The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตรวจก่อนลงเล่มคู่มมือ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sansanee_lin, 2021-03-21 21:26:38

ตรวจก่อนลงเล่มคู่มมือ

ตรวจก่อนลงเล่มคู่มมือ

รายงานสหกจิ ศกึ ษา

บริษัท เคพีเอม็ คอนซลั ท์ตงิ้

โดย

นางสาวศนั สนยี ์ แซ่ยา่ ง
รหัสประจาตัว 160405100098

ปฏบิ ัตงิ าน ณ บริษทั เคพีเอ็ม คอนซลั ทต์ ง้ิ
โรงเรยี นวทิ ยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
อาคาร3 ถนนรามวถิ ี ตาบลบ่อยาง อาเภอเมอื ง จงั หวัดสงขลา 90000

รายงานสหกจิ ศกึ ษา

บริษัท เคพีเอม็ คอนซลั ท์ตงิ้

โดย

นางสาวศนั สนยี ์ แซ่ยา่ ง
รหัสประจาตัว 160405100098

ปฏบิ ัตงิ าน ณ บริษทั เคพีเอ็ม คอนซลั ทต์ ง้ิ
โรงเรยี นวทิ ยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
อาคาร3 ถนนรามวถิ ี ตาบลบ่อยาง อาเภอเมอื ง จงั หวัดสงขลา 90000

หนงั สอื ขอส่งรายงาน และโครงงานสหกิจศกึ ษา

วันท่ี 2 เดือน เมษายน พ.ศ. 2564

เร่ือง ขอส่งรายงานการปฏบิ ัติงานสหกิจศึกษา
เรียน คณบดคี ณะบริหารธรุ กจิ

ตามที่ข้าพเจ้า นางสาวศันสนีย์ แซ่ย่าง นักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั ได้ปฏิบัติงานสหกจิ ศกึ ษา ณ บริษัท เคพีเอม็ คอนซลั ท์ติ้ง ใน
ตาแหนง่ ผู้ช่วยผู้สอบบัญชี ระหว่างวันที่ 7 เดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2563 ถึง วันท่ี 2 เมษายน พ.ศ. 2564
และได้รบั มอบหมายใหจ้ ดั ทาโครงงานเร่ืองคมู่ ือการตรวจสอบภาษี (สาหรบั นักศกึ ษาฝึกงาน)

บัดน้ี การปฏิบัติงานสหกิจศึกษาได้ส้ินสุดลงแล้ว ข้าพเจ้าจึงขอส่งรายงานการปฏิบัติงาน
สหกิจศึกษา จานวน 1 เล่ม โครงงานสหกิจศกึ ษา จานวน 1 เล่ม และแผ่น CD มาพรอ้ มนี้

จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดพจิ ารณา

ขอแสดงความนบั ถือ
(นางสาวศันสนีย์ แซ่ยา่ ง)
นกั ศกึ ษาสหกิจศกึ ษา สาขาการบญั ชี

กติ ตกิ รรมประกาศ

ตามที่ขา้ พเจ้า นางสาวศันสนีย์ แซ่ย่าง ได้มาปฏิบตั ิงานสหกจิ ศึกษา ณ บริษัท เคพีเอม็ คอน
ซลั ท์ติง้ ในตาแหน่งผูช้ ว่ ยผสู้ อบบญั ชี ระหวา่ งวันท่ี 7 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2563 ถึง วนั ท่ี 2 เมษายน
พ.ศ. 2564 ในระหว่างการปฏิบัติงานข้าพเจ้าได้รับความรู้ ประสบการณ์ต่าง ๆ ในการทางานจริงอัน
หามิได้จากมหาวิทยาลัย ท้ังการทางานและการจัดทารายงานฉบับนี้ สาเร็จลงได้ด้วยดี ด้วยความ
ช่วยเหลือสนบั สนุนใหค้ าปรกึ ษาในปัญหาตา่ ง ๆ จากบคุ ลากรหลายฝ่ายดงั น้ี

1. คุณพชั ราภรณ์ เทพยา ผ้จู ัดการ(ผ้สู อบบัญชี)
2. นางสาวสริ ินาถ นาควรรณ ผูช้ ว่ ยผู้สอบบญั ชี
3. นางสาวสริ กิ านต์ เสาวพรรณ ผูช้ ่วยผสู้ อบบัญชี
4. อาจารย์ชิดชนก มากเชอ้ื อาจารยท์ ปี่ รึกษาโครงงานสหกจิ ศึกษา
นอกจากนี้ยังมีบุคคลท่านอ่ืน ๆ ที่ไม่ได้กล่าวไว้ ณ ท่ีน้ี ซ่ึงได้อบรมสั่งสอน ให้คาแนะนาท่ีดี
ในการทางานและการจัดทารายงานฉบับนี้ ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณทุกท่านเป็นอย่างสูงและหาก
เนือ้ หารายงานฉบับน้ีมคี วามผดิ พลาดประการใดขา้ พเจา้ กราบขออภยั มา ณ โอกาสน้ี

นางสาวศันสนยี ์ แซย่ า่ ง
ผู้จัดทารายงาน

วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2564

บทท่ี 1
บทนา

รายงานการฝึกงาน ณ บริษัท เคพีเอ็ม คอนซัลทต์ ิ้ง
1.1 ประวตั แิ ละรายละเอียดของหน่วยงาน

1.1.1 ช่อื และสถานท่ีตงั้ ของสถานประกอบการ
ชือ่ สถานประกอบการ : บริษทั เคพเี อม็ คอนซลั ท์ต้ิง
ทีต่ ัง้ สถานประกอบการ :
- สถานที่ตงั้ สานกั งานใหญ่ 17 ซอยพหลโยธนิ 24 แยก 6-1 แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร

กรุงเทพมหานคร 10900
- สถานท่ตี ้งั สาขา โรงเรียนบริหารธรุ กจิ วิทยาสงขลา ถนนรามวิถี ตาบลบ่อยาง อาเภอ

เมอื ง จงั หวัดสงขลา 90000

แผนท่ีบริษทั เคพีเอ็ม คอนซัลท์ตง้ิ จากัด

1.1.2 ประวัติความเปน็ มาของสถานประกอบการ
บริษทั เคพเี อม็ คอนซลั ท์ติ้ง จากดั จดั ตงั้ ขน้ึ เมื่อวันที่ 18 มิถนุ ายน 2558 เดิม ชื่อ สานัก

งานสอบบญั ชีพชั ราภรณซ์ ึ่งจดทะเบียนเปน็ คณะบุคคล โดยใหบ้ ริการตรวจสอบบญั ชีมาอย่าง
ตอ่ เนื่องทกุ ปี ตั้งแตป่ ี พ.ศ.2543

1.1.3 ลกั ษณะการประกอบการ ผลิตภณั ฑ์/บรกิ าร ของสถานประกอบการ
ลักษณะการประกอบการ เป็นงานตรวจสอบบัญชี บริษัท เคพีเอ็ม คอนซัลท์ต้ิง จากัด

ปฏบิ ัตงิ านตรวจสอบภายใต้ความถกู ตอ้ งตามหลักการของผู้สอบบัญชแี ละมาตรฐานการสอบบัญชี
ที่รับรองทั่วไป มุ่งเน้นหลักในการวางแผนและปฏิบัติงาน เพื่อให้ได้ความเช่ือมั่นอย่างมีเหตุผลว่า
งบการเงินแสดงข้อมูลที่ไม่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญ โดยในการตรวจสอบได้รวมไปถึง
การใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการ ท้ังที่เป็นจานวนเงินและการเปิดเผยข้อมูลในงบ
การเงินทเ่ี ป็นสาระสาคัญยนื ยนั วา่ รายการนัน้ ไดเ้ กดิ ขน้ึ จรงิ

1.1.4 รูปแบบการจัดองค์การและการบริหารงาน
รูปแบบการจัดองค์การ : บริษัท เคพีเอ็ม คอนซัลท์ต้ิง จากัด เป็นบริษัทท่ีจดทะเบียนเป็น

คณะบุคคล ซ่ึงประกอบด้วย คุณพัชราภรณ์ เทพยา (ผู้สอบบัญชี) โดยมีผู้ช่วยผู้สอบบัญชี 2 คน
คือ นางสาวสิรินาถ นาควรรณ และ นางสาวสิริกานต์ เสาวพรรณ รูปแบบองค์การมิได้เป็นสาย
งานใต้บังคับบัญชา แต่เป็นการทางานร่วมกันภายใต้ความเข้าใจกัน สามารถปรึกษาหารือกันได้
ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกันระหว่างผู้สอบบัญชีและผู้ช่วยผู้สอบบัญชี ในระหว่างวันมีการ
พูดคุยสอบถามซ่ึงกันและกันในเร่ืองของงานตรวจสอบ จุดบกพร่อง ความผิดพลาดท่ีเกิดข้ึนและ
แกไ้ ขปัญหาร่วมกัน

การบริหารงาน : คงความอยู่ภายใต้ความเปน็ ผสู้ อบบัญชีที่ดี แต่ตอ้ งเผชญิ กบั สถานการณ์
ที่หลากหลาย ท้าทาย และเปล่ียนแปลงไปจากเดิมมาก จะต้องปฏิบัติงานสอบบัญชีโดยมุ่งเน้น
กฎหมาย ข้อบังคับ ท่ีเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ตลอดเวลา ต้องเผชิญกับการแข่งขัน ต้อง
ปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ เน่ืองมาจากสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนโดยไม่คาดคิด ภาวะวิกฤติ
ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยีใหม่ๆ ท่ีเกิดข้ึน ลักษณะข้อกฎหมายทางบัญชี
ท่ีไม่แน่นอน เส่ียงกับสภาวการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงและความหลากหลายต่าง ๆ โดยการมุ่งเน้นการ
ตรวจสอบบัญชีภายใต้ความถูกต้องตามหลักการของผู้สอบบัญชีและมาตรฐานการสอบบัญชีท่ี
รบั รองท่วั ไป

บทที่ 2
รายละเอียดของการปฏิบตั งิ าน

2.1 ส่วนงาน/สาขา/ฝ่าย/แผนก ทน่ี กั ศกึ ษาทางาน : งานตรวจสอบบญั ชี
2.2 ตาแหนง่ และหนา้ ทท่ี ีไ่ ดร้ บั มอบหมาย

นางสาวศันสนีย์ แซย่ า่ ง ผ้ชู ่วยผูส้ อบบญั ชี
ลักษณะงานท่ีได้รับมอบหมาย : ตรวจสอบบัญชีภายใต้ความถูกต้องตามหลักการของผ้สู อบบัญชี
และมาตรฐานการสอบบัญชีท่ีรับรองทั่วไป มุ่งเน้นหลักในการวางแผนและปฏิบัติงาน เพื่อให้ได้ความ
เชื่อมั่นอย่างมีเหตุผลว่า งบการเงินแสดงข้อมูลที่ไม่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญ โดยในการ
ตรวจสอบได้รวมไปถึงการใช้วิธีการทดสอบหลักฐานประกอบรายการ ท้ังที่เป็นจานวนเงินและการ
เปดิ เผยข้อมลู ในงบการเงนิ ทีเ่ ปน็ สาระสาคญั ยืนยนั ว่ารายการนนั้ ได้เกดิ ข้ึนจรงิ
2.3 ช่ือ-ตาแหน่งของพนกั งานท่ปี รึกษา

1. นางสาวสิรนิ าถ นาควรรณ ผชู้ ว่ ยผูส้ อบบัญชี
2. นางสาวสริ ิกานต์ เสาวพรรณ ผชู้ ว่ ยผูส้ อบบญั ชี
2.4 ระยะเวลาที่ปฏบิ ตั งิ าน
เร่มิ ปฏบิ ัตงิ านตัง้ แต่ วันท่ี 7 ธนั วาคม พ.ศ. 2563
สน้ิ สดุ การปฏิบัตงิ าน วันท่ี 2 เมษายน พ.ศ. 2563
ช่วงเวลาการปฏิบัตงิ าน วันจันทร์ – วนั ศกุ ร์ ( 08.00 – 17.00 น. )
รวมระยะเวลาการปฏิบัตงิ านทง้ั สน้ิ 17 สปั ดาห์
2.5 รายละเอยี ดของงานทีป่ ฏบิ ัติ
- Check Stocks
- เทยี บรายการ Stocks
- ลงงบทดลอง (lead) ในโปรแกรม Excel ตามรายการย่อที่กระทรวงพาณชิ ย์

กาหนด
- ตรวจงบการเงิน
- Tick Marks ในเอกสารท่ตี รวจ
- ถา่ ยหลักฐานและเอกสารที่เกี่ยวข้องพร้อมแนบหลักฐานการตรวจ
- จัดทาหมายเหตุประกอบงบการเงิน

2.6 ข้นั ตอนในการปฏิบตั ิงาน
2.6.1 โหลดงบทดลองโดยการเข้าโปรแกรม Express
2.6.2 ใส่รหัส BIT9 ทง้ั รหสั ผู้ใชแ้ ละรหสั ผ่าน

2.6.3 กดตกลง
2.6.4 ใสว่ นั ทีเ่ ขา้ สูร่ ะบบ (กรณนี าข้อมลู ท่ีโหลดไว้มาใชใ้ ห้กดตกลงตามท่ีกาหนดให้ไปเรื่อย ๆ )

2.6.5 หนา้ จอจะแสดงเมนู ให้คลกิ อื่น ๆ

คลิกจดั การแฟ้มข้อมลู – คลกิ นาข้อมูลสารองมาใช้ – เลอื กไฟล์ – คลายข้อมูล - ตกลง

2.6.6 คลกิ เมนรู ายงาน – รายงานบัญชี– งบทดลองแบบเต็ม – ใสว่ นั เริม่ รอบระยะเวลาบญั ชี
และวันส้ินรอบระยะเวลาบัญชี – ปร้ินท์

2.6.7 เลอื กรายการทจ่ี ะตรวจสอบจากงบทดลอง
2.6.8 คลกิ เมนรู ายงาน – รายงานบัญชี– รายการแยกประเภท– ใส่รหสั บัญชขี องรายการแยก
ประเภทน้นั ๆ – ปริน้ ท์
2.6.8 ลงงบทดลอง (lead) ในโปรแกรม Excel ตามรายการยอ่ ทกี่ ระทรวงพาณชิ ย์กาหนด ซง่ึ
lead ประกอบไปด้วย

- lead C เงินสดและรายการเทียบเท่าเงนิ สด
- lead E ลกู หน้กี ารคา้
- lead F สนิ คา้ คงเหลือ
- lead G สนิ ทรัพย์หมุนเวยี น
- lead J สินทรัพยไ์ ม่หมุนเวียน
- lead K สินทรพั ยถ์ าวร
- lead M เจ้าหนก้ี ารคา้
- lead N หนสี้ ินหมุนเวียนอนื่
- lead Q หนส้ี นิ ไมห่ มนุ เวยี นอื่น
- lead T ทนุ
- lead U-1 ภาษีเงินได้ทีต่ ้องชาระ
- lead U-2 สรุปรายได้
- lead U-3 สรปุ ค่าใช้จ่าย
- lead U-4 สรุปคา่ ใช้จา่ ยในการขายและบริหาร

เม่อื ลง lead เรียบร้อยแลว้ เนอื่ งจากการผูกสูตรไว้ ตัวเลขทล่ี งไว้ในแต่ละ lead จะ
ถกู คานวณอัตโนมัติ ไปยงั หน้า Sum lead ผลลพั ธ์ท่ไี ด้ จะตอ้ งเท่ากบั 0

2.6.9 ปรับปรงุ รายการ บริษทั ไฟฟ้ ำเกำะพี.พี. จำกดั
รำยกำรปรับปรุง

ณ วนั ท่ี 31 ธันวำคม 2562

ลำดับท่ี รำยกำร Ref. เดบติ เครดิต
-
1 ภาษีเงินได้นติ ิบคุ คล U-1 - -
ภาษีเงินได้นติ ิบคุ คลค้างจา่ ย -
ภาษีเงินได้นติ ิบคุ คลจา่ ยล่วงหน้า(ภงด.51) N-1
คา่ ภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ า่ ย 62 G-1 45,829.04
G-1 12,150.31
999,743.32
(ปรับปรุงภาษเี งนิ ได้นติ ิบคุ คล ปี 2562) 210,479.77

2 คา่ เสื่อมราคาสะสม-อาคาร K-1 45,829.04

22..66..1110คคคาาา่่่ ปจเเเสสสัดรื่่ื่ือออมมมิ้นทรรรทาาาาคคคหง์าาาบสสสมะะะทาสสสยมมมด---เอเยลคหปุารอกน่ืตอรพงงณปุมาหอื์สจรเนาคาะะนรกื่กกัองงโอใาปชนบ้ รงแบกกรามรEเงxินceในl K-1 12,150.31
K-1 999,743.32
K-1 210,479.77
2.6.12คา่ ปเสร่ือมน้ิ รทาค์ราสาะยสกม-าแพรเแทยียบกเรปือ ระเภท จากโปรแกรมExcelK-1
9,594.92
2.6.13คา่ ตเสร่ือวมรจาคงาบสกะสามร-แเผงงินโซลา่ เซล K-1 525,508.12

2.6.14คา่ Tเสiื่อcมkราMคาสaะrสkมs-เคใรนื่องเจอกั กร สารทต่ี รวจ K-1 34,500.00

2.6.15คา่ ถเสา่ ่ือยมรหาคลากัสะฐสาม-นบอ่แแลก็สะแเลอะบกอ่ สถังานรา้ ทมนั ่เี กี่ยวขอ้ งพร้อมแนบหKล-1ักฐานการตร31ว,4จ42.00
คา่ เสื่อมราคาสะสม-ป้ าย K-1 51.00

คา่ เส่ือมราคาสะสม-ตกแตง่ และตดิ ตงั้ K-1 2,905.00

คา่ เสื่อมราคาสะสม-เรือ K-1 238,565.64

คา่ เส่ือมราคาสะสม-ระบบจดั เก็บไฟฟ้ า K-1 23,086.08

คา่ เส่ือมราคา-อาคาร U-4

คา่ เส่ือมราคา-อปุ กรณ์สานกั งาน U-4

คา่ เสื่อมราคา-เครื่องมอื เครื่องใช้ U-4

คา่ เสื่อมราคา-ยานพาหนะ U-4

2.7 แนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมท่ีเก่ียวขอ้ ง
2.7.1 ความหมายของภาษี
ภาษี คือ เงินหรือทรัพย์สินท่ีรัฐหรือสถาบันที่ปฏิบัติหน้าที่เทียบเท่ารัฐเรียกเก็บจาก
ประชาชน ซ่ึงอาจเปน็ ไดท้ ้ังบคุ คลธรรมดาและนติ บิ คุ คล

2.7.2 วัตถุประสงค์ในการจดั เก็บภาษี
(1) เพ่ือนามาใช้ในการบริหารประเทศให้เจริญก้าวหน้าท้ังทางเศรษฐกิจ การศึกษา

สาธารณสุข การคมนาคม การประชาสงเคราะห์ การป้องกันประเทศและรักษาความสงบ
เรยี บร้อยภายในประเทศ สรา้ งสาธารณูปโภค

(2) รวมไปถึงเพ่ือนาไปจ่ายเงินเดือนของข้าราชการ ทหาร ตารวจ ผู้ทาหน้าท่ีบริการ
ประชาชน และใชจ้ า่ ยคา่ น้า ค่าไฟ ของสถานราชการต่าง ๆ

การเรียกเกบ็ ภาษีจากประชาชน เปน็ เคร่ืองมอื ทางการคลงั ท่สี าคญั ในการบริหารประเทศ
เพื่อให้รัฐสามารถดาเนินการตามหน้าที่ท่ีมีต่อประชาชน ในการดูแลความสุขของประชาชน และ
รักษาความสงบเรยี บรอ้ ยของบา้ นเมอื ง

2.7.3 ลกั ษณะของภาษอี ากรที่ดี
1. มีความเป็นธรรม พิจารณาจากความสามารถในการเสียภาษีของประชาชนและ

พจิ ารณาถึงประโยชนท์ ปี่ ระชาชนจะได้รบั เนื่องจากการดแู ลของรฐั บาล
2. มีความแน่นอนและชัดเจน ประชนมีความเข้าใจได้ง่าย และป้องกันไม่ให้เจ้าพนักงาน

ใชอ้ านาจหนา้ ทโี่ ดยมชิ อบ
3. มีความสะดวก วิธีการและเวลาในการเสียภาษีต้องคานึงถึงความสะดวกของ

ประชาชน
4. มีประสทิ ธภิ าพ ประหยัดรายจ่ายทัง้ ของผูจ้ ัดเก็บและผู้เสียภาษี
5. มีความเปน็ กลางทางเศรษฐกจิ ตอ้ งไมก่ ระทบต่อกลไกลตลาด
6. อานวยรายได้ เกบ็ ภาษไี ด้ตามเป้าเพียงพอต่อการดาเนินงานของรัฐ
7. มีความยืดหยุ่น สามารถปรับปรุงหรือเพิ่มลดจานวนภาษีอากรให้เหมาะสมกับ

สถานการณ์ได้อยา่ งรวดเรว็

2.7.4 โครงสร้างของกฎหมายภาษีอากร
กฎหมายภาษีอากรทุกฉบับ มีหัวข้อสาคัญอันเป็นโครงสร้างของกฎหมายฉบับน้ัน ๆ ซ่ึง

อาจแบ่งได้เป็น 6 หวั ข้อดว้ ยกัน คือ

4.1 ผู้มีหน้าท่ีเสียภาษีอากร หรือผู้อยู่ในข่ายเสียภาษีอากร จะเป็นใครบ้างย่อมแล้วแต่
กฎหมายนั้น ๆ จะกาหนด แต่โดยท่ัวไปมักได้แก่บุคคลธรรมดาและนิติบุคคล ซ่ึงเป็นผู้มีสิทธิและ
หน้าที่ตามกฎหมาย

4.2 ฐานภาษีอากร ในความหมายอย่างกว้าง หมายถึงสิ่งท่ีเป็นมูลเหตุให้ต้องเสียภาษี
อากรเช่น การมีรายได้ การมที รัพยส์ ิน หรอื การใชจ้ ่าย เปน็ ต้น ในความหมายอยา่ งแคบ หมายถึง
ส่ิงทรี่ องรบั อัตราภาษีอากร (ภาษอี ากรทีต่ ้องเสยี = ฐานภาษอี ากร × อตั ราภาษีอากร)

4.3 อัตราภาษีอากร แบ่งเป็น 3 แบบใหญ่ๆ คือ แบบคงท่ี แบบก้าวหน้า แบบถดถอย
ทั้งนี้โดยการพิจารณาว่าอัตราภาษีอากรมีการเปล่ียนแปลงไป กล่าวคือ ถ้าจานวนของฐานภาษี
อากรเปลี่ยนแปลงไปไม่ว่าจะเพิ่มข้ึนหรือลดลง แต่อัตราภาษีอากรยังคงเท่าเดิม เรียกอัตราภาษี
อากรลักษณะนี้เรียกว่าอัตราภาษีอากรแบบคงที่ เช่น อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลในปัจจุบันและ
อัตราภาษีมูลค่าเพ่ิม แต่ถ้าฐานภาษีอากรมีจานวนเพิ่มข้ึนและอัตราภาษีอากรก็เพ่ิมข้ึนด้วย เรียก
อัตราภาษีอากรลักษณะนี้ว่าอัตราภาษีอากรแบบก้าวหน้า เช่น อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
และถ้าฐานภาษีอากรมีจานวนเพิ่มขึ้นแต่อัตราภาษีอากรกลับลดลง เรียกอตั ราภาษีอากรลักษณะ
นีว้ ่าอัตราภาษอี ากรแบบถดถอย เช่น อตั ราภาษบี ารงุ ทอ้ งที่

4.4 การประเมินจัดเก็บภาษีอากร ภาษีอากรส่วนใหญ่ในปัจจุบันผูม้ ีหน้าที่เสียภาษีอากร
เป็นผู้ด าเนินการประเมินตนเอง โดยประเมินหรือคานวณตามวิธีการและตามกาหนดเวลาที่
กฎหมายกาหนดไว้ แล้วยื่นแบบแสดงรายการชาระภาษีอากรตามจานวนท่ีพึงต้องชาระ ถ้าผู้มี
หน้าที่เสียภาษีอากรไม่ดาเนินการประเมินตนเองหรือประเมินตนเองอย่างไม่ถูกต้องหรือไม่
สมบูรณ์กจ็ ะมีการประเมนิ โดยเจ้าพนักงานซึ่งในกรณีหลังนีเ้ จา้ พนกั งานประเมนิ มีอานาจประเมิน
ให้ผู้เสียภาษีอากรต้องรับผิดช าระเงินเพ่ิม และหรือเบ้ียปรับเพ่ิมข้ึนนอกเหนือจาก ภาษีอากรท่ี
ตอ้ งเสยี ในบางกรณแี ม้ไม่ถึงก าหนดเวลาช าระภาษีอากร เจ้าพนักงานประเมินก็อาจด าเนินการ
ประเมินล่วงหน้าให้ผู้เสียภาษีอากรต้องช าระภาษีอากรก่อนถึงกาหนดเวลาได้ นอกจากน้ีใน
หลายๆ กรณีกฎหมายยังกาหนดให้ผู้จ่ายเงินได้ภาษีเป็นผู้ด าเนินการหักภาษีจากจานวนเงินที่
จา่ ยแล้วนาสง่ ต่อเจ้าพนักงานภายในกาหนดเวลา ดังที่เรียกว่าการหักภาษี ณ ท่ีจา่ ย ภาษที ่ีถูกหัก
ไว้น้ีมักถือเป็นเครดิตของผู้มีหน้าที่เสียภาษี ซ่ึงสามารถนาไปหักออกจากภาษีที่ต้องเสียเม่ือถึง
กาหนดเวลาหรืออาจได้รับคืนถ้าถูกหักไว้เกินจานวนท่ีพึงต้องเสีย อนึ่งเพ่ือประโยชน์ในการ
ตรวจสอบไต่สวนประเมนิ ภาษีอากรและป้องกันการหลีกเล่ียงภาษีอากร กฎหมายยังก าหนดให้ผู้
มหี นา้ ท่ีเสียภาษีอากรหรือผู้ท่กี ฎหมายกาหนดต้องปฏิบัติหน้าท่ีบางประการ เชน่ การจดทะเบียน
การมีและการใช้เลขประจาตัวการจัดทาบัญชีเอกสารหรือหลักฐานบางอย่าง รวมท้ังให้เจ้า
พนกั งานมอี านาจตรวจคน้ ยืด หรืออายัดหลกั ฐานตา่ ง ๆ ในบางกรณดี ว้ ย

4.5 การอุทธรณ์ภาษีอากร ในกรณีเกิดปัญหาข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายขัดแย้งพิพาท
กนั ระหวา่ งผเู้ สยี ภาษีอากรและผูจ้ ัดเก็บภาษีอากร เกี่ยวกับจานวนภาษีอากรที่ตอ้ งเสยี หรอื อานาจ
การประเมินเรียกเก็บภาษีอากร และผู้มีหน้าท่ีเสียภาษีอากรต้องการให้มีการพิจารณาทบทวน
ใหม่กฎหมายมักกาหนดให้ผู้มีหน้าท่ีเสียภาษีอากรต้องปฏิบัติตามข้ันตอนและวิธีหาข้อยุติให้
ครบถ้วนเสียก่อน มิฉะนั้นผู้เสียสิทธิในการนาคดีขึ้นสู่ศาลได้ ตัวอย่าง เช่น การประเมินเรียกเก็บ
ภาษีเงินได้ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ หรืออากรแสตมป์น้ัน ถ้าผู้เสียภาษีอากรไม่เห็นด้วย

กับการประเมินเรียกเก็บ ก็จะต้องอุทธรณ์ การประเมินต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์
เสียก่อนภายใน 30 วันนับตั้งแต่วันได้รับแจ้งการประเมินเรียกเก็บภาษีอากร จะนาคดีขึ้นสู่ศาล
ทนั ทีไม่ได้

4.6 เบ้ียปรับ เงินเพ่ิม และโทษ ผู้ไม่ชาระภาษีอากรจะต้องรับผิดชอบในจานวนภาษี
อากรท่ีไม่ชาระพร้อมด้วยเบี้ยปรับและหรือเงินเพิ่มเป็นจานวนเงินเพ่ิมขึ้นต่างหาก ถ้าฝ่าฝืนไม่
ยอม

2.7.5 ประเภทของภาษี
(1) ภาษีทางตรง ภาษีทเี่ รียกเกบ็ จากรายได้และทรัพยส์ ินตา่ ง ๆ ของบุคคล หรือนิตบิ คุ คล

โดยส่วนใหญ่จะไมส่ ามารถผลักภาระภาษีไปยงั ผอู้ นื่ ได้ โดยทวั่ ไปภาษีทางตรง ไดแ้ ก่ ภาษเี งินได้
บุคคลธรรมดา ภาษเี งินไดน้ ติ บิ ุคคล ภาษีป้าย ภาษโี รงเรือน ภาษีบารุงทอ้ งที่ ภาษีมรดก ภาษี
ทรัพย์สินตา่ ง ๆ โดยจะเรยี กเก็บจากรายได้ หรอื ความมัง่ คั่งของบุคคล หรือนิติบุคคลท่ีจดั เก็บ

(2) ภาษีทางอ้อม ภาษีที่เรยี กเกบ็ จากผบู้ ริโภค เม่ือขายสนิ คา้ และบริการต่าง ๆ โดยเปน็
ภาษีทสี่ ามารภผลกั ภาระทางภาษที ้งั หมด หรือบางส่วนไปยงั ผู้ซอื้ หรือผบู้ ริโภค เป็นผ้รู ับชาระภาษี
อากรแทนผู้ขาย โดยทั่วไปภาษีทางอ้อม ได้แก่ ภาษีมลู ค่าเพมิ่ ภาษีสรรพาสามติ ภาษีธรุ กิจ
เฉพาะ ภาษีศุลกากร ภาษที างการคา้ คา่ ธรรมเนียมอากรต่าง ๆ ทีจ่ ะเรียกเก็บจากรายจ่ายของ
บุคคล โดยมไิ ด้พจิ ารณาฐานะความมง่ั ค่ังของบคุ คล หรอื นติ ิบคุ คลนั้น

2.7.6 ประมวลรัษฎากร
การเสยี ภาษีของพลเมอื งไทยอยูภ่ ายใต้ข้อบงั คบั ของกฎหมายภาษีอากรฉบับหน่ึง ซง่ึ มชี ือ่

เรียกวา่ ประมวลรัษฎากร กฎหมายฉบบั น้มี ผี ลบังคบั ใช้โดยพระราชบญั ญัติแหง่ ประมวลรัษฎากร
พ.ศ. 2481 แล้วมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงมาตามลาดบั จนถงึ ปัจจุบันมีกฎหมายภาษีอากร รวม
4 ประเภทดังนี้

ประเภทที่ 1 ภาษีเงนิ ได้
ประเภทท่ี 2 ภาษีมูลค่าเพิม่
ประเภทที่ 3 ภาษีธรุ กิจเฉพาะ
ประเภทท่ี 4 ภาษอี ากรแสตมป์
ประมวลรัษฎากรเป็นกฎหมายท่ีให้อานาจกรมสรรพากรจัดเก็บภาษี 5 ประเภทใหญ่ ๆ
ได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพ่ิม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากร
แสตมป์

2.8 หัวข้อโครงงานท่ที า : คู่มอื วธิ กี ารตรวจสอบภาษี (สาหรบั นกั ศึกษาฝกึ งาน)
ซ่ึงภายในตัวเล่มคู่มือ จะประกอบไปด้วยวิธีการคานวณ ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่ม

เนือ่ งจากเปน็ ภาษที เ่ี กี่ยวขอ้ งกบั นติ บิ คุ คล
2.8.1 ภาษีเงนิ ไดน้ ติ ิบุคค
ในการตรวจสอบงบการเงนิ จะมรี ายการบางรายการทีผ่ ู้จัดทาบัญชอี าจจะลงเดบติ เครดิต

ผิดฝั่ง ลงจานวนผิด ผู้ช่วยผู้สอบบัญชีก็จะต้องมาตรวจสอบว่ามีรายการใดบ้างที่ควรจะปรับปรุงจาก
รายการทางบัญชีท่ีลงไว้ ถูกตามทางภาษีหรือไม่ ซึ่งจะต้องเร่ิมท่ีความเข้าใจในเรื่องของการคานวณ
ภาษีเงินไดน้ ติ บิ ุคคล 65ตรี 65ทวิ ซึง่ เปน็ การบ่งบอกว่ารายการใดทีส่ ามารถนามาเป็นรายได้ คา่ ใช้จ่าย
ไดบ้ า้ ง

1) ความรู้ที่ใช้ในการประกอบการตรวจสอบการปรับปรุงกาไรทางบัญชีเป็นดกาไร
ทางภาษี

1.1) กาไรสุทธิเพอื่ เสยี ภาษีเงินไดน้ ิติบคุ คล ต้องเป็นไปตามเง่ือนไข 65 ทวิ 65 ตรี
1.1.1) เง่อื นไขการคานวณกาไรสุทธิ ตามมาตรา 65 ทวิ
มาตรา 65 ทวิ กาหนดเงื่อนไขเก่ียวกับรายได้และรายจ่ายบางรายการที่บริษัท

หรอื หา้ งหุ้นสว่ นนติ บิ ุคคลจะต้องปฏบิ ัตใิ นการคานวณกาไรสุทธิ
มาตรา 65 ทวิ (1) รายการทร่ี ะบใุ น มาตรา 65 ตรีไมถ่ อื เป็นรายจา่ ย
มาตรา 65 ทวิ (2) การคานวณค่าเสือ่ มราคาตอ้ งไม่เกินอัตราทก่ี าหนดไว้

ประเภททรัพย์สนิ ร้อยละทก่ี าหนด

อาคารถาวร ร้อยละ 5

ตน้ ทนุ สิทธกิ ารเชา่ ทไี่ ม่ถึงกาหนดอายุ ร้อยละ 10

ต้นทนุ สิทธิการเช่าท่ีถึงกาหนดอายุ 100/ปตี ามสัญญา

ต้นทนุ เพื่อให้ได้มาซึง่ สิทธทิ ีไ่ มจ่ ากัดอายกุ ารใช้ รอ้ ยละ 10

ต้นทนุ เพอื่ ให้ได้มาซ่ึงสิทธิท่จี ากดั อายุการใช้ 100/ปีตามสญั ญา

ทรพั ยส์ ินอย่างอนื่ รอ้ ยละ 20

การหักค่าเส่ือมจะหักจนหมดมูลค่าต้นทุนของสินทรัพย์นั้นไม่ได้และหักได้

ตามจานวนวันทีไ่ ดม้ าแพร้อมใชง้ าน

มาตรา 65 ทวิ (3) การตีราคาสินทรัพย์ ราคาทรัพย์สินอื่นนอกเหนือจาก
ราคาของสินค้าคงเหลือให้ถือตามราคาที่พึงซื้อทรัพย์สินน้ันตามปกติ กรณีท่ีมีการตี
ราคาสนิ ทรพั ย์เพิม่ ข้ึน หา้ มนาราคาทต่ี ีราคาเพ่ิมขึ้นมาคานวณกาไรหรือขาดทุนสุทธิ
ทรัพย์สินรายการใดมีสิทธิหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา ให้หักก่อนคานวณกาไร
หรือขาดทุนสุทธิ โดยให้หักเท่าที่ระยะเวลาและมูลค่าต้นทุนที่เหลืออยู่สาหรับ
ทรัพยส์ นิ เท่าน้นั

มาตรา 65 ทวิ (4) การโอนทรัพย์สิน ให้บริการหรือให้กู้ยืมเงินโดยไม่มี
ค่าตอบแทน ค่าบริการหรือดอกเบ้ีย หรือมีค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือดอกเบี้ยต่า
กว่าราคาตลาดโดยไม่มีเหตุอันสมควร เจ้าพนักงานประเมินมีอานาจประเมิน
ค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือดอกเบ้ียนั้นตามราคาตลาดในวันท่ีโอน ให้บริการ หรือ
ใหก้ ยู้ มื

กรณีท่ีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลรับรู้รายได้ต่าหว่าท่ีควรจะเป็น
กฎหมายจึงให้อานาจเจ้าพนักงานประเมิน ประเมินรายได้ใหม่ตามราคาตลาดได้
หากไม่มีเหตอุ ันควร

กรณีตัวอย่าง บริษัทให้กรรมการยืมเงิน คิดดอกเบ้ีย1% ซึ่งต่ากว่าดอกเบ้ีย
ตลาด ดอกเบ้ียที่คิดน้อย รายได้น้อย ทาให้เสียภาษีน้อย เจ้าพนักงานประเมินมี
อานาจประเมนิ ดอกเบี้ยเงนิ กูย้ มิ ตามราคาตลาดได้

มาตรา 65 ทวิ (5) การคานวณมลู ค่าของทรพั ยส์ ินหรือหน้ีสินทมี่ คี ่าหรือ
ราคาเป็นเงินตราต่างประเทศ เงินตรา ทรัพย์สินหรือหนี้สิน ซึ่งมีค่าหรือราคาเป็น
เงนิ ตราต่างประเทศทเี่ หลืออยใู่ นวนั สดุ ท้ายของรอระยะเวลาบญั ชีให้คานวณค่าหรือ
ราคาเป็นเงินตราไทย

ก) กรณีเป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนอกจาก (ข) ให้
คานวณค่าหรือราคาของเงินตราหรือทรัพยส์ ินเป็นเงินตราไทยตามอัตราถัว
เฉลีย่ ทธี่ นาคารพาณชิ ย์รบั ซือ้

ข) กรณีเป็นธนาคารพาณชิ ย์หรือสถาบันการเงินอน่ื ตามที่รฐั มนตรี
กาหนด ให้คานวณค่าหรือราคาของเงินตรา ทรัพย์สิน หรือหนี้สินเป็น
เงินตราไทยตามอัตราถัวเฉลี่ยระหว่างอัตราซื้อและอัตราขายของธนาคาร
พาณชิ ย์ทธ่ี นาคารแหง่ ประเทศไทยได้คานวณไว้

มาตรา 65 ทวิ (6) การตีราคาสินค้า ในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลา
บัญชี ให้ใช้ราคาทุนหรือราคาตลาดแล้วแต่อย่างใดน้อยกว่าในการตีราคาสิทน
ทรัพย์ และให้ถือราคาน้ีเป็นราคาสินค้าคงเหลือยกมาสาหรับรอบระยะเวลาบัญชี
ใหม่ดว้ ย

หากคานวณด้วยหลัดเกณฑ์ใดทางบัญชี ให้ใช้หลักเกณฑ์นั้นตลอดไป เว้น
แตก่ รมสรรพากรใหเ้ ปลี่ยน

มาตรา 65 ทวิ (7) การคานวณราคาทุนของสินค้าที่ส่งเข้ามาจาก
ต่างประเทศ เจ้าพนักงานประเมินมีอานาจเทียบเคียงราคาทุนของสินค้าประเภท
และชนิดเดียวกับท่ีส่งเข้าไปในประเทศอื่น หากราคาสินค้าท่ีนาเข้ามานั้นมีราคาสูง
ไปหรือต่าไป อาจประเมินใหม่

มาตรา 65 ทวิ (8) การคานวณราคาทุนของสินค้าเป็นเงินตรา
ต่างประเทศ ให้คานวณเป็นเงินตราไทยตามอัตราแลกเปลี่ยนในท้องตลาดของวันท่ี
ได้สินค้านั้นมา เว้นแต่เงินตราต่างประเทศนั้นจะแลกได้ในอัตราทางราชการก็ให้
คานวณเป็นเงินตราไทยตามอัตราทางราชการน้ัน ปัจจุบันบทบัญญัตินี้ถูกยกเลิกไป
แล้ว

มาตรา 65 ทวิ (9) การจาหน่ายหนสี้ ญู

มาตรา 65 ทวิ (10) การคานวณเงินปันผล เงินปันผลที่ได้รับยกเว้นภาษี
เงนิ ได้นิติบุคคล โดยไม่ตอ้ งนามารวมคานวณ

มาตรา 65 ทวิ (11) ดอกเบ้ียเงินก็ยืมท่ีอยู่ในบังคับต้องถูกหักภาษีไว้ ณ
ท่ีจ่าย ตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ให้นามารวมคานวณเป็นรายได้
เพยี งเทา่ ที่เหลือจากถกู หักภาษไี ว้ ณ ทจ่ี า่ ยตามกฎหมายดงั กล่าว

กรณีตัวอย่าง บริษัทดีเด จากัด ได้รับดอกเบ้ียเงินกู้จากบริษัทในบังคับถูก
หกั ภาษี ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปโิ ตรเลียม 25,000 บาท (หัก ณ ท่ี
จ่าย 10,000 บาท) หลังหักเหลือ15,000 บาท ให้นาไปเป็นรายได้คานวณกาไรสุทธิ
ตอ่ ไป

ขอ้ สงั เกต หักภาษี ณ ทจี่ า่ ยก่อน แล้วนาส่วนที่เหลือไปคานวณกาไรสุทธติ ่อไป

มาตรา 65 ทวิ (12) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกาไรที่อยู่ในบังคับ
ต้องถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่าย ตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ให้นามา
รวมคานวณเป็นรายได้เพียงเท่าที่เหลือจากถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายตามกฎหมาย
ดงั กล่าว และผรู้ ับเปน็ บริษัทจดทะเบยี นหรือเปน็ บริษัทท่ีต้ังขน้ึ ตามกฎหมายไทย ให้
นาบทบัญญตั ขิ ้อ 10 มาใช้บังคบั อนโุ ลม

มาตรา 65 ทวิ (13) มูลนิธิหรือสมาคม ที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได้ ไม่
ต้องนาเงินค่าลงทะเบียนหรือค่าบารุงที่ได้รับจากสมาชิก หรือเงินหรือทรัพย์สินท่ี
ได้รับจากการรับบริจาคหรือจากการให้โดยเสน่หา แล้วแต่กรณี มารวมคานวณเป็น
รายได้

มาตรา 65 ทวิ (14) ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีขายซึ่งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วน
นิติบคุ คลท่เี ป็นผูป้ ระกอบการจดทะเบยี นภาษีมูลคา่ เพ่ิมได้รบั ภาษมี ูลค่าเพมิ่ ทไี่ ด้รับ
คนื ไม่ต้องนามารวมคานวณเปน็ รายได้

มาตรา 65 ทวิ (15) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่เป็นกองทุนรวม
ไม่ตอ้ งนารายไดท้ ่ีมิใชเ่ งนิ ไดต้ ามมาตรา 40 (4) (ก)

1.1.2) เง่ือนไขการคานวณกาไรสุทธิ ตามมาตรา 65 ตรี

รายการต่อไปนไี้ มใ่ ห้ถือเปน็ รายจา่ ยในการคานวณกาไรสทุ ธิ

ตามมาตรา 65 ตรี (1) เงินสารองต่าง ๆ นอกจาก
1. เงนิ สารองเบยี้ ประกันภยั เพื่อสมทบทุนประกันชีวติ
2. เงินสารองเบ้ยี ประกนั ภัยเพือ่ สมทบทนุ ประกนั ภัยอน่ื
3. เงินสารองที่กันไวเ้ ปน็ คา่ เผื่อหนี้สูญหรือหน้สี งสยั จะสญู
ตามมาตรา 65 ตรี (2) เงินกองทุน เว้นแต่กองทุนสารองเล้ียงชีพ ซึ่ง
เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขที่กาหนดโดยกฎกระทรวง ฉบับท่ี 183
(พ.ศ.2533) การท่ีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลมีการจ่ายเงินเข้ากองทุนต่าง ๆ
ของบริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิตบิ คุ คลนั้นเองยอ่ มจะนามาลงเป็นรายจา่ ยไม่ได้
ตามมาตรา 65 ตรี (3) รายจ่ายมีลักษณะเป็นการส่วนตัว ให้โดยเสน่หา
หรือการกุศล เวน้ แต่

1. รายจ่ายซึ่งเป็นเงินที่บริจาคแก่พรรคการเมืองตามกฎหมาย
ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง ให้หักได้ไม่เกินห้าหมื่นบาท
ตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเง่ือนไขที่อธบิ ดกี าหนด

2. รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะหรือเพ่ือการสาธารณะประโยชน์
ตามที่อธิบดีประกาศกาหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี ให้หักได้ในส่วนท่ีไม่เกิน
ร้อยละ 2 ของกาไรสุทธิ และรายจา่ ยเพ่ือการศกึ ษาหรือเพ่ือการกีฬา ตามท่ี
อธิบดีกาหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี ให้หักได้อีกในส่วนที่ไม่เกินร้อยละ 2 ของ
กาไรสทุ ธิ
ตามมาตรา 65 ตรี (4) ค่ารับรองหรือค่าบริการ ซึ่งค่ารับรองหรือ
คา่ บรกิ ารท่ีจะหักเป็นรายจ่ายไดจ้ ะตอ้ งเปน็ ไปตามน้ี

1. เป็นค่ารับรองหรือค่าบริการท่ีจาเป็นตามธรรมเนียมประเพณี
ทางธุรกิจท่ัวไป และบุคคลท่ีได้รับการยกเว้นต้องไม่ใช่ลูกจ้างของบริษัท
หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลน้ัน เว้นแต่ลูกจ้างดังกล่าวจะมีหน้าท่ีเข้าร่วมใน
การรับรองหรือการบรกิ ารนนั้ ดว้ ย

2. คา่ รับรองหรือค่าบรกิ าร ต้องมีลกั ษณะดงั น้ี
2.1 เป็นค่าใช้จ่ายอันเนื่องโดยตรงกับการรับรองหรือการ

บรกิ ารท่จี ะอานวยประโยชน์แก่กิจการ เช่น ค่าท่พี กั ค่าอาหาร ค่า
เครอ่ื งด่ืม คา่ ดูมหรสพ ค่าใช้จา่ ยเก่ียวกบั การกฬี าเป็นต้น หรือ

2.2 เป็นค่าส่ิงของท่ีให้บุคคลซึ่งได้รับการรับรองหรือรับ
บริการไม่เกินคนละ 2,000 บาท ในแต่ละคราวที่มีการรับรองหรือ
การบริการ

3. จานวนเงินค่ารับรองและค่าบริการให้นามาหักเป็นรายจ่ายได้
เท่ากับจานวนที่จ่าย แต่รวมกันไม่เกินร้อยละ 0.3 ของจานวนเงินยอด
รายไดห้ รอื ยออดขายท่ีต้องนามารวมหรือคานวณกาไรสุทธิก่อนหักรายจ่าย
ใดในรอบระยะเวลาบัญชี หรือของจานวนเงินทุนที่ได้รับชาระแล้วถึงวัน
สุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีแล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า ท้ังนี้รายจ่ายท่ี
จะนามาหักได้จะตอ้ งมจี านวนสูงสุดไม่เกนิ 10 ลา้ นบาท

4. ค่ารับรองหรือค่าบริการน้ันต้องมีกรรมการหรือผู้เป็นหุ้นส่วน
หรือผูจ้ ัดการหรือผู้ได้รับมมอบหมายจากบุคคลดังกลา่ วเป็นผู้อนุมตหิ รือผู้มี
คาสั่งจ่ายค่ารับรองหรือคา่ บรกิ ารนัน้ ดว้ ย และตอ้ งมีใบรับหรอื หลกั ฐานของ
ผู้รบั เงนิ ไม่มหี นา้ ทต่ี ้องออกใบรับตามประมวลรษั ฎากร

ตามมาตรา 65 ตรี (5) รายจ่ายที่มีลักษณะลงทุน หรือต่อเติม
เปลี่ยนแปลง ขยายออกหรือทาให้ดีขึ้น ซ่ึงทรัพย์สินแต่ไม่ใช่เป็นการซ่อมแซมให้
คงสภาพเดมิ

ตามมาตรา 65 ตรี (6) เบี้ยปรับหรือเงินเพิ่มภาษีอากร ค่าปรับทาง
อาญา ภาษีเงินได้ของบบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ภาษีมูลค่าเพิ่มท่ีชาระ
หรือพึงชาระ และภาษีซื้อของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีเป็นผู้ประกอบการ
จดทะเบยี น เวน้ แต่เปน็ ภาษซี อ้ื ตอ้ งหา้ ม

ข้อสังเกต (1) เบ้ยี ปรบั และหรอื เงินเพมิ่ ภาษีอากร คา่ ปรบั อาญา หมายถงึ เบี้ยปรับ
และหรือเงินเพิ่มภาษีอากร ค่าปรับทางอาญาที่เกิดจากการกระทาผิดตามประมวล
รัษฎากรเท่านัน้

(2) ภาษีซื้อของทรัพย์สินที่ขอคืนภาษีซ้ือไม่ได้ (เช่น รถยนต์น่ัง หรือ
ทรัพย์สินที่ใช้ในกิจการท่ีไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพ่ิม) สามารถนาไปรวมเป็นมูลค่า
ตน้ ทนุ ในการหกั ค่าสกึ หรอและคา่ เส่ือมราคาได้

ตามมาตรา 65 ตรี (7) การถอนเงินโดยปราศจากค่าตอบแทนของผู้เป็น
หนุ้ สว่ นในหา้ งหนุ้ ส่วนนติ ิบคุ คล

ตามมาตรา 65 ตรี (8) เงินเดือนของผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วน เฉพาะส่วนที่
จ่ายเกินสมควร

ตามมาตรา 65 ตรี (9) รายจ่ายท่ีกาหนดขึ้นเองโดยไม่มีกรจ่ายจริง หรือจ่าย
ซ่ึงควรจะได้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีอ่ืน เว้นแต่ในกรณีที่ไม่สามารถจะลงรายจ่ายใน
รอบระยะเวลาบัญชใี ด อาจลงจ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีถัดได้

ตามมาตรา 65 ตรี (10) คา่ ตอบแทนแกท่ รพั ยส์ นิ ซึ่งบรษิ ัทหรือหา้ งห้นุ สว่ นนิติ
บคุ คลเปน็ เจา้ ของเองและใชเ้ อง

ตามมาตรา 65 ตรี (11) ดอกเบ้ียท่ีคิดให้สาหรับเงินทุน เงินสารองต่าง ๆ หรือ
เงนิ กอองทุนของตนเอง

ตามมาตรา 65 ตรี (12) ผลเสียหายอันอาจได้กลับคืนเน่ืองจากการประกัน
หรือสัญญาคุ้มกันใด ๆ หรือผลขาดทุนสุทธิ ในรอบระยะเวลาบัญชีก่อน ๆ เว้นแต่ผล
ขาดทุนสทุ ธิยกมาไมเ่ กนิ 5 ปี กอ่ นรอบระยะเวลาบญั ชปี จั จุบนั

ตามมาตรา 65 ตรี (13) รายจ่ายซ่ึงมิใช่รายจ่ายเพ่ือหากาไร หรือเพ่ือกิจการ
โดยเฉพาะ

ตามมาตรา 65 ตรี (14) รายจ่ายซ่ึงมิใช่รายจ่ายเพื่อกิจการในประเทศไทย
โดยเฉพาะ

ตามมาตรา 65 ตรี (15) ค่าซ้ือทรัพย์สิน และรายจ่ายเก่ียวกับการซ้ือขาย
ทรัพยส์ ินในส่วนที่เกินแกตโิ ดยไมม่ ีเหตุผลอันสมควร

ตามมาตรา 65 ตรี (16) ค่าของทรัพยากรของธรรมชาติที่สูญเสียหรือสิ้นไป
เนอ่ื งจากกจิ การที่ทา

ตามมาตรา 65 ตรี (17) ค่าของทรัพย์สิน นอกจากสินค้าท่ีตีราคาต่า ทั้งนี้
ภายใต้มาตรา 65 ทวิ

ตามมาตรา 65 ตรี (18) รายจา่ ยซ่งึ ผจู้ ่ายพิสูจน์ไมไ่ ด้วา่ ใครเปน็ ผรู้ ับ
ตามมาตรา 65 ตรี (19) รายจ่ายใด ๆ ท่ีกาหนดจ่ายจากผลกาไรท่ีได้เมื่อส้ิน
รอบระยะเวลาบญั ชแี ลว้
ตามมาตรา 65 ตรี (20) รายจ่ายที่มีลักษณะทานองเดียวกับท่ีระบุใน (1) ถึง
(19) ตามทจี่ ะกาหนดโดยพระราชกฤษฎกี า

1.2) อัตราภาษี

(1.2.1) อตั ราภาษี

ก. กรณีลดอัตราภาษี ใหค้ านวณภาษี ดังน้ี

(1.1) กรณีเป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทั่วไป ให้คานวณ

ภาษีในอัตราร้อยละ 20 ของกาไรสุทธิ ใช้บังคับสาหรับระยะเวลาบัญชีที่

เรม่ิ ในหรือหลังวันท่ี 1 มกราคม 2559

(1.2) กรณีเป็นบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีทุนจดทะเบียน

ท่ีชาระแล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาท และมี

รายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการในรอบระยะเวลาบัญชี ไม่เกิน

30 ล้านบาท

โดยในรอบระยะเวลาบัญชีที่เร่ิมในหรือหลังวันท่ี 1 มกราคม พ.ศ.

2560 เปน็ ตน้ ไป ให้คานวณภาษี ในอัตรา ดังน้ี

กาไรสุทธิ อัตราภาษีรอ้ ยละ

ไมเ่ กนิ 300,000 บาท ยกเว้น

เกิน 300,000 บาท แต่ไมเ่ กนิ 3,000,000 บาท 15%

เกิน 3,000,000 บาท ขึน้ ไป 20%

(1.3) กรณีเป็นกิจการสานักงานปฏิบัติการภูมิภาคให้คานวณภาษี
ในอัตราร้อยละ 10 ของกาไรสุทธิ สาหรับรายได้ที่ได้รับจากวิสาหกิจใน
เครือหรือสาขาต่างประเทศของสานักงานฯ ดังต่อไปนี้

(ก) รายได้จากการให้บริการของสานักงานฯ ได้แก่
วสิ าหกิจในเครือหรอื สาขาต่างประเทศของสานักงานฯ

(ข) ดอกเบ้ียรับ ทั้งนี้ เฉพาะดอกเบี้ยเงินกู้ยืมท่ีสานักงาน
ฯ ได้กู้มาเพือ่ ใหก้ ยู้ มื ต่อ

(ค) ค่าสิทธิ รวมท้ังค่าสิทธิที่ได้รับจากบริษัทหรือห้าง
หุ้นส่วนนิติบุคคลท่ีเกี่ยวข้อง ซึ่งได้แก่ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติ
บุคคลท่ีนาผลการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของสานักงานไปใชใ้ น
การผลิตสินค้าหรือให้บริการแก่สานักงานฯ วิสาหกิจในเครือหรือ
สาขาต่างประเทศของสานักงาน ฯ ทั้งนี้ เฉพาะค่าสิทธิที่เกิดจาก
ผลการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของสานักงานฯ ที่กระทาขึ้นใน
ประเทศไทย
(1.4) กรณีเป็นกิจการนาเข้าส่งออกไปนอกราชอาณาจักรในเขต
ปลอดอากรหรือระหว่างเขตปลอดอากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร ท่ี
ได้รบั อนญุ าตจากกระทรวงพลังงานให้ค้าน้ามันเช้ือเพลิง ใหค้ านวณภาษีใน
อตั ราร้อยละ 10 ของกาไรสุทธิในรอบระยะเวลาบัญชที ่ีเริ่มในหรือหลังวันท่ี
1 มกราคม พ.ศ. 2547 เป็นต้นไป สาหรับรายได้จากการประกอบธุรกรรม

การซ้ือขายน้ามันเชื้อเพลิง รวมถึงการซ้ือและขายน้ามันเช้ือเพลิงตาม
สัญญาซ้ือขายล่วงหน้าด้วย ทั้งน้ี บริษัทซ่ึงประกอบกิจการท่ีมีรายได้จาก
การประกอบธุรกรรมและการซื้อขายน้ามันเช้ือเพลิงได้แจ้งการเป็นผู้ได้รับ
อนุญาตจากกระทรวงพลังงานในรอบระยะเวลาบัญชีใด ให้ได้รับสิทธิลด
อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ตั้งแตร่ อบระยะเวลาบัญชนี น้ั เปน็ ต้นไป

(1.5) กรณีเป็นกิจการตั้งอยู่ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจซึ่ง
ประกอบดว้ ย จงั หวดั นราธวิ าส จงั หวัดปตั ตานี จังหวดั ยะลา จงั หวดั สงขลา
เฉพาะในท้องที่อาเภอจะนะ อาเภอเทพา อาเภอนาทวี และอาเภอ สะบ้า
ย้อย และจังหวัดสตูล และมีรายได้ท่ีเกิดข้ึนจากการผลติ สินค้าหรอื การขาย
สินค้าหรือการให้บริการ ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ ให้คานวณภาษีใน
อัตราร้อยละ 3 ของกาไรสุทธิ สาหรับ 3 รอบระยะเวลาบัญชี ตั้งแต่รอบ
ระยะเวลาบัญชี 2558 ท่ีเริ่มในหรือหลังวันท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2558 ถึง
รอบระยะเวลาบัญชี 2560 ที่สิ้นสุดภายในหรือหลังวนั ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.
2560

(1.6) กรณีกิจการเป็นศูนย์กลางการหาสินค้าเพ่ือการผลิตระหว่าง
ประเทศ ให้คานวณภาษีในอตั รารอ้ ยละ 15 ของกาไรสทุ ธิ

(1.7) กรณีได้รับอนุมัติจากกรมสรรพากรให้เสียภาษีจากยอด
รายรบั ก่อนหักรายจ่าย ให้เสียภาษีในอตั ราร้อยละ 5 ของยอดรายรับ

ข. ภาษีจากกาไรสุทธิเฉพาะกรณีท่ีได้จากการประกอบกิจการวิเทศ
ธนกิจตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่องการประกอบกิจการวิเทศธนกิจของ
ธนาคารพาณชิ ย ์ ลงวนั ที่16 กนั ยายน 2535 ร้อยละ 10

2) ตรวจสอบการปรับปรงุ กาไรทางบญั ชเี ปน็ กาไรทางภาษี

บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลได้คานวณกาไรสุทธิตามเง่ือนไขที่บัญญัติไว้ใน
ประมวลรัษฎากรแลว้ ใหน้ ากาไรสทุ ธิดงั กล่าวคูณกับอัตราภาษีเงินไดน้ ิตบิ ุคคล จะไดภ้ าษีเงิน
ได้นิติบุคคลท่ีต้องชาระ ถ้าคานวณกาไรสุทธิออกมาแล้วปรากฏว่าไม่มีกาไรสุทธิหรือขาดทุน
สุทธิ บรษิ ทั ไม่ตอ้ งคานวณภาษเี งินไดน้ ติ บิ คุ คล กล่าวคือไม่ตอ้ งเสยี ภาษีเงนิ ได้นิตบิ คุ คล

ซึ่งในการคานวณกาไรสุทธิตามหลักกฎหมายภาษีอากรน้ัน กิจการจะต้องปรับปรุง
รายการในส่วนที่เกี่ยวกับรายได้และรายจ่าย เฉพาะรายการท่ีมีการบันทึกรายการตาม
หลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปแตกต่างไปจากที่กฎหมายภาษีอากรกาหนดไว้ ให้ถูกต้องและ
สอดคลอ้ งกับกฎหมายภาษีอากร

สว่ นท่ตี ้องปรับปรงุ

ในการตรวจสอบงบการเงิน จะมรี ายการบางรายการที่ผูจ้ ดั ทาบัญชอี าจจะลงเดบติ
เครดิตผดิ ฝ่ัง ลงจานวนผดิ ผู้ชว่ ยผสู้ อบบัญชกี ็จะต้องมาตรวจสอบว่ามรี ายการใดบา้ งท่ีควร
จะปรับปรุงจากรายการทางบัญชที ลี่ งไว้ ถูกตามทางภาษหี รอื ไม่ ซ่ึงจะต้องเร่ิมที่ความเข้าใจ
ในเร่อื งของการคานวณภาษเี งินไดน้ ิติบคุ คล 65ตรี 65ทวิ ซง่ึ เปน็ การบง่ บอกว่ารายการใดที่
สามารถนามาเปน็ รายได้ ค่าใช้จา่ ยได้บา้ ง

ตัวอย่างท่ี1 บริษัทภูมิใจนาเสนอ จากัด ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ รอบ

ระยะเวลาบญั ชี 2563 บริษทั มรี ายได้และรายจ่ายดงั น้ี

รายได้ :

▪ รายได้จากการขายสนิ ค้า 40,000,000

▪ รายไดค้ ่าคอมมชิ ชัน่ 600,000

▪ ปันผลและสว่ นแบง่ กาไร 380,000 40,980,000

ค่าใช้จา่ ย :

▪ เงินเดอื นพนักงาน 12,000,000

▪ ค่าเสอื่ มราคา 800,000

▪ ภาษีมลู ค่าเพ่มิ 140,000

▪ เบ้ียปรบั เงนิ เพ่มิ (ภาษีมูลคา่ เพิม่ ) 9,000

▪ ภาษีโรงเรอื นและท่ีดิน 90,000

▪ ค่ารบั รอง 312,000

▪ คา่ ใชจ้ ่ายอื่น ๆ 25,000 13,457,000

กาไรสทุ ธิทางบัญชี 27,523,000

จากการตรวจสอบรายละเอียดพบว่ารายการต่าง ๆ ในงบกาไรขาดทุนข้างต้นมี
ขอ้ มลู ที่ควรพจิ ารณาเพม่ิ เตมิ คอื

1. รายได้จาการขายได้รวมภาษีขายจานวน 590,000 บาทไว้ด้วย
นอกจากนั้นยังได้รวมรายการขายสินค้าที่มีราคาตลาด 820,000 บาท (ไม่รวม
ภาษีมลู ค่าเพิ่ม)

2. บริษัทได้รับเงินปันผลจากบริษัทไทยซ่ึงจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
300,000 บาท และสว่ นแบง่ กาไรจากห้างหนุ่ สว่ นจากัด 80,000 บาท

3. ค่าเสื่อมราคา 800,000 บาท ส่วนหน่ึงเป็นค่าเสื่อมราคาของรถยนต์น่ัง
85,600 บาท ซึ่งรถยนต์นั่งคันนี้ซื้อมาเม่ือ 22 ต.ค.2562 ราคาซ้ือของรถคือ
1,600,000 บาท (ยังไม่รวมภาษีมูลคา่ เพิม่ )

4. ค่ารับรองลูกค้า 312,000 บาท ในจานวนนี้ได้รวมค่าอาหารเลี้ยง
พนักงาน 20,000 บาท ซึ่งรายการท้ังหมดรวมภาษีมูลค่าเพ่ิมแล้ว

5. ภาษีมูลค่าเพ่ิม และเบี้ยปรับ เงินเพิ่ม เป็นภาษีมูลค่าเพ่ิมที่ต้องนาส่ง
พร้อมกับถูกเรียกเก็บเบ้ียปรับและเงินเพ่ิม ซ่ึงบริษัทได้นามางลงเป็นรายจ่ายไว้
ท้งั สน้ิ

ให้คานวณภาษีเงินได้นิติบุคคลส้ินรอบระยะเวลาบัญชี 2563 ส้ินสุด 31
ธนั วาคม 2563

คาอธบิ ายรายการปรับปรุง
1. รายได้จากการขายสนิ คา้

จากขอ้ มูลขอ้ ที่ 1 รายได้จากการขายไดร้ วมภาษีขายจานวน 590,000 บาท

ไว้ด้วย ซึ่งภาษีขาย คือ ภาษีที่ต้องนาไปจ่ายให้กับสรรพากร เพราะฉะนั้นต้องแยก

ภาษขี ายออกมาจากรายไดจ้ ากการขาย เพอ่ื ท่จี ะนาสง่ สรรพากรตอ่ ไป

การทร่ี ายได้จากการขายไดร้ วมภาษีขายไว้ ส่งผลให้ รายไดส้ งู ไป กาไรสงู ไป

กว่าความเปน็ จริง เพราะนนั้ ตอ้ งนายอดของภาษขี ายหกั ออกมา

กรณบี ันทกึ รายได้โดยรวมภาษีขาย

ทางบัญชี รบั รู้เป็นรายได้ 40,000,000

ปรบั ปรุงโดย - ภาษีขาย 590,000

ทางภาษี รับรู้เป็นรายได้ 39,410,000

จากข้อมูลข้อท่ี 1 รายได้จากการขายสินค้าซ่ึงสินค้านั้นมีราคาขายของ

ตลาดอย่ทู ี่ 820,000 บาท แต่บริษทั ขายไปในราคา 680,000 บาท

การขายสินค้าราขาต่ากว่าตลาด ทาให้รายได้ลดลง ส่งผลให้กาไรต่ากว่า

ความเป็นจรงิ และส่งผลใหเ้ สียภาษีน้อยกวา่ ความเป็นจริง เพราะนน้ั ตอ้ งนาส่วนต่าง

ไปบวกกลบั

กรณีขายสินคา้ ต่ากว่าราคาตลาด

ทางบญั ชี รบั รูเ้ ป็นรายได้ 680,000

ปรับปรุงโดย + สว่ นตา่ งท่ีต่าไป 140,000

ทางภาษี รบั รเู้ ปน็ รายได้ 820,000

2. ปันผลและสว่ นแบ่งกาไร

จากข้อมูลข้อท่ี 2. บริษัทได้รับเงินปันผลจากบริษัทไทยซึ่งจดทะเบียนใน

ตลาดหลักทรัพย์ 300,000 บาท และส่วนแบ่งกาไรจากห้างหุ่นส่วนจากัด 80,000

บาท รวมปนั ผลและสว่ นแบง่ กาไรแลว้ เทา่ กับ 380,000 บาท

ในส่วนของเงินปันผล บริษัทเป็นบริษัทจากัดท่ีมิได้ จดทะเบียนในตลาด

หลักทรัพย์ แต่ได้รับปันผลจากบริษัทท่ีจดทะเบียนตลาดหลักทรัพย์ ในทางภาษีจะ

ยกเว้นภาษีไว้ครึ่งหนึ่งและนามาเป็นกาไรทางภาษีได้ครึ่งนึงของเงินปันผลท่ีได้ ส่วน

ในส่วนของส่วนแบง่ กาไรก็สามารนามาเป็นกาไรทางภาษีไดท้ ้ังจานวน

ทางบัญชี รับรเู้ ป็นรายได้ 380,000

ปรับปรงุ โดย - ส่วนตา่ งทส่ี งู ไป 150,000

ทางภาษี รับรเู้ ป็นรายได้ 230,000

3. คา่ เส่อื มราคารถยนต์นั่ง
จากข้อมูลข้อท่ี 3. คา่ เสอ่ื มราคา 800,000 บาท สว่ นหนึ่งเปน็ คา่ เสื่อมราคา

ของรถยนต์น่ัง 85,600 บาท ซึ่งรถยนต์น่ังคันน้ีซ้ือมาเมื่อ 22 ต.ค.2562 ราคาซื้อ
ของรถคอื 1,600,000 บาท (ยงั ไม่รวมภาษีมูลค่าเพม่ิ )

ทางบัญชีลงค่าเสื่อมราคารถยนต์นั่ง 85,600 บาท ซ่ึงในทางภาษีจะคิดค่า
เสอ่ื มราคาจากมลู คา่ ตน้ ทุนเฉพาะสว่ นทีไ่ ม่เกนิ 1,000,000 บาท

ราคาทนุ 1,600,000 บาท ทางภาษีให้คดิ คา่ เสอ่ื มไมเ่ กิน 1,000,000 บาท
คา่ เสือ่ มราคา ณ 31 ธันวาคม 2563 = 1,000,000 x 20% x 71/365

= 38,904,11

จากการคานวณค่าเส่ือมราคาได้ 38,904,11 บาท แต่ทางบัญชีลง 85,600
บาท แสดงว่าทางบัญชีลงคา่ ใชจ้ า่ ยสงู เกนิ ค่าใช้จา่ ยสูงทาให้รายไดต้ ่า กาไรตา่ สง่ ผล
ใหเ้ สยี ภาษนี อ้ ยกวา่ ความจรงิ เพราะฉนนั้ จะตอ้ งนาคา่ ใช้จ่ายทีเ่ กินไปบวกกลบั

ทางบญั ชี รบั รู้เป็นคา่ ใช้จา่ ย 85,600.00
ทางภาษี รบั รู้เปน็ คา่ ใช้จ่าย 38,904,11
ปรับปรุงโดย + สว่ นต่างทส่ี งู ไป 46,695.89

4. คา่ รับรอง
จานวนเงนิ คา่ รบั รองและค่าบริการให้นามาหกั เป้นรายจ่ายไดเ้ ท่ากับจานวน

ที่จ่าย แต่รวมกันต้องไม่เกิน 0.3% ของจานวนยอดรายได้หรือยอดขายท่ีต้องนามา
รวมหรือคานวณกาไรสทุ ธิก่อนหักรายจา่ ยใดในรอบระยะเวลาบญั ชี

จากข้อมูลข้อท่ี 4. ค่ารับรองลูกค้า 312,000 บาท ในจานวนนี้ได้รวม
คา่ อาหารเลย้ี งพนกั งาน 20,000 บาท ซ่งึ รายการทง้ั หมดรวมภาษมี ูลคา่ เพม่ิ แลว้
คา่ รบั รองทีเ่ ข้าหลกั เกณฑ์ = 312,000 - 20,000 = 292,000 บาท
รายได้ที่ปรับปรุงแล้ว = 40,980,000 – 590,000 + 140,000 – 150,000

= 40,380,000
วงเงินคา่ รบั รองทางภาษี = 40,380,000 x 0.3%

= 121,140 บาท
จากการคานวณแสดงวา่ ทางบริษัทลงค่าใช้จา่ ยสูงเกินไป ส่งผลให้รายไดต้ า่
กาไรต่า เสียภาษีน้อย จึงต้องบวกกลับ คือลงไป 312,000 บาท แต่ทางภาษีให้เป็น
ค่าใช้จา่ ยเพยี ง 121,140 บาท
ทางบัญชี รับรู้เปน็ ค่าใช้จา่ ย 312,000
ทางภาษี รับรเู้ ปน็ ค่าใชจ้ ่าย 121,140
ปรบั ปรงุ โดย + สว่ นตา่ งทสี่ งู ไป 190,860

5. ภาษมี ูลค่าเพ่มิ

จากข้อมลู ขอ้ 5. ภาษีมูลค่าเพ่ิม และเบี้ยปรบั เงนิ เพิ่ม เปน็ ภาษีมูลคา่ เพ่ิมที่

ต้องนาส่งพร้อมกับถูกเรียกเก็บเบี้ยปรับและเงินเพ่ิม ซ่ึงบริษัทได้นามาลงเป็น

รายจ่ายไว้ทั้งสิ้น ลงเป็นค่าใช้จ่ายสูงไป ส่งผลให้รายได้ต่า กาไรต่า เสียภาษีน้อย จึง

ตอ้ งบวกกลบั

ทางบัญชี รบั ร้เู ปน็ คา่ ใชจ้ า่ ย 140,000

ทางภาษี รับรเู้ ป็นค่าใชจ้ า่ ย 0

ปรบั ปรงุ โดย + สว่ นต่างที่สูงไป 140,000

เบีย้ ปรับเงินเพิม่ รับรู้เป็นคา่ ใชจ้ า่ ย 9,000
ทางบัญชี รับรูเ้ ปน็ คา่ ใชจ้ า่ ย 0
ทางภาษี + สว่ นตา่ งที่สูงไป 9,000
ปรบั ปรุงโดย

การคานวณภาษเี งนิ ได้นติ ิบุคคลสนิ้ รอบรอบระยะเวลาบัญชี

กาไรทางบัญชี 27,523,000.00

รายการปรบั ปรงุ : 386,555.89
27,909,555.89
บวก คา่ เส่อื มราคารถยนตน์ ัง่ 46,695.89
600,000.00
ภาษมี ูลคา่ เพ่ิม 140,000.00 27,309,555.89

เบีย้ ปรับ เงินเพ่ิม 9,000.00

ค่ารับรอง 190,860.00

รวม

หัก รายไดจ้ ากการขายสินค้า 450,000.00

ปนั ผล 150,000.00

กาไรสุทธเิ พ่อื เสียภาษี

ภาษเี งินไดน้ ิติบุคคล = 27,309,555.89 x 20% = 5,461,911.18 บาท

ตวั อยา่ งท่ี2 บริษัท วีรกรรม จากดั เป็นบริษัททีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลกั ทรัพย์แห่ง
ประเทศไทยประกอบกิจการผลิตสินค้าในประเทศและส่งออกต่างประเทศได้จดทะเบยี น
ภาษีมูลคา่ เพิม่ แบบเตม็ รปู แบบและจดทะเบยี นภาษีธรุ กิจเฉพาะ มรี ายละเอยี ดตามบัญชีกาไร
ขาดทุน ดังน้ี

บรษิ ัท วรี กรรม จากัด จากดั งบกาไรขาดทุน
สาหรบั รอบระยะเวลาบัญชี ต้งั แต่วนั ท่ี 1 มกราคม 2561 ถงึ 30 ธันวาคม 2061

(หนว่ ย : บาท)

รายได้ 6,420,000
ขายสนิ ค้าในประเทศ 50,000,000
ขายสินคา้ สง่ ออกไปตา่ งประเทศ
เงินปนั ผลและสว่ นแบ่งกาไร 480,000
ดอกเบ้ียจากการใหบ้ ริษัทตา่ ง ๆ กู้ยมื เงิน 300,000
57,200,000
รวมรายได้
รายจ่าย 40,500,000
ตน้ ทนุ สินค้าขาย 5,000,000
ค่าแรงและเงินเดือน 513,600
ค่าเส่ือมราคา – รถยนตบ์ รรทุก 2,400,000
ค่าเส่อื มราคา – ทรัพยส์ ินอืน่
ภาษีมลู ค่าเพิ่ม เบ้ยี ปรบั และเงนิ เพ่มิ 500,000
ภาษีธรุ กจิ เฉพาะ 9,900
คา่ ปรับอาญา – กรณีไม่ยนื่ แบบฯ เสยี ภาษโี รงเรอื นฯ 2,000
คารับรอง
คาบรจิ าค 535,000
คาซ้ือเครอื่ งจกั รและคาติดต้ัง 550,000
ดอกเบี้ยจ่าย 1,177,000
รายจา่ ยอน่ื ๆ 20,000
3,000,000
รวมรายจ่าย 54,207,500
กาไรสทุ ธทิ างบัญชี 2,992,500

จากการตรวจสอบรายละเอียดพบว่ารายการต่าง ๆ ในงบกาไรขาดทุนข้างต้นมี
ข้อมลู ที่ควรพจิ ารณาเพม่ิ เติม คอื

1. รายได้จากการขายสินค้าในประเทศ จานวน 6,420,000 บาท เป็นราคาที่รวม
ภาษมี ูลคาเพ่ิมแล้ว และบรษิ ทั ลงบัญชีเป็นรายได้ท้งั จานวน และมีรายได้จากการขายวัตถุดิบ
และเศษวัสดุ จานวน500,000 บาท เป็นราคาที่ไม่รวมภาษีมูลคาเพิ่ม และบริษัทไม่ได้นา
รายได้มาคานวณกาไรสทุ ธิทางบัญชี

2. บรษิ ัทมสี าขาในประเทศสงิ คโ์ ปร สาขามกี าไรสทุ ธิ 2,000,000 บาท (รายได้ 25 ล
านบาท – รายจ่าย 23 ลานบาท) เสยี ภาษีเงินได้ในสงิ ค์โปร์ 300,000 บาท บรษิ ัทไม่ได้นามา
รวมคานวณภาษีในประเทศไทย เพราะเห็นวาได้เสียภาษีทีป่ ระเทศสงิ ค์โปรแลว

3. บรษิ ทั ได้ให้บริษัท สริ ิการช่าง จากดั ซ่งึ กรรมการบริษัทเป็นกรรมการชุดเดียวกับ
บริษัท วีรกรรมจากัด กู้ยืมเงินห้าล้านบาทเมื่อวันท่ี 1 เมษายน 2558 โดยคิดดอกเบ้ีย 8%
ตอ่ ปีแตอ่ ตั ราดอกเบ้ียตามราคาตลาดคือ 1.5% ต่อปีกาหนดชาระดอกเบ้ียทุกสนิ้ เดือนบริษัท
ยังไม่ได้บันทึกดอกเบี้ยรับจากผู้กู้รายนี้เป็นรายด้านในรอบแล้วบัญชีน้ีเนื่องจากยังไม่ได้รับ
ชาระดอกเบีย้

4. บริษัทได้รับเงินปันผลจากธนาคารกสิกรไทยจานวน 400,000 บาทและได้รับเงิน
ส่วนแบ่งกาไรจากห้างหุ้นส่วนจากัดรุ่งเรืองพืชผลอีก 80,000 บาทระยะเวลาถือหุ้นโอนหุ้น
ตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกาหนด

5. บริษัทซ้ือรถยนต์บรรทุกสองคันราคาคันละ 1,200,000 บาทจ่ายภาษีซ้ือ
168,000 บาทระยะเวลาท่ีได้รถบรรทุกมาจนถึงวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี 73 วันและบริษัท
ได้หักค่าเส่ือมราคารถยนต์บรรทุกทั้งสองคันนี้ตามวิธีเส้นตรงในอัตรา 20% ต่อปีเป็นเงิน
513,600 บาท

6. บริษัทซื้อเครื่องจากราคาหนึ่งล้านบาทค่าติดต้ังเคร่ืองจักร 100,000 บาทจ่ายค่า
ภาษีซ้ือ 77,000 บาท จ่ายดอกเบี้ยกู้ยืมเพ่ือซ้ือเครื่องจักรจนถึงวันท่ีเครื่องจักรใช้งานได้
20,000 บาทระยะเวลาท่ีเคร่ืองจักรใช้งานได้จนถึงวันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี 146 วันบริษัท
นาค่าซ้ือเคร่ืองจากค่าติดตั้ง ภาษีซ้ือ และดอกเบ้ียมาบันทึกบัญชีรายจ่ายในรอบระยะเวลานี้
ทงั้ จานรบริษัทใช้วิธีคิดคา่ เสอื่ มราคาแบบเสน้ ตรงและประมาณวา่ เคร่ืองจะมีอายุ 10 ปี

7. ภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีธุรกิจเฉพาะที่บริษัทรับชาระทุกเดือน และเบี้ยปรับ เงิน
เพ่ิม เนื่องจากชาระภาษีหมดราคาเพิ่มเกินกาหนดเวลาและค่าปรับอาญากรณีบริษัทไม่ชาระ
ภาษโี รงเรอื นบรษิ ัทไดบ้ นั ทึกเปน็ รายจา่ ยของบริษัทท้งั ส้ิน

8. บริษัทส่งสินค้าไปขายท่ีสิงคโปร์เป็นเงินเช่ือเมื่อวันท่ี 1 สิงหาคม 2561 เป็นเงิน
100,000 USD อัตราแลกเปล่ียนตามราคาตลาด1 USD = 25.28 บาท และ ณ วันท่ี 30
กันยายน 2561 บริษัทยังไม่ได้รับชาระหน้ีอัตราแลกเปล่ียนถัวเฉล่ียท่ีธนาคารพาณิชย์รับซื้อ
1 USD = 25.40 บาท บริษัทบันทกึ ลูกหนีร้ ายนี้ไวจ้ านวน 2,528,000 บาท

9. บริษทั มที ุนจดทะเบียนร้อยล้านไดร้ ับชาระแลว้ ทั้งหมดบริษัทไดจ้ ่ายเงินค่ารับรอง
ลูกค้าเป็นเงิน 500,000 บาทภาษีซ้ือ 35,000 บาทบริษัทลงเป็นรายจ่ายทั้งจานวน 535,000
บาท

10. บริษัทมีสินค้าคงเหลือ ณ วันท่ี 30 กันยายน 2561 มีราคาทุนตามวิธี FIFO
800,000 บาทและคานวณตามวิธี Weighted Average เป็นเงิน 750,000 บาทและมีราคา
ตลาด 820,000 บาทบริษัทใช้วิธีคานวณราคาทุนของสินค้าตามวิธี FIFO มาตลอด แต่
แน่นอนระยะเวลาบัญชีนี้ บริษัทเปล่ียนวิธีคานวณเป็น Weighted Average โดยไม่ได้รับ
อนญุ าตจากอธิบดีกรมสรรพากรและบนั ทึกบัญชีสนิ คา้ คงเหลอื ไว้เปน็ เงิน 750,000 บาท

11. บรษิ ัทมที มีผลกาไรสุทธแิ ละขาดทุนสุทธติ ามประมวลรัษฎากร ในรอบ
ระยะเวลาบัญชกี ่อน ๆ ดังน้ี

รอบระยะเวลาบญั ชี กาไรสทุ ธิ ขาดทุนสุทธิ
1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2554 600,000
1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2555 150,000 200,000
1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2556 50,000
1 มกราคม – 31 ธนั วาคม 2557 200,000
1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2558 150,000
1 มกราคม – 31 ธนั วาคม 2559 300,000
1 มกราคม – 31 ธนั วาคม 2560

ใหคานวณกาไรสุทธทิ ่ีตองเสียภาษเี งินไดน้ ิตบิ ุคคล สาหรับรอบระยะเวลาบัญชตี ้ังแต่
1 มกราคม – 31 ธนั วาคม 2561 ใหถูกตอง ตามประมวลรัษฎากร และคานวณภาษเี งินไดน้ ติ ิ
บคุ คลท่ตี องชาระ พรอมท้งั อธบิ ายเหตุผลประกอบ

คาอธบิ ายรายการปรบั ปรุง
1. รายไดจ้ ากการขาย

จากข้อมูลข้อท่ี1. รายได้จากการขายสินค้าในประเทศ จานวน 6,420,000
บาท เป็นราคาทีร่ วมภาษมี ูลคาเพม่ิ แลว้ และบรษิ ัทลงบัญชีเป็นรายได้ทั้งจานวน

ซ่ึงภาษีมูลค่าเพ่ิมต้องนาส่งสรรพากร การท่ีภาษีมูลค่าเพ่ิมบวกรวมกับ
รายได้ ทาให้รายได้สูง กาไรสูงกว่าความเป็นจริง ส่งผลให้เสียภาษีเยอะ จึงต้องหัก
ออก โดย 6,420,000 x 7/107 = 420,000 นี่คือภาษีมูลค่าเพ่ิมที่ต้องหักออกไป
นาส่งสรรพากร

ทางบัญชี รบั ร้เู ปน็ รายได้ 6,420,000
ทางภาษี รับรู้เป็นรายได้ 6,000,000
ปรบั ปรงุ โดย - ส่วนต่างที่สูงไป 420,000
และมีรายได้จากการขายวัตถุดิบและเศษวัสดุ จานวน 500,000 บาท เป็น
ราคาท่ีไม่รวมภาษีมูลคาเพิ่ม และบริษทั ไม่ได้นารายได้มาคานวณกาไรสทุ ธิทางบัญชี
ทาใหก้ าไรต่าไป จงึ จ้องบวกกลบั
ปรับปรงุ โดย + ส่วนต่างท่ีตา่ ไป 500,000

2. กาไรสุทธิจากสาขาสิงค์โปร์
จากข้อมูลข้อที่ 2. บริษัทมีสาขาในประเทศสิงค์โปร์ สาขามีกาไรสุทธิ

2,000,000 บาท (รายได้ 25 ลานบาท – รายจ่าย 23 ลานบาท) เสียภาษีเงินได้ใน
สิงค์โปร์ 300,000 บาท บริษัทไม่ได้นามารวมคานวณภาษีในประเทศไทย เพราะ
เหน็ วาไดเ้ สยี ภาษที ีป่ ระเทศสงิ ค์โปร์แลว

บริษัทท่ีจดทะเบยี นในประเทศไทย ต้องนารายได้และรายจ่ายจากสาขาต่าง
ๆ ท่ีมีอยู่ในต่างประเทศท่ัวโลก มารวมคานวณกาไรสุทธิเพ่ือเสียภาษีในประเทศไทย
ตามหลักของแหล่งเงินได้ทั่วโลก ดังน้ันต้องนากาไรสุทธิ 2,000,000 บาท (รายได้
25 ลา้ นบาท –รายจา่ ย 23 ล้านบาท) มารวมคานวณดว้ ย จึงต้องบวกกลบั

ปรับปรงุ โดย + ส่วนต่างทีต่ ่าไป 500,000

3. ดอกเบย้ี รับ
จากข้อมูลข้อที่ 3. บริษัทได้ให้บริษัท สิริการช่าง จากัด ซึ่งกรรมการบริษัท

เป็นกรรมการชุดเดียวกับ บริษัท วีรกรรมจากัด กู้ยืมเงิน 5,000,000 บาทเมื่อวันที่
1 มิถุนายน 2561 โดยคิดดอกเบ้ีย 8% ต่อปีแต่อัตราดอกเบ้ียตามราคาตลาดคือ
15% ต่อปีกาหนดชาระดอกเบยี้ ทุกส้ินเดือนบริษัทยังไม่ได้บันทึกดอกเบี้ยรับจากผกู้ ู้
รายนีเ้ ป็นรายดา้ นในรอบแลว้ บัญชีน้เี นื่องจากยังไม่ได้รบั ชาระดอกเบยี้

ตองคานวณดอกเบี้ยรับตามอัตราดอกเบ้ียในทองตลาด คือ 5,000,000 x
6/12 x 15% = 375,000 บาท และตองคานวณรายได้ดอกเบี้ยตามเกณฑสิทธิ์
(ถึงแม้จะยังไม่ได้รับชาระคาดอกเบ้ียก็ตาม) เพราะถือว่ารายรับเกิดข้ึนแล้ว เพียงแต่
ไมไ่ ด้ลงบัญชีทาใหร้ ายไดต้ ่า เสยี กาไรตา่ กว่าความเปน้ จริง ตอ้ งนาไปบวกกลับ

ปรบั ปรงุ โดย + ส่วนต่างทีต่ า่ ไป 375,000

4. เงินปันผล
จากข้อมูลข้อที่ 4. บริษัทได้รับเงินปันผลจากธนาคารกสิกรไทยจานวน

400,000 บาทและได้รับเงินส่วนแบ่งกาไรจากห้างหุ้นส่วนจากัดรุ่งเรืองพืชผลอีก
80,000 บาทระยะเวลาถือหุน้ โอนหุ้นตามหลักเกณฑ์ทีก่ ฎหมายกาหนด

ซ่ึงจากธนาคารกสิกรไทย 400,000 บาท ได้รับยกเว้นภาษี แต่เงินปันผล
จาก หจก.รุ่งเรืองพืชผล 80,000 บาท ตองเสียภาษีท้ังจานวน แต่บริษัทถือเป็น
รายได้ทั้ง 2 รายการ ทาให้รายได้สูง กาไรสูง เสียภาษีเยอะ เพราะฉะน้ันจึงตอง
ปรบั ปรงุ เงินปนั ผลของธนาคารกสกิ รไทยออก 400,000 บาท

ปรับปรงุ โดย - ส่วนต่างท่ีสูงไป 400,000

5. ค่าเสอื่ มราคา
จากข้อมูลข้อท่ี 5. บริษัทซ้ือรถยนต์บรรทุกสองคันราคาคันละ 1,200,000

บาท จ่ายภาษีซื้อ 168,000 บาท ระยะเวลาที่ได้รถบรรทุกมาจนถึงวันสิ้นรอบ
ระยะเวลาบญั ชี 73 วันและบรษิ ัทไดห้ กั คา่ เสื่อมราคารถยนต์บรรทกุ ทั้งสองคันน้ีตาม
วธิ ีเส้นตรงในอตั รา 20% ตอ่ ปเี ป็นเงิน 513,600 บาท

ราคาทนุ 2,400,000 บาท

ค่าเสื่อมราคา ณ 31 ธนั วาคม 2561 = 2,400,000 x 20% x 73/365
= 96,000

ค่าเส่ือมราคารถยนต์บรรทุก 2 คัน ต้องคานวณ ตามระยะเวลาท่ีได้รับ
ทรัพย์สิน 73 วัน (2,400,000 x 73/365 x 20%) = 96,000 บาท แต่บริษัทหักค่า
เส่ือมราคาไว้ 513,600 บาท ซึ่งสูงเกินไป ค่าใช้จ่ายสูง ทาให้รายได้น้อย กาไรน้อย
เสียภาษีน้อย จึงต้องหักค่าเสื่อมราคาสูงไปออก 513,600 – 96,000 = 417,600
บาท

ปรบั ปรุงโดย - สว่ นตา่ งทส่ี งู ไป 417,600

6. รายจา่ ยคา่ เคร่ืองจักร
จากข้อมูลข้อท่ี 6. บริษัทซ้ือเครื่องจากราคา 1,000,000 บาท ค่าติดต้ัง

เครื่องจักร 100,000 บาท จ่ายค่าภาษีซ้ือ 77,000 บาท จ่ายดอกเบี้ยกู้ยืมเพ่ือซ้ือ
เครื่องจักรจนถึงวนั ที่เคร่ืองจักรใชง้ านได้ 20,000 บาท ระยะเวลาทเี่ ครอ่ื งจักรใชง้ าน
ไดจ้ นถึงวันสนิ้ รอบระยะเวลาบัญชี 146 วนั บรษิ ัทนาคา่ ซื้อเครื่องจากคา่ ติดตั้ง ภาษี
ซ้ือ และดอกเบี้ยมาบันทึกบัญชีรายจ่ายในรอบระยะเวลาน้ีทั้งจานวนบริษัทใช้วธิ ีคิด
คา่ เส่ือมราคาแบบเส้นตรงและประมาณวา่ เคร่อื งจะมีอายุ 10 ปี

ฐานของทรัพย์สนิ ซึง่ นามาคานวณค่าเส่ือม ไดแ้ ก่ ราคาเครือ่ งจกั ร คา่ ตดิ ต้งั
คา่ ดอกเบี้ยเงินก้ทู เ่ี กิดข้นึ จนถึงวนั ทเ่ี ครือ่ งจักรใชง้ านได้ ดงั น้นั

การคานวณคา่ เสื่อมราคาเคร่ืองจักรในรอบบัญชีน้ี คือ (1,000,000 + 100,000 + 20,000) x 10%
x 146/365 = 44,800 บาท - บรษิ ทั จึงคานวณคา่ เสอื่ มราคาสงู ไป 1,197,000 – 44,800 =
1,152,200 บาท - ภาษีซ้ือ 77,000 บาท ขอคืนได้ทั้งจานวน จงึ ไม่ถือเป็นฐานในการคดิ คา่ เส่ือม
ราคาของเครื่องจกั ร

ปรบั ปรุงโดย - ส่วนตา่ งทีส่ งู ไป 1,152,200
ปรบั ปรงุ โดย - ส่วนตา่ งทีส่ ูงไป 77,000

7. ภาษมี ูลคา่ เพม่ิ เบ้ียปรบั เงินเพิ่ม
จากข้อมูลข้อที่ 7. ภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีธุรกิจเฉพาะที่บริษัทรับชาระทุก

เดือน และเบ้ียปรับ เงินเพิ่ม เน่ืองจากชาระภาษีมูลค่าเพิ่มเกินกาหนดเวลา และ
ค่าปรับอาญากรณีบริษัทไมช่ าระภาษโี รงเรือนบริษัทไดบ้ นั ทกึ เปน็ รายจ่ายของบริษัท
ทง้ั สิน้

ภาษีมูลค่าเพ่ิม เบ้ียปรับเงินเพ่ิม 500,000 บาท เป็นรายจ่ายต้องห้าม แต่
กิจการลงเป็นค่าใช้จ่าย จึงต้องนาไปบวกกลับ ส่วนภาษีธุรกิจเฉพาะ และค่าปรับ
อาญา-ภาษีโรงเรอื น ถือเป็นรายจา่ ยได้
ปรับปรงุ โดย + ส่วนต่างท่ีบนั ทึกผดิ 500,000

8. กาไรจากอัตราแลกเปลี่ยน
จากข้อมูลข้อที่ 8. บริษัทส่งสินค้าไปขายที่สิงคโปร์ เป็นเงินเช่ือเมื่อวันท่ี 1

พฤศจิกายน 2561 เป็นเงิน 100,000 USD อตั ราแลกเปลี่ยนตามราคาตลาด 1 USD
= 25.28 บาท และ ณ วันท่ี 31ธันวาคม 2561 บริษัทยังไม่ได้รับชาระหนี้อัตรา
แลกเปลี่ยนถัวเฉล่ียที่ธนาคารพาณิชย์รับซื้อ 1 USD = 25.40 บาท บริษัทบันทึก
ลกู หนร้ี ายนี้ไว้จานวน 2,528,000 บาท

ลูกหนี้คงค้าง ณ วันส้ินรอบบัญชีมีมูลค่าเป็นเงินตราต่างประเทศ ต้อง
คานวณกาไรขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน และนาไปรวมในการย่ืนแบบด้วย กรณีนี้
บรษิ ัทมีกาไรจากอตั ราแลกเปลย่ี น คอื 100,000 x (25.40-25.28) = 12,000 บาท
ปรบั ปรุงโดย + ส่วนตา่ งทเ่ี ป็นกาไร 12,000

9. ค่ารับรอง
จากข้อมูลข้อที่ 9. บรษิ ัทมีทุนจดทะเบยี น 100,000,000 ไดร้ บั ชาระแลว้

ทง้ั หมด บริษัทไดจ้ า่ ยเงินคา่ รับรองลกู ค้าเป็นเงิน 500,000 บาท ภาษซี ้ือ 35,000
บาทบริษทั ลงเป็นรายจา่ ยทง้ั จานวน 535,000 บาท

ค่ารับรองหักได้ไม่เกิน 0.3% ของรายรับหรือทุนจดทะเบียนที่ชาระแล้ว
(แล้วแต่ยอดใดจะสงู กว่า)

- รายรับ ได้แก่ ขายสินคา้ ในประเทศ 6,000,000 บาท สง่ ออก 50,000,000
บาท เงินปันผล80,000 บาท ดอกเบ้ีย 300,000 บาท รายได้จากสาขาสิงค์โปร์
25,000,000 บาท รวมเปน็ รายไดท้ ั้งสน้ิ 81,380,000 บาท

- ทุนจดทะเบียนชาระแล้ว 100,000,000 บาท ปรากฏว่าทุนจดทะเบียน
ชาระแลว้ สงู กว่ารายรบั ทางภาษีจงึ ใช้ทุนจดทะเบียนชาระแล้วในการคานวณ

- บริษัทจึงสามารถหักค่ารับรองได้ 0.3% ของทุนจดทะเบียน ซึ่งสูงกว่า
รายรับทางภาษี (100,000,000 x 0.3%) เท่ากับ 300,000 บาท แต่บริษัทมีค่า
รับรอง 535,000 บาท ดังนั้นส่วนท่ีเกิน 300,000 บาท คือ 235,000 บาท ถือเป็น
รายจา่ ยต้องหา้ ม ซึง่ บรษิ ทั ไดน้ าไปลงเป็นรายจ่าย จึงต้องบวกกลับ

ปรับปรงุ โดย + คา่ ใชจ้ ่ายสงู ไป 235,000

10. ตน้ ทุนขาย
จากข้อมูลข้อที่ 10. บริษัทมีสินค้าคงเหลือ ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2561 มี

ราคาทุนตามวิธี FIFO 800,000 บาทและคานวณตามวิธี Weighted Average เป็น
เงิน 750,000 บาทและมีราคาตลาด 820,000 บาทบรษิ ทั ใช้วิธีคานวณราคาทุนของ
สินค้าตามวิธี FIFO มาตลอด แต่แน่นอนระยะเวลาบัญชีนี้ บริษัทเปล่ียนวิธีคานวณ
เป็น Weighted Average โดยไม่ได้รับอนุญาตจากอธิบดีกรมสรรพากรและบันทึก
บญั ชีสินคา้ คงเหลือไว้เปน็ เงิน 750,000 บาท

การเปลยี่ นวธิ ีคานวณราคาทนุ ของสนิ คา้ คงเหลือหลายงวด ตอ้ งไดร้ บั อนุมัติ
จากอธิบดีกรมสรรพากรก่อน กรณีนี้จึงต้องถือว่าบริษัทต้องใช้วิธี FIFO อยู่เป็นเงิน
800,000 บาท (ต่ากว่าราคาตลาด) แตบ่ ันทึกบัญชีไว้ 750,000 บาท จึงบันทกึ สินค้า
คงเหลือปลายงวดต่าไป ทาให้มีตน้ ทนุ ขายสูงไป 50,000 บาท จึงต้องบวกกลบั

ปรบั ปรงุ โดย + ค่าใช้จ่ายสงู ไป 50,000

11. ผลขาดทุนยกมาไม่เกิน 5 รอบบญั ชี
จากข้อมูลขอ้ ท่ี 11. ผลขาดทุนยกมาไม่เกนิ 5 รอบบัญชีจะไมม่ ยี อดคงเหลือ

ยกมาใช้ในรอบบัญชี 1 ม.ค 2561 – 31ธ.ค.2561 ได้ เน่ืองจากถูกหักกลบกับกาไร
สุทธใิ นรอบบัญชีกอ่ น ๆ ไปหมดแล้ว ดงั ต่อไปนี้

จากข้อมลู ข้อท่ี 11. บริษัทมีทมีผลกาไรสุทธแิ ละขาดทุนสุทธติ ามประมวล
รษั ฎากร ในรอบระยะเวลาบัญชกี ่อน ๆ ดงั น้ี

รอบระยะเวลาบัญชี กาไรสุทธิ ขาดทุนสุทธิ
1 มกราคม – 31 ธนั วาคม 2554 600,000
1 มกราคม – 31 ธนั วาคม 2555 150,000 200,000
1 มกราคม – 31 ธนั วาคม 2556 50,000
1 มกราคม – 31 ธนั วาคม 2557 200,000
1 มกราคม – 31 ธนั วาคม 2558 150,000
1 มกราคม – 31 ธนั วาคม 2559 300,000
1 มกราคม – 31 ธนั วาคม 2560

รอบระยะเวลาบัญชี กาไรสทุ ธิ ขาดทนุ สุทธิ กาไร(ขาดทุน)สทุ ธิ
1 มกราคม – 31 ธนั วาคม 2554 600,000 (600,000)
1 มกราคม – 31 ธนั วาคม 2555 150,000 200,000 (800,000)
1 มกราคม – 31 ธนั วาคม 2556 50,000 (650,000)
1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2557 200,000 (300,000-200,000) (600,000)
1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2558 150,000 (400,000)
1 มกราคม – 31 ธนั วาคม 2559 300,000 (250,000)
1 มกราคม – 31 ธนั วาคม 2560 100,000

- ขาดทุนสุทธิ สาหรับรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม – 31 ธันวาคม
2554 = 600,000 บาทนามาหักจากกาไรสุทธิได้ 5 รอบระยะเวลาบัญชี คือ
(ขาดทุน+150,000+50,000+200,000+150,000) เหลือ 50,000 บาท แต่จะนาไป
หักจากกาไรในรอบปี 1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2560 ไม่ได้ เพราะเกิน 5 รอบ
ระยะเวลาบัญชี

- ขาดทุนสุทธิ สาหรับรอบระยะเวลาบัญชี 1 มกราคม – 31 ธันวาคม
2555 = 200,000 บาทนามาหักจากกาไรสุทธิในรอบ 1 มกราคม – 31 ธันวาคม
2560 จานวน 300,000 บาท จงึ ไม่เหลอื ขาดทนุ สุทธเิ อาไวใ้ นปีตอ่ ไป

12. เงินบรจิ าค
ค่าการกศุ ลสาธารณะ (เงินบริจาค) 550,000 บาท ตอ้ งบวกกลบั เขา้ ไปก่อน

แลว้ คานวณโดยให้ถอื เปน็ รายจา่ ยทางภาษไี ดไ้ มเ่ กนิ 2/102 ของกาไรสุทธิ

การคานวณภาษเี งินได้นติ บิ คุ คลสิน้ รอบรอบระยะเวลาบญั ชี

กาไรสุทธิตามหลกั การบัญชี 2,992,500
บวก 1 รายได้จากการขายวัตถดุ บิ ฯ ไม่ได้บันทึกบัญชี 500,000
2,000,000
2 กาไรสุทธิจากสาขาสิงค์โปร 375,000
3 ดอกเบยี้ รับไม่ลงบัญชี 417,600
5 ค่าเสื่อมราคาสงู ไป 1,152,200
6 หักรายจ่ายคา่ เครอ่ื งจักรไว้สงู ไป 500,000
7 ค่าภาษมี ูลคา่ เพ่ิม เบ้ียปรบั เงนิ เพมิ่ 12,000
8 กาไรจากอตั ราแลกเปลี่ยน 235,000
9 หักคา่ รบั รองสว่ นท่ีหักเกนิ หลักเกณฑ์ 50,000
10 ตน้ ทุนขายสงู ไป 550,000 5,791,800
12 ค่าการกุศลสาธารณะ 420,000
หัก 1 รายได้ขายในประเทศลงบัญชีสงู ไป 400,000 820,000
4 เงนิ ปันผลจากธนาคารกสิกรไทย ฯ
กาไรสุทธกิ ่อนหักคา่ การกุศลสสาธารณะ 7,964,300
หกั คา่ การกศุ ลสาธารณะ (2/102 x 7,964,300) 156,163
กาไรสทุ ธิเพือ่ เสยี ภาษี (Taxable Profits)
ภาษเี งนิ ได้ (สมมุติ อตั รา CIT 20%) 7,808,137
หัก เครดติ ภาษีทีช่ าระในคองโก (Foreign Tax Credit) 1,561,627
ภาษเี งินได้ที่ตอ้ งชาระสุทธิ (300,000)
1,261,627

ตารางสรปุ จากตวั อย่างการปรับปรงุ กาไรสุทธิทางบณั ชใี หเ้ ป็นกาไรสทุ ธทิ างภาษี

รายได้จากการขายสินค้า รายได้จากการขายได้รวมภาษี การที่รายได้จากการขายได้รวมภาษีขายไว้

ปันผลและส่วนแบ่งกาไร ขาย คือ ภาษีท่ีต้องนาไปจ่าย ส่งผลให้ รายได้สูงไป กาไรสูงไปกว่าความ
ค่าเสอื่ มราคารถยนต์น่ัง
ให้กบั สรรพากร เปน็ จริง เพราะน้นั ต้องนายอดของภาษีขาย

หักออกมา

รายได้จากการขายสินค้าราขา ทาให้รายได้ลดลง ส่งผลให้กาไรต่ากว่า

ต่ากวา่ ตลาด ความเป็นจริง และส่งผลให้เสียภาษีน้อย

กว่าความเป็นจริง เพราะนั้นต้องนาส่วน

ตา่ งไปบวกกลับ

บริษัทมีรายได้ส่วนท่ีไม่ได้นา ทาให้กาไรตา่ ไป จึงจอ้ งบวกกลับ
รายได้มาคานวณกาไรสุทธิ
ทางบัญชี

ในส่วนของเงินปันผล บริษัท ในทางภาษีจะยกเว้นภาษีไว้ครึ่งหนึ่งและ
เป็นบริษัทจากัดท่ีมิได้ จด นามาเป็นกาไรทางภาษีได้ครึ่งนึงของเงิน
ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ปนั ผลทไี่ ด้
แต่ได้รับปันผลจากบริษัทท่ีจด
ทะเบียนตลาดหลกั ทรพั ย์

ส่วนในส่วนของส่วนแบ่งกาไร สามารนามาเปน็ กาไรทางภาษีได้ท้งั จานวน

ในทางภาษีจะคิดค่าเส่ือม หากทางบัญชีลงค่าใช้จ่ายสูงเกิน ค่าใช้จ่าย

ราคาจากมูลค่าต้นทุนเฉพาะ สงู ทาให้รายได้ต่า กาไรตา่ สง่ ผลใหเ้ สยี ภาษี

ส่วนท่ีไม่เกิน 1,000,000 บาท น้อยกว่าความจริง เพราะฉนั้นจะต้องนา

x จานวนวัน/365 วนั คา่ ใช้จา่ ยท่เี กินไปบวกกลับ

หากทางบัญชีลงค่าใช้จ่ายต่าเกิน ค่าใช้จ่าย
ต่าทาให้รายได้สูง กาไรสูง ส่งผลใหเ้ สยี ภาษี
มากกว่าความจริง เพราะฉนั้นจะต้องนา
คา่ ใช้จ่ายทเี่ กนิ ไปหักออก

คา่ รับรอง จานวนเงินค่ารับรองและ ในการคานวณจะต้อง บวก ลบ รายการท่ี
ค่าบริการให้นามาหักเป้นราย ปรับปรุง เพ่ือให้ได้ยอดรายได้หรือยอดขาย
ภาษีมลู คา่ เพมิ่ จ่ายไดเ้ ท่ากบั จานวนทีจ่ า่ ย แต่ ที่ต้องนามารวมหรือคานวณกาไรสุทธิก่อน
กาไรสทุ ธจิ ากสาขาอื่น รวมกันต้องไม่เกิน 0.3% ของ หักรายจ่ายใดในรอบระยะเวลาบญั ชี
กาไรจากอัตราแลกเปลี่ยน จ า น ว น ย อ ด ร า ย ไ ด้ ห รื อ
ยอดขายท่ีต้องนามารวมหรือ
ค า น ว ณ ก า ไ ร สุ ท ธิ ก่ อ น หั ก
รายจ่ายใดในรอบระยะเวลา
บญั ชี

กรณีที่มีทุนจดทะเบียนบอก หากปรากฏว่าทุนจดทะเบียนชาระแล้วสูง

มาด้วยใหเ้ ทยี บระหว่างรายรับ กว่ารายรับทางภาษีจึงใช้ทุนจดทะเบียน

กับทุนจดทะเบียน แล้วแต่ตัว ชาระแล้วในการคานวณ จึงสามารถหักค่า

ใดจะสูงกว่าเลือกตัวน้ันมา รับรองได้ 0.3% ของทุนจดทะเบียน ซึ่งสูง

คานวณ กว่ารายรับทางภาษี

ภาษีมูลค่าเพ่ิม และเบี้ยปรับ ในกรณีท่ีบริษัทได้นามาลงเป็นรายจ่ายไว้
เงินเพ่ิม เป็นภาษีมูลค่าเพ่ิมท่ี ท้ังส้ิน ลงเป็นค่าใช้จ่ายสูงไป ส่งผลให้

ต้องนาส่งพร้อมกับถูกเรียก รายได้ต่า กาไรต่า เสียภาษีน้อย จึงต้อง
เก็บเบย้ี ปรับและเงินเพม่ิ บวกกลบั

บริษัทไม่ได้นามารวมคานวณ บริษัทท่ีจดทะเบียนในประเทศไทย ต้องนา

ภาษีในประเทศไทย รายได้และรายจ่ายจากสาขาต่าง ๆ ท่ีมีอยู่

ในต่างประเทศทั่วโลก มารวมคานวณกาไร

สุทธิเพื่อเสียภาษีในประเทศไทย ตามหลัก
ของแหล่งเงินไดท้ ั่วโลก จึงต้องบวกกลบั

ในกรณีที่บริษัทส่งสินค้าไป กาไรบวกกลบั
ขายต่างประเทศเปล่ียนแปลง ขาดทุนหกั ออก
ข อ ง อั ต ร า แ ล ก เ ป ลี่ ย น ต า ม
ราคาตลาด

2.8.2 ภาษีมูลค่าเพ่ิม (VAT)
ในการตรวจสอบบญั ชีอาศัยการดใู บเสรจ็ รบั เงิน ใบกากบั ภาษี และเอกสารทเี่ กี่ยวข้อง อย่างเชน่

รายการซอ้ื – รายไดจ้ ากการขาย ปร้ินท์รายการแยกประเภทซือ้ รายได้จากการขายเพ่ือจะนามา
ตรวจสอบบญั ชี ซ่ึงจะสุ่มตรวจสอบเพียง 3 เดือน ประกอบไปดว้ ย 2 แบบ คือจานวนที่รวมมลู คา่ เพิ่ม
(รวมVAT) กบั จานวนทไ่ี มร่ วมมลู ค่าเพ่ิม (แยกVAT)

1) ตรวจสอบการยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพ่ิม (ภ.พ.30) ในการตรวจสอบจะใช้วิธีใน
การตรวจสอบคานวณรายได้เปรียบเทียบระหว่างรายได้ตาม ภ.พ.30 กับ รายได้ตามบัญชีโดยใช้
โปรแกรม Excel

1.1) ภ.พ.30 ทางบริษัทจะแนบไวใ้ นเลม่ รวมรายการปรบั ปรุง หรอื รวมเล่มสาหรบั แบบแสดง
รายการตา่ ง ๆ ทงั้ ปี

1.2) นาขอ้ มูลจากแบบแสดงรายการภาษีมลู ค่าเพ่ิม (ภ.พ.30) มาลงในตารางทีส่ รา้ งโดยใช้

โปรแกรม Excel เปน็ การนายอดจาก ภ.พ.30 มาลงในตารางโปรแกรม Excel เปรยี บเทียบดยู อด

ระหว่างรายได้ตามงบแยกประเภท กบั รายได้ตามแบบ ภ.พ.30

ตำรำง ภพ.30 '63

บริษัท เขยี วศิริขำแวว

ม.ค ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม

ยอดขายในเดือน

ยอดขายที่เสียภาษีอตั ราร้ อยละ 0

ยอดขายท่ไี ด้รับยกเว้น

ยอดขายท่ีต้องเสียภาษี

ภาษีขายเดอื นนี ้

ยอดซอื ้

ภาษีซือ้ เดือนนี ้

ภาษีท่ีต้องชาระเดือนนี ้

ภาษีทชี่ าระเกินเดอื นนี ้

ภาษีที่ชาระเกินยกมา

ภาษีชาระเกิน

ภาษีทต่ี ้องชาระ

เงินเพ่ิม
เบยี ้ ปรับ

ใบเสร็จ

ผลตา่ ง

รำยได้ตำม ภ.พ.30 -
รำยได้ตำม GL -
ผลต่ ำง -

ตำรำง=ภพ.30 '-63

ภาษขี าย - ภาษีซอื้ บริษัท เขยี วศิริขำแวว

ม.ค ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.

x 7% = ยอดขายในเดอื น โดยหาก ภาษีขาย > ภาษีซ้อื = ต้องชาระ
x 7% = ยอดขายท่ีเสียภาษีอตั ราร้ อยละ 0 ภาษขี าย < ภาษซี อื้ = ชาระเกิน (รอรับคืน)
ยอดขายท่ีได้ รับยกเว้ น
ยอดขายท่ตี ้องเสียภาษี กรณีท่ีมีชาระเกิน สามารถนาไปเป็นเครดิตภาษีได้ จะได้
ภาษีขายเดอื นนี ้ ยอดภาษีท่ีต้องชาระ หากมินาไปใช้สามารถขอคืน
ยอดซอื ้
ภาษีซือ้ เดอื นนี ้

ภาษีท่ตี ้องชาระเดอื นนี ้ ภาษีไดไ้ ม่เกนิ 3 ปี
ภาษีท่ชี าระเกินเดือนนี ้

ภาษีทช่ี าระเกินยกมา

ภาษีชาระเกิน

ภาษีที่ต้องชาระ

เงินเพิ่ม
เบยี ้ ปรับ

ใบเสร็จ

ผลตา่ ง

รำยได้ตำม ภ.พ.30 -
รำยได้ตำม GL -
ผลต่ ำง -

1. นายอดขายช่อง 1,2,3 จาก ภ.พ.30 กรอกลงในช่อง ของตาราง
2. ผูกสูตรในชอ่ ง = - - จะไดเ้ ป็นยอดขายเดอื นนี้
3. ผูกสูตรในช่อง = x 7% จะได้เปน็ ภาษีขาย
4. นายอดซ้ือช่อง 4 จาก ภ.พ.30 กรอกลงในช่อง ของตาราง
5. ผูกสูตรในช่อง = x 7% จะไดเ้ ป็นภาษีซอ้ื
6. ผกู สูตรชอ่ ง = -

หาก ภาษีขาย > ภาษีซอื้ = ต้องชาระ
ภาษีขาย < ภาษซี อ้ื = ชาระเกิน (รอรับคนื )
กรณที ม่ี ีชาระเกิน สามารถนาไปเปน็ เครดติ ภาษีได้ ในช่อง จะได้ยอดภาษที ี่ต้อง
ชาระ หากมนิ าไปใช้สามารถขอคนื ภาษีได้ไม่เกิน 3 ปี

เม่อื ลงเสรจ็ แล้วหนา้ ตาจะประมาณนี้ ซ่ึงตารางนจี้ ะนาไปแนบหลัง Lead U-1

ตำรำง ภพ.30 '62

บริษัท ไฟฟ้ ำเกำะพ.ี พ.ี จำกัด

ม.ค ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม
13,658,954.25 12,157,093.93 11,259,599.50 11,455,249.53 6,686,470.56 5,802,862.15 7,138,495.80 8,378,054.21 9,253,618.70 113,930,353.55
ยอดขายในเดอื น 11,788,434.92 600,000.00 9,955,270.09 5,462,852.80 333,397.11
- - - - - - - - --
ยอดขายท่ีเสียภาษีอตั ราร้ อยละ 0 - - - - - 300,000.00 --- - 325,000.00 320,000.00 360,000.00 300,000.00 2,505,000.00
13,658,954.25 12,157,093.93 11,259,599.50 11,455,249.53 6,986,470.56 333,397.11 6,127,862.15 7,458,495.80 8,738,054.21 9,553,618.70 115,235,353.55
ยอดขายท่ีได้ รับยกเว้ น - 956,126.80 850,996.58 788,171.97 801,867.47 447,052.94 600,000.00 - 300,000.00 23,337.80 383,450.35 477,294.71 561,263.79 626,753.31 7,799,774.75
6,503,235.54 5,615,444.98 7,240,988.43 7,242,676.19 5,044,899.57 3,743,347.87 3,005,070.73 3,142,702.21 8,064,704.84 65,012,685.65
ยอดขายทต่ี ้องเสียภาษี 11,788,434.92 455,226.49 393,081.15 506,869.19 506,987.33 353,142.97 9,955,270.09 5,762,852.80 - 262,034.35 210,354.95 219,989.15 564,529.34 4,550,888.00
500,900.31 457,915.43 281,302.77 294,880.13 93,909.97 - 121,416.00 266,939.75 341,274.64 62,223.97 3,248,886.75
ภาษีขายเดือนนี ้ 825,190.44 - - - - - 696,868.91 361,399.70 23,337.80
- - - - - 1.00 - - - - 1.00
ยอดซอื ้ 9,049,920.07 - - - - - - 3,058,830.58 3,300,864.64 - - - - --
500,900.31 457,915.43 281,302.77 294,880.13 - 1.00 - - - - 1.00
ภาษีซอื ้ เดือนนี ้ 633,494.40 93,909.97 - 214,118.14 231,060.52 23,337.80 121,416.00 266,939.75 341,274.64 62,223.97 3,248,886.75

ภาษีทต่ี ้องชาระเดอื นนี ้ 191,696.04 - 482,750.77 130,339.17

ภาษีท่ชี าระเกินเดือนนี ้ - ---

ภาษีทช่ี าระเกินยกมา - ---

ภาษีชาระเกิน - ---

ภาษีทตี่ ้องชาระ 191,696.04 - 482,750.77 130,339.17

เงินเพิ่ม -
เบยี ้ ปรับ -

ใบเสร็จ 179,415.65 99,773.46 177,578.41 103,983.79 87,297.39 133,740.98 86,814.35 75,814.39 132,515.42 85,165.59 82,021.39 134,345.43 1,378,466.25

ผลตา่ ง 12,280.39 401,126.85 280,337.02 177,318.98 207,582.74 - 39,831.01 395,936.42 54,524.78 - 11,099.42 181,774.16 259,253.25 - 72,121.46 1,870,420.50

รำยได้ตำม ภ.พ.30 113,930,353.55
รำยได้ตำม GL -
ผลต่ ำง
- 113,930,353.55

2) สมุ่ ตวั อย่าง
2.1) ส่มุ ตวั อย่างโดยใช้เทคนคิ การตรวจสอบโดยใชด้ ลุ ยพินจิ แบบเจาะจง
2.2) คานวณภาษีมูลคา่ เพ่ิมจากยอดทบี่ นั ทึกไว้
ตัวอย่าง คานวณภาษีมูลคา่ เพ่มิ จากยอดรายไดท้ ่ีบนั ทกึ ในรายการแยกประเภท บัญชซี อื้

รายการแยกประเภท รอบ 01/01/58 – 31/12/58

ภาษีซือ้ รหสั บญั ชี 5312

27/04/58 2,000

28/04/58 2,100

29/04/58 1,750

การคานวณหา VAT 7% = 30,000 x 7% = 2,100
= 30,000 + 2,100
= 32,100

รายการแยกประเภท รอบ 01/01/58 – 31/12/58

ภาษีซือ้ รหสั บญั ชี 5312

27/04/58 32,000

28/04/58 30,000

29/04/58 31,750

การถอด VAT x 100/107 = 32,100 x 100/107
= 30,000

2.3) เมื่อถกู ตอ้ ง Tick Mark โดยใช้สัญลกั ษณต์ ่อไปน้ี
R – Check to original/copy Receipt
RT– Check to original/copy Receipt
I – Check to original/copy Invoice
D – Check to original/copy Delivery Order

2.4) ถ่ายสาเนาพร้อมท้งั แนบเอกสารหรอื หลกั ฐานทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การตรวจสอบ
2.5) หากรายการใดไมถ่ ูกตอ้ งจะมีใบ Point Mark 1 ใบ เขียนแสดงรายการจุดผิดพลาด

ตัวอย่างเช่น วันที่ 01/05/63 จ่าย PV 00111 ซื้อเครื่องเขียนสิ่งพิมพ์ Vat 3,000
ปรากฏวา่ ขอ้ มูลผดิ พลาด เพอื่ ใหผ้ ู้ตรวจสอบจดขอ้ ผดิ พลาดลงไปใน Point Mark

Trick ในกรณที ีต่ ้องการตรวจสอบเบย้ี ปรบั เงนิ เพิ่มแบบแสดงรายการภาษีมูลคา่ เพิม่ (ภ.พ.30)
✓ เบ้ยี ปรับ เงนิ เพม่ิ
เบี้ยปรบั คือ เงนิ ทตี่ อ้ งชดเชยความเสยี หายให้แกภ่ าครฐั ส่วนเงินเพมิ่ คอื เงินท่ี
เร่งรดั ให้ผเู้ สียภาษีจา่ ยภาษี ให้ถูกตอ้ งโดยเรว็ โดยเบย้ี ปรบั จะถกู แบ่งเปน็ 2 กรณคี อื เคย
ย่ืนแบบเพ่ิมเติมแล้วกับยังไม่ได้ย่ืนแบบมาก่อน และในกรณีท่ีไม่เคยยื่นแบบมาก่อนจะ
โดนค่าปรับเพ่ิมไปอีก ส่วนเงินเพิ่มจะคิดในอัตราร้อยละ 1.5 ต่อเดือน ของภาษีที่ต้อง
ชาระท้งั ส้ิน

1. คา่ ปรบั ทางอาญา (กรณที ่ไี มไ่ ดย้ ื่นแบบมากอ่ น)
กาหนดยนื่ แบบ ภ.พ.30 ทุกวันท่ี 15 ของเดือนถัดไป
กรณีย่ืนแบบเกินกากนดเวลา แต่ไมเ่ กนิ 7 วนั ปรับ 300 บาท
กรณยี น่ื แบบเกนิ กากนดเวลา และเกิน 7 วนั ปรับ 500 บาท

2. เงินเพมิ่
เงนิ เพิ่มเงนิ ที่เรง่ รัดใหผ้ เู้ สียภาษจี า่ ยภาษีให้ถูกตอ้ งโดยเร็วเป็นบทลงโทษเนอ่ื งจากรัฐ

เสยี ผลประโยชน์ไม่ได้เงนิ ภาษอี ากรตามกาหนดเวลาและเพ่ือเร่งรัดใหผ้ ้เู สียภาษจี า่ ยภาษี
ให้ครบถ้วนเหมือนกับการคิดดอกเบี้ยเนื่องจากการชาระล่าช้าซึ่งคานวณอัตราร้อยละ
1.5 ต่อเดือนและจะคิดไปเร่ือยเรื่อยจนกว่าผู้เสียภาษีจ่ายภาษีครบถ้วนแต่จะไม่เกินกว่า
จานวนภาษที ี่ต้องเสยี โดยไม่รวมดอกเบีย้ ปรบั

คิดในอัตรารอ้ ยละ 1.5 ต่อเดือน ของภาษที ่ีตอ้ งชาระท้งั สนิ้ (เศษของเดือนนับเปน้ 1
เดือน) กรณีท่ีไม่มีภาษีไม่ต้องเสีย ก็ไม่ต้องจ่ายเงินเพ่ิม จะต้องเสียแต่ค่าปรับอาญากรณี
ไมย่ นื่ แบบเท่านัน้

3. เบีย้ ปรับ
เป็นบทลงโทษผู้กระทาผิดทางภาษีเนื่องจากเสียภาษีไม่ถูกต้องหรือไม่ปฏิบัติ

ตามท่ีกาหนดตามกฏหมายจึงกาหนดให้เสียภาษีเพิ่มขึ้นอีกส่วนหนึ่งเพื่อให้ผู้เสียภาษี
เกรงกลัวไม่กระทาความผิดจานวนมากน้อยแตกต่างกันแล้วแต่ความรุนแรงของการ
กระทาความผิด

การเสียค่าเบ้ียปรบั แบ่งได้ 2 กรณี คิอ
3.1) กรณียน่ื เพ่ิมเตมิ (มีการยื่นปกติมากอ่ นถึงจะยนื่ เพ่ิมเติได)้
3.2) กรณีไม่เคยย่นื มากอ่ นเลย

3.1) กรณยี ่นื เพมิ่ เติม คิดคา่ เบยี้ ปรับในอัตรา 2% - 20%
ถ้าชาระภายใน 1-15 วัน คดิ คา่ เบี้ยปรบั ในอตั รา 2%
ถา้ ชาระภายใน 16-30 วัน คิดคา่ เบีย้ ปรบั ในอัตรา 5%
ถา้ ชาระภายใน 31-60 วัน คิดค่าเบย้ี ปรบั ในอัตรา 10%
ถา้ ชาระภายใน 60 วัน คดิ คา่ เบย้ี ปรับในอัตรา 20%
หมายเหตุ ถ้าไม่มีภาษีต้องชาระก็ไม่ต้องเสียค่าเบ้ียปรับ แต่ยังคง

ตอ้ งเสียค่าปรบั อาญากรณไี มย่ น่ื แบบ500 บาท

3.2) กรณีไมเ่ คยยื่นมาก่อนเลย
ถ้าชาระภายใน 1-15 วนั คิดค่าเบยี้ ปรบั ในอตั รา 2% X 2 เทา่
ถ้าชาระภายใน 16-30 วนั คิดคา่ เบย้ี ปรับในอัตรา 5% X 2 เทา่
ถา้ ชาระภายใน 31-60 วัน คิดค่าเบ้ียปรับในอัตรา 10% X 2 เทา่
ถา้ ชาระภายใน 60 วนั คิดคา่ เบ้ยี ปรบั ในอตั รา 20% X 2 เทา่
หมายเหตุ ถ้าไม่มีภาษีต้องชาระก็ไม่ต้องเสียค่าเบี้ยปรับ แต่ยังคง

ตอ้ งเสียคา่ ปรบั อาญากรณีไมย่ นื่ แบบ500 บาท

✓ การนบั วนั กรณีย่นื เพิม่ เตมิ และกรณีไมเ่ คยยื่นมากอ่ นเลย
ให้นับตั้งแต่วันที่ถึงกาหนดชาระเดือนก่อน (หรือวันสุดท้ายของการย่ืนแบบ

ภาษมี ลู ค่าเพม่ิ ) ซง่ึ อาจไม่ใชว่ นั ท่ี 15 ก็ได้
เช่น วันสุดท้ายของการย่ืนแบบเดือนก่อน คือวันท่ี 15 ตุลาคม ฉะนั้นเดือน

ถัดไปจะต้องย่ืนวันท่ี 14 พฤศจืกายน (ย่ืนภายใน 30 วัน) (31 ตุลาคม – 15 วัน = 16
วนั + 14 วัน = 30 วัน ฉะนนั้ วนั ที่ยน่ื แบบเดอื นถดั ไป คอื 14 พฤศจิกายน)

✓ มาตราแหง่ ประมวลรษั ฎากร
เงินเพ่ิม มาตรา 89/1 บุคคลใดไม่ชาระภาษีหรือนาส่งภาษีให้ครบถ้วนภายใน

กาหนดเวลาตามบทบัญญัติในหมวดนี้ ให้เสียเงินเพ่ิมอีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือน หรือเศษของเดือน
ของเงนิ ภาษที ี่ตอ้ งชาระหรอื นาส่งโดยไม่รวมเบ้ยี ปรบั

ในกรณีที่อธิบดีอนุมัติให้ขยายเวลาเสียภาษีตามท่ีกาหนดในมาตรา 3 อัฏฐ และได้มีการ
ชาระภาษีหรือนาส่งภาษีภายในกาหนดเวลาที่ขยายให้น้ัน เงินเพ่ิมตามวรรคหนึ่งให้ลดลงเหลือ
ร้อยละ 0.75 ต่อเดือนหรือเศษของเดือน

การคานวณเงินเพ่ิมตามวรรคหน่ึงและวรรคสอง ให้เริ่มนับเมื่อพ้นกาหนดเวลาย่ืนแบบ
แสดงรายการภาษีหรือยื่นแบบนาส่งภาษีตามส่วน 7 จนถึงวันชาระภาษีหรือนาส่งภาษี แต่เงิน
เพม่ิ ท่ีคานวณไดม้ ใิ ห้เกินจานวนภาษที ต่ี อ้ งชาระหรือนาส่ง

เบ้ียปรับ มาตรา 89/2 เพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษีอากร เบ้ียปรับและเงินเพิ่มตาม
หมวดน้ีให้ถือเปน็ ภาษีมลู ค่าเพิม่

เบ้ียปรับ ตามมาตรา 89 (3) แห่งประมวลรัษฎากร บัญญัติว่า "(3) ยื่นแบบแสดง
รายการภาษีหรือแบบนาส่งภาษีไว้ไม่ถูกต้องหรือมีข้อผิดพลาด อันเป็นเหตุให้จำนวนภำษีท่ีต้อง
เสียหรือนำส่งในเดือนภำษีคลำดเคลื่อนไป ให้เสียเบ้ียปรับอีกหนึ่งเท่ำของเงินภำษีท่ีเสีย
คลำดเคล่ือนหรือท่ีนำส่งคลำดเคล่ือน" จำนวนภำษีที่ต้องเสียคลำดเคล่ือน ได้แก่ ผลต่ำงของ
ยอดภำษีขำยแจ้งขำดหักยอดภำษีซือ้ แจ้งขำด

เบ้ียปรับ ตามมาตรา 89 (4) แห่งประมวลรัษฎากร บัญญัติว่า "(4) ย่ืนแบบแสดง
รายการภาษีไว้ไม่ถูกต้องหรือมีข้อผิดพลาด อันเป็นเหตุให้จำนวนภำษีขำยหรือจำนวนภำษีซ้ือ
ในเดือนภำษีท่ีแสดงไว้คลำดเคลื่อนไป ให้เสียเบี้ยปรับอีกหนึ่งเท่ำของจำนวนภำษีขำยที่แสดง
ไวข้ ำดไป หรือจำนวนภำษีซอื้ ทแ่ี สดงไวเ้ กินไป"

ตวั อยา่ งการคานวณเบย้ี ปรับ เงนิ เพิ่ม
1. กรณที ี่ไม่ได้ย่นื แบบ ภ.พ.30

- กรณภี าษมี ลู คา่ เพมิ่ ที่ตอ้ งชาระ 1,000
ภาษีขาย 750
ภาษซี อ้ื 250
ภาษีท่ีตอ้ งชาระ
เงนิ เพ่ิม 250 x 1.5% ต่อเดือน
เบ้ยี ปรบั 250 x 2 เทา่

- กรณภี าษมี ูลค่าเพิม่ ชาระเกิน 1,000
ภาษขี าย 1,750
ภาษีซอื้
ภาษที ี่ตอ้ งชาระ 0
ภาษที ่ีชาระเกนิ (750)
เงนิ เพิม่
เบ้ยี ปรบั ไม่มี
ไม่มี

2. กรณียน่ื แบบ ภ.พ. 30 เมอ่ื พน้ กาหนดเวลา ซงึ่ ผมู้ หี น้าที่เสียภาษตี อ้ งรบั ผดิ เบี้ยปรับและเงิน
เพิ่มตาม 1. ไปแล้ว ต่อมาได้มีการย่ืนแบบ ภ.พ. 30 เพิ่มเติม หรือเจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบ
พบความผิด

2.1 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกตมิ ภี าษตี อ้ งชาระและการคานวณทถ่ี กู ตอ้ งมภี าษตี ้องชาระ

ภาษีขาย แบบภ.พ.30 ถกู ตอ้ ง ผลตา่ ง ขายขาด
ภาษีซือ้ 1,000 1,600 600 ซื้อเกนิ
ภาษีทต่ี ้องชาระ 750 400 (350) คลาดเคลอื่ น
ภาษที ่ีชาระเกินยกมา 250 1,200 950
ภาษที ีต่ ้องชาระสุทธิ (70) (70) 0
180 1,130 950

เงินเพมิ่ 950 x 1.5% ตอ่ เดอื น
เบยี้ ปรับ – มาตรา 89(2) 950 x 2 เท่า
600 x 1 เท่า
– มาตรา 89(4) ภาษขี ายขาด 350 x 1 เทา่
– มาตรา 89(4) ภาษซี ือ้ เกนิ

เปรียบเทยี บเบยี้ ปรบั ทง้ั 2 มาตราแลว้ เรยี กเกบ็ จานวนเงนิ ท่ีไดเ้ งินมากกว่า คือ มาตรา 89(2) จานวน 1,900 บาท

2.2 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกติมีภาษีชาระไว้เกิน และการคานวณท่ีถูกต้องมีภาษีชาระไว้
เกนิ

ภาษขี าย แบบภ.พ.30 ถกู ตอ้ ง ผลต่าง ขายขาด
ภาษซี ือ้ 1,000 1,600 600 ซอ้ื เกนิ
ภาษีทตี่ อ้ งชาระ 2,750 2,400 (350) คลาดเคล่อื น
ภาษที ี่ชาระเกนิ ยกมา (1,750) 950
ภาษที ตี่ ้องชาระสุทธิ (70) (800)
(1820) (70) 0
(870) 950

เงินเพม่ิ ไมม่ ี
เบีย้ ปรบั – มาตรา 89(2) ไมม่ ี
600 x 1 เทา่
– มาตรา 89(4) ภาษขี ายขาด 350 x 1 เทา่
– มาตรา 89(4) ภาษีซอื้ เกิน

เปรียบเทียบเบ้ียปรับทั้ง 2 มาตราแล้วเรียกเก็บจานวนเงินที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จานวน 950 บาท
(600+350)

2.3 แบบ ภ.พ. 30 ฉบบั ปกตมิ ภี าษีชาระไวเ้ กิน แตก่ ารคานวณท่ีถูกต้องมีภาษตี ้องชาระ

ภาษีขาย แบบภ.พ.30 ถูกตอ้ ง ผลต่าง ขายขาด
ภาษีซอื้ 1,000 1,600 600 ซ้อื เกนิ
ภาษีทตี่ อ้ งชาระ 2,750 1,400 (1,350) คลาดเคล่ือน
ภาษที ่ีชาระเกินยกมา (1,750)
ภาษที ี่ตอ้ งชาระสทุ ธิ (70) 200 1,950
(1820) (70) 0
130 1,950

เงนิ เพม่ิ 130 x 1.5% ต่อเดอื น
เบ้ยี ปรบั – มาตรา 89(2) 200 x 2 เทา่
600 x 1 เทา่
– มาตรา 89(4) ภาษขี ายขาด 1,350 x 1 เทา่
– มาตรา 89(4) ภาษซี ้ือเกนิ

เปรียบเทียบเบี้ยปรับทั้ง 2 มาตราแล้วเรียกเก็บจานวนเงินที่ได้เงินมากกว่า คือ มาตรา 89(4) จานวน 1,950 บาท
(600+1,350)

2.4 แบบ ภ.พ. 30 ฉบบั ปกติมีภาษตี ้องชาระแตก่ ารคานวณท่ีถกู ต้องชาระไวเ้ กิน

2.4 แบบ ภ.พ. 30 ฉบับปกตมิ ภี าษีต้องชาระแตแก่ บารบคภาน.พวณ.3ท0ถี่ กู ต้องถชากู รตะไอ้ วงเ้ กิน ผลต่าง

ภาษีขาย 1,000 1,600 600 ขายขาด
ซ้ือเกนิ
ภาษีซอื้ 750 2,000 1,250 คลาดเคลอื่ น

ภาษีท่ีต้องชาระ 250 (400) (650)

ภาษีท่ีชาระเกินยกมา (70) (70) 0

ภาษที ตี่ ้องชาระสทุ ธิ 180 (470) (650)

เงินเพม่ิ ไม่มี
เบีย้ ปรับ – มาตรา 89(2) ไม่มี
600 x 1 เทา่
– มาตรา 89(4) ภาษขี ายขาด ไม่มี
– มาตรา 89(4) ภาษีซ้ือเกนิ

เปรียบเทยี บเบี้ยปรับทงั้ 2 มาตราแล้วเรยี กเกบ็ จานวนเงนิ ท่ีไดเ้ งนิ มากกวา่ คือ มาตรา 89(4) จานวน 600 บาท

3. กรณยี น่ื แบบ ภ.พ. 30 ภายในเวลาทกี่ าหนด แตก่ รอกตวั เลขผิดพลาดและไมไ่ ดช้ าระ
ภาษีมูลค่าเพิ่มใหถ้ ูกต้องครบถว้ นพร้อมการยื่นแบบ ภ.พ. 30

ภาษีขาย แบบภ.พ.30 ถกู ต้อง ผลต่าง
ภาษีซอ้ื 2,500 2,500 0
ภาษที ต่ี อ้ งชาระ 2,000 2,000 0
ภาษที ี่ชาระเกินยกมา 400 500 100
ภาษที ต่ี ้องชาระสุทธิ (20) (20) 0
380 480 100

เงนิ เพิม่ 480 x 1.5% ตอ่ เดอื น
เบย้ี ปรับ ไมม่ ี

4. กรณยี ่นื แบบ ภ..พ. 30 ภายในเวลาทีก่ าหนดและชาระภาษไี ปแล้ว ตอ่ มามีการยนื่ แบบ ภ..พ.
30 เพิ่มเติมภายในเวลาทีก่ าหนด โดยชาระภาษพี รอ้ มการยื่นแบบเพ่มิ เตมิ

ภาษขี าย แบบภ.พ.30 ถกู ตอ้ ง ผลต่าง ขายขาด
ภาษซี ้อื 1,500 2,400 900 ซือ้ เกนิ
ภาษีที่ตอ้ งชาระ 1,000 600 (400) คลาดเคลื่อน
ภาษีที่ชาระเกินยกมา 500 1,800 1,300
ภาษีท่ตี อ้ งชาระสุทธิ (70) (70) 0
430 1,730 1,300

เงนิ เพิ่ม ไมม่ ี
เบี้ยปรบั ไม่มี

5. กรณียนื่ แบบ ภ..พ. 30 ภายในเวลาที่กาหนดและชาระภาษีไปแลว้ ตอ่ มามีการยนื่ แบบ ภ..พ.
30 เพิ่มเตมิ ภายในเวลาที่กาหนด โดยไม่ไดช้ าระภาษีพร้อมการยน่ื แบบเพิ่มเตมิ

ภาษขี าย แบบภ.พ.30 ถกู ต้อง ผลต่าง ขายขาด
ภาษีซือ้ 1,500 2,400 900 ซอื้ เกิน
ภาษีทตี่ ้องชาระ 1,000 600 (400) คลาดเคลอ่ื น
ภาษที ี่ชาระเกินยกมา 500 1,800 1,300
ภาษที ีต่ อ้ งชาระสุทธิ (70) (70) 0
430 1,730 1,300

เงินเพ่มิ 1,300 x 1.5% ตอ่ เดอื น
เบีย้ ปรับ ไมม่ ี


Click to View FlipBook Version