรายละเอียด

ดงั น้ี

คะแนนทงั้ หมดแบงออกเปน 3 สวน ดังนี้

1 คะแนนความกา วหนา ในการทาํ งานวจิ ยั 20 %

2 คะแนนรายงานฉบับสมบรูณ 20 %

3 คะแนนการสอบ 60 %

โดยอาจารยประจําวชิ า ฯ เปนผูใ หค ะแนน ใน สว นท่ี 1 คณะกรรมการสอบงานวิจัยจะให

คะแนนในสว นท่ี 2 และ 3 โดยนาํ เอาคะแนนมาเฉลี่ยจากคณะกรรมการสอบทุกทาน ซึง่ จะประกอบไป

ดว ยคณาจารย 3-5 ทา น ดังน้ี

- อาจารยท่ีปรกึ ษางานวิจยั ประธานกรรมการ

- อาจารยท ี่ปรึกษารวม (ถาม)ี กรรมการ

- คณาจารยป ระจําวชิ า กรรมการ

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

8

- ผทู รงคุณวุฒภิ ายนอก (ถามี) กรรมการ

- อาจารยประจาํ วิชาโครงงาน ฯ กรรมการและเลขานกุ าร
หมายเหตุ
1. ถานักศึกษาสอบรอบแรกไมผาน ตองเขาทําการสอบในคร้ังตอไป ตามวัน เวลา ที่

คณะกรรมการกาํ หนด

2. นกั ศึกษาทข่ี าดขน้ั ตอนใดข้ันตอนหน่งึ ทางสาขาวิชาฯ จะไมอนุญาตใหเขาสอบไมวากรณี

ใด ๆ ทง้ั ส้ิน และจะไดผ ลการเรยี นเปน F

3. กรณีท่ีนักศึกษาย่ืนเรื่องขอสอบ แตการเตรียมตัวไมพรอมไมวากรณีใดๆ ทางสาขาวิชาถือ

วาผลการเรียนที่ไดในข้ันตนเปนเกรด I และจะตองเขาสอบในคร้ังตอไปตามที่ทาง

สาขาวชิ าจดั สอบ

4. การเปลย่ี นหัวขอ ตองทําใหเสร็จสิ้นกอนสัปดาหที่ 7 โดยไดรับความเห็นชอบจากอาจารย

ทปี่ รกึ ษา โดยตองมหี วั ขอ และไดตดิ ตอ หาอาจารยทีป่ รึกษาแลว

5. การสงเอกสาร ใหสง เอกสารฉบบั สมบรู ณจาํ นวน 2 เลม พรอมดวย ซีดี 1 แผน

1.7 ปฏทิ นิ การจัดทาํ งานวจิ ยั

ข้นั ตอน การปฏบิ ตั ิ สปั ดาหท ี่
1-2
1 จัดหาหวั ขอเคา โครงงานวจิ ยั 3
4
2 เสนอหวั ขอ เคาโครงงานวจิ ยั ตอ คณะกรรมการ 4 – 16
14
3 สาขาวิชาประกาศหัวขอ เคาโครงงานวจิ ยั ทผี่ านการพิจารณา 14
15 – 17
4 พฒั นาโปรแกรม
18
5 ยน่ื คํารองขอสอบ

6 ประกาศรายชอ่ื ผูมสี ทิ ธ์สิ อบ

7 ดําเนนิ การสอบ

8 จดั สงเอกสารสมบรู ณ จํานวน 2 เลม

ตารางท่ี 1 ปฏิทินการจดั ทาํ งานวิจยั

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

9

บทท่ี 2
แบบฟอรม

ในการเรียนรายวิชาวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร เอกสารตาง ๆ ท่ีใชในการศึกษาเปนสิ่งท่ี
สําคัญยิ่ง ดังนั้นเพ่ือใหเอกสารเปนรูปแบบเดียวกัน ทางสาขาวิชาไดกําหนดรูปแบบเอกสารท่ีจะใชไว
ดังน้ี

1. แบบเสนอเคาโครงงานวิจัยทางเทคโนโลยคี อมพิวเตอร
สาํ หรับใชเ สนอหวั ขอ เรื่องที่จะทาํ จดุ ประสงคเพื่อใหนักศึกษาบอกถงึ วัตถุประสงค เนื้อ

หาทฤษฏี ระยะเวลา เคร่อื งมอื ฯลฯ
2. แบบขอกําหนดสอบงานวิจยั ทางเทคโนโลยคี อมพิวเตอร
สําหรบั ยนื่ ขอสอบรายวชิ า วิจยั ทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร โดยมีอาจารยท่ปี รึกษาลงนาม

รบั รองในการขอสอบ
3. แบบขอเปล่ียนหัวขอ วิจยั ทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร/ เปล่ียนอาจารยทป่ี รึกษา
สําหรับเปลย่ี นหวั ขอวิจัยทางเทคโนโลยคี อมพิวเตอร และขอเปลี่ยนอาจารยที่ปรึกษาปริญญา
นิพนธโ ดยมีขอกาํ หนดและหลกั เกณฑที่ไดก ําหนดไวก อ นหนา น้ี
4. แบบรายงานความกา วหนา วิจัยทางเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร
สําหรบั รายงานความกาวหนาวจิ ัยทางเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร ใหอ าจารยท ี่ปรึกษารับทราบ
5. แบบประเมินผลการสอบวิจยั ทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร
สาํ หรับประเมินผลการสอบวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร สาํ หรับคณะกรรมการดาํ เนนิ การ
สอบ

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

10

แบบเสนอเคาโครงวจิ ยั ทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร
1.รหัสประจาํ ตวั ………….....……… ชื่อ-สกุล …………................…....................................................
รหสั ประจําตวั ………….....……… ชอื่ -สกุล ……………....................................................................
รหสั ประจําตวั ………….....……… ชื่อ-สกุล ……………....................................................................
2.ช่อื หวั ขอท่นี ําเสนอ

ภาษาไทย………………………………..……………………………………………...………………
ภาษาองั กฤษ……………………………..……………………………………………………………..
3.ความเปน มาและความสําคญั ของปญหา
…………………………………………………………………………………..…..…………………..
……………………………………………………………………………………..........………………
4.วัตถุประสงคของการศกึ ษา
………………………………………...……………………………………………………....…………
…………………………………...………………………………………………………………………
5.หลักการ ทฤษฎี เหตผุ ล
……………………………………………………………..………..…...………………………………
………………………………………………………………………...…………………………………
6.ระยะเวลาและแผนการดําเนนิ การ

6.1 ระยะเวลาการดาํ เนนิ งาน ……………………………….....……………………………………
6.2 แผนการดาํ เนินงาน (ใหร ะบุขน้ั ตอน) ……………….....………………………………………
7.ขอบเขตการศกึ ษา (ใหก าํ หนดขอบเขตที่จะศึกษา)
…………………………………………………………………………………………………………...
8.ฮารดแวร (Hardware) ทใี่ ชร ะบุ
………………………………………………………………..…………….....…………………………
………………………………………………………………………...…………………………………
9.ซอฟตแ วร (Software) ท่ีใชร ะบุ

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

11

…………………………………………………………………………………....……………...………
……………………………………………………………………………………………………...……
10.ประโยชนท ีค่ าดวา จะไดรบั
………………………………..………………………………………………….………………………
…………………………………………………………………………………….…………………..…
11.คาํ นิยามศพั ทเ ฉพาะ (ถา ม)ี
……………………………………………………………..……………………………………………
……………………………………………………………………...……………………………………
12.สถานทีท่ ีใ่ ชในการดาํ เนินการทาํ วจิ ยั และรวบรวมขอมลู
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………...

ความเห็นของอาจารยป ระจาํ วิชา
เห็นควร …………………………………………………………………………………………
ไมเ หน็ ควร……………………………………………………………………………………….

ลงชือ่ …………………………………….อาจารยป ระจําวิชา
()

ความเหน็ ของอาจารยท ป่ี รกึ ษางานวจิ ยั
เห็นควร …………………………………………………………………………………………
ไมเห็นควร……………………………………………………………………………………….

ลงช่ือ …………………………………….อาจารยท ่ปี รึกษา
()

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

12

แบบขอสอบวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร

วนั ท่ี …….. เดือน ……………… พ.ศ. …………
เรอื่ ง ขอสอบวจิ ยั ทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร
เรียน อาจารยป ระจาํ วชิ าวิจัยทางเทคโนโลยคี อมพิวเตอร

ขาพเจา (นาย,นางสาว) …….....……………………………………… รหัส…………………
อีเมล …………………………………………………………..เบอรโ ทรศพั ทมอื ถือ……………………
ตวั แทนกลมุ วจิ ยั ทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร หัวขอเร่ือง
(ภาษาไทย) …………………………………………………………………………………………........
(ภาษาองั กฤษ) ..…………………………………………………………………………………………..

มีความประสงคขอสอบวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร ตามตารางท่ีสาขาวิชาไดกําหนดไวในคือ
วัน................ที่................เดอื น............................ ป ................ เวลา ......................... พรอมกันนี้ขาพเจาไดสง
หลักฐาน
มาประกอบการพิจารณาตามระเบยี บดงั น้ี
1. รา งโครงงานฉบบั แกไขสมบรู ณจํานวน 3 ชุด
2. แบบรายงานความกา วหนา วิจัยทางเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร จํานวน 5 ฉบับ

ลงช่ือ …………………………………….
(……………………………………)

ความเห็นของอาจารยท ี่ปรึกษาวิจยั ทางเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร
 เหน็ ควรใหสอบ
 ไมควรใหส อบ

เพราะ………………………………………………………………………………………………………..
ลงชอ่ื ………………………………………..
()

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

13

ความเห็นคณะกรรมการประจําสาขาวิชา ขอแตง ต้ัง หวั หนาสาขาวชิ าฯ ........................................

1. ………………................……….. ประธานฯ ............................................................................
2. …………………….......………..… กรรมการ .............................................
3. …………………………………..… กรรมการ ()

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

14

แบบเสนอขอเปลี่ยนหวั ขอวิจัยทางเทคโนโลยคี อมพิวเตอร / อาจารยท ่ีปรึกษา
วนั ที่ …….. เดือน …………… พ.ศ. …………

เรื่อง ขอเสนอเปล่ียนหัวขอ วจิ ัยทางเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร / อาจารยท ี่ปรึกษา

เรยี น หัวหนา สาขาวชิ าเทคโนโลยคี อมพิวเตอร
ขาพเจา (นาย,นางสาว) …….....……………………………………… รหสั ……………..……

อีเมล …………………………………………………………..เบอรโ ทรศพั ทมอื ถือ……………………
ตวั แทนกลมุ หวั ขอเรอ่ื ง
................................................................................................................................................
มคี วามประสงคจะขอเสนอเปลย่ี น ................................................................................................
(หัวขอ /ท่ีปรึกษาเดมิ ) ……………………………………………………………………………………..

เปน ………………………………………………………………………………....……………………
หัวเรอ่ื ง (ภาษาไทย) ………………………………………………………………………………………

(ภาษาองั กฤษ) .………………………………………………………………………………….
พรอ มกนั นขี้ าพเจาไดส ง หลักฐานมาประกอบการพิจารณาตามระเบยี บดงั นี้
1. รางเคาโครงฉบับแกไข จาํ นวน 1 ชุด

ลงชอ่ื …………………………………….
(……………………………………)

คํารบั รองอาจารยท ี่ปรกึ ษา (เดิม) คาํ รบั รองอาจารยทีป่ รึกษา (ใหม)

 อนุญาตใหเ ปลีย่ น  อนญุ าตใหเ ปลีย่ น
 ไมอนญุ าตใหเปลย่ี น  ไมอ นญุ าตใหเปลย่ี น
เพราะ………………………………………………………… เพราะ…………………………………………………………
ลงชอ่ื ………………………………………………….. ลงช่อื …………………………………………………..

อาจารยประจําวิชาวจิ ัยทางเทคโนโลยคี อมพิวเตอร
 ทราบ
 บันทกึ ..............................................................................................................................................................................................................
…………………......................................................................................................................…………………………………………………..
ลงชื่อ …………………………………………………..

()

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

15

แบบรายงานความกาวหนาวิจยั ทางเทคโนโลยคี อมพิวเตอร

วนั ท่ี …….. เดอื น ………………… พ.ศ. …………

เรอื่ ง ขอรายงานความกา วหนา วจิ ยั ทางเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร
เรียน อาจารยประจําวิชาวิจยั ทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร/อาจารยที่ปรกึ ษา

ขาพเจา (นาย,นางสาว) …….....……………………………………… รหสั ……………..……
อีเมล …………………………………………………………..เบอรโ ทรศัพทม อื ถือ……………………
ตวั แทนกลมุ หวั ขอเร่ือง
................................................................................................................................................

มคี วามประสงคจ ะขอรายงานความกา วหนา ดังมีรายละเอยี ดตอไปนี้

……………………………………………………...……………………………………………………
…………………………………………………………...………………………………………………
……………………………………………………………...……………………………………………
…………………………………………………………………...………………………………………
…………………………………………………………………...………………………………………

ลงช่ือ …………………………………….
(……………………………………)

ความเห็นของอาจารยป ระจาํ วชิ า

..........................................................................................................................……………………….

...............................................................................................................................................…………

ความเห็นของอาจารยท ปี่ รึกษา

..........................................................................................……………………….................................

.................................................................................................................................…………………

ลงชือ่ ..............................….........….……… ลงช่ือ..............................….........….………

( อาจารยประจําวิชา) ( อาจารยทป่ี รึกษา )

……. / ……... / …….. ……. / ……... / ……..

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

16

แบบประเมนิ ผลการสอบวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร

ชือ่ โครงงาน .......................................................................................................................................................................
สมาชกิ กลุม .......................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................

หัวขอการใหค ะแนน คะแนน อ่ืน ๆ

1.1 พัฒนาโปรแกรมไดต รงตามขอบเขตท่ีกําหนด 10 8 6 4 2

1.2 การมีสวนรวมของนกั ศึกษากบั โครงงาน 10 8 6 4 2

1.3 อธบิ ายขั้นตอนการทาํ งานของโปรแกรมได 10 8 6 4 2

1.4 โปรแกรม/ระบบทํางานไดถูกตองสมบูรณ 5 4 32 1

1.5 โปรแกรม/ระบบเปนไปตามท่ีออกแบบ 5 4 32 1

1.6 โปรแกรมมคี วามสวยงาม นา สนใจ 5 4 32 1

1.7 การใชงานของโปรแกรม มีความสะดวกและใชงานงาย 5 4 32 1

1.8. อธิบายฟงกช่นั การทาํ งาน (Code) ของโปรแกรมได 5 4 32 1

1.9. ตอบคาํ ถามไดถกู ตอ งชดั เจน 5 4 32 1

2.1 เอกสารสมบรู ณค รบถว นตามขอกําหนด 5 4 32 1

2.2 เอกสารถกู ตองตามรูปแบบทก่ี ําหนด 5 4 32 1

2.3 เน้ือหาเอกสารถกู ตองตามหลกั วิชาการ 5 4 32 1

2.4 เนอ้ื หาในเอกสารเหมาะสมกบั โครงงาน 5 4 32 1

3.1 ความกา วหนาของโครงงานเปนไปตามท่ีกําหนด 5 4 32 1

3.2 ความกระตอื รอื รนและสนใจตอการทําโครงงาน 5 4 32 1

3.3 การเขาพบอาจารยทีป่ รึกษาอยา งสม่ําเสมอ 10 4 6 4 2

รวมคะแนน

ความเห็นกรรมการสอบ
เหน็ ควรอนุมตั ิใหสอบผานโดยไมมีการแกไข ...................................................................................................................................
เหน็ ควรอนุมัตใิ หสอบผา นโดยมีการแกไ ข ........................................................................................................................................
เห็นควรอนมุ ัติใหสอบใหม ................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ……………..........................................

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

17

บทที่ 3
การเขยี นเอกสาร

ปริญญานิพนธเ ปน ผลงานทางดานวิชาการท่ีตองมีความถูกตองทั้งดานเนื้อหาและรูปแบบ ท้ังน้ี
ความถูกตอ งขึน้ อยกู บั รูปแบบการจัดพิมพ และ สว นประกอบตาง ดังนั้นนักศึกษาควรจะทําความเขาใจ
และ ศึกษาหลักเกณฑตางๆ เกี่ยวกับการพิมพโครงงานอยางถองแท ตลอดจนทําการตรวจทานแกไข
ตนฉบบั ใหถ กู ตอ งสมบูรณ จงึ ไดมกี ารกําหนดหลกั เกณฑแ ละรูปแบบการพิมพโ ครงงานดังน้ี
3.1 คําแนะนาํ ในการเขียนและพมิ พ

เอกสารประกอบที่จะทําการเขียนน้ันจะตองพิมพเปนภาษาไทย หรือ ภาษาอังกฤษดวย
โปรแกรมประมวลผลคาํ ตามรูปแบบท่ีกําหนดให

3.1.1 การพิมพใหก าํ หนดขนาดกระดาษทจ่ี ะใชใ นการพมิ พเ ปนกระดาษ A-4 แบบหน่ึงคอลัมน
80 แกรมข้ึนไป

3.1.2 การพิมพใหพิมพโดยไมเวนบรรทัด เวนแตเม่ือข้ึนหัวขอใหมใหเวน 1 บรรทัด และตอง
พิมพใหเต็มคอลัมนกอนท่ีจะข้ึนคอลัมนใหม โดยจัดขอบทางขวาและทางซายใหตรงกัน ท้ังน้ีใหตั้ง
ระยะหางระหวางบรรทัด (Line Spacing) อยูที่ 1.0 pt

3.1.3 การพิมพใหพิมพขอความตอเนื่องกันไปเปนวรรคตอน การเวนวรรคตอนใหใชแปน
Space Bar ไดเ พยี งครง้ั เดยี วเทา นนั้

3.1.4 พมิ พห นาเดียวดวยตัวพิพมส ดี าํ ขนาดมาตรฐาน (ตามเงือนไขท่กี าํ หนด)ชนิดเดยี วกนั
ตลอดท้ังเลม

3.1.5 โครงงานฉบับสมบูรณจ ะตอ งมคี วามประณีต ทั้งเร่ืองของวัสดุ การพิมพ ไมควรมีรอยขีด
ฆา ขดี เสน ใต ไมม กี ารเพ่มิ ลวดลาย สสี นั ใดๆ

3.1.6 พมิ พด วยคอมพวิ เตอร
3.1.7 การลําดับหัวขอในเนื้อเร่ือง ใหใชหมายเลขกํากับ โดยใหระบุหมายเลขของบท นําหนา
หมายเลขกาํ กบั หัวเรอ่ื งดวย ยกตัวอยา งเชน บทนําของบทที่ 1 ใหใชหมายเลขกํากับเปน 1.1 บทนํา และ
หากมีการแบงหัวขอยอย ใหใชระบบเลขทศนิยม กํากับหัวขอยอย เชน 1.1, 1.2, 1.3 เปนตน ใหมีการ
แบงหัวขอ ยอยไดเพียงตวั เลข 3 ตวั เทา น้ัน เชน 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3 เทานั้น หากตองการแบงหัวขอยอยอีก
ใหใ ช ลกั ษณะดังนี้

- ใชตัวเลขตามดว ยวงเลบ็ ปด เชน 1), 2), 3)
- ใชเคร่อื งหมาย - นาํ หนา หวั ขอยอ ย
3.1.8 ใหใสเลขเรียงลําดับหนาไวที่ตรงกลางของกระดาษทุกแผน ยกเวนแผนแรกของแตละ
บท โดย เอกสารฉบบั สมบรู ณน น้ั จะประกอบไปดวย

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

18

- ปกนอก (ปกแขง็ หมุ ดว ยหนงั สกี รมทา )
- กระดาษรองปก (ใชกระดาษขาว)
- ปกใน ใหม ีหมายเลขหนาเปน ก แตไ มแสดงหมายเลขหนา
- หนา อนุมตั ิ ใหมหี มายเลขหนาเปน ข แตไมแ สดงหมายเลขหนา
- หนา กิตติกรรมประกาศ ใหม หี มายเลขหนาเปน ค
- หนา บทคัดยอ ใหมหี มายเลขหนาเปน ง โดยประกอบไปดวยหวั ขอ คือ

ช่อื เร่อื ง
ผเู ขยี น
รหัสประจําตวั นักศกึ ษา
ปรญิ ญา
อาจารยท ปี่ รกึ ษาโครงงาน
บทคดั ยอ
- บทที่ 1 บทนํา
1.1 ความเปนมาและความสาคญั ของปญหา
1.2 วตั ถปุ ระสงค
1.3 สมมติฐานการทาํ ปริญญานพิ นธ (ถา ม)ี
1.4 ขอบเขตของการทาํ ปริญญานิพนธ
1.5 ประชากรและการคัดเลอื กกลุม ตัวอยาง(ถา ม)ี
1.6 สถิติท่ีใชในการทาํ โครงงานปริญญานพิ นธ( ถา ม)ี
1.7 คาํ จาํ กดั ความในการทําปริญญานิพนธ(ถาม)ี
1.8 ระยะเวลาการดําเนินงาน
1.9 ประโยชนทค่ี าดวาจะไดร ับ
- บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎที ี่เกีย่ วของกบั ปริญญานพิ นธ
2.1 แนวคิด และทฤษฎีท่เี กยี่ วขอ ง
2.2 เครื่องมือท่ีใชใ นการพฒั นา
2.3 การเปรยี บเทียบความแตกตา งกับโครงงานอื่น
- บทที่ 3 วิธกี ารดําเนนิ งาน
3.1 ลาํ ดบั ขนั้ ตอนการดําเนินงาน
3.2 การออกแบบเครือ่ งมือและออกแบบโครงรางนวัตกรรมหรือสงิ่ ประดษิ ฐ
- บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน(ผลการวิจยั )
4.1 การสรา งระบบ

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

19

4.2 ..................................... (ถา มี)
- บทที่ 5 สรุปผล ขอจาํ กัด และขอเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการดาํ เนินงาน
5.2 ขอจาํ กดั
5.3 ขอ เสนอแนะ
- บรรณานุกรม
- ประวัติผูเขียน
- ภาคผนวก
ผนวก ก. คมู ือการใช (ถา ม)ี
ผนวก ข. (อ่ืน ๆ ถา ม)ี
3.1.9 ควรแทนคําศัพทเทคนิคภาษาอังกฤษดวยคําแปลภาษาไทยตามท่ีนิยมใช (โดยการวงเล็บ
คาํ ศัพทภ าษาองั กฤษ ถาจาํ เปน ) หรือเขียนทับศัพทไ ทยตามความเหมาะสม

3.2 ขนาดตวั อักษรและการเวนระยะ
3.2.1 พิมพเอกสารประกอบโครงงานภาษาไทยดวยตัวอักษรแบบ AngsanaUPC หรือ

AngsanaNew เทาน้ัน โดยขนาดของตัวอกั ษร ใหเปนไปตามขอ กาํ หนดดังน้ี
ปกนอก-ปกใน
• ตราวิทยาลัยแสดงเฉพาะในสวนของปกหนา กําหนดใหมีเสนผานศูนยกลางขนาด 1.5
น้ิว (3.81 ซม.) กําหนดใหหางจากขอบบน 1 ½ น้ิว (3.81 ซม.) และเวนระยะหาง
ระหวา ง ขอบลา งของตราวิทยาลยั กับ ชอ่ื โครงงาน นิว้ (1.4 ซม.)
• ตวั อักษรแสดง ช่ือโครงงาน มีขนาด 22 พอยต ตัวหนา สวนอื่นๆใหมีขนาด 20 พอยต
ตัวหนา
เน้อื หา
• ตวั อกั ษรแสดง ช่ือแตล ะบท มขี นาด 20 พอยต ตวั หนา เชน

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

20

บทที1่
บทนํา

• ตัวอักษรแสดงหัวขอหลกั ของบท มขี นาด 16 พอยต ตวั หนา
• ตวั อักษรแสดง เนื้อหามีขนาด 16 พอยต
• ในบรรทัดแรกของแตละพารากราฟ ใหย อหนา หา งจากขอบซายเทา กบั 0.5 น้ิวและถา
มพี ารากราฟยอ ยอีกใหย อ หนาของพารากราฟยอยนั้นหา งจากยอ หนา เดมิ ครงั้ ละ 0.25 นว้ิ เสมอ
3.2.2 การเวนระยะขอบซาย ขวา และ บน ลา ง ใหเ ปน ไปตามรปู ขางลางนี้
คือ ใหเ วน รมิ ขอบกระดาษท้งั สี่ดา น โดยไมตอ งตกี รอบหนาดงั นี้

• ใหเวน รมิ ขอบกระดาษดา นบน 1.5 นว้ิ (3.81 ซม.)
• ดานลา ง 1 นิ้ว (2.54 ซม.)
• ดา นซายมือ 1.5 นว้ิ (3.81 ซม.)
• ดานขวามอื 1 นว้ิ (2.54 ซม.)
• ยกเวนหนาทข่ี ึ้นบทใหมให เวนดา นบนไว 2 น้ิว (5.10 ซม.)

รูปการจดั หนากระดาษหนา แรกของแตละบท รปู การจัดหนา กระดาษหนาทั่วไป

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

21

3.2.3 การยอหนา ใหเ วนระยะพมิ พแ ปดชวงตัวอกั ษร
3.2.4 เวน หนึง่ ชวงตวั อกั ษรหลงั เคร่ืองหมายจลุ ภาค (comma) และเคร่อื งหมายอัฒภาค
(semicolon)
3.2.5 เวนสองชว งตวั อกั ษรหลังเครอื่ งหมายมหพั ภาค (full stop) เครอ่ื งหมายทวิภาคหรอื จดุ คู
(Colon) เครื่องหมายปรัศนี(question mark) และเคร่ืองหมายอัศเจรีย(exclamation mark) ยกเวนกรณี
หลังชอื่ ยอ (initial) ใหเวนหนึ่งชวงตวั อักษร
3.2.6 ภาคผนวก ใหพิมพคําวา ภาคผนวก ขนาดตัวอักษร 20 พอยน ตัวหนา ไวตรงกึ่งกลาง
หนา กระดาษสําหรับภาคผนวกในแตล ะเรื่องใหเ รียง ตามลําดบั อักษร เชน ภาคผนวก ก ข ค....

3.3 การจดั ทาํ รปู ภาพ
3.3.1 รูปภาพตองมีขนาดความกวางไมเกินหนากระดาษที่กําหนด และจัดอยูก่ึงกลาง

หนากระดาษ ตัวอักษรในรูปภาพตองมีขนาดใหญเพียงพอที่จะสามารถอานไดสะดวกและไมควรมี
ขนาดเลก็ กวาตวั อักษรในเนอื้ เร่อื ง

3.3.2 รูปภาพทุกภาพจะตอ งมีหมายเลขกํากบั และคําบรรยายกํากับใตภาพ โดยหมายเลขกํากับ
ลําดบั ของภาพใหเรียงตามลาํ ดบั ของภาพในแตละบท เชน รปู ที่ 2-1 หมายถึงเปนภาพที่ 1 ของบทท่ี 2

3.3.3 คาํ บรรยายใตภ าพ ใหใ ชค ําวา “รปู ที่” ขนาด 16 พอยต แบบปกติ และหา มใชค าํ วา “แสดง”
3.3.4 เพ่ือความสวยงามใหเวนบรรทัดเหนือรูปภาพ 1 บรรทัด และตองเวนบรรทัดใหคํา
บรรยายรปู ภาพ 1 บรรทัด หรอื เวน ตามความเหมาะสม
3.3.5 ช่อื ภาพประกอบควรเปนขอความทก่ี ะทัดรัด และ สื่อความหมายอยา งชดั เจน
ตวั อยางเชน

รูปท่ี 1-1 หมีโคลา

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

22

3.4 การจดั ทาํ ตาราง
3.4.1 ตารางตองมีขนาดความกวางไมเกินหนากระดาษท่ีกําหนด และจัดอยูก่ึงกลาง

หนากระดาษ ตัวอักษรในตารางตองมีขนาดใหญเพียงพอที่จะสามารถอานไดสะดวก และไมควรมี
ขนาดเล็กกวาตวั อักษรในเนือ้ เรือ่ งและตองตีกรอบดว ยหมกึ สดี าํ ใหช ัดเจน

3.4.2 ตารางทุกตารางจะตองมีหมายเลขกํากับและคําบรรยายกํากับใตตารางโดยหมายเลข
กํากบั ลาํ ดบั ของตารางใหเรยี งตามลําดับของตารางในแตละบท เชน ตารางที่ 4-1 หมายถึงเปนตารางที่ 1

ของบทที่ 4
3.4.3 คาํ บรรยายใตตาราง ใหใ ชค าํ วา “ตารางที่” ขนาด 16 พอยต แบบปกติ และหาม

ใชค ําวา “แสดง”
3.4.4 เพอ่ื ความสวยงามใหเ วน บรรทดั เหนอื ตาราง 1 บรรทัด และตอ งเวนบรรทัดใหคําบรรยาย

ตาราง 1 บรรทัด หรือเวนตามความเหมาะสม
ตัวอยา งเชน

Brand Model Chipset Interface Detail Price Update
ABIT NF7-S2G NV nForce2 Socket A ATX, DDR, S-ATA 3,250 26/03/2005
ABIT NF7-v2 NV nForce2 Socket A ATX, DDR, S-ATA,FireWire 3,950 26/03/2005
ABIT AA8-3rdEYE 925P Socket 775 ATX, Dual DDR2, S-ATA 7,500 26/03/2005
ABIT AG8-3rdEYE 915P Socket 775 ATX, Dual DDR400, S-ATA 6,500 26/03/2005
ABIT AI7 i865PE Socket 478 ATX, DDR, S-ATA,FireWire,uGURU 5,100 26/03/2005

ตารางท่ี 1- 1 ราคา Mainboard

3.5 การเขียนสมการ
สมการทกุ สมการตอ งมีหมายเลขกาํ กบั ในวงเล็บ และเรียงลําดับใหถูกตอง โดยหมายเลขกํากับ

ลําดับของสมการใหเรียงตามลําดับของสมการในแตละบท เชน สมการที่ 3-1 หมายถึงเปนสมการท่ี 1

ของบทท่ี 3 เปนตน ตําแหนงของหมายเลขกํากับสมการตองอยูชิดขอบดานขวาบรรทัด โดยเวน 1
บรรทัดกอนและหลังการเขียนสมการ และตองจัดสมการใหอยูในตําแหนงท่ีเหมาะสมสวยงาม ดัง
ตวั อยา งดังนี้

y = mx+ c
สมการที่ 3-1

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

23

3.6 การเขยี นอลั กอริธึม
ในการนําเสนอขั้นตอนการทํางานของแตละสวนของโครงงาน ใหนักศึกษาแสดงโดยใช

อัลกอริธึมเปนหลัก เวนแตวาถาการอธิบายดวยอัลกอริธึมผูอานมองเห็นภาพรวมของการทํางานไม
ชดั เจน นักศกึ ษาสามารถแสดงขน้ั ตอนการทํางานโดยใชผงั งาน หรอื Flow Chart ประกอบได

การเขียนอลั กอรธิ มึ ควรเขยี นใหอ ยภู ายในหนา กระดาษเดียวกนั โดยนกั ศกึ ษาสามารถลดขนาด
ของตัวหนังสือท่ีใชสําหรับการอธิบายอัลกอริธึมลงเปนขนาด 14, 12, 11 หรือ 10 พอยต ไดตามความ

เหมาะสม ในการเขียนอัลกอริธึม สําหรับแสดงขั้นตอนวิธีในการดําเนินงานในโครงงาน ใหนักศึกษา
ยดึ รปู แบบการเขยี น ดงั น้ี

Algorithm : ช่อื อัลกอรธิ มึ

Input : ………………………………………………..

Output : ……………………………………………...

begin

…………………………………….

{ สวนคาํ อธิบายอัลกอริธมึ หรือ Comment of Algorithm }

if condition then

……………………………….

else

……………………………….

endif

case varialble of

condition1 : …………………………………

condition2 : …………………………………

conditionN : …………………………………

endcase

for start_condition to stop_condition [step………….] do

……………..

endfor

while condition do

………………..

endwhile

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

24

repeat
……………….

until condition
end

ตวั อยา งการเขยี นอลั กอริธึม
algorithm การอา นรายช่ือแฟมแบบ regular file จาก directory ทร่ี ะบุลงในตารางทีก่ าํ หนดให
Input 1. ชื่อเสนทางของ directory ท่ีตองการ ซึ่งอาจเปนแบบ absolute หรือ ralative

pathname กไ็ ด
2. ตาํ แหนงเรมิ่ ตน ในหนว ยความจาํ ของตารางเกบ็ รายช่อื แฟม ใน directory นัน้ ตาราง

น้ีเปน ตารางท่ยี ังไมมีขอ มูล หรอื หากมีขอมูลเดิมอยู ขอมลู เดมิ จะถกู เขยี นทับดว ย
ขอ มลู ใหม เม่ือทํางานเสร็จแลว ขอ มูลในตารางมีเฉพาะรายชื่อแฟม ผูเ รยี กตอ งนาํ ไป
สราง เปน เสนทางท่ีสมบูรณกอนนาํ ไปใชง านตอ ไป
output 1. จาํ นวนแฟมแบบ regular file ทม่ี ีใน directory น้นั
begin
{ ทดสอบวา ชอื่ directory ทร่ี ะบุมีจริงหรอื ไม }
if ชอื่ directory ที่กําหนดไมม อี ยูจรงิ then

แสดงขาวสารแสดงความผิดพลาดและเลกิ การทํางาน
endif
{ ทดสอบวา ผูใชมีสทิ ธิในการอานรายชอ่ื แฟม ใน directory นั้นหรือไม }

if ผใู ชไมม ีสทิ ธิในการอา นชอ่ื แฟมใน directory น้ัน then
แสดงขา วสารแสดงความผดิ พลาดและเลกิ การทาํ งาน

endif
เปด directory ที่ระบุ
if การเปด directory ผิดพลาด then

แสดงขาวสารความผดิ พลาดและเลกิ การทาํ งาน
endif
กาํ หนดใหจาํ นวนแฟมใน directory ที่ระบเุ ปน ศูนย
กาํ หนดใหดัชนีของตารางเกบ็ รายช่อื แฟม ช้ไี ปยงั ตาํ แหนงแรกของตาราง
while รายช่อื แฟม ใน directory นั้นยงั ไมหมด do

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

25

อา นรายชือ่ แฟม
สรางชือ่ เสนทาง (pathname) ของแฟม จากชื่อ directory และช่อื แฟม
อา นขอ มูลรายละเอยี ด (attribute) ของแฟมเพอ่ื ใชในการทดสอบสิทธใิ นการ
ใชง าน
if อา นขอมูลรายละเอยี ดของแฟม ไมไ ด then

แสดงขาวสารความผดิ พลาดและเลกิ การทาํ งาน
endif
{ ทดสอบวา แฟม นั้นเปน แฟม แบบ regular file หรอื ไม }
if แฟมเปน แบบ regular file then

if ผใู ชม สี ทิ ธใิ นการอานแฟม น้นั (right permission) then
นาํ ชื่อแฟมนนั้ ใสลงในตารางรายชื่อแฟม
จาํ นวนแฟม ทั่วไป = จํานวนแฟม ทวั่ ไป + 1
ดชั นตี ารางช่ือแฟม = ดชั นตี ารางชื่อแฟม + 1

else
แสดงขา วสารแสดงความผดิ พลาด และเลิกการทํางาน

endif
endwhile
ปด directory ทกี่ ําหนด
คนื คาจํานวนแฟม แบบ regular file ใหแ กผูเ รยี ก
end

3.7 การเขียนบรรณานุกรม
บรรณานกุ รม คอื รายชือ่ วสั ดุท่ีใชอางอิงท้ังหมดในการทําโครงงาน ท้ังท่ีอางอิงอยูอยางชัดเจน

ในตวั เลม โครงงาน และท่นี าํ ความรมู าเรยี บเรยี งโดยไมไ ดอ า งอิงในเลม
3.7.1 การพมิ พบ รรณานุกรม
1) ในหนาแรกของบรรณานุกรมใหพิมพวา “บรรณานุกรม” โดยพิมพไวกลาง
หนากระดาษตอนบน หางจากริมขอบกระดาษดานบนสองนิ้ว สําหรับโครงงาน
ภาษาอังกฤษใชคําวา “BIBLIOGRAPHY” ดวยตัวอักษรตัวเขมขนาด 20 พอยต โดย
ไมต อ งใสเ ลขหนาในหนาแรกของบรรณานกุ รม

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

26

2) โครงงานภาษาไทย ใหเรียงบรรณานุกรมตามลําดับตัวอักษรตัวแรกแบบ
พจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ถามีวัสดุอางอิงภาษาอังกฤษดวย ใหเขียน
เรียงลําดบั อกั ษรเชน เดยี วกันและใหเรียงตอจากาภาษาไทย

3) การพมิ พบ รรณานกุ รมในวสั ดอุ างอิงแตละรายการไมต องมีหมายเลขกํากบั
4) เรมิ่ พมิ พรายการบรรณานุกรมชดิ ขอบดานซายของหนากระดาษท่ีเวนไวประมาณ 1.5

นิ้ว ถา บรรณานุกรมรายการเดียวไมจบใหข้ึนบรรทัดใหม โดยยอหนาเขาไป 0.75 นิ้ว
ถารายการบรรณานุกรมไมจบใน 2 บรรทัด ขึ้นบรรทัดท่ี 3-4 ใหตรงกับบรรทัดที่ 2
จนจบรายการ เมื่อขึ้นรายการบรรณานุกรมของวัสดุอางอิงรายการใหม ใหเร่ิมพิมพ
ชดิ ขอบซา ยของหนา กระดาษเชน เดิม
5) บรรณานกุ รมมีผแู ตงซํา้ ใหพมิ พเรียงตามลาํ ดับปท พี่ ิมพจ ากเกา สดุ จนถึงปลา สุด
6) การพิมพช่ือวัสดอุ างองิ ใหพมิ พตวั เอนตง้ั แตร ายการแรกถงึ รายการสดุ ทา ย
7) ใหบรรทัดสดุ ทายของหนา อยูห างจากรมิ ขอบกระดาษดา นลางหนง่ึ นิ้ว
8) ใหพ มิ พบ รรณานุกรม ภาษาไทยกอ นภาษาตา งประเทศ

3.8 การเขยี นเอกสารอางองิ
การอา งอิง หมายถึง การบันทึกที่มาของขอความที่ยกมากลาวอาง หรืออางอิง ในการเรียบเรียง

โครงงาน ใหใ ชก ารอางอิงแบบนาม-ป ทัง้ เลม
การอางองิ แบบนาม-ป
ตวั อยางท่ี 1

.................ผลงานวิจยั ในเรอ่ื ง ความพึงพอใจในการปฏิบัตงิ านของเจา หนา ทต่ี รวจคนเขาเมืองฝาย
ตรวจพาหนะทางอากาศ ณ ทาอากาศยานกรงุ เทพฯ พบวา ความพึงพอใจสวนรวมอยใู นเกณฑปาน
กลาง (ร.ต.อ. กําจัด จูสนทิ ม 2535)………………….

ตวั อยางที่ 2

..................ผลงานวิจัยของ กําจดั จูสนทิ (2535) พบวา ความพึงพอใจในการปฏบิ ัติงานของเจา หนาท่ี
ตรวจคนเขา เมอื งฝายตรวจพาหนะทางอากาศ ณ ทา อากาศยานกรงุ เทพฯ อยใู นเกณฑปานกลาง …...

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

27

บทที่ 4

การเขียนเน้ือความในสว นตา งๆ

1. บทนํา ประกอบดวย
ชือ่ บท : บทที่ 1 บทนํา
 ความเปนมาและความสําคญั ของปญ หา (statement and significance of the problem)
เนนการเขียนถึงภูมิหลังท่ีเก่ียวของกับเร่ืองท่ีคนควาวิจัยความจําเปนหรือสาเหตุที่ตอง

ศึกษา (Need for the Study) การนําไปสูความกาวหนาวิชาการแขนงนั้นตลอดจนประโยชนที่เกิดจาก
การศึกษาเร่ืองนั้น และหนวยงานท่ีนักศึกษาไดนํามาเปนกรณีศึกษา โดยเขียนแบงเปนสวนๆ ในแตละ
ยอ หนาใหชดั เจนอยา งนอย 3 ยอหนา

 วัตถุประสงค (Objective)
เปนการเขียนถึงจุดมุงหมายท่ีตองการคนควาหาขอเท็จจริงของผูศึกษาคนควา ดังน้ัน

หัวขอนี้จะกลาวถึงปญหาท่ีตองการทราบคําตอบ เรียงลําดับความสําคัญกอนหลัง การเขียนการใช
ประโยคที่สมบูรณ ใชถอยคําท่ีแสดงอาการ หรือระบุพฤติกรรมที่สามารถสังเกตุได ระบุตัวแปร ขอมูล
ท่ตี องการศกึ ษา โดยระบเุ ปนขอๆ
ตวั อยาง หัวเร่ือง “การออกแบบและพฒั นาระบบการจดั การเรยี นการสอน ระดับอดุ มศกึ ษา”
วตั ถปุ ระสงค

1. เพือ่ ศึกษาวิธกี ารจดั การเรยี นการสอน ระดับอดุ มศกึ ษา
2. เพ่อื วเิ คราะหและออกแบบระบบการจดั การเรยี นการสอน ระดับอดุ มศึกษา
3. เพื่อพัฒนาระบบการจดั การเรยี นการสอน ระดับอุดมศึกษา

 ขอบเขตของการศึกษา (Scope of study)
เนน ขอบเขตจํากัดในการศึกษาใหแนชัดวาจะศึกษาพิจารณาในขอบเขตใด คุณสมบัติของ

สง่ิ ทศี่ กึ ษา สง่ิ ทีจ่ ะทําการออกแบบ ขอบเขตในการพัฒนาระบบ เครื่องมือท่ีใชทางดาน Hardware และ
Software และขอมูลท่ีใช โดยกําหนดขอบเขตใหชัดเจน โดยอาจระบุถึงตัวแปรท่ีใชในการวิจัย และ
กรอบแนวคิดการวจิ ัย

 ประชากรและการคดั เลือกกลมุ ตัวอยาง (ถา ม)ี
 สถิตทิ ใี่ ชใ นการวิจัย (ถา ม)ี
 ระยะเวลาและแผนดาํ เนนิ งาน (Duration)

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

28

เปนการกลาวถึงขัน้ ตอนการทาํ งาน แตละข้นั ตอนทเี่ รม่ิ ตนศึกษาจนกระทั่งสิ้นสุดการศึกษา
โดยกําหนดระยะเวลาทุกขน้ั ตอน

 ประโยชนท ค่ี าดวาจะไดร บั (Advantages)
เปน การกลาวถึงผลทไี่ ดจากการศึกษา โดยดสู ิง่ ท่ไี ดน ้นั นําไปใชป ระโยชนไดอยา งไร

ท้งั ในการสรา งความรูใหมและการนําไปใชในการแกไขและปองกันปญหาในสังคม การเขียนใหเขียน
ประโยชนทีจ่ ะไดรบั เปนขอ ๆ

 คาํ นยิ ามศัพทเฉพาะ (Definitions)
เปนการกลาวถึงความหมายของคําหรือขอความ ที่ผูศึกษาตองการทําความเขาใจกับผูอาน

เพื่อใหเขาใจตรงกันกับผูศกึ ษา

2 ตวั เร่อื ง (Body of the text) ประกอบดว ย
ชือ่ บท : บทท่ี 2 ทฤษฎแี ละงานวิจยั ทีเ่ กย่ี วขอ งกบั ปรญิ ญานิพนธ
2.1 แนวคิด และทฤษฏี ทีเ่ ก่ียวขอ ง
การเขียนเน้อื หาเกี่ยวกบั ทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของนับวามีความสําคัญอยางยิ่งตอ

การศึกษาคนควา ซึ่งแสดงถึงการสํารวจตรวจสอบหรือทบทวนทฤษฎีรายงาน การวิจัยและเอกสาร
ตางๆท่ีเกี่ยวของในอดีตอยางละเอียดครบถวนของผูศึกษา และเพ่ือใหผูอานเห็นประเด็นปญหา
การศึกษาและแนวความคิดในการศกึ ษาอยางชัดเจน

ผูท่ีศึกษาควรเอาทฤษฎีและขอคนพบ จากเอกสารและรายงานทางการวิจัยท่ีเก่ียวของ มา
วิเคราะหวิจารณใหเห็นถึงความสัมพันธ และเก่ียวของกับปญหาที่วิจัย เชนถาเปนการพัฒนาซอรฟแวร
ก็นาจะเนนการยกตัวอยางทฤษฎีท่ีเก่ียวของ คือ ทฤษฎีการพัฒนาซอรฟแวร (SDLC: Software
Development Life Cycle) โดยมขี ัน้ ตอนกระบวนการศึกษา การทํางานอยางไร เพื่อใหไดเปาหมายหรือ
เพอ่ื แกไขปญหาทเ่ี รากําลงั ทาํ การศึกษาน้นั ใหส ําเรจ็ ลุลว งไปไดด วยดี

2.2 โปรแกรมทใี่ ชใ นการพัฒนา
อธิบายถึงหลักการ วิธใี ชง าน และการทํางาน ของโปรแกรม ทน่ี าํ มาใชพฒั นาโครงงาน

โดยสังเขป
2.3 การเปรียบเทยี บความแตกตา งกับโครงงานอนื่
อธบิ ายถงึ ขอ เปรยี บเทยี บโครงงานอนื่ ๆ ท่มี ลี ักษณะการทํางาน คลา ยคลงึ กันโดยบอก

ถึงลกั ษณะการทํางาน ของโครงงานที่นาํ มาเปรยี บเทียบ และเปรียบเทยี บขอดี ขอเสีย

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

29

ชือ่ บท : บทที่ 3 วธิ ีการดาํ เนินงาน
ทําการศึกษาอยางละเอียดถึงขั้นตอนและเครื่องมือที่ใชในการทํางาน โดยใหเนนวาได

ทําการศึกษาอะไรบาง ผลท่ีไดเปนอยางไร บทน้ีจะเปนการอธิบายคําตอบของประเด็นปญหานั้นมี
แผนการใชเทคนิค และจะเขียนเปนอยางไร มีเหตุผลและใหไดคําตอบอยางมีประสิทธิภาพ มากนอย
เพียงใด ในการเขียนการดําเนินการศึกษา พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรในบทท่ี 3 น้ีจะเปนการ
ออกแบบดําเนินการศึกษา เนนการศึกษาการวิเคราะหและออกแบบงานที่ทํา ตัวอยางเชน ถาเปนการ
พัฒนาโปรแกรมระบบงาน เริ่มเขียนการศึกษาระบบงานปจจุบัน (Current System) และระบบงานใหม
ท่ีตอ งการ (New System) แลวนาํ มาออกแบบระบบงานใหมโ ดยใชเคร่อื งมอื ดังน้ี

1. ลาํ ดบั ขัน้ ตอนการดาํ เนนิ งาน
2. การเขียนสตอร่ีบอรด (Story Board)
ในการทาํ ทุกขั้นตอนจะตองใหละเอียด และชัดเจนเพ่ือเปนมาตรฐานเดียวกัน และควรจะ
ศกึ ษาวิธกี ารทําใหถ ูกตอ ง

ช่อื บท : บทท่ี 4 ผลการดําเนินงาน (ผลวจิ ัย)
ผลการดําเนินงาน(ผลวิจัย)นับวาเปนหัวใจสําคัญ โดยผูศึกษาตองเสนอใหผูอานทราบ

อยางชัดเจน ถึงเน้ือหา ผลการศึกษา จะตองตอเนื่องจากการกระทําในบทท่ี 3 โดยบอกผลท่ีไดจากการ
กระทําในบทท่ี 3 เชน การพัฒนาโปรแกรม จะตองมีการออกแบบกอนการพัฒนา ดังนั้นในบทน้ีตอง
กลาวถึงผลจากการศึกษา หรือ การออกแบบในบทท่ี 3 เมื่อนําไปพัฒนาโปรแกรมแลวทําใหไดผลดี
อยา งไร เหมาะสมหรอื ไม โดยเนน กระบวนการทุกอยางไปท่ีเปนเจาของระบบหรือผูใชระบบ (User) มี
ความพอใจมากนอยเพียงใดในแตละสวน การทํางานของโปรแกรมใหประสิทธิภาพอยางไร เชนความ
ถกู ตอ งแมนยาํ ความเรว็ ความเชือ่ ถือได โดยเขียนแยกออกเปนหัวขอ ตามการศกึ ษาแลว ในบทที่ 3

ชื่อบท : บทท่ี 5 บทสรุป ขอจาํ กัดและขอเสนอแนะ
ในบทน้ีจะเสนอบทสรุปโดยสรุปจากการศึกษาท่ีผานมา แยกแยะเปนปญหาและการ

เสนอแนะ ในขอบกพรองหรือปญ หาทพ่ี บบอ ย ควรใหคาํ เสนอแนะโดยทว่ั ไปจะมงุ 3 ประเด็นคอื
1. การนําผลการศึกษาไปปรับ เปนการเสนอแนะวาจากผลการวิจัยท่ีไดศึกษา

สามารถนําไปเปนประโยชนอะไรไดบาง และจะใหประโยชนไดอยางไร จะตองเสนอแนะให
รายละเอยี ดอยางเพยี งพอท่สี ามารถนําไปใชไ ดท ันที

2. ระเบียบใชทางการศึกษาเนนการเสนอแนะ ใหผูอานที่จะทําการศึกษาในเร่ือง
เดียวกันทราบวาควรทําอยางไร สามารถนําไปพัฒนาตอไปไดอยางไร ควรเขียนขอเสนอแนะไวให
ชัดเจน

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

30

3. การศึกษาตอไป เปนการเสนอแนะเก่ียวกับประเด็นหรือปญหา วิชาการศึกษา
เพ่อื ใหการศกึ ษาน้สี มบูรณทส่ี ุด

3. สวนเอกสารอางอิงหรอื บรรณานุกรม (References or Bibliography)
เปนสวนท่ีผูเขียนแสดงรายช่ือหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ บุคคล และวัสดุตาง ๆ เชน

ภาพยนตร แผนเสยี ง วีดิทศั น ฯลฯ ทผี่ ูเ ขียนใชใ นการคนควาและทไ่ี ดอ างถงึ

4. ภาคผนวก (Appendix)
เปนสวนท่ีผูเขียนนําเสนอขอมูลและสิ่งที่จะชวยใหผูอานเขาใจสาระสําคัญของ

โครงงานดยี ิ่งขึ้น จะมหี รอื ไมม กี ไ็ ด เชน
4.4.1 ขอมลู เพม่ิ เตมิ บางสว นท่ไี ดใชไ ปแลวในสว นเนื้อเรอ่ื ง
4.4.2 ขอมูลเพิ่มเติมที่ไดจากปฏิบัติการบางอยาง เชน การทดลอง การศึกษาเฉพาะ

กรณี (Case study) การวิเคราะหเน้อื หา (Content analysis)
4.4.3 สาํ เนาเอกสารหายาก
4.4.4 คําอธิบายระเบียบวิธี กระบวนการและวิธีการรวบรวมขอมูล เชน การ

สงั เกตการณ การใชแบบสอบถาม การสมั ภาษณ การทดสอบ
4.4.5 แบบฟอรม ท่ีใชในการรวบรวมขอมูล เชน แบบสอบถาม (Questionnaire) แบบ

สาํ รวจ (Inventory) แบบตรวจสอบ (Check list) แบบทดสอบ (Test)
4.4.6 ชุดคาํ สั่งหรือโปรแกรมคอมพิวเตอรท ่ใี ชในโครงงาน
4.4.7 คาํ อธิบายเกย่ี วกบั ขน้ั ตอน หรอื วิธกี ารทําภาพประกอบ การสรางเคร่ืองเม่ือหรือ

อปุ กรณก ารทดลอง
4.4.8 นามานกุ รม (Directory) บุคคลทอี่ า งถงึ ในโครงงาน

ภาคผนวก อาจมีมากกวาหน่ึงภาคก็ได กรณีท่ีมีมากกวาหนึ่งภาคใหใชเปน ภาคผนวก ก
ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค

4.4.9 วัตถุประสงคการเรียนรู(Objective) วัตถปุ ระสงคของเนื้อหาแตล ะบทเรียน(CAI)
4. 4.10 แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรยี น (Pre-Test and Post-Test)
4.4.11 คมู ือการใชง าน (User Manual) อธบิ ายการทาํ งานของระบบ
4.4.12 วธิ ีการตดิ ต้งั (Installation)

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

31
5 ประวัติผูจัดทํา (Curriculum vitae หรอื Vita)

เปนรายละเอยี ดเกยี่ วกับประวัติการศึกษาและการทํางานของผเู ขียน ตามลําดบั ดงั น้ี
5.1 ช่ือ นามสกุล พรอมคํานําหนา ไดแก นาย นางสาว นาง ถามียศ บรรดาศักด์ิ ราช

ทนิ นาม สมณศกั ด์ิ ก็ใหใสไ วด วย พรอมท้ังวัน เดือน ป และสถานท่ีเกิด
5.2 วนั เดือน ป ท่เี กิด
5.3 ทอี่ ยูท่ีสามารถตดิ ตอได และเบอรโ ทรศัพท
5.4 E-mail address
5.5 วุฒิการศึกษาต้ังแตระดับประถมศึกษา สถานศึกษา และ พ.ศ. ที่สําเร็จการศึกษา

รวมทัง้ ประสบการณ การทํางาน รางวลั หรอื ทุนการศกึ ษาเฉพาะทสี่ าํ คญั (ถาม)ี

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

32

บทที่ 5
สวนประกอบของซีดโี ครงงาน
5.1 เน้อื หาภายในซดี ี
ใหส รา ง โพลเดอร (Folder) ดงั ตอ ไปนี้

1. Document เกบ็ ขอ มลู ทเี่ ปน เนอ้ื หาแตละบท

2. Source Code เก็บขอมลู ตวั โปรแกรม

3. Program เก็บโปรแกรมที่ผา นการ Compile แลว
4. Readme เก็บรายละเอียดของ File แตละ File ทบี่ นั ทึกในแผน บนั ทึกขอ มลู
โดยใหแบง เนอ้ื หาสาหรบั การบันทกึ ขอ มลู วิทยานพิ นธ และตัง้ ชือ่ ไฟลด ังน้ี

ลําดบั การแบงเนือ้ หา การตั้งชือ่ ไฟล .pdf file

ปก 01_cov.pdf

บทคดั ยอ (ภาษาไทย และภาษาองั กฤษ) 02_abs.pdf

กิตตกิ รรมประกาศ 03_ack.pdf

สารบัญ [สารบัญ สารบัญตาราง สารบญั ภาพ คําอธบิ ายสญั ญาลกั ษณแ ละ 04_tbc.pdf

คาํ ยอ(ถาม)ี ]

บทท่ี 1 05_ch1.pdf

บทท่ี 2 05_ch2.pdf

บทท่ี 3 กําหนดช่อื ไฟลตามจานวนบททม่ี ี เรียงตามลาดับ 05_ch3.pdf

บทท่ี 4 05_ch4.pdf

บทที่ 5 05_ch5.pdf

บรรณานุกรม หรือเอกสารอา งองิ 06_ref.pdf

ภาคผนวก (คูมือการติดต้งั และการใชง าน) 07_app.pdf

ประวัติผจู ัดทํา 08_bio.pdf

การสงแผนซีดบี นั ทกึ ขอมลู วิทยานิพนธ
ใหน กั ศึกษาบนั ทึกขอ มูลดวยโปรแกรมทีเ่ ปน .pdf file เทาน้นั โดยจดั สงแผนบันทึกขอมลู ซึ่งตอ ง
ดาํ เนนิ การใหเรียบรอยดังน้ี

1. ผา นการตรวจสอบและกําจัดไวรสั เรยี บรอยแลว
2. บรรจุในกลองซีดี พรอ มทั้งปกซีดีท่ีมีขอ มูล ดงั นี้

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

33

5.2 รูปแบบปกซีดี

ช่ืองานวิจัย ..........................................................................................................
(ภาษาอังกฤษ) ..........................................................................................................
ชือ่ นักศกึ ษา ..................................................................รหัสประจําตวั ...................
ชอ่ื นกั ศกึ ษา ..................................................................รหัสประจําตัว ...................
ชอ่ื นักศึกษา ..................................................................รหสั ประจาํ ตวั ...................
อาจารยท ป่ี รึกษา .........................................................................................................

ภาคการศึกษาที่................ ปการศึกษาท่ี ....................................
สาขาเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

วิทยาลัยเซาธอสี ทบางกอก

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

34

เอกสารอา งองิ

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ.คมู อื โครงงงานสารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยฟารอสี เทอรน
เชยี งใหม: มหาวิทยาลัยฟารอ สี เทอรนม2554

บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั เชยี งใหม. คูมือวิทยานพิ นธ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม. เชียงใหม :
มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม , 2544.

โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร. คมู ือการศกึ ษาเอกเทศโปรแกรมคอมพวิ เตอร. กรงุ เทพฯ : สถาบันราช
ภฎั จันเกษม, 2543.

ภาควิชาวทิ ยาการคอมพิวเตอร. คําแนะนาํ การเขยี นโครงงานหลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต. ชลบุรี :
มหาวทิ ยาลยั บรู พา, 2542.

คู่มือการจัดทาํ งานวิจัยทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์


Click to View FlipBook Version