The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตรวจก่อนลงเล่มคู่มมือ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sansanee_lin, 2021-03-21 21:26:38

ตรวจก่อนลงเล่มคู่มมือ

ตรวจก่อนลงเล่มคู่มมือ

6. กรณยี ื่นแบบ ภ.พ. 30 ภายในกาหนดเวลา และตอ่ มาทกี ารยนื่ แบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม เม่ือพ้น
กาหนดเวลา หรอื เจา้ พนกั งานประเมินตรวจสอบพบความผดิ

6.1 แบบ ภ.พ. 30 ฉบบั ปกติมีภาษตี อ้ งชาระและการคานวณท่ีถูกตอ้ งมีภาษีต้องชาระ

ภาษีขาย แบบภ.พ.30 ถกู ตอ้ ง ผลต่าง ขายขาด
ภาษซี ือ้ 1,500 1,200 (300) ซ้อื เกิน
ภาษที ี่ตอ้ งชาระ 1,000 600 (400) คลาดเคลื่อน
ภาษที ีช่ าระเกินยกมา 500 600 100
ภาษที ี่ต้องชาระสทุ ธิ (70) (70) 0
430 530 100

เงนิ เพมิ่ มาตรา 89(1) 100 X 1.5% ต่อเดือน
เบยี้ ปรับ มาตรา 89(3) 100 X 1 เทา่
มาตรา 89(4) ภาษขี ายเกิน ไมม่ ี
มาตรา 89(4) ภาษซี ้ือเกนิ 400 X 1 เท่า

ใหเ้ ปรยี บเทยี บเบย้ี ปรบั และเรยี กเกบ็ จานวนท่ีไดเ้ งินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จานวน 400 บาท

6.2 แบบ ภ.พ. 30 ฉบบั ปกติมีภาษชี าระไว้เกนิ และการคานวณท่ีถูกต้องมภี าษชี าระไว้
เกนิ

ภาษขี าย แบบภ.พ.30 ถูกต้อง ผลตา่ ง ขายถกู ตอ้ ง
ภาษซี ือ้ 1,500 1,500 0 ซ้ือเกิน
ภาษีทต่ี ้องชาระ 1,000 600 (400) คลาดเคลื่อน
ภาษที ่ีชาระเกินยกมา 500 900 400
ภาษีทีต่ อ้ งชาระสทุ ธิ (950) (950) 0
(450) (50) (400)

เงนิ เพิม่ มาตรา 89(1) ไม่มี

เบ้ียปรบั มาตรา 89(3) 400 X 1 เทา่

มาตรา 89(4) ภาษีขายถูกตอ้ ง ไม่มี

มาตรา 89(4) ภาษซี อ้ื เกิน 400 X 1 เทา่

ใหเ้ ปรียบเทยี บเบ้ียปรบั และเรียกเก็บจานวนท่ีได้เงนิ มากกวา่ คือ มาตรา 89(3) หรือมาตรา 89(4) จานวน

400 บาท

6.3 แบบ ภ.พ. 30 ฉบบั ปกติมีภาษชี าระไวเ้ กนิ แต่การคานวณท่ีถูกต้องมภี าษตี ้องชาระ

ภาษีขาย แบบภ.พ.30 ถกู ตอ้ ง ผลตา่ ง ขายขาด
ภาษซี ื้อ 1,500 3,500 2,000 ซ้อื เกนิ
ภาษที ี่ต้องชาระ 1,000 800 (200) คลาดเคลอ่ื น
ภาษที ่ชี าระเกินยกมา 500 2,700 2,200
ภาษีทต่ี ้องชาระสทุ ธิ (950) (950) 0
(450) 1750 2,200

เงินเพิ่ม มาตรา 89(1) 1,750 X 1.5% ต่อเดอื น
เบี้ยปรบั มาตรา 89(3) 2,200 X 1 เท่า
มาตรา 89(4) ภาษขี ายขาด 2,000 X 1 เทา่
มาตรา 89(4) ภาษซี อ้ื เกิน 200 X 1 เทา่

ให้เปรียบเทียบเบ้ียปรับและเรยี กเก็บจานวนทีไ่ ด้เงินมากกว่า คือมาตรา 89(3) หรือมาตรา 89(4) จานวน
2,200 บาท

6.4 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมภี าษตี ้องชาระแต่การคานวณที่ถูกต้องชาระไว้เกนิ

ภาษขี าย แบบภ.พ.30 ถกู ต้อง ผลตา่ ง ขายขาด
ภาษซี ้อื 1,500 2,400 900 ซื้อขาด
ภาษีท่ตี ้องชาระ 1,000 2,600 (1,600) คลาดเคล่ือน
ภาษที ี่ชาระเกินยกมา 500 (200) (700)
ภาษีทต่ี ้องชาระสทุ ธิ (70) (70) 0
430 (270) (700)

เงินเพ่ิม มาตรา 89(1) ไมม่ ี
เบ้ยี ปรับ มาตรา 89(3) ไมม่ ี
มาตรา 89(4) ภาษีขายขาด 900 X 1 เท่า
มาตรา 89(4) ภาษซี ้ือเกนิ ไมม่ ี

ใหเ้ ปรียบเทียบเบยี้ ปรบั และเรยี กเกบ็ จานวนที่ไดเ้ งนิ มากกวา่ คอื มาตรา 89(4) จานวน 900 บาท

การขอลดเบ้ยี ปรบั
ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มท่ีนาภาษีซ้ือต้องห้ามมาใช้ในการคานวณ

ภาษีมูลค่าเพ่มิ กรณีต้องเสยี เบีย้ ปรบั 1 เท่า เบี้ยปรับ 1 เทา่ ทตี่ ้องเสยี สามารถขอลดลงได้ ถ้าหาก
ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิมได้ย่ืนแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพ่ิม (ภ.พ. 30)
เพมิ่ เติมภายในระยะเวลาที่กรมสรรพากรกาหนด โดยไม่ไดถ้ ูกเจ้าพนักงานสรรพากรตรวจพบและ
ได้บนั ทกึ ความผดิ ไวใ้ นหนังสือหรอื บันทกึ ข้อความโดยเจ้าพนักงานสรรพากร สรปุ ได้ดงั น้ี

1. ชาระภาษมี ูลค่าเพม่ิ ภายใน 15 วนั นบั แตว่ ันพน้ กาหนดเวลาชาระภาษีมลู ค่าเพิ่มใหเ้ สยี
เบย้ี ปรับรอ้ ยละ 2 ของเบี้ยปรับ

2. ชาระภาษีมลู คา่ เพิ่มภายใน 15 วัน แตไ่ ม่เกิน 30 วนั นับแต่วันพน้ กาหนดเวลาชาระ
ภาษมี ลู คา่ เพิม่ ใหเ้ สยี เบีย้ ปรบั ร้อยละ 5 ของเบ้ียปรับ

3. ชาระภาษมี ลู คา่ เพ่ิมภายใน 30 วนั แตไ่ มเ่ กนิ 60 วันนบั แต่วนั พ้นกาหนดเวลาชาระ
ภาษีมูลค่าเพม่ิ ให้เสียเบ้ยี ปรับร้อยละ 10 ของเบย้ี ปรบั

4. ชาระภาษมี ูลคา่ เพ่มิ ภายหลัง 60 วันนบั แต่วนั พน้ กาหนดเวลาชาระภาษมี ลู ค่าเพิ่มให้
เสยี เบยี้ ปรับร้อยละ 20 ของเบ้ยี ปรับ

หมายเหตุ : เบ้ยี ปรบั ภาษีมูลคา่ เพม่ิ ทีเ่ กดิ จากการนาใบกากบั ภาษีปลอมมาใช้ไมส่ ามารถ
ขอลดเบย้ี ปรบั ได้

2.8.3 ภาษีธุรกจิ เฉพาะ

จากการตรวจสอบงบการเงิน พบว่าตวั ทเ่ี จอบอ่ ยและเก่ยี วข้องกบั ภาษีธรุ กิจเฉพาะ
คอื ดอกเบีย้ รบั ซ่ึงเป็นการท่ีให้กรรมการกูย้ ืมเงิน จึงเกิดดอกเบีย้ รบั ในสว่ นนขี้ น้ึ

1. กรณีดอกเบ้ียเงนิ ใหก้ ยู้ ืมกรรมการ

หลายๆ บริษัทมี "บัญชีเงินให้กู้ยืมกรรมการ" ซึ่งตามมาตรา 65 ทวิ (4) ระบุว่า กรณีให้
ก้ยู มื เงินโดยไมม่ คี ่าตอบแทน หรือดอกเบ้ีย หรอื มคี ่าตอบแทน หรอื ดอกเบี้ยต่ากวา่ ราคาตลาดโดย
ไม่มีเหตุอันสมควร เจ้าพนักงานมีอานาจประเมินค่าตอบแทน หรือดอกเบี้ยน้ันตามราคาตลาดใน
วันที่ให้กู้ยืมเงินได้ ดังนั้น หากกิจการมีการให้กู้ยืมเงิน กิจการจะต้องคานวณดอกเบ้ียในอัตราท่ี
เหมาะสม

ใหพ้ ิจารณาจากแหล่งเงนิ ทน่ี ามาใหก้ ู้ โดยแบง่ เปน็ 2 กรณีดังน้ี

• กรณีท่ี 1: บรษิ ทั นาเงนิ สดทีม่ ีอยใู่ หก้ รรมการกยู้ ืม

อัตราดอกเบี้ย: ให้ใช้อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจาของธนาคารพาณิชย์"
ในขณะน้ัน
• กรณที ี่ 2: บรษิ ัทก้ยู มื เงนิ จากแหล่งอน่ื มาให้กรรมการกยู้ ืม

อัตราดอกเบี้ย: ให้ใช้ "อตั ราดอกเบ้ียทก่ี ยู้ มื " มา

ขอ้ ควรระวงั ในเรอ่ื งเงินให้กู้ยมื กรรมการ
1. กรณีไม่คิดอัตราดอกเบี้ย เจ้าพนกั งานอาจประเมนิ ดอกเบีย้ เพ่ือเสยี ภาษีเพ่มิ เตมิ
2. ใช้อัตราดอกเบย้ี ใหเ้ หมาะสมกบั แหล่งเงนิ ที่กิจการนามาให้กู้
3. ต้องเสยี ภาษธี รุ กิจเฉพาะ เพราะเปน็ การประกอบธรุ กิจเยีย่ งธนาคารพาณชิ ย์
4. การคานวณภาษเี งินได้นิติบคุ คล ตามภงด.50 จะต้องนาเงินรายไดจ้ ากดอกเบีย้

มารวมคานวณด้วย
5. 2. คานวณการตรวจสอบดอกเบยี้ เงนิ ให้ก้ยู ืมกรรมการ

ตัวอย่าง บรษิ ัท A ใหก้ รรมการก้ยู มื เงิน 100,000 บาท ดอกเบ้ียอย่ทู ่ี 2%

1. กรรมการจ่ายดอกเบีย้ คืน 2% = 100,000 x 2% = 2,000 บาท ฉน้ันกรรมการจะตอ้ งจ่าย
ดอกเบ้ยี คืนปลี ะ 2,000 กรณที ี่ไดร้ ับชาระคืน กิจการต้องทาการเสียภาษี ซ่งึ สามารถคานวณได้
ดงั ต่อไปนี้

2. คานวณการตรวจสอบดอกเบย้ี เงินใหก้ ู้ยืมกรรมการ
ตวั อยา่ ง บรษิ ทั A ให้กรรมการกู้ยืมเงิน 100,000 บาท ดอกเบ้ยี อยูท่ ี่ 2%

1. กรรมการจา่ ยดอกเบย้ี คนื 2% = 100,000 x 2% = 2,000 บาท ฉนั้นกรรมการจะต้องจ่ายดอกเบีย้
คนื ปีละ 2,000 กรณีท่ีไดร้ บั ชาระคนื กิจการต้องทาการเสยี ภาษี ซงึ่ สามารถคานวณได้ดงั ตอ่ ไปนี้

2. เมอื่ กรรมการจา่ ยดอกเบี้ย กิจการจะตอ้ งจ่ายภาษธี ุรกิจเฉพาะ

กิจการ ฐานภาษี อตั ราภาษี

ร้อยละ

1. กิจการธนาคาร,ธุรกิจเงินทุน - ดอกเบ้ีย สว่ นลด ค่าธรรมเนียม คา่ บริการ หรือกาไร 3.0
ธุ ร กิ จ ห ลั ก ท รั พ ย์ , ธุ ร กิ จ ก่อนหักรายจ่ายใด ๆ จากการซ้ือหรือขายต๋ัวเงินหรือ 3.0
เครดิตฟองซิเอร์ และการประกอบ ตราสารแสดงสทิ ธใิ นหน้ีใด ๆ
กิจการเยี่ยง ธนาคารพาณิชย์
- กาไรก่อนหกั รายจา่ ยใด ๆ จากการ แลกเปล่ียนหรือ
ซื้อขายเงินตรา การออกตั๋วเงินหรือการส่งเงินไป
ตา่ งประเทศ

2. กิจการรบั ประกันชีวิต - ดอกเบ้ยี คา่ ธรรมเนยี ม คา่ บริการ 2.5

3. กิจการโรงรบั จานา - ดอกเบีย้ ค่าธรรมเนียม 2.5

- เงิน ทรัพย์สิน ค่าตอบแทน หรือ ประโยชน์ใด ๆ 2.5
อันมีมูลค่าท่ีได้รับ หรือพึงได้รับจากการขายของท่ี
จานาหลุดเป็นสทิ ธิ

4. การคา้ อสงั หาริมทรพั ย์ - รายรับก่อนหกั รายจา่ ยใด ๆ 0.1

5.การขายหลกั ทรัพยใ์ นตลาด - รายรบั ก่อนหักรายจ่ายใด ๆ 0.1 (ยกเว้น)
หลักทรพั ย์

6. การซ้ือและการขายคืนหลัก - กาไรก่อนหักรายจ่ายใด ๆ จากการขายคืน 3.0
ทรัพย์ท่ีได้รับอนุญาตจ าก หลักทรัพย์ แต่ไม่รวมถึง ดอกเบี้ย เงินปันผล หรือ
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า กั บ ประโยชน์ใด ๆ ท่ีไดจ้ ากหลักทรัพย์
ห ลั ก ท รั พ ย์ แ ล ะ ต ล า ด
หลักทรพั ย์

7. ธรุ กิจแฟก็ เตอริง - ดอกเบย้ี สว่ นลด คา่ ธรรมเนยี ม หรือคา่ บริการ 3.0

ซึ่งธุรกิจที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะจะต้องเสียภาษีโดยคานวณจากฐานภาษีคูณด้วยอัตรา
ดังต่อไปน้ี และจะต้องเสียภาษีท้องถ่ิน ควบคู่ไปด้วยอีกร้อยละ10 ของจานวนภาษีธุรกิจเฉพาะ
ดังกลา่ ว

จากการไดร้ บั ดอกเบยี้ คืน 2,000 บาท ถือเป็นรายรับ ซ่ึงรายรับส่วนนี้จะต้องนาไปคานวณ
ภาษีธุรกิจเฉพาะ คานวณได้จาก 2 ส่วน

1. ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ = รายรับ x อตั ราภาษี
2 ภาษที อ้ งถิน่ = ภาษีธุรกิจเฉพาะ x 10%
ภาษที ่ีตอ้ งชาระท้งั ส้นิ = ภาษธี ุรกิจเฉพาะ + ภาษีท้องถ่ิน

1. ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ = รายรบั x อัตราภาษี
= 2,000 x 3%

= 60
2 ภาษีท้องถน่ิ = ภาษีธุรกิจเฉพาะ x 10%

= 60 x 10%
=6
ภาษีท่ีตอ้ งชาระทงั้ สนิ้ = ภาษธี รุ กจิ เฉพาะ + ภาษที ้องถ่นิ

= 60 + 6
= 66 บาท

3. หลังจากคานวณเสรจ็ แลว้ ผตู้ รวจสอบควรตรวจสอบอีกครง้ั หนง่ึ วา่ ตรงกับรายการแยก
ประเภทหรอื ไม่ หากตรงใหท้ าการ Tick Mark rพรอ้ มกับแนบเอกสารหลักฐานท่ีเก่ยี วข้อง

C = Calculation checked (การคานวณการตรวจสอบ)

2.8.4 ภาษีอากรแสตมป์

ภาษีอากรแสตมป์ ถอื เป็นภาษที ่เี กี่ยวข้อง อย่างเช่น ค่าเชา่ เนื่องจากวา่ 2 ปีมี่ผา่ นมามีการ
เนน้ เรอื่ ง อากรแสตมป์ ซึ่งปกตติ ิด พันละ 1 บาท แตเ่ บี้ยปรับมถี ึง 20 เทา่ ติดไว้ ซง่ึ ตดิ ไวเ้ พอ่ื เป็น
ตราสารหนส้ี ามารถฟ้องร้องได้

อากรแสตมป์เป็นภาษีทีจัดเก็บจากการทาตราสารตามบัญชีอัตราอากรแสตมป์ ซ่ึงหาก
อากรแสตมปไ์ ม่ถึง 1 บาทหรอื เศษของบาทจะได้รบั การยกเว้นอากร

ตราสารทตี่ ้องเสียอากรแสตมป์

คาว่า “ตราสาร” ตามประมวลรัษฎากรหมายถึง เอกสารท่ีต้องเสียอากรแสตมป์
ตามที่กาหนดไว้ในบัญชีอัตรา อากรแสตมป์ ซึ่งปัจจุบันมีทั้งหมด 28 ลักษณะตราสาร เช่น ตรา
สารเช่าที่กับโรงเรือน เช่าซื้อทรัพย์สิน จ้างทาของ กู้ยืมเงิน ฯลฯ อากรแสตมป์เป็นภาษีอากรท่ี
จดั เกบ็ จากการกระทาตราสาร โดยคาวา่ กระทา หมายความว่า การลงลาย มือชอ่ื ตามบทบัญญัติ
แหง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์

ลักษณะแหง่ ตราสาร ค่าอากร ผทู้ ี่ต้องเสยี ผู้ทต่ี ้องขดี ฆา่
แสตมป์ อากร แสตมป์

1. เช่าที่ดนิ โรงเรือน ส่ิงปลูกสรา้ งอยา่ งอืน่ หรอื แพ

ทุกจานวนเงิน 1,000 บาท หรือเศษของเงิน 1,000

บาท แห่งค่าเช่าหรือเงินกินเปล่า หรือทั้งสองอย่าง 1 บาท ผู้ให้เช่า ผเู้ ช่า
รวมกันตลอดอายุการเช่า

หมายเหตุ

(1) ถ้าสัญญาเช่ามิได้กาหนดอายุการเช่าให้ถือว่ามี
กาหนด 3 ปี

(2) ถ้าสัญญาเช่าฉบับใดครบกาหนดอายุการเช่า
หรือครบกาหนด 3 ปี ตาม (1) แล้วผู้เช่ายังคงครอง
ทรัพย์สินอยู่และให้ผู้เช่ารู้ความน้ันแล้วไม่ทักท้วง ท้ัง
มิได้ทาสัญญาใหม่ ให้ถือว่าสัญญาเช่าเดิมน้ันได้เร่ิมทา

กันใหม่ โดยไม่มีกาหนดอายุการเช่า และต้องเสียอากร
ภายในสามสิบวนั นับแต่วันที่ถือวา่ เรมิ่ ทาสญั ญาใหม่นน้ั

ยกเว้นไมต่ อ้ งเสยี อากร 1 บาท ผู้โอน ผู้รับโอน
1 บาท ผใู้ หเ้ ชา่ ผเู้ ช่า
เชา่ ทรพั ยส์ ินใช้ในการทานา ไร่ สวน

2. โอนใบหุ้น ใบหุ้นกู้ พันธบัตรและใบรับรองหน้ี ซึ่ง
บริษัท สมาคม คณะบุคคลหรือองค์การใด ๆ เป็นผู้
ออก

คิดตามราคาหุ้นที่ชาระแล้วหรือตามราคาในตราสาร
แล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า ทุกจานวนเงิน 1,000 บาท
หรือเศษของ 1,000 บาท

ยกเว้นไม่ตอ้ งเสียอากร

ก. โอนพนั ธบัตรของรัฐบาลไทย

ข. โอนใบหุ้น ใบหุ้นกู้ และใบรับรองหนี้ซึ่งสหกรณ์
หรือธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรเป็น
ผ้อู อก

3. เชา่ ซอ้ื ทรพั ยส์ ิน

ทุกจานวนเงิน 1,000 บาท หรือเศษของเงิน 1,000
บาท แห่งราคาท้ังหมด

ยกเวน้ ไมต่ ้องเสยี อากร

เช่าซือ้ ทรัพย์สนิ ใชใ้ นการทานา ไร่ สวน

4. จ้างทาของ

ทุกจานวนเงนิ 1,000 บาท หรอื เศษของ 1,000 บาท 1 บาท ผรู้ บั จา้ ง ผู้รบั จ้าง
แห่งสนิ จ้างท่ีกาหนดไว้

หมายเหตุ 1 บาท ผู้ให้กู้ ผ้กู ู้

(1) ถ้าในเวลากระทาสัญญาจ้างทาของไม่ทราบ
จานวนสนิ จา้ งว่าเป็นราคาใด ใหป้ ระมาณจานวนสินจ้าง
ตามสมควรแล้วเสียอากรตามจานวนสินจ้างท่ีประมาณ
นั้น

(2) ถ้ามกี ารรับเงินสินจ้างเปน็ คราว ๆ และอากรทีเ่ สยี
ไว้เดิมยังไม่ครบ ให้เสียอากรเพ่ิมเติมให้ครบตามจานวน
ทีต่ อ้ งเสียทกุ ครง้ั ในทนั ทที มี่ ีการรบั เงนิ

(3) เม่ือการรับจา้ งทาของได้สน้ิ สุดลงแล้ว และปรากฏ
ว่าได้เสียอากรเกนิ ไป ใหข้ อคืนตามมาตรา 122 ได้

ยกเว้นไมต่ อ้ งเสียอากร

สัญญาที่ทาข้ึนนอกประเทศไทยและการปฏิบัติตาม
ข้อสัญญานัน้ มไิ ด้ทาในประเทศไทย

5. กู้ยืมเงิน หรือการตกลงให้เบิกเงินเกินบัญชีจาก
ธนาคาร

ทุกจานวนเงิน 2,000 บาท หรือเศษของเงิน 2,000
บาท แห่งยอดเงินทก่ี ้ยู มื หรอื ตกลงให้เบิกเกินบัญชี

ค่าอากรตามลักษณะแห่งตราสารนี้ เมื่อคานวณแล้ว
ถา้ เกนิ 10,000 บาท ใหเ้ สีย 10,000 บาท

ยกเว้นไม่ต้องเสียอากร

การกู้ยืมเงินซ่ึงสมาชิกกู้ยืมจากสหกรณ์หรือสหกรณ์ 1 บาท ผรู้ ับประกนั ภยั ผรู้ ับประกนั ภยั
กู้ยืมจากสหกรณ์ หรือจากธนาคารเพื่อการเกษตรและ
สหกรณก์ ารเกษตร 1 บาท ผู้รับประกนั ภยั ผู้รบั ประกนั ภยั
1 บาท ผรู้ ับประกันภัย ผรู้ ับประกันภยั
6. กรมธรรมป์ ระกันภยั
1 บาท ผรู้ ับประกนั ภัย ผรู้ ับประกันภยั
(ก) กรมธรรม์ประกันวินาศภัย ทุก 250 บาท หรือ 1 บาท ผรู้ ับประกนั ภยั ผรู้ บั ประกันภยั
เศษของ 250 บาท แหง่ เบ้ียประกนั ภยั 1 บาท ผู้รบั ประกนั ภัย ผูร้ ับประกันภัย
กึง่ อัตราซึ่ง
(ข) กรมธรรม์ประกันชีวิต ทุก 2,000 บาท หรือเศษ เรยี กเก็บ
ของ 2,000 บาท แหง่ จานวนเงนิ ทเ่ี อาประกันภัย

(กาหนดให้ค่าอากรแสตมป์สาหรับตราสารกรมธรรม์
ประกนั ชีวติ ถ้ามีจานวนสงู กว่า 20 บาท ใหล้ ดเหลอื 20
บาท)

(ค) กรมธรรมป์ ระกนั ภัยอ่ืน ๆ ทกุ 2,000 บาท หรอื
เศษของ 2,000 บาท แหง่ จานวนเงนิ ทเี่ อาประกัน

(ง) กรมธรรม์เงินปี ทุก 2,000 บาท หรือเศษของ
2,000 บาง แห่งตน้ ทนุ เงนิ ปีนั้น หรือถ้าไม่ปรากฏต้นทุน
ให้คิดทุก 2,000 บาท หรือเศษของ 2,000 บาท แห่ง
33 1/3 เท่าของรายไดป้ ระจาปี

(จ) กรมธรรม์ประกันภัยซ่ึงผู้รับประกันภัยนาไปให้
ผู้อน่ื ประกนั อกี ต่อหนง่ึ

(ฉ) บนั ทึกการตอ่ อายกุ รมธรรมป์ ระกันภยั เดิม

ยกเวน้ ไม่ตอ้ งเสยี อากร

(ก) การประกันภัยสัตว์พาหนะซ่ึงใช้ในการเกษตร
กรรม

(ข) บันทึกประกันภัยหรือกรมธรรม์ประกันภัย สาหรับ ผมู้ อบอานาจ ผู้รบั มอบอานาจ
ชวั่ คราวซึ่งรบั รองจะออกกรมธรรมป์ ระกนั ภยั ตัวจรงิ แต่ กรมธรรม์ ผมู้ อบอานาจ ผู้รับมอบอานาจ
ถ้าผู้ทรงจะเรียกร้องเอาสิทธิอย่างอ่ืน นอกจากให้ส่ง
มอบกรมธรรม์ประกันภัยตัวจริงแล้วต้องปิดแสตมป์ เดิม ผมู้ อบอานาจ ผรู้ ับมอบอานาจ
เสียก่อน เช่นเดียวกับท่ีจะต้องปิดสาหรับประกันภัยตัว
จริง 10 บาท
30 บาท
7. ใบมอบอานาจ 30 บาท

คือ ใบตั้งตวั แทนซึ่งมิไดก้ ระทาในรปู ลักษณะตราสาร
สัญญา รวมทงั้ ใบตง้ั อนญุ าโตตุลาการ

(ก) มอบอานาจให้บุคคลคนเดียวหรือหลายคน การ
ทาการครั้งเดียว

(ข) มอบอานาจให้บุคคลคนเดียวหรือหลายคนร่วม
กระทาการมากกวา่ ครง้ั เดียว

(ค) มอบอานาจให้กระทาการมากกว่าครั้งเดียว โดย
ให้บุคคลหลายคนต่างคนต่างกระทากิจการแยกกันได้
คิดตามรายตัวบุคคลที่รบั มอบคนละ

หมายเหตุ

ถ้าผู้มอบอานาจมีหลายคน แต่มิได้เป็นผู้มีอานาจ
ร่วมกันแล้วมอบอานาจในตราสารฉบับเดียวกัน ต้องคิด
ตามรายตวั บุคคลผู้มอบคนหนึง่ เปน็ เร่ืองหน่งึ ตามมาตรา
108

ยกเว้นไม่ตอ้ งเสียอากร

(1) ใบแต่งทนายและใบมอบอานาจซึ่งทนายความ
ให้แกเ่ สมยี นของตนเพอ่ื เปน็ ตัวแทนดาเนินคดีในศาล

(2) ใบมอบอานาจให้โอนหรือให้กระทาการใด ๆ 20 บาท ผู้มอบฉันทะ ผู้มอบฉนั ทะ
เกีย่ วด้วยสัตวพ์ าหนะตามกฎหมายวา่ ดว้ ยสัตว์หาหนะ 100 บาท ผมู้ อบฉนั ทะ ผมู้ อบฉันทะ

(3) ใบมอบอานาจให้รับเงินหรอื สง่ิ ของแทน 3 บาท ผูส้ ั่งจ่าย ผู้สงั่ จ่าย
3 บาท ผู้ออกตว๋ั ผอู้ อกตั๋ว
(4) ใบมอบอานาจซ่ึงสหกรณ์เป็นผู้มอบและใบมอบ
อานาจต้ังสหกรณ์เป็นตัวแทนจัดการให้สหกรณ์ได้รับ
สิทธใิ นอสงั หาริมทรพั ย์

8. ใบมอบฉันทะสาหรับให้ลงมติในท่ีประชุมของ
บรษิ ัท

(ก) มอบฉันทะสาหรับการประชุมคร้งั เดยี ว

(ข) มอบฉนั ทะสาหรบั การประชมุ กว่าครง้ั เดียว

9. (1) ต๋ัวแลกเงินหรือตราสารทานองเดียวกับที่ใช้
อยา่ งตัว๋ แลกเงิน ฉบับละ

(2) ต๋ัวสัญญาใช้เงินหรือตราสารทานองเดียวกับที่
ใช้อยา่ งตั๋วสัญญาใชเ้ งนิ ฉบบั ละ

ยกเว้นไมต่ อ้ งเสยี อากร

ถ้าตั๋วออกเป็นสารับและฉบับแรกในสารับน้ันปิด
แสตมป์บริบูรณ์แล้ว ฉบับอ่ืน ๆ ไม่ต้องปิดอีก แต่ต้อง
สลักหลังฉบบั นน้ั ๆ ไวว้ า่ ไดเ้ สียอากรแลว้

10. บลิ ออฟเลดิง 2 บาท ผกู้ ระทาตราสาร ผูก้ ระทาตราสาร

หมายเหตุ

ถ้าออกเป็นสารบั ให้ปิดแสตมป์ตามอัตราทุกฉบบั

11. (1) ใบหุ้น หรือใบหุ้นกู้ หรือใบรับรองหนี้ของ 5 บาท ผทู้ รงตราสาร ผทู้ รงตราสาร
บริษัท สมาคม คณะบคุ คล หรือองค์การใด ๆ 1 บาท ผูท้ รงตราสาร ผ้ทู รงตราสาร

(2) พันธบัตรของรัฐบาลใด ๆ ที่ขายในประเทศ 3 บาท ผู้สัง่ จ่าย ผูส้ ั่งจา่ ย
ไทย 5 บาท ผู้รับฝาก ผู้รบั ฝาก

ทุกจานวนเงิน 100 บาท หรือเศษของ 100 20 บาท ผู้ออกตราสาร ผอู้ อกตราสาร
บาท 30 บาท ผอู้ อกตราสาร ผอู้ อกตราสาร
20 บาท ผทู้ รงคนแรก ผทู้ รงคนแรก
ยกเวน้ ไมต่ อ้ งเสียอากร ในประเทศไทย ในประเทศไทย

ใบหนุ้ ใบห้นุ กู้ หรอื ใบรับรองหนี้ของสหกรณ์

12. เชค็ หรือหนงั สอื คาส่ังใด ๆ ซึ่งใชแ้ ทนเช็ค ฉบับ
ละ

13. ใบรับฝากเงินประเภทประจาของธนาคารโดยมี
ดอกเบ้ยี

14. เลตเตอรอ์ อฟเครดิต

(ก) ออกในประเทศ

- เงนิ ต่ากวา่ 10,000 บาท

- เงินตง้ั แต่ 10,000 บาท ข้ึนไป

(ข) ออกในต่างประเทศและให้ชาระเงินในประเทศ
ไทย คราวละหมายเหตุ

ตราสารเลตเตอร์ออฟเครดิตที่ออกในประเทศไทย
และให้ชาระเงินในต่างประเทศ ต้องทาสาเนาเก็บไว้ใน
ประเทศไทย ส่วนการเสียอากรให้ปิดแสตมป์บริบูรณ์
เฉพาะในฉบบั สาเนาดงั กลา่ วนัน้

15. เชค็ สาหรับผูเ้ ดินทาง 3 บาท ผ้อู อกเชค็ ผู้ออกเช็ค
3 บาท ผู้ทรงคนแรก ผทู้ รงคนแรก
(ก) ออกในประเทศ ฉบับละ ในประเทศไทย ในประเทศไทย
1 บาท
(ข) ออกในต่างประเทศ แต่ให้ชาระในประเทศไทย ผอู้ อกใบรบั ผู้ออกใบรับ
ฉบบั ละ 10 บาท
1 บาท ผ้คู ้าประกนั ผคู้ ้าประกนั
16. ใบรบั ของ 5 บาท ผู้ค้าประกัน ผคู้ า้ ประกนั
10 บาท ผ้คู า้ ประกนั ผคู้ ้าประกนั
ซึ่งออกให้เนื่องในกิจการรับขนสินค้าโดยทางน้า ผคู้ า้ ประกนั ผู้ค้าประกัน
ทางบก และทางอากาศ คือตราสารซึ่งลงลายมือช่ือ
พนักงานหรือนายสินค้าของยานพาหนะรับขนส่ง ซึ่ง
ออกรับของดังระบุไว้ในใบรับน้ัน เมื่อไม่ได้ออกบิลออฟ
เลดงิ ฉบบั ละ

หมายเหตุ

ถ้าออกเปน็ สารบั ใหป้ ิดแสตมปต์ ามอัตราทกุ ฉบับ

17. คา้ ประกัน

(ก)สาหรับกรณที ม่ี ิได้จากดั จานวนเงนิ ไว้

(ข) สาหรบั จานวนเงินไมเ่ กิน 1,000 บาท

(ค) สาหรับจานวนเงินเกิน 1,000 บาท แต่ไม่เกิน
10,000 บาท

(ง) สาหรับจานวนเงินเกนิ 10,000 บาท ขึน้ ไป

ยกเว้นไมต่ อ้ งเสียอากร

(ก) ค้าประกันหน้ีเนื่องแต่การท่ีรัฐบาลให้ราษฎร
กู้ยมื หรือยืมเพ่ือการบรโิ ภคหรอื การเกษตรกรรม

(ข) ค้าประกันหนี้เนื่องแต่การที่สหกรณ์ให้สมาชิก
กยู้ มื หรือยมื

18. จานา 1 บาท ผู้รับจานา ผรู้ บั จานา
1 บาท ผู้รบั จานา ผู้รบั จานา
จานวนหน้ีทุก 2,000 บาท หรือเศษของ 2,000
บาท 1 บาท นายคลงั สนิ คา้ นายคลงั สนิ คา้

ถ้าการจานามิได้จากดั จานวนหนไ้ี ว้

ยกเว้นไม่ต้องเสยี อากร

(ก) ตว๋ั จานาของโรงรับจานาทไ่ี ด้รบั อนญุ าตตาม
กฎหมาย

(ข) จานาอันเก่ียวกับกู้ยืมซ่ึงได้ปิดแสตมป์บริบูรณ์
แล้วตามขอ้ 5

19. ใบรับของคลงั สนิ คา้

20. คาสงั่ ให้สง่ มอบของ 1 บาท ผอู้ อกคาสั่ง ผอู้ อกคาส่ัง

คือ ตราสารซ่ึงบุคคลผู้ปรากฏชื่อในตราสารนั้น 10 บาท ตัวการ ตวั การ
หรือซ่ึงบุคคลผู้น้ันตราชื่อไว้ หรือผู้ทรงมีสิทธิที่จะรับ 30 บาท ตวั การ ตัวการ
มอบสินค้าอันอยู่ในอู่ หรือเมืองท่า หรือคลังสินค้าซ่ึงรับ
เกบ็ หรอื รบั ฝากโดยเรยี กเกบ็ ค่าเช่าหรือรับสนิ ค้าอนั อยู่ที่
ท่าสินค้าโดยที่เจ้าของลงลายมือช่ือ หรือมีผู้อื่นลง
ลายมือชื่อแทนในเม่ือขายหรือโอนทรัพย์สินอันปรากฎ
ในตราสารนั้น

21. ตัวแทน

(ก) มอบอานาจเฉพาะการ

(ข) มอบอานาจท่ัวไป

ยกเวน้ ไม่ต้องเสยี อากร 1 บาท อนุญาโตตลุ าการ อนญุ าโตตุลาการ
การตง้ั ตวั แทนในกรณีสหกรณเ์ ปน็ ตัวการ 10 บาท
22. คาช้ขี าดของอนญุ าโตตุลาการ อนญุ าโตตลุ าการ อนุญาโตตลุ าการ
(ก) ในกรณซี งึ่ พิพาทกันดว้ ยจานวนเงินหรือราคาทุก 1 บาท
จานวนเงิน 1,000 บาท หรือเศษของ 1,000 บาท 5 บาท (1) ถา้ ไมม่ ีบคุ คล คนเดียวกบั ผูข้ ีด
(ข) ในกรณีอน่ื ซึ่งไม่กล่าวถึงจานวนเงนิ หรือราคา อกี ฝา่ ยหนง่ึ เป็น ฆ่า
23. คูฉ่ บบั หรือคูฉ่ ีกแหง่ ตราสาร 200 บาท คสู่ ัญญาคนที่เสยี
คือ ตราสารซ่ึงมีข้อความอย่างเดียวกันกับต้นฉบับ 200 บาท อากรสาหรบั ต้นฉบับ
หรือต้นสัญญาและผู้กระทาตราสารได้ลงลายมือชื่อไว้ 50 บาท ตน้ ฉบับเป็นผู้
อย่างเดียวกบั ตน้ ฉบับ ผเู้ รมิ่ ก่อการ
(ก) ถ้าตน้ ฉบบั เสียอากรไมเ่ กนิ 5 บาท เสีย
(ข) ถ้าเกิน 5 บาท
ยกเวน้ ไม่ตอ้ งเสยี อากร (2) ถา้ มบี ุคคล
ถ้าฝ่ายท่ีตอ้ งเสยี อากรเป็นสหกรณ์ อกี ฝา่ ยหนึ่งเปน็
คู่สัญญาบคุ คล
24. หนังสือบริคณห์สนธิของบริษัทจากัดที่ส่งต่อนาย อีกฝ่ายหนง่ึ น้นั
ทะเบียน ตอ้ งเป็นผเู้ สีย
25. ขอ้ บังคบั ของบรษิ ทั จากัดทส่ี ่งต่อนายทะเบียน
26. ข้อบังคับใหม่หรือสาเนาหนังสือบริคณห์สนธิหรือ อากร
ข้อบังคับของบริษัทจากัดซ่ึงเปล่ียนแปลงใหม่ท่ีส่งต่อ
นายทะเบียน ผูเ้ ร่ิมกอ่ การ
27. หนงั สือสญั ญาห้างหนุ้ สว่ น
กรรมการ กรรมการ

กรรมการ กรรมการ

(ก) หนังสือสญั ญาจดั ต้ังหา้ งหุน้ สว่ น 100 บาท ผ้เู ปน็ หุน้ สว่ น ผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วน
50 บาท ผเู้ ป็นหนุ้ ส่วน ผู้เป็นหุ้นส่วน
(ข) หนงั สือสัญญาท่แี ก้ไขสัญญาจดั ตั้งห้างหุน้ ส่วน
1 บาท ผ้อู อกใบรับ ผู้ออกใบรับ
28. ใบรับ เฉพาะตามที่ระบุตอ่ ไปน้ี

(ก) ใบรบั รางวลั สลากกินแบ่งของรฐั บาล

(ข) ใบรับสาหรับการโอนหรือก่อต้ังสิทธิใด ๆ
เก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์ ในเมื่อนิติกรรมท่ีเป็นเหตุให้
ออกใบรบั นน้ั มกี ารจดทะเบยี นตามกฎหมาย

(ค) ใบรับสาหรบั การขาย ขายฝาก ใหเ้ ชา่ ซ้ือ หรือโอน
กรรมสิทธิ์ยานพาหนะ ทั้งนี้เฉพาะยางพาหนะซ่ึงมีการ
จดทะเบียนตามกฎหมายว่าดว้ ยยานพาหนะนนั้ ๆ

ถ้าใบรบั ตาม (ก) (ข) หรือ (ค) มจี านวนเงนิ ต้งั แต่ 200
บาท ขึ้นไปทกุ 200 บาทหรือเศษของ 200 บาท

ยกเว้นไม่ตอ้ งเสยี อากร

ใ บ รั บ ส า ห รั บ จ า น ว น เ งิ น ท่ี ผู้ รั บ ต้ อ ง เ สี ย
ภาษีมูลคา่ เพิม่ หรือภาษีธุรกิจเฉพาะ

ตวั อยา่ ง สญั ญาเช่า
1. เช่าที่ดนิ โรงเรือน สง่ิ ปลูกสรา้ งอยา่ งอ่นื หรือแพ

A ใหน้ าย B เช่าท่ีดินเปน็ เวลา 2 ปี โดยคดิ คา่ เชา่ 3,000 บาทตอ่ เดือน
ทุกจานวนเงิน 1,000 บาท หรือเศษของเงิน 1,000 บาท แห่งค่าเช่าหรือเงินกินเปล่า หรือทั้ง
สองอยา่ งรวมกนั ตลอดอายุการเช่า

ต้องตดิ อากร พนั ละ 1 บาท ของจานวนเงินคา่ เชา่ ตลอดสญั ญาทงั้ หมด

คา่ เชา่ ตลอดสญั ญาทงั้ หมด 3,000 x 24 = 72,000 บาท

อากรแสตมป์ 72,000/ 1,000 = 72 บาท

หมายเหตุ

(1) ถา้ สญั ญาเช่ามไิ ดก้ าหนดอายุการเช่าใหถ้ อื ว่ามกี าหนด 3 ปี

(2) ถ้าสัญญาเช่าฉบับใดครบกาหนดอายุการเช่า หรือครบกาหนด 3 ปี ตาม (1) แล้วผู้เช่า
ยังคงครองทรัพยส์ ินอย่แู ละใหผ้ ู้เช่ารู้ความนัน้ แลว้ ไมท่ ักท้วง ทง้ั มไิ ด้ทาสญั ญาใหม่ ใหถ้ อื วา่ สญั ญา
เช่าเดิมน้ันได้เร่ิมทากันใหม่ โดยไม่มีกาหนดอายุการเช่า และต้องเสียอากรภายในสามสิบวัน นับ
แตว่ นั ที่ถือว่าเริม่ ทาสญั ญาใหมน่ น้ั

ยกเวน้ ไม่ตอ้ งเสยี อากร

เชา่ ทรพั ย์สินใชใ้ นการทานา ไร่ สวน

ความรบั ผิดกรณไี มป่ ดิ แสตมปบ์ ริบูรณแ์ ละการไมอ่ อกใบรบั

1. ความรบั ผดิ ทางแพง่

1.1 กรณีย่ืนตราสารขอเสียอากรเอง ตราสารใดมิได้ปิดแสตมป์บริบูรณ์ ผู้มีหน้าที่เสีย
อากร หรือผู้ทรงตราสาร หรือผู้ถือเอาประโยชน์ชอบท่ีจะย่ืนตราสารนั้น ต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ี
เพ่ือขอเสียอากรได้ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีได้รับตราสารแล้ว ให้อนุมัติให้เสียอากรภายในบังคับ
แห่งบทบัญญตั ิตอ่ ไปน้ี

ถา้ ตราสารทีม่ ิไดป้ ิดแสตมป์บรบิ ูรณ์นนั้ เปน็ ตราสารทกี่ ระทาข้นึ ในประเทศไทย เมื่อผู้ขอ
เสียอากร ได้ยืน่ ตราสารน้นั ต่อพนักงานเจ้าหนา้ ที่เพื่อเสยี อากรภายใน 15 วัน นบั แตว่ ันทีต่ ้อง ปิด
แสตมปบ์ รบิ ูรณ์ กใ็ ห้อนุมตั ิใหเ้ สียเพียงอากรตามอตั ราในบัญชีท้ายหมวดอากรแสตมป์

1.2 กรณีปรากฎต่อพนักงานเจา้ หน้าท่ีเป็นอย่างอ่ืน ก็ให้อนุมัติให้เสียอากรและให้เรียกเกบ็
เงินเพ่มิ อากร ดังต่อไปน้ีอกี ด้วย

(ก) ถ้าปรากฏต่อพนักงานเจ้าหนา้ ท่ีว่าตราสารมิได้ปดิ แสตมป์บริบูรณ์เป็นเวลา ไม่
พ้นกาหนด 90 วัน นับแต่วันต้องปิดแสตมป์บริบูรณ์ให้เรียกเก็บเงินเพิ่มอากรเป็น 2 เท่า
จานวน อากรหรือเป็นเงิน 4 บาท แล้วแต่อยา่ งใดจะมากกว่า

(ข) ถ้าปรากฎต่อพนกั งานเจ้าหนา้ ที่ว่า ตราสารมไิ ด้ปิดแสตมป์บริบรู ณ์เป็นเวลาพ้น
กาหนด 90 วัน นับแต่วันต้องปิดแสตมป์บริบูรณ์แล้วให้เรียกเก็บเงินเพ่ิมอากรเป็น 5 เท่า
จานวน อากรหรอื เปน็ เงนิ 10 บาทแล้วแตอ่ ยา่ งใดจะมากกวา่

1.3 กรณีพนักงานเจ้าหน้าที่หรือนายตรวจทาการตรวจพบ กล่าวคือเมื่อมีเหตุสมควร
พนักงาน เจ้าหน้าท่ีหรือนายตรวจมีอานาจเข้าไปในสถานการค้าหรือสถานท่ีท่ีเก่ียวข้องระหว่าง
พระอาทิตย์ข้ึน พระอาทิตย์ตก หรือในเวลาทาการของสถานการค้าหรือสถานท่ีนั้น เพื่อทาการ
ตรวจสอบตราสารว่าได้ปิดแสตมป์บริบูรณ์ตาม ท่ีกาหนดในบัญชีอัตราอากรแสตมป์หรือไม่ หรือ
ทาการตรวจสอบเพื่อทราบว่าได้ออกใบรับ หรือทาหรือ เก็บต้นข้ัวสาเนาใบรับ หรือทาหรือเก็บ
บันทึกตามท่ีกาหนดไว้ในหมวดอากรแสตมป์ หรือไม่กับมีอานาจ เรียกและยึดตราสาร หรือ
เอกสารและออกหมายเรียกตัวผู้มีหน้าที่เสียอากร ผู้ทรงตราสารหรือผู้ถือเอาประโยชน์แห่ง ตรา
สารและพยานหลักฐานอนื่ อันควรแก่เรื่องมาไต่สวน โดยการกลา่ วหาแจง้ ความของบุคคลใด ไม่ว่า
จะเป็นเจ้าพนักงานรฐั บาลหรือมิใชก่ ็ดี ถา้ ปรากฎว่า

(1) มิได้มีการออกใบรับในกรณีท่ีต้องออกใบรับตามข้อ 2 ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมี
อานาจเรียกเก็บ เงินอากรจนครบ และเงินเพิ่มอากรอีกเป็นจานวน 6 เท่าของเงินอากรหรือ
เป็นเงนิ 25 บาท แล้วแตอ่ ยา่ งใดจะมากกวา่

(2) ตราสารมไิ ดป้ ดิ แสตมป์บรบิ รู ณ์ โดย

(ก) มิได้ปิดแสตมป์เลย ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจเรียกเก็บเงินอากรจนครบ
และเงินเพิ่มอากรอีกเป็นจานวน 6 เทา่ ของเงินอากรที่ต้องเสียหรือเป็นเงนิ 25 บาท แล้วแต่
อยา่ งใดจะมากกว่า

(ข) ปิดแสตมป์น้อยกว่าอากรท่ีต้องเสีย ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีอานาจเรียกเก็บ
เงิน อากรจนครบ และเงนิ เพ่ิมอีกเป็นจานวน 6 เท่าของเงินอากรทข่ี าดหรือเปน็ เงิน 25 บาท
แล้วแต่อยา่ งใดจะมากกวา่

ในกรณีอื่น ให้พนักงานเจ้าหน้าท่ีมีอานาจเรียกเก็บเงินเพิ่มอากรเป็นจานวน 1 เท่า
ของเงินอากร ท่ีตอ้ งเสยี หรอื เปน็ เงิน 25 บาท แลว้ แต่อย่างใดจะมากกว่า

2. ความรับผิดทางอาญา

2.1 ผู้ใดมีหน้าทีเ่ สียอากร หรอื ขีดฆ่าแสตมป์ เพิกเฉยหรือปฏิเสธไม่เสยี อากรหรือไม่ขีด
ฆ่าแสตมป์ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหา้ ร้อยบาท

2.2 ผู้ใดออกใบรับไม่ถึง 10 บาท สาหรับมูลค่าต้ังแต่ 10 บาทข้ึนไป หรือแบ่งแยกมูล
ค่าท่ไี ดร้ ับชาระน้ัน เพือ่ หลกี เลีย่ งการเสียอากรกด็ ี จงใจกระทาหรือทาตราสารใหผ้ ิดความจริงเพ่ือ

หลีกเล่ียงไม่ปฏิบัติตาม บทบัญญัติแห่งหมวดน้ีก็ดี มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองร้อย
บาท

2.3 ผู้ใดไม่ทาหรือไม่เก็บบันทึกตามมาตรา 105 ตรี หรือไม่ออกใบรับให้ทันทีท่ีถูก
เรียกร้องตาม มาตรา 106 (ข้อ 2.2) หรือออกใบรับซ่ึงไม่ปิดแสตมป์ตามจานวนอากรที่ต้องเสีย
ตอ้ งระวางโทษปรับไมเ่ กนิ ห้ารอ้ ยบาท

2.4 ผู้ใดโดยตนเองหรือสมคบกับผ้อู ่ืนทาให้ไม่มีการออกใบรบั หรือไม่ออกใบรับใหท้ นั ที
ท่ีรับเงิน หรือรับชาระราคาตามมาตรา 105 (ข้อ 2.1) หรือออกใบรับเป็นจานวนเงินน้อยกว่า ที่
รับเงินหรือรับชาระราคาจริง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าร้อยบาท หรือจาคุกไม่เกินหน่ึงเดือน
หรือทง้ั ปรบั ท้งั จา

2.5 ผู้ใดโดยรูอ้ ยแู่ ลว้ ไม่อานวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าท่ีหรือนายตรวจในการ
ปฏิบัติตามหน้าท่ี หรือโดยรู้อยู่แล้วหรือจงใจไม่ปฏิบัติตามคาเรียกหรือไม่ยอมให้ยึดตราสารหรือ
เอกสาร หรือไม่ปฏิบัติตามหมายของพนักงานเจ้าหน้าที่หรือนายตรวจ ตามความในมาตรา 123
หรือไม่ยอมตอบคาถามเมื่อซักถามหรือฝ่าฝืนบทบัญญัติมาตรา 105 ทวิ (ข้อ 3) มาตรา 105
จัตวา (ข้อ 5) หรือมาตรา 123 ทวิ มคี วามผดิ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไมเ่ กนิ ห้ารอ้ ยบาท

2.6 ผู้ใดโดยเจตนาทุจริตมีแสตมป์ซึ่งรู้อยู่ว่าเป็นแสตมป์ปลอมก็ดี หรือค้าแสตมป์ที่ใช้
แล้วหรือที่มีกฎกระทรวง ประกาศให้เลิกใช้เสยี แล้วก็ดี ผู้นั้นมีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกนิ
หา้ พนั บาทหรอื จาคกุ ไมเ่ กิน สามปีหรอื ทงั้ ปรับท้ังจา

ข้อเสยี ของตราสารที่มไิ ด้ปดิ แสตมป์บริบูรณ์

ตราสารใดไม่ปิดแสตมป์บริบูรณ์ จะใช้ต้นฉบับ คู่ฉบับ คู่ฉีก หรือสาเนาตราสารน้ันเป็น
พยานหลักฐาน ในคดีแพ่งไม่ได้ จนกว่าจะได้เสียอากรโดยปิดแสตมป์ครบจานวนอัตราในบัญชี
ทา้ ย หมวดอากรแสตมป์ และขีดฆ่าแล้วแตท่ ง้ั นไ้ี มเ่ ป็นการเสอ่ื มสทิ ธิทีจ่ ะเรียกเงนิ เพิ่มอากร

นอกจากนนั้ กฎหมายยงั หา้ มเจา้ พนักงานรัฐบาลลงนามรับรู้ ยอมใหท้ าหรือบันทกึ สิ่งใด ๆ
ในตราสาร ดังกลา่ วด้วย จนกว่าจะไดม้ ีการเสยี อากรให้ครบถ้วนเสียกอ่ น

บทท่ี 3

ผลการปฏบิ ตั งิ าน

สปั ดาหท์ ี่ 1 วนั ท่ี 7 เดอื น ธันวาคม พ.ศ.2563
1. งานทไ่ี ด้รับมอบหมาย
- อา่ นเอกสารท่พี ่ีเล้ยี งแจกใหอ้ ่านกอ่ นลงมือจริง
- ทาความเข้าใจในการใช้โปรแกรม Excel ท่เี ก่ยี วข้องอยา่ งครา่ ว ๆ
- มีการตั้งโจทย์ใหล้ องคานวณคานวณในส่วนรายการที่เปน็ ตวั ค่าใช้จ่ายลว่ งหน้า
- ศกึ ษากรณตี ัวอยา่ งการตรวจสอบบัญชี
2. รายละเอียดของงาน
- เอกสารประกอบไปดว้ ยเทคนิคและวธิ ีการตรวจสอบบญั ชี และความหมายของรายการ
ยอ่ ในงบแสดงฐานะการเงนิ (อ่านครา่ ว ๆ)
- รายละเอยี ดในสว่ นของการใชโ้ ปรแกรม Excel จะใชต้ วั อักษรภาษาองั กฤษในการแทน
5 หมวด
- ศึกษาลักษณะ วิธี เอกสารหลักฐานท่ีใช้ในการตรวจสอบจากแฟ้มบริษัทท่ีส่งงบมาให้
ของปีกอ่ น ๆ
3. ปญั หา/อุปสรรคในการปฏิบัติงาน
- ฝึกงานสัปดาหแ์ รกยงั คงเกรง็ ๆ
- ไม่เคยลงงานจริง ๆ ในเร่ืองของการนาข้อมูลจากงบทดลองเข้าไปกรอกในโปรแกรม
Excel และยังคงแยกบางรายการไมอ่ อกวา่ ควรจัดปอยู่หมวดใด
4. แนวทางการแกป้ ัญหา
- ทบทวนและเรียนรคู้ วามรใู้ หม่ ๆ อย่างสม่าเสมอ
- พยายามอา่ นและทาความเขา้ ใจให้มากกวา่ การจา
- จดุ ไหนที่ไมแ่ มน่ ยา ไมถ่ นัด เข้าใจ จาไม่ได้ก็จดจดไว้ในสมดุ โน้ต
- พูดคุยและถามพีเ่ ลีย้ ง
5. ประโยชนท์ ีไ่ ด้รับจากการปฏิบตั งิ าน
- ได้เรียนรเู้ หน็ ถึงระบบงานทปี่ ฏิบตั ิกันจริง ๆ
- ไดค้ วามรูท้ ีแ่ ตกตา่ งจากตาราเรยี น
- ไดล้ งมอื ทาจริง นาทฤษฎีมาใชจ้ ริง
6. สรุปผลการปฏิบัติงาน : ถือเป็นสัปดาห์แรกที่ยังเกร็ง ๆ กับพ่ีเลี้ยง สัปดาห์แรกยังมิได้ลง

มือปฏิบัติงานมากนัก เน่ืองจากเป็นนักศึกษาฝึกงานน้องใหม่ที่ยังขาดประสบการณ์ ส่วนมาก
สปั ดาห์แรกเปน็ สัปดาหแ์ ห่งการเรยี นรู้ รบั ความรูใ้ หม่ ๆ ทเ่ี พิ่มเตมิ เข้ามา

สปั ดาห์ที่ 2 วันท่ี 14 เดือน ธนั วาคม พ.ศ.2563
1. งานทไี่ ด้รับมอบหมาย
- Check Stocks ที่มชิ ชทู กั ษณิ สาขาปัตตานี สตลู และสงขลา
2. รายละเอียดของงาน
- มีการแบ่งเขตการลงพื้นท่ีในการ Check Stocks โดยจะมีการปริ้นรายการสินค้า
คงเหลอื จากระบบของบริษัท มชิ ชทู ักษณิ ของแตล่ ะสาขา แตล่ ะเขตจะแบ่งเปน็ โซน ๆ
ไป
- โดยในการ Check Stocks จะต้องนับจานวนสนิ ค้าคงเหลอื ตรวจสภาพของประโยชน์
การใช้งานว่าใช้ได้อีกหรือไม่ จานวนสินค้าที่นับได้จริงอาจจะตรง ขาด หรือเกินจาก
ระบบจริง ก็จะลงรายการไว้ สินค้าคงเหลือใดท่ีมิมีรหัสในระบบก็ลงรายการไว้พร้อม
ถา่ ยรูปเปน็ หลกั ฐานประกอบ
3. ปญั หา/อปุ สรรคในการปฏบิ ตั ิงาน
- สินค้าวางไม่ตรงชั้น วางไม่เป็นท่ีเป็นทาง สลับท่ีชั้น เช็คยากมากต้องใช้เวลา สินค้า
กระจัดกระจาย บางตวั ไปอยู่อีกโซนนงึ
- กล่องใส่สินค้าในหนงึ่ กล่องมีสนิ ค้ารวมกันอยู่หลายตัว โดยท่ีไม่ได้มีการแยกสินค้าใส่ถุง
ทาใหใ้ ช้เวลามาก ตอ้ งแยกสนิ คา้ ชนิดเดยี วกันออกมาก่อนจงึ จะนบั ได้
4. แนวทางการแก้ปญั หา
- ในการ Check Stocks ที่เช็คยากจะใช้วิธีในการจดใส่กระดาษ A4 โดยระบุช้ัน รหัส
จานวนของสินค้าคงเหลือเพื่อประหยัดเวลาในการ Check Stocks และเพื่อให้ง่ายต่อ
การเทยี บรายการและตัดรายการสนิ ค้าคงเหลอื
5. ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับจากการปฏบิ ตั งิ าน
- ไดล้ งพน้ื ทีจ่ รงิ เหน็ ถึงระบบ กระบวนการในการ Check Stocks
6. สรุปผลการปฏบิ ตั งิ าน : สปั ดาหน์ ี้เป็นสปั ดาห์แห่งการ Check Stocks

สปั ดาหท์ ่ี 3 วันท่ี 21 เดือน ธันวาคม พ.ศ.2563

1. งานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย : เทยี บรายการและตัดรายการสนิ ค้าคงเหลอื
2. รายละเอียดของงาน : นารายการสินค้าคงเหลือที่ปริ้นท์จากระบบกับนับได้จริงมาเทียบ

รายการและตัดรายการสนิ ค้าคงเหลือ พรอ้ มทงั้ เขยี นสรุปรายการสนิ ค้าคงเหลอื ทมี่ ีจริงแต่
ไมม่ ใี นระบบ
3. ปญั หา/อปุ สรรคในการปฏิบตั งิ าน : รายการสินคา้ คงเหลอื เยอะมาก ต้องใช้เวลามาก
4. แนวทางการแก้ปญั หา : ใชว้ ิธีการเทียบรหสั และชน้ั วางสนิ คา้ ให้หาง่ายมากข้นึ
5. ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับจากการปฏิบตั ิงาน : ฝกึ ความอดทน
6. สรุปผลการปฏิบัติงาน : สัปดาห์นี้เป็นสัปดาหแ์ ห่งการเทียบรายการและตัดรายการสินคา้
คงเหลือ

สปั ดาห์ท่ี 4 วันท่ี 4 เดือน มกราคม พ.ศ.2564
1. งานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
2. รายละเอียดของงาน
3. ปัญหา/อปุ สรรคในการปฏิบัติงาน
4. แนวทางการแก้ปัญหา
5. ประโยชน์ทไี่ ดร้ บั จากการปฏบิ ัติงาน
6. สรปุ ผลการปฏิบตั ิงาน

สปั ดาห์ท่ี 5 วันที่ 11 เดอื น มกราคม พ.ศ.2564
1. งานท่ีได้รบั มอบหมาย
2. รายละเอียดของงาน
3. ปัญหา/อปุ สรรคในการปฏิบัติงาน
4. แนวทางการแก้ปญั หา
5. ประโยชน์ท่ไี ดร้ บั จากการปฏิบตั งิ าน
6. สรปุ ผลการปฏบิ ตั ิงาน

สปั ดาห์ท่ี 6 วันท่ี 18 เดือน มกราคม พ.ศ.2564
1. งานทไ่ี ด้รับมอบหมาย
2. รายละเอยี ดของงาน
3. ปัญหา/อปุ สรรคในการปฏิบตั งิ าน
4. แนวทางการแก้ปัญหา
5. ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากการปฏบิ ัตงิ าน
6. สรปุ ผลการปฏิบตั งิ าน

สัปดาห์ท่ี 7 วันท่ี 25 เดอื น มกราคม พ.ศ.2564
1. งานที่ไดร้ ับมอบหมาย.
2. รายละเอยี ดของงาน
3. ปญั หา/อุปสรรคในการปฏิบัตงิ าน
4. แนวทางการแก้ปัญหา
5. ประโยชน์ทไี่ ด้รบั จากการปฏิบัติงาน
6. สรุปผลการปฏิบัติงาน

สัปดาหท์ ี่ 8 วันที่ 1 เดือน กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2564
1. งานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
2. รายละเอียดของงาน
3. ปัญหา/อุปสรรคในการปฏบิ ัตงิ าน

4. แนวทางการแกป้ ญั หา
5. ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั จากการปฏบิ ัติงาน
6. สรปุ ผลการปฏิบตั ิงาน

สปั ดาหท์ ี่ 9 วันท่ี 8 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2564
1. งานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
2. รายละเอียดของงาน
3. ปัญหา/อปุ สรรคในการปฏบิ ตั ิงาน
4. แนวทางการแก้ปญั หา
5. ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับจากการปฏบิ ัติงาน
6. สรุปผลการปฏิบตั งิ าน

สัปดาห์ท่ี 10 วันที่ 15 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2564
1. งานที่ไดร้ บั มอบหมาย
2. รายละเอยี ดของงาน
3. ปญั หา/อปุ สรรคในการปฏิบัติงาน
4. แนวทางการแก้ปัญหา
5. ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั จากการปฏบิ ตั งิ าน
6. สรปุ ผลการปฏิบัตงิ าน

สัปดาห์ที่ 11 วันท่ี 22 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ.2564
1. งานทีไ่ ด้รับมอบหมาย
2. รายละเอยี ดของงาน
3. ปัญหา/อุปสรรคในการปฏิบัติงาน
4. แนวทางการแก้ปญั หา
5. ประโยชน์ทไี่ ด้รับจากการปฏิบัตงิ าน
6. สรปุ ผลการปฏิบัติงาน

สัปดาหท์ ่ี 12 วนั ท่ี 1 เดอื น มนี าคม พ.ศ.2564
1. งานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
2. รายละเอียดของงาน
3. ปัญหา/อุปสรรคในการปฏบิ ัตงิ าน
4. แนวทางการแก้ปัญหา
5. ประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั จากการปฏบิ ัติงาน
6. สรุปผลการปฏิบัตงิ าน

สปั ดาห์ที่ 13 วันที่ 8 เดอื น มีนาคม พ.ศ.2564
1. งานทีไ่ ด้รับมอบหมาย
2. รายละเอยี ดของงาน
3. ปัญหา/อปุ สรรคในการปฏบิ ัตงิ าน
4. แนวทางการแกป้ ัญหา
5. ประโยชน์ที่ไดร้ บั จากการปฏบิ ัติงาน
6. สรปุ ผลการปฏบิ ตั ิงาน

สัปดาหท์ ี่ 14 วนั ที่ 15 เดือน มนี าคม พ.ศ.2564
1. งานท่ีไดร้ บั มอบหมาย
2. รายละเอยี ดของงาน
3. ปญั หา/อปุ สรรคในการปฏิบตั งิ าน
4. แนวทางการแกป้ ัญหา
5. ประโยชน์ที่ไดร้ บั จากการปฏบิ ัติงาน
6. สรปุ ผลการปฏิบัติงาน

สปั ดาห์ท่ี 15 วนั ที่ 22 เดือน มนี าคม พ.ศ.2564
1. งานท่ีได้รบั มอบหมาย
2. รายละเอยี ดของงาน
3. ปญั หา/อปุ สรรคในการปฏบิ ตั ิงาน
4. แนวทางการแกป้ ญั หา
5. ประโยชนท์ ี่ได้รับจากการปฏบิ ัติงาน
6. สรุปผลการปฏิบัติงาน

สัปดาหท์ ่ี 16 วันท่ี 29 เดอื น มนี าคม พ.ศ.2564
1. งานท่ไี ด้รับมอบหมาย
2. รายละเอยี ดของงาน
3. ปัญหา/อุปสรรคในการปฏิบตั งิ าน
4. แนวทางการแก้ปัญหา
5. ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั จากการปฏบิ ตั ิงาน
6. สรุปผลการปฏบิ ตั ิงาน

บทที่ 4
สรุปผลการปฏบิ ตั ิงานและขอ้ เสนอแนะ

4.1 สรุปผลการปฏิบัติงาน
4.1.1 ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในการปฏบิ ตั ิงาน
ปฏิบตั ิหนา้ ทดี่ ว้ ยความซ่อื สัตย์สจุ ริตและยตุ ิธรรม อุทิศแรงกายแรงใจในการปฏิบัติงาน

และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายและปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรักความสามัคคีช่วยเหลือ
เกื้อกูลซ่งึ กนั และกัน

4.1.2 ด้านการเรียนรูก้ ารทางานในสถานประกอบการ
ปฏิบัติหน้าที่พร้อมกับเรียนรู้วิธีการทางานในสถานประกอบการจริง ๆ ได้เรียนรู้ถึง

กระบวนการทางานต่าง ๆ ของการทางาน พรอ้ มทัง้ ทราบถึงบทบาท หน้าท่ี และความสาคัญของ
การปฏิบัตงิ าน

4.1.3 ด้านการใชส้ ติปัญญาแก้ปญั หาในการทางาน
ปฏิบัติหนา้ ทีน่ อกจากใช้ความร้แู ล้ว สตปิ ัญญาถอื เป็นส่งสาคัญ แนน่ อนวา่ ทุกงานยอ่ ม

มจี ุดบกพร่อง ข้อผดิ พลาด ใช้สติปญั ญาทาความเข้าใจจุดบกพร่อง ข้อผดิ พลาด รูเ้ หตแุ ห่งปัญหา
และผลทเ่ี กดิ ขึ้นอยา่ งมเี หตุผล ทกุ จดุ บกพร่อง ข้อผดิ พลาดมที ไ่ี ปทม่ี าเสมอ

4.1.4 ด้านการทางานร่วมกันในองค์กร
ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ที ี่ได้รบั มอบหมายเรยี นร้กู ารทางานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ และเพิ่มทกั ษะการเรียนรู้

ระบบการทางานในองค์กร การทางานร่วมกบั บุคคลตา่ ง ๆ ในสถานประกอบการซึง่ มีอายุ
แตกต่างกัน

4.1.5 ด้านการใช้เคร่ืองมอื เครื่องจกั ร อุปกรณ์ และสารสนเทศในการทางาน
ปฏิบตั ิหน้าทดี่ ้วยความรู้เกยี่ วกับอปุ กรณ์สานักงานเพิ่มมากข้ึน เชน่ เคร่อื งถ่ายเอกสาร

, เจาะเอกสารเข้าเล่ม หรือ การจัดข้อมูลท่ีสาคัญเข้าแฟ้มแต่ละแฟ้ม เรียนรู้โปรแกรมต่าง ๆ ที่
บริษทั ใชใ้ นการปฏบิ ัติงาน

4.1.6 ด้านทกั ษะในการทางานอืน่ ๆ
ปฏิบัติหน้าที่คร้ังนี้ได้เรียนรู้การทางานร่วมกับผู้อื่น และเพิ่มทักษะการเรียนรู้ระบบ

การทางานในองค์กรรวมถงึ การฝึกฝนให้เปน็ คนช่างสังเกตและรจู้ ักปรับปรุงการพัฒนาการทางาน
ของตน

4.2 ประโยชนท์ ีไ่ ด้รับจากการปฏบิ ตั งิ าน
4.2.1 ประโยชนต์ อ่ ตนเอง
- การปฏิบตั ิงานไดฝ้ ึกตวั เองใหเ้ ปน็ คนท่มี รี ะเบียบวินัยมากขึ้น เช่นการเขา้ มาทางาน
ให้ตรงตอ่ เวลา
- การปฏิบตั งิ านฝึกตนเองเร่ืองความรบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าทตี่ อ่ งานทไ่ี ด้รับมอบหมาย
- การปฏิบัติงานได้ฝึกตนเองในเร่ืองของการเป็นผู้ฟังที่ดีและเป็นผู้ต่อยอดให้กับเพื่อ
ร่วมงานท่ดี ี
- การปฏิบัติงานทาเข้าใจหลักการทางานมากข้ึน มีความรับผิดชอบกับงานท่ีได้รับ
มอบหมาย
- การปฏิบัติงานทาให้มีความขยันมากข้ึน เพราะด้วยงานท่ีได้รับมอบหมายในทุก ๆ
งานตอ้ งทาออกมาให้ดี ถกู ต้อง สมบูรณ์
- การปฏิบัติงานฝึกให้เป็นคนมีความละเอียดรอบคอบ การทางานทุกครั้งต้องมีความ
ละเอยี ดรอบคอบเพราะถ้ามขี อ้ ผิดพลาด คนผดิ กค็ อื ผ้ทู าทไ่ี มม่ ีความละเอยี ดมากพอ
- การปฏิบัติงานอย่างเต็มท่ีในทุก ๆ งานที่ได้รับมอบหมาย ถือเป็นการทบทวนความรู้
ตนเอง เพิ่มความม่ันใจในการทางาน การฝึกงานช่วยให้เรามีความม่ันใจและไม่
ประหมา่ เวลาทางานเน่ืองเรามีประสบการณ์ในการทางานมาแล้วน่นั เอง
- การปฏบิ ัตงิ านฝึกความอดทน การฝึกงานจะช่วยฝกึ ใหเ้ รามีความอดทนต่อแรงกดดัน
ได้ไม่ว่าจะเป็นแรงกดดนั ในเร่ืองเวลา หรอื แรงกดดนั จากบุคคลรอบขา้ ง
- การปฏิบัติงานได้พัฒนาความร้ตู นเอง เรียนรู้ด้วยตนเอง การมาฝึกงานทาใหเ้ ราต้อง
หาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเอง แม้เราจะถามพี่ท่ีทางานด้วยกันได้แต่ก็ไม่สามารถถาม
ได้ตลอดเวลาดังนัน้ จงึ มีความจาเป็นทจ่ี ะตอ้ งช่วยตนเองในการหาความรเู้ พิ่มเตมิ
- การปฏิบัติงานทาให้เรารู้จักปรับตัว การฝึกงานช่วยให้เราสามารถปรับตัวให้เข้ากับ
สงั คมการทางานได้

4.2.2 ประโยชนต์ อ่ สถานประกอบการ
- เปิดโอกาสให้องค์กรได้รับนักศึกษาฝึกงานท่ีมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ในส่ิงใหม่เข้า
มาทางาน
- องค์กรได้รับการยอมรับจากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในการคัดเลือกบุคคลเข้ารับการ
ฝึกงาน
- ชว่ ยลดคา่ ใชจ้ ่ายในส่วนของการจ้างงานประจามากข้ึน เน่อื งจากการดาเนินงานของ
นกั ศกึ ษาฝกึ งานมาชว่ ยทางานในส่วนทสี่ ามารถช่วยทาได้
- องค์กรมีทางเลือกในการคัดสรรพนักงานท่ีเหมาะสมกับองค์กรจากโครงสร้าง
นักศกึ ษา
- องค์กรได้รับทราบเกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาของแต่ละมหาวิทยาลัยโดยดูจาก
นักศึกษาของแตล่ ะมหาวิทยาลัย

4.2.3 ประโยชนต์ อ่ มหาวทิ ยาลัย
- เกิดความรว่ มมือกนั ทางวชิ าการ และความสมั พันธ์ทดี่ ีกบั สถานประกอบการ
- มหาวทิ ยาลยั ได้ขอ้ มูลย้อนกลับ เพ่ือการปรับปรงุ และพัฒนาหลักสตู รในการเรียนการ
สอนตอ่ ไป
- จากการส่งตัวเข้ารับการฝึกงานไปยังบริษัทต่าง ๆ ช่วยให้มหาวิทยาลัยได้รับการ
ยอมรับจากตลาดแรงงานมากขนึ้

4.2.4 ประโยชน์ต่อสังคม

4.3 ข้อเสนอแนะ
4.3.1 ข้อเสนอแนะต่อนักศึกษาทจ่ี ะออกปฏิบัติงานในภาคการศกึ ษาต่อไป
ควรเตรียมความพร้อมในเรื่องของความรู้พื้นฐานของการบันทึกบัญชี การแยกเดบิต

เครดิต และควรเตรียมความพร้อมในเร่ืองของอุปกรณ์เคร่ืองมือ เคร่ืองเขียน ให้พร้อมในการจด
ความร้ใู หม่ ๆ อยเู่ สมอ

4.3.2 ข้อเสนอแนะต่อสถานประกอบการ
บางชว่ งมงี านน้อย แตเ่ ดก็ ฝกึ งานเยอะ งานทีม่ ีจึงไม่เพียงพอท่จี ะกระจายงานให้ท่ัวถึง

การได้รับความรู้จากกงานจึงต่างกัน สถานประกอบการควรพิจารณาการรับเดก็ ฝึกงาน เพื่อการะ
จายงานให้ทั่วถึง รวมท้ังหมุนเวียนความรู้ กระจายความรู้ในส่วนท่ีตนเองยังไม่ทราบ ได้อย่าง
รวดเรว็

4.3.3 ขอ้ เสนอแนะต่ออาจารย์ที่ปรึกษา
-

4.3.4 ข้อเสนอแนะต่อสาขาวชิ า คณะและมหาวิทยาลัย
ในเรื่องของแบบฟอร์มการจัดทารายงานสหกิจศึกษา สาขาวิชา คณะและ

มหาวทิ ยาลัย ควรทชี่ ัดเจนในเร่ืองของรูปแบบรายงานสหกจิ ที่ไปในทศิ ทางเดียวกัน

4.3.5 ข้อเสนอแนะอืน่ ๆ
-


Click to View FlipBook Version