The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แฟ้มปฏิบัติการสอน1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by smild.447, 2021-11-11 00:55:13

แฟ้มปฏิบัติการสอน1

แฟ้มปฏิบัติการสอน1

แฟ้มสะสมผลงาน

portfolio

นางสาวธันยพร ไชยรบ
รหสั 60100140129
สาขาวชิ าคณติ ศาสตร์

คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี

แฟม้ ปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา
โรงเรียนหนองสำโรงวทิ ยา อำเภอเมอื ง จังหวดั อดุ รธานี
สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา ประถมศกึ ษาอดุ รธานี เขต 1

จัดทำโดย
นางสาวธนั ยพร ไชยรบ รหสั 60100140129
นกั ศกึ ษาปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษา สาขาวิชาคณติ ศาสตร์

คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อดุ รธานี
ปกี ารศกึ ษา 2564



คำนำ

แฟ้มปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษานี้ ได้รวบรวมหลักฐานทเ่ี กี่ยวกับการสอน
วชิ าคณิตศาสตร์ในระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ท่เี กิดจาการวิเคราะหส์ ภาพการจัดการเรียนการ
สอน เพื่อวางแผนพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสทิ ธิภาพ โดยทุกข้ันตอนได้คำปรกึ ษา และ
ตรวจสอบดแู ลอยา่ งใกล้ชิดจากผูเ้ ช่ยี วชาญ ด้านต่าง ๆ เปน็ อยา่ งดี

แฟม้ ปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศึกษาน้ี ประกอบด้วย ข้นั ตอนการวเิ คราะห์
สภาพปัญหาการสอน การวางแผนการวัดผลและประเมนิ ผลอย่างละเอียด ตัวอย่างเครื่องมือ
วัดผล และตวั อย่างชน้ิ งานนกั เรียน ซง่ึ ทุกชิน้ ไดผ้ า่ นการตรวจ สอบแล้ว เชน่ เดยี วกนั

ขอขอบคุณ นายเชวง ชื่นตา ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา โรงเรียนหนองสำโรงวิทยา
คณะกรรมการพฒั นางานวิชาการโรงเรยี น ผู้เชีย่ วชาญทุกทา่ น ตลอดจนผู้ที่มสี ว่ นรว่ มในการให้
กำลงั ใจในการจดั ทำทกุ ขัน้ ตอน หวังเป็นอย่างยงิ่ วา่ สิ่งที่ดีงามเหลา่ น้ีจะเปน็ ประโยชนแ์ ละผลดีต่อ
การพฒั นาผเู้ รยี น พัฒนาการเรียนการสอนและพฒั นาการศึกษาต่อไป

นางสาวธนั ยพร ไชยรบ
นักศกึ ษาปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา
สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ คณะครุศาสตร์

มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอดุ รธานี

สารบญั ข

เร่ือง หน้า
คำนำ ก
สารบญั ข
สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไป 1
2
ประวัตสิ ว่ นตวั 3
*******ประวัตกิ ารศึกษา 4
*******ประวตั สิ ถานศึกษา 12
สว่ นที่ 2 การพัฒนาตนเองด้านวิชาชพี 13
*******ตารางงสอน 24
*******ตารางภาระงานทไ่ี ด้รับมอบหมาย 15
*******คำอธิบายรายวิชา 17
*******ตารางวิเคราะห์หลักสูตร 24
*******โครงสร้างรายวิชา 28
*******กำหนดการสอน 33
*******ตวั อยา่ งแผนการจดั การเรียนรู้ 67
69
ตวั อย่างชิ้นงาน/ภาระงานนกั เรยี น 70
ส่วนท่ี 3 การปฏบิ ัติงานพเิ ศษ 71
*******รายงานการวจิ ัย 72
73
ตารางการแสดงการปฏิบตั ิงาน 74
สว่ นท่ี 4 การปฏิบตั ิตน 75
****** *ตารางสรปุ คำสงั่ และรายละเอียดการปฏบิ ัตงิ าน โรงเรยี นหนองสำโรงวิทยา 76
77
ตารางสรุปการเข้ารว่ มประชุม/อบรม/สัมมนา 83
ตารางการนิเทศการปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษา ภาคเรยี นท่ี 1 87
ส่วนที่ 5 ภาคผนวก
******* ภาคผนวก ก คำสั่งโรงเรียนหนองสำโรงวทิ ยา
ภาคผนวก ข เกยี รติบตั ร
ภาคผนวก ค ภาพปฏบิ ตั ิกิจกรรม

1

ส่วนที่ 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไป
-ประวตั ผิ จู้ ดั ทำ
-ประวตั กิ ำรศกึ ษำ
-ประวตั สิ ถำนศกึ ษำทฝ่ี ึกประสบกำรณ์วชิ ำชพี

ประวตั ผิ จู้ ดั ทำ 2

ชื่อ – สกลุ นางสาวธันยพร ไชยรบ ชื่อเล่น แอน หมโู่ ลหติ A (เอ)
เกิดวันที่ 30 เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ 2541 เป็นบุตรคนท่ี 1 จากจำนวน 2 คน
สัญชาติ ไทย เชือ้ ชาติ ไทย ศาสนา พุทธ
บิดาชอ่ื นายพระวงค์ ไชยรบ มารดาชื่อ นางวาสนา ไชยรบ
ท่อี ยปู่ จั จุบัน บา้ นเลขที่ 160 หมู่ 11 บ้านโนนแสนสขุ ตำบลแวง อำเภอสว่างแดนดิน
จังหวดั สกลนคร 47240
ปจั จบุ นั กำลังศกึ ษาอยู่ท่ี สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั อดุ รธานี
รหสั นกั ศกึ ษา 60100140129
คติประจำใจ : ใชช้ ีวิตให้เป็นเหมือนพรงุ่ น้ีวันสดุ ทา้ ยของชีวิต
อาชีพทีอ่ ยากเป็นในอนาคต : ครู / นักเขียน
โทร : 093-5534205
E-mail : [email protected]

3

ประวัติการศึกษา

ระดบั การศกึ ษา สาขาวชิ า สถานศึกษา ปีการศึกษาทีจ่ บ
ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-6
- โรงเรียนบ้านโนนเสาขวญั 2553

มัธยมศึกษา 1 – 3 วิทย์-คณิต โรงเรียนแวงพิทยาคม 2554 – 2556

มธั ยมศกึ ษา 4 – 6 วิทย์ - คณิต โรงเรยี นเตรียมอุดมศึกษา 2557 – 2559
ปริญญาตรี ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

คณิตศาสตร์ มหาวทิ ยาลบั ราชภฎั อดุ รธานี 2560 – ปจั จุบัน

4

ประวตั สิ ถานศึกษาที่ฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ

ขอ้ มลู เก่ียวกับสถานทฝ่ี กึ ประสบการณ์วชิ าชพี

- ประวตั ิความเปน็ มาของโรงเรียนหนองสำโรงวทิ ยา
โรงเรียนหนองสำโรงวทิ ยากอ่ ต้งั เมือ่ วนั ท่ี 3 กรกฎาคม พ.ศ.2482 มีชือ่ ว่าโรงเรียนประชาบาล

ตำบลหมูม่น ใช้ศาลาการเปรียญบ้านบ่อน้ำเป็นสถานที่ศึกษา มีนักเรียนจากบ้านบ่อน้ำมาเรียน และได้อาศัย
ศาลาวัดบ้านบ่อน้ำเป็นที่เรียนตลอดมาต่อมาคณะนายทหาร นายสิบ ใน ผส. 13 ร.พัน 2 คิดริเริ่มจะให้
โรงเรียนบ้านบ่อนำ้ เปน็ โรงเรยี นเอกเทศ จึงมโี ครงการจัดหาเงนิ เพื่อซือ้ ทด่ี นิ และสมทบทุนสร้างอาคารเรียนกับ
ทางราชการ

พ.ศ. 2506 จึงซื้อที่ดินหน้า ร.13 พัน 2 เป็นเงิน 13,000 บาท และสมทบทุนในการก่อสร้าง
อาคารเรียนอีก 33,000 บาท พ.ท. พักตร์ มีนะกนิษฐ์ ผบ.ผส.13 ร.พัน 2 (ยศขณะนั้น) พร้อมด้วยคณะ
นายทหารนายสิบ เป็นผู้มอบ ทางราชการจึงไดจ้ ัดสรา้ งอาคารเรียนหลังแรกขนึ้ เป็นอาคาร 1 ช้นั 7 ห้องเรียน
จึงยา้ ยมาเรยี นที่อาคารหลังใหม่

วันที่ 4 ตุลาคม 2506 มีนักเรียนจากหมู่บ้านไก่เถื่อน บ้านบ่อน้ำ บ้านหนองบ่อ มาเข้าเรียน
และเปลี่ยนชื่อจากโรงเรียนวัดบ้านบ่อน้ำ เป็น โรงเรียนหนองสำโรงวิทยา มีผู้บริหารสถานศึกษาจำนวน
17 คน

ปัจจุบันเปิดทำการสอน ระดับชั้นอนุบาลถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 นายเชวง ชื่นตา
ดำรงตำแหน่งผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น

ขอ้ มูลบุคลากรของสถานท่ฝี ึกประสบการณว์ ิชาชพี 5

จำนวนบคุ ลากร

ตำแหน่ง วทิ ยฐำนะ ระดบั ขำ้ รำชกำรครแู ละบคุ ลำกรทำงกำรศกึ ษำ
(คน)
- ตำแหน่ง
ชำนำญกำร คศ.1 ชำย หญงิ รวม
คศ.2 0 00
1. ผอู้ ำนวยกำรโรงเรยี น ชำนำญกำร 0 00
พเิ ศษ คศ.3
1 01
เชย่ี วชำญ คศ.4
คศ.5 0 00
เชย่ี วชำญพเิ ศษ 0 00
- 1 01
รวม คศ.1 0 00
คศ.2 0 00
-
ชำนำญกำร คศ.3 0 00

2. รองผอู้ ำนวยกำร ชำนำญกำร คศ.4 0 00
- 0 00
โรงเรยี น พเิ ศษ 0 11
คศ.1 2 13
เชย่ี วชำญ คศ.2
2 23 25
รวม คศ.3
0 00
- คศ.4
ชำนำญกำร

ชำนำญกำร
พเิ ศษ

3. ครู เชย่ี วชำญ

เชย่ี วชำญพเิ ศษ คศ.5 0 00
- 4 25 29
รวม 0 33
ครผู ชู้ ่วย 0 00
4. ครผู ชู้ ว่ ย - 0 00
- 2 35
5. ลกู จำ้ งประจำ - - 7 31 38
-
6. พนกั งำนรำชกำร -

7. ลกู จำ้ งชวั่ ครำว -

รวมทงั้ หมด

จำนวนนักการภารโรง/พนักงาน 6
1. ภารโรง 1 คน
2. แม่บา้ น 1 คน

จำนวนนกั เรยี น

7

จำนวนนักศกึ ษาทปี่ ฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษา

1. นางสาวเก็จมณี สัพโส สาขาวิชาภาษาองั กฤษ
2. นางสาวรงุ่ พิรณุ แสงกำ่ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ
3. นางสาวธนั ยนันท์ คงแสนคำเจริญ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
4. นางสาวสุนิสา ทองสนั ทัต สาขาวชิ าคณติ ศาสตร์
5. นางสาวธันยพร ไชยรบ สาขาวชิ าคณิตศาสตร์
6. นางสาวอารียา วาเสนงั สาขาวชิ าคณิตศาสตร์
7. นางสาวผกามาศ พรมนิล สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์
8. นายยุทธศาสตร์ สุภริ มณ์ สาขาวชิ าคอมพวิ เตอร์
9. นางสาวชลดา โซ่เมอื งแซะ สาขาวชิ านาฎศลิ ปไ์ ทย
10. นายปภาวินทร์ อนิ ตา สาขาวชิ านาฎศิลป์ไทย
11. นางสาวศรุตรา โคตรปํญญา สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ( ชีววทิ ยา )
12. นายจิรศักด์ิ อนิ ทรกง สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์ ( ฟสิ กิ ส์ )
13. นางสาวกฤติกา ดีมาก สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ ( เคมี )

อาคารสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

1. อาคารเรยี น ป.1ซ ปีที่สร้าง 2523
2. อาคารเรยี น สปช.105/29 ปที ส่ี รา้ ง 2538
3. อาคารเรยี น พเิ ศษ 1 ช้ัน ปีทส่ี รา้ ง 2542
4. อาคารเรียน สปช.2/28 ปีท่สี ร้าง 2542
5. อาคารเรยี น 212 ปที สี่ ร้าง 2560
6. อาคารอเนกประสงค/์ โรงอาหาร/โรงฝึกงาน 312 ปีทส่ี ร้าง 2523
7. อาคารอเนกประสงค์/โรงอาหาร/โรงฝกึ งาน สปช.205/26 ปที ีส่ ร้าง 2530

สภาพท่ัวไปของสถานทีฝ่ ึกประสบการณ์วิชาชพี 8

ภาพสถานท่ีฝกึ ประสบการณ์

1. อาคารเรียน ป.1ซ ปที ่สี รา้ ง 2523

2. อาคารเรยี น สปช.105/29 ปีทส่ี รา้ ง 2538

9

3. อาคารเรียน พเิ ศษ 1 ช้ัน ปีทส่ี รา้ ง 2542
4. อาคารเรียน สปช.2/28 ปที ีส่ รา้ ง 2542
5. อาคารเรียน 212 ปีทสี่ รา้ ง 2560

10

6. อาคารอเนกประสงค์/โรงอาหาร/โรงฝึกงาน 312 ปที ส่ี ร้าง 2523

7. อาคารอเนกประสงค/์ โรงอาหาร/โรงฝึกงาน สปช.205/26 ปที ี่สรา้ ง 2530
แผนผงั ทต่ี งั้ สถำนทฝ่ี ึกประสบกำรณ์

11

แผนภูมิแสดงโครงสร้างการบริหารโรงเรียน

ลงชอ่ื ........................................................................

()
นกั ศกึ ษำปฏบิ ตั กิ ำรสอนในสถำนศกึ ษำ

วนั ท.่ี ............เดอื น...........................พ.ศ. ……...…

12

ส่วนท่ี 2
ขอ้ มลู กำรพฒั นำตนเองทำงดำ้ นวชิ ำชพี ครู

13

ตารางสอนโรงเรียนหนองสำโรงวทิ ยา
ประจำภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564

นางสาวธันยพร ไชยรบ

……………………………. …………………………….
( นางประยงค์ งามจติ ร ) ( นายเชวง ช่นื ตา )
หวั หนา้ กลุม่ บรหิ ารงานวิชาการ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนหนองสำโรงวทิ ยา

14

ภาระงานสอนท่ไี ดร้ ับมอบหมาย

ตารางสรปุ ภาระงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย ภาคเรยี นท่ี 1/2564

ช่ือ – สกลุ รายวิชา ชวั่ โมง/ ห้อง ช่ัวโมง รวม
สปั ดาห์ ชนั้ 1,2 200

คณติ ศำสตรพ์ น้ื ฐำน 10 ป. 3

นางสาวธันยพร ไชยรบ ลูกเสอื -เนตรนำรี 1 ป. 3 2 20
ชมุ นุม 240

1 ป. 3 1,2 20

15

คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน

ค13101 คณติ ศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์

ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 3 เวลา 200 ชั่วโมง

ศึกษาวิเคราะห์ อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน
100,000 และ 0 เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับ ไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์ต่างๆ บอก อ่าน
และเขียน เศษส่วนแสดงปริมาณสิ่งต่างๆ และแสดงสิ่งต่างๆตามเศษส่วนที่กำหนด เปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัว
เศษเท่ากันโดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการ
บวก และประโยคสญั ลักษณแ์ สดงการลบ ของจำนวนนบั ไม่เกิน 100,000 และ 0 หาคา่ ของตวั ไม่ทราบค่าใน
ประโยคสัญลกั ษณ์ แสดงการคณู ของ จำนวน 1 หลักกับจำนวนไมเ่ กิน 4 หลกั และจำนวน 2 หลกั กบั จำนวน 2
หลัก หาค่าของตัวไม่ทราบคา่ ในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการหาร ที่ตัวตั้งไม่เกนิ 4 หลัก ตัวหาร 1 หลัก หา
ผลลัพธ์การบวกลบ คูณ หารระคน ของจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์
ปัญหา 2 ขั้นตอนของจำนวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 หาผลบวกของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน และ
ผลบวกไม่เกิน 1 และหาผลลบของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก
เศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน และผลบวกไม่เกิน 1 และโจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน ระบุ
จำนวนทีห่ ายไปในแบบรปู ของ จำนวนทีเ่ พิ่มข้ึนหรอื ลดลงทลี ะเท่า ๆ กัน

ศึกษาแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ
เวลาและระยะเวลา เลือกใช้เครื่องวัดความยาวที่เหมาะสมกับการวัดและบอกความยาวของสิ่งต่างๆเป็น
เซนตเิ มตรและมลิ ลิเมตร เมตร และเซนตเิ มตร คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเปน็ เซนติเมตร เปรยี บเทยี บ
ความยาวระหว่างเซนติเมตรกบั มิลลเิ มตร เมตรกบั เซนตเิ มตร กโิ ลเมตรกับเมตรจากสถานการณ์ต่างๆ แสดง
วิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวที่มีหน่วยเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร
กิโลเมตรและเมตร เลือกใช้เครื่องชั่งที่เหมาะสม วัดและบอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม
คาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด เปรียบเทียบน้ำหนักระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับ
กิโลกรัมจากสถานการณ์ต่างๆ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับ
กรมั เมตรกิ ตันกับกโิ ลกรมั เลือกใชเ้ ครือ่ งตวงท่ีเหมาะสม กับการวัด และเปรียบเทียบปริมาตร ความจุเป็น
ลติ ร และมลิ ลลิ ติ รคาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาเก่ียวกับปริมาตร
และความจทุ ีม่ หี น่วยเปน็ ลติ รและมิลลิลติ ร ระบรุ ปู เรขาคณิตสองมิติทีม่ ีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร
ศกึ ษาการเขยี นแผนภมู ิรูปภาพ และใชข้ อ้ มูลจาก แผนภมู ริ ปู ภาพในการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาเขียนตาราง
ทางเดยี วจากข้อมูลทเ่ี ปน็ จำนวนนบั และใชข้ ้อมูลจากตารางทางเดยี วในการหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา

16

โดยใช้ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้แบบบรูณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด
กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ
ลงมอื ทำจริง กระบวนการเรียนรขู้ องตนเอง

เพื่อให้นักเรียนเกิดคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ มีความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีวินัย มีความมุ่งมัน่ ในการทำงาน
ซอ่ื สตั ย์ สุจรติ

รหัสตวั ชว้ี ดั
ค 1.1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5 ป.3/6 ป.3/7 ป.3/8 ป.3/9 ป.3/10 ป.3/11
ค 2.1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 ป.3/5 ป.3/6 ป.3/7 ป.3/8 ป.3/9 ป.3/10 ป.3/11 ป.3/12 ป.3/13
ค 2.2 ป.3/1
ค 3.1 ป.3/1 ป.3/2
รวมทั้งหมด 28 ตวั ชว้ี ดั

17

ตารางวิเคราะหค์ วามสัมพนั ธร์ ะหว่างมาตรฐาน ตวั ชวี้ ัด และสาระการเรยี นรู้

กลุม่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ
สมรรถนะ ทพี่ ึงประสงค์

สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณิต

มาตรฐาน ค 1.1

เข้าใจความหลากหลาย

ของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน

การดำเนนิ การของจำนวน ผลทเ่ี กดิ ข้ึน

จากการดำเนินการ สมบัติของการ

ดำเนินการและนำไปใช้

ตัวช้ีวัด ป 3/1

อา่ นและเขยี นตวั เลขฮินดอู ารบกิ 1. การอ่านตัวเลขฮนิ ดูอารบิก 1. การอา่ น 1. รักความเปน็ ไทย

ตวั เลขไทย และตวั หนังสอื แสดงจำนวน ตวั เลขไทย และตัวหนงั สอื แทน 2. การเขียน 2. มุง่ มั่นในการทำงาน

นบั ไม่เกนิ 100,000 และ 0 จำนวนนับไม่เกนิ 100,000 3. การสื่อสาร

และ 0
2. การเขียนตวั เลขฮินดูอารบิก

ตวั เลขไทย และตวั หนงั สือแทน

จำนวนนบั ไม่เกนิ 100,000

และ 0

ตวั ช้ีวัด ป 3/2

เปรียบเทียบและเรียงลำดบั 1. การเปรยี บเทียบ 1. การเปรยี บเทยี บ 1. มีวนิ ยั

จำนวนนบั ไม่เกิน 100,000 จาก 2. การเรยี งลำดับ 2. การคิด 2. มคี วามรอบคอบ

สถานการณต์ ่างๆ

ตัวชีว้ ัด ป 3/3

บอก อ่าน และเขียนเศษส่วน 1. การอ่านเศษสว่ น 1. การสอ่ื สาร 1. มุ่งมนั่ ในการทำงาน

แสดงปรมิ าณส่ิงต่าง ๆ และแสดง 2. การเขยี นเศษสว่ น 2. การอ่าน 2. มีความรอบคอบ

สิ่งตา่ ง ๆ ตามเศษสว่ นท่กี ำหนด 3. การแสดงส่ิงต่าง ๆ 3. การเขยี น

ตามเศษส่วนท่ีกำหนด

18

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั ความรู้ ทักษะ กระบวนการ คณุ ลักษณะ
สมรรถนะ ทพ่ี งึ ประสงค์
ตวั ชี้วัด ป 3/4 1. มีวินยั
เปรียบเทียบเศษสว่ นที่ตัวเศษ การเปรยี บเทยี บเศษส่วน 1. การเปรยี บเทียบ 2. มีความรอบคอบ
2. กาแกป้ ัญหา
เท่ากัน โดยท่ตี วั เศษนอ้ ยกว่าหรอื เทา่ กับ 1. มุ่งมั่นในการทำงาน
ตัวส่วน 1. ตัวไม่ทราบคา่ 1. การคิด 2. ใฝเ่ รียนรู้
ตัวชว้ี ดั ป 3/5
2. ประโยคสัญลกั ษณ์การบวก 2. กาแก้ปัญหา 1. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน
หาค่าของตวั ไมท่ ราบค่าใน 2. ใฝ่เรยี นรู้
ประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการบวกและ และการลบ
ประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการลบของ 1. มุ่งมน่ั ในการทำงาน
จำนวนนับไมเ่ กนิ 100,000 และ 0 1. ตวั ไม่ทราบค่า 1. การคิด 2. ใฝเ่ รียนรู้
ตวั ชวี้ ดั ป 3/6 2. การคูณของจำนวน 1 หลกั 2. การแก้ปญั หา
กับจำนวนไม่เกนิ 4 หลัก 3. การคณู 1. ความรอบคอบ
หาคา่ ของตัวไมท่ ราบค่าใน 3. การคณู จำนวน 2 หลัก กับ 2. มีวนิ ัย
ประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการคูณของ จำนวน 2 หลัก
จำนวน 1 หลกั กับจำนวนไมเ่ กนิ 4 หลัก 1. ม่งุ มั่นในการทำงาน
และจำนวน 2 หลกั กับจำนวน 2 หลัก 1. ตวั ไม่ทราบค่า 1. การคิด 2. ความรอบคอบ
2. การหารท่ตี ัวตงั้ ไมเ่ กนิ 2. การแกป้ ญั หา
ตัวชีว้ ดั ป 3/7 4 หลัก ตวั หาร 1 หลัก 3. การหาร
หาคา่ ของตวั ไม่ทราบค่าใน
การบวก ลบ คูณ หารระคน 1. การบวก การลบ
ประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการหารที่ตัวตั้ง 2. การคณู การหาร
ไม่เกนิ 4 หลกั ตวั หาร 1 หลัก
ตวั ช้วี ดั ป 3/8 การแก้โจทยป์ ัญหา 1. การสอื่ สาร
2. การคิด
หาผลลพั ธก์ ารบวก ลบ คูณ หาร 3. การแก้ปัญหา
ระคน ของจำนวนนับไมเ่ กิน 100,000
และ 0
ตัวชีว้ ดั ป 3/9

แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์
ปญั หา 2 ขน้ั ตอน ของจำนวนนับไม่เกนิ
100,000 และ 0

19

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด ความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ
สมรรถนะ ที่พงึ ประสงค์

ตวั ชี้วดั ป 3/10

หาผลบวกของเศษสว่ นทม่ี ีตวั ส่วน 1. การบวกเศษส่วน 1. การบวก 1. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน

เท่ากนั และผลบวกไมเ่ กนิ 1 และการหา 2. การลบเศษสว่ น 2. การลบ 2. ความรอบคอบ

ผลลบของเศษส่วนท่มี ีตวั ส่วนเทา่ กัน 3. การคดิ

ตัวชี้วัด ป 3/11

แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปัญหา 1. โจทยป์ ัญหาการบวก 1. การสอ่ื สาร 1. ม่งุ มัน่ ในการทำงาน

การบวกเศษส่วนที่มตี วั ส่วนเท่ากนั และ เศษสว่ น 2. การคดิ 2. ความรอบคอบ

ผลบวกไม่เกนิ 1 และโจทย์ปัญหาการลบ 2. โจทยป์ ญั หาการลบ 3. การแก้ปญั หา

เศษส่วนทีม่ ีตวั สว่ นเทา่ กัน เศษสว่ น

มาตรฐาน ค 1.2 1. การสื่อสาร 1. มงุ่ มั่นในการทำงาน
เขา้ ใจและวิเคราะห์แบบรูป 2. การคดิ 2. ความรอบคอบ

ความสัมพันธ์ ฟังก์ชนั ลำดับและอนุกรม
และนำไปใช้
ตัวชี้วัด ป 3/1

ระบจุ ำนวนที่หายไปในแบบรูป 1. แบบรูปของจำนวน
ของจำนวนทเี่ พิม่ ข้นึ หรอื ลดลงทีละเท่า ๆ 2. การนบั เพมิ่
กนั 3. การนับลด

20

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ความรู้ ทกั ษะ กระบวนการ คณุ ลักษณะ
สมรรถนะ ท่พี งึ ประสงค์
สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณติ
มาตรฐาน ค 2.1 1. เงิน 1. การสอ่ื สาร 1. ความรอบคอบ
2. โจทยป์ ญั หา 2. การคิด 2. ม่งุ มั่นในการทำงาน
เข้าใจพื้นฐานเก่ียวกบั การวัด 3. การแกป้ ญั หา
วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งทตี่ ้องการ 1. เวลา
วัดและนำไปใช้ 2. ระยะทาง 1. การสอ่ื สาร 1. ความรอบคอบ
ตัวชว้ี ดั ป 3/1 3. โจทยป์ ญั หา 2. การคดิ 2. มุง่ มั่นในการทำงาน
3. การแก้ปญั หา
แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ 1. เครอ่ื งวดั ความยาว
ปญั หาเก่ยี วกบั เงิน 2. การวัดความยาว 1. การส่อื สาร 1. ความรอบคอบ
2. การใชท้ กั ษะชีวิต 2. มุ่งมั่นในการทำงาน
ตัวชวี้ ัด ป 3/2
แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ การคาดคะเนความยาว 1. การคาดคะเน 1. มวี ินัย
การเปรียบเทยี บความยาว 2. การสือ่ สาร 2. มีความรอบคอบ
ปัญหาเก่ยี วกบั เวลาและระยะเวลา
การเปรยี บเทียบ 1. มีวนิ ยั
ตัวช้วี ดั ป 3/3 2. มคี วามรอบคอบ
เลือกใช้เครือ่ งวัดความยาวที่

เหมาะสม วัดและบอกความยาวของส่งิ
ตา่ ง ๆ เปน็ เซนตเิ มตรและมลิ ลเิ มตร
เมตรและเซนตเิ มตร
ตัวชี้วดั ป 3/4

คาดคะเนความยาวเป็นเมตร
เปน็ เซนตเิ มตร
ตัวชว้ี ดั ป 3/5

เปรยี บเทยี บความยาวระหวา่ ง
เซนติเมตรกับมลิ ลิเมตร เมตรกบั
เซนติเมตร กโิ ลเมตรกบั เมตร จาก
สถานการณ์ต่าง ๆ

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 21
คณุ ลักษณะ
มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั ความรู้ ทักษะ กระบวนการ ที่พงึ ประสงค์
สมรรถนะ 1. ใฝ่เรยี นรู้
ตัวชี้วัด ป 3/6 2. มุง่ มั่นในการทำงาน
แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ โจทย์ปญั หาการวัดความยาว 1. การสื่อสาร
2. การคิด 1. ความรอบคอบ
ปญั หาเกย่ี วกับความยาวทีม่ หี น่วยเป็น 3. การแก้ปัญหา 2. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
เซนติเมตรและมลิ ลิเมตร เมตรและ
เซนติเมตร กโิ ลเมตรและเมตร 1. เครื่องช่งั 1. การสื่อสาร 1. มวี นิ ัย
ตวั ชว้ี ดั ป 3/7 2. การบอกน้ำหนัก 2. การใชท้ กั ษะชีวิต 2. มีความรอบคอบ
1. มวี นิ ัย
เลอื กใช้เครื่องช่งั ท่ีเหมาะสม คาดคะเนนำ้ หนกั 1. การคาดคะเน 2. มคี วามรอบคอบ
วดั และบอกนำ้ หนกั เปน็ กโิ ลกรัมและขดี การเปรียบเทียบน้ำหนัก 2. การส่ือสาร
กโิ ลกรมั และกรมั 1. ความรอบคอบ
ตัวชว้ี ดั ป 3/8 การเปรียบเทยี บ 2. มุ่งมัน่ ในการทำงาน

คาดคะเนน้ำหนักเปน็ กิโลกรมั และ โจทย์ปัญหาเกย่ี วกบั นำ้ หนัก 1. การสอ่ื สาร 1. ใฝ่เรียนรู้
เปน็ ขดี 2. การคิด 2. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน
ตัวชวี้ ัด ป 3/9 3. การแกป้ ัญหา
1. ความรอบคอบ
เปรียบเทยี บนำ้ หนกั ระหว่าง 1. เครื่องตวง 1. การส่อื สาร 2. มวี นิ ยั
กิโลกรัมกับกรัม เมตริกตนั กบั กโิ ลกรัม 2. การตวง 2. การเปรียบเทียบ
จากสถานการณ์ตา่ ง ๆ 3. การเปรียบเทยี บ 3. การใช้ทกั ษะชีวติ
ตัวช้ีวดั ป 3/10
1. การคาดคะเน 1. การคาดคะเน
แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ 2. ความจุ 2. การสอ่ื สาร
ปัญหาเก่ยี วกบั นำ้ หนักท่ีมีหน่วยเปน็
กิโลกรัมกับกรมั เมตรกิ ตนั กับกโิ ลกรัม
ตวั ชี้วัด ป 3/11

เลอื กใชเ้ ครอื่ งตวงท่ีเหมาะสม
วัดและเปรียบเทยี บปริมาตร ความจเุ ปน็
ลิตรและมลิ ลลิ ติ ร
ตัวชวี้ ัด ป 3/12

คาดคะเนปรมิ าตรและความจุเปน็
ลิตร

สาระการเรียนร้แู กนกลาง 22

มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด ความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณลักษณะ
สมรรถนะ ทพ่ี ึงประสงค์
ตัวชวี้ ัด ป 3/13
แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ โจทยป์ ญั หาเก่ยี วกับปรมิ าตร 1. การสื่อสาร 1. ใฝ่เรียนรู้
และความจุ 2. การคดิ 2. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน
ปญั หาเก่ียวกบั ปริมาตรและความจุทมี่ ี 3. การแกป้ ัญหา
หน่วยเป็นลิตรและมิลลลิ ิตร

มาตรฐาน ค 2.2 1. รปู เรขาคณติ 1. การระบุ 1. ความรอบคอบ
เข้าใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณติ 2. รูปสมมาตร 2. การคดิ 2. ม่งุ มั่นในการทำงาน
3. แกนสมมาตร 3. การสื่อสาร
สมบัติของรปู เรขาคณิต ความสมั พันธ์
ระหว่างรูปเรขาคณิตและทฤษฎีบททาง
เรขาคณติ และการนำไปใช้
ตวั ชี้วดั ป 3/1

ระบรุ ปู เรขาคณิตสองมิตทิ ี่มแี กน
สมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ความรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง 23
ทักษะ กระบวนการ
สมรรถนะ คณุ ลกั ษณะ
ท่พี ึงประสงค์

สาระท่ี 3 สถติ ิและความนา่ จะเปน็ 1. การเขยี น 1. ความรอบคอบ
มาตรฐาน ค 3.1 2. การคดิ 2. ม่งุ มนั่ ในการทำงาน
3. การส่ือสาร
เขา้ ใจกระบวนการทางสถิตแิ ละใช้
ความรทู้ างสถิติในการแก้ปัญหา
ตวั ช้วี ดั ป 3/1

เขียนแผนภมู ิรูปภาพและใช้ขอ้ มูล แผนภูมริ ปู ภาพ
จากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของ
โจทย์ปัญหา

ตัวชวี้ ดั ป 3/2 1. การเขยี น 1. ความรอบคอบ
เขยี นตารางทางเดียวจากข้อมลู ตารางทางเดียว 2. การคิด 2. มุง่ ม่ันในการทำงาน
3. การสอ่ื สาร
ทเี่ ปน็ จำนวนนับ และใช้ข้อมูลจากตาราง
ทางเดียวในการหาคำตอบของโจทย์
ปญั หา

24

โครงสรา้ งรายวิชา
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา 200 ชั่วโมง จำนวน 5 หนว่ ยกติ

หนว่ ย ชื่อหน่วย สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนกั
ท่ี (ชม.)
สาระที่ 1 จำนวนและพชี คณิต 1. การอา่ นและการเขยี น
1 จำนวนนับฮาเฮ มาตรฐาน ค 1.1 ตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทย 15 12
และตัวหนงั สือแสดงจำนวน
เขา้ ใจความหลากหลาย 2. หลกั คา่ ของเลขโดดในแต่
ของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน ละหลกั และการเขียนตวั เลข
การดำเนินการของจำนวน ผลทเ่ี กิดขึน้ จากการ แสดงจำนวนในรปู กระจาย
ดำเนนิ การ สมบัติของการดำเนนิ การและ 3. การเปรยี บเทียบและ
นำไปใช้ เรียงลำดับจำนวน
ตวั ช้ีวดั ป 3/1 4. แบบรูปของจำนวนทีเ่ พิม่ ขึน้
หรอื ลดลงทลี ะเท่า ๆ กนั
อ่านและเขียนตวั เลขฮินดูอารบกิ ตัวเลข
ไทย และตวั หนังสือแสดงจำนวนนบั ไม่เกนิ
100,000 และ 0
ตัวช้วี ดั ป 3/2

เปรยี บเทียบและเรียงลำดบั จำนวนนบั ไม่
เกนิ 100,000 จากสถานการณ์ต่างๆ
มาตรฐาน ค 1.2

เขา้ ใจและวิเคราะหแ์ บบรปู
ความสมั พนั ธ์ ฟังกช์ ัน ลำดบั และอนุกรมและ
นำไปใช้
ตวั ช้ีวัด ป 3/1

ระบุจำนวนทห่ี ายไปในแบบรปู ของ
จำนวนทเี่ พ่ิมขนึ้ หรือลดลงทีละเทา่ ๆ กนั

25

หนว่ ย ช่อื หน่วย สาระ/มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนกั
ที่ (ชม.)

2 บวกลบหรรษา สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณิต 15 12

มาตรฐาน ค 1.1

เข้าใจความหลากหลาย 1. การหาผลบวก

ของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน 2. การหาผลลบ

การดำเนนิ การของจำนวน ผลทเี่ กดิ ขน้ึ จากการ 3. การหาคา่ ของตวั ไม่ทราบคา่

ดำเนนิ การ สมบตั ขิ องการดำเนนิ การและ ในประโยคสัญลักษณ์แสดงการ

นำไปใช้ บวกและประโยคสญั ลักษณ์

ตวั ชีว้ ดั ป 3/5 แสดงการลบ

หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค 4. โจทย์ปัญหาการบวก

สัญลักษณแ์ สดงการบวกและประโยคสัญลกั ษณ์ 5. โจทยป์ ญั หาการลบ

แสดงการลบของจำนวนนบั ไม่เกนิ 100,000 6. การสร้างโจทยป์ ญั หา

และ 0

3 เวลาพาเพลนิ สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณิต 15 12

มาตรฐาน ค 2.1

เข้าใจพน้ื ฐานเกี่ยวกับการวัด 1. การบอกเวลาเปน็ นาฬกิ า

วดั และคาดคะเนขนาดของสงิ่ ทต่ี อ้ งการวัดและ และนาที

นำไปใช้ 2. การอ่านและการเขียนบอก

ตวั ชี้วดั ป 3/2 เวลาทีม่ ีมหพั ภาค (.) หรอื

แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป์ ัญหา ทวภิ าค (:)

เกีย่ วกับเวลาและระยะเวลา 3. การบอกระยะเวลาเปน็

ชัว่ โมงและนาที

4. การเปรยี บเทยี บระยะเวลา

5. โจทยป์ ัญหาเกย่ี วกบั เวลา

และระยะเวลา

6. การอ่านและการเขยี น

บนั ทึกกจิ กรรมทีร่ ะบเุ วลา

26

หนว่ ย ช่อื หน่วย สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้ เวลา น้ำหนกั
ท่ี (ชม.)
สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณติ 1. รปู ท่มี แี กนสมมาตร
4 เรขาคณติ น่ารู้ มาตรฐาน ค 2.2 2. การประยกุ ต์ใช้รปู ทม่ี ี 7 5.6
แกนสมมาตร
เขา้ ใจและวเิ คราะหร์ ูปเรขาคณิต
สมบัตขิ องรูปเรขาคณิต ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งรปู
เรขาคณิตและทฤษฎบี ททางเรขาคณิตและ
การนำไปใช้
ตวั ชี้วดั ป 3/1

ระบุรปู เรขาคณิตสองมิติท่ีมแี กนสมมาตร
และจำนวนแกนสมมาตร

5 แผนภูมิรูปภาพ สาระที่ 3 สถติ แิ ละความน่าจะเปน็ 14 11.2

และตาราง มาตรฐาน ค 3.1

ทางเดียว เข้าใจกระบวนการทางสถติ แิ ละใช้ความรู้ 1. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู

ทางสถิตใิ นการแกป้ ัญหา และจำแนกข้อมลู

ตวั ชวี้ ัด ป 3/1 2. การอ่านและการเขยี น

เขียนแผนภมู ิรปู ภาพและใชข้ ้อมลู จาก แผนภมู ริ ูปภาพ

แผนภูมริ ูปภาพในการหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา 3. การอา่ นและการเขยี น

ตวั ชีว้ ัด ป 3/2 ตารางทางเดียว

เขยี นตารางทางเดยี วจากข้อมลู

ทเ่ี ปน็ จำนวนนบั และใช้ข้อมูลจากตารางทางเดยี ว

ในการหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา

6 เศษส่วน สาระท่ี 1 จำนวนและพชี คณิต 16 12.8
มาตรฐาน ค 1.1
1. การอา่ นและการเขียน
เขา้ ใจความหลากหลาย เศษส่วนทม่ี ีตวั เศษน้อยกว่า
ของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน หรอื เทา่ กับตัวส่วน
การดำเนนิ การของจำนวน ผลท่ีเกิดขน้ึ จากการ 2. การเปรยี บเทยี บและ
ดำเนนิ การ สมบัติของการดำเนนิ การและนำไปใช้ เรียงลำดบั เศษส่วนทีต่ ัวสว่ น
เทา่ กนั

27

หน่วย ชอ่ื หน่วย สาระ/มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนกั
ท่ี (ชม.)

ตวั ชว้ี ดั ป 3/3 3. การเปรยี บเทียบและ

บอก อา่ น และเขยี นเศษสว่ นแสดงปรมิ าณ เรียงลำดบั เศษส่วนทต่ี วั

ส่ิงตา่ ง ๆ และแสดงสง่ิ ต่าง ๆ ตามเศษสว่ นท่ีกำหนด เศษเท่ากนั

ตัวชว้ี ดั ป 3/4 4. การบวกและการลบ

เปรียบเทียบเศษส่วนท่ีตัวเศษเท่ากัน โดยท่ีตัว เศษส่วนทีม่ ีตวั ส่วนเทา่ กัน

เศษน้อยกวา่ หรอื เทา่ กับตวั สว่ น 5. โจทยป์ ัญหาการบวก

ตวั ชี้วัด ป 3/10 และโจทยป์ ญั หาการลบ

หาผลบวกของเศษสว่ นทม่ี ตี ัวสว่ นเทา่ กันและ เศษส่วนที่มตี ัวสว่ นเท่ากัน

ผลบวกไม่เกิน 1 และการหาผลลบของเศษส่วนทีม่ ี

ตวั ส่วนเท่ากัน

ตวั ชว้ี ดั ป 3/11

แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก

เศษส่วนที่มตี วั ส่วนเท่ากันและผลบวกไมเ่ กนิ 1 และ

โจทยป์ ญั หาการลบเศษสว่ นทม่ี ตี วั สว่ นเท่ากนั

7 คูณทรหด สาระท่ี 1 จำนวนและพีชคณิต 18 14.4

มาตรฐาน ค 1.1 1. การคณู จำนวน 1

เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน หลักกับจำนวนไม่เกิน 4

ระบบจำนวน การดำเนนิ การของจำนวน ผลที่เกดิ ขน้ึ หลกั

จากการดำเนนิ การ สมบตั ิของกาดำเนนิ การและ 2. การคูณจำนวน 2

นำไปใช้ หลกั กับจำนวน 2 หลกั

ตวั ชี้วัด ป 3/6 3. การพัฒนาความรูส้ กึ

หาคา่ ของตัวไมท่ ราบค่าในประโยคสญั ลักษณ์ เชงิ จำนวนเกย่ี วกบั การ

แสดงการคูณของจำนวน 1 หลัก กับจำนวนไมเ่ กนิ 4 คณู

หลักและจำนวน 2 หลกั กับจำนวน 2 หลกั 4. การหาคา่ ของตัว

ไม่ทราบค่าในประโยค

สญั ลักษณ์แสดงการคูณ

5. โจทย์ปญั หาการคูณ

และการสร้างโจทย์ปัญหา

การคูณ

รวมระหวา่ งภาค 80

ปลายภาค 20

28

กำหนดการสอน
( เปิดเรยี นในรูปแบบ On Site )

วนั / เดอื น /ปี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ / หน่วยย่อย จำนวนคาบ
14/06/64 หนว่ ยท่ี 1 จำนวนเตม็ 1
แบบทดสอบก่อนเรียนและปฐมนเิ ทศ
15/06/64 จำนวนนับไม่เกิน 100,000 1
16/06/64 1
17/06/64 จำนวนนบั ไม่เกิน 100,000 (ตอ่ ) 1

18/06/64 หลกั และค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั ของจำนวนนับเกิน 1
10,000
21/06/64 หลกั และคา่ ของเลขโดดในแต่ละหลักของจำนวนนบั เกนิ 1
22/06/64 100,000 1
23/06/64 การเปรยี บเทยี บจำนวน 1
24/06/64 การเรียงลำดับจำนวน 1
25/06/64 แบบรปู ของจำนวนท่เี พ่ิมข้ึนทีละเทา่ ๆ กัน 1
แบบรปู ของจำนวนที่ลดลงทลี ะเท่า ๆ กัน
แบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้

29

กำหนดการสอนประจำสัปดาห์
ภายใต้สถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3

สปั ดาห์ วนั เดอื นปี มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั เนื้อหาสาระ รปู แบบ ส่ือ/อุปกรณ์
ที่ (ตอ้ งรู้/ควรรู้) ON HAND หนังสอื เรยี น
1 30 มิ.ย. – การบวกจำนวนนบั ไม่เกนิ
2 ก.ค. 64 มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั (ต้องรู้) 100,000 และ 0 ใบความรู้
ค 1.1 ป.3/5 หาคา่ ของตัวไม่ทราบ แบบฝกึ ทกั ษะ

ค่าในประโยคสญั ลักษณ์แสดงการบวก ON HAND หนังสือเรยี น
และประโยคสัญลักษณ์แสดงการลบของ ใบความรู้
จำนวนนบั ไม่เกิน 100,000 และ 0 แบบฝกึ ทกั ษะ

2 5 – 10 มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด (ต้องร)ู้ การบวก การลบ และ ON HAND หนังสอื เรยี น
ใบความรู้
ก.ค. 64 ค 1.1 ป.3/5 หาค่าของตัวไม่ทราบ ความสมั พันธ์ระหว่าง แบบฝกึ ทกั ษะ

ค่าในประโยคสัญลักษณแ์ สดงการบวก การบวกและการลบ ON HAND หนงั สอื เรยี น
ใบความรู้
และประโยคสญั ลักษณ์แสดงการลบของ แบบฝกึ ทกั ษะ

จำนวนนบั ไม่เกิน 100,000 และ 0

3 12 – 17 มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ัด (ต้องรู)้ การแกโ้ จทย์ปัญหา

ก.ค. 64 ค 1.1 ป.3/9 แสดงวิธหี าคำตอบ การบวกและการลบ

ของโจทยป์ ญั หา 2 ข้ันตอน ของจำนวน

นบั ไมเ่ กนิ 100,000 และ 0

4 19 – 24 มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด (ควรร)ู้ รปู เรขาคณติ สองมิตแิ ละ

ก.ค. 64 ค 2.2 ป.3/1 ระบุรูปเรขาคณติ รูปที่มแี กนสมมาตร

สองมติ ทิ ี่มีแกนสมมาตรและจำนวนแกน

สมมาตร

5 27 – 31 มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด (ควรรู้) รปู เรขาคณิตในชวี ิต ON HAND หนังสือเรียน
ใบความรู้
ก.ค. 64 ค 2.2 ป.3/1 ระบุรูปเรขาคณติ ประจำวัน และ แบบฝึกทักษะ

สองมิตทิ ี่มแี กนสมมาตรและจำนวนแกน รูปทม่ี แี กนสมมาตร

สมมาตร

30

สปั ดาห์ วนั เดอื นปี มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด เน้ือหาสาระ รปู แบบ สอ่ื /อุปกรณ์
ที่ (ต้องรู/้ ควรรู้)
6 2–7 การเก็บรวบรวมข้อมลู ON HAND หนังสอื เรยี น
ส.ค. 64 มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั (ต้องร)ู้ การจำแนกขอ้ มูล ใบความรู้
ค 3.1 ป.3/1 เขยี นแผนภมู ริ ูปภาพ การอา่ นและการเขยี น แบบฝึกทกั ษะ

และใชข้ ้อมลู จากแผนภมู ิรูปภาพในการ แผนภูมิรูปภาพ
หาคำตอบของโจทย์ปัญหา

7 9 – 14 มาตรฐาน/ตวั ช้วี ัด (ควรรู้) การอา่ นและการเขียน ON HAND หนงั สอื เรียน

ส.ค. 64 ค 3.1 ป.3/2 เขยี นตารางทางเดยี ว ตารางทางเดยี ว ใบความรู้

จากข้อมลู ทีเ่ ปน็ จำนวนนับและใช้ข้อมลู (one – way – table) แบบฝกึ ทกั ษะ

จากตารางทางเดยี วในการหาคำตอบ

ของโจทย์ปัญหา

8 16 – 21 มาตรฐาน/ตัวชวี้ ัด (ต้องร)ู้ การบอกเวลาเป็นนาฬิกา ON HAND หนังสือเรียน

ส.ค. 64 ค 2.1 ป.3/2 แสดงวิธีหาคำตอบ และนาที ใบความรู้

ของโจทย์ปญั หาเก่ยี วกับเวลาและ การเขยี นบอกเวลาโดยใช้ แบบฝกึ ทกั ษะ

ระยะเวลา มหัพภาค(.) หรือ

ทวิภาค (:)

การบอกระยะเวลาเป็น

ชว่ั โมงและนาที

9 23 – 28 มาตรฐาน/ตัวชี้วดั (ต้องร้)ู การเปรียบเทยี บระยะเวลา ON HAND หนงั สอื เรยี น

ส.ค. 64 ค 2.1 ป.3/2 แสดงวิธีหาคำตอบ โดยใชค้ วามสัมพนั ธ์ ใบความรู้

ของโจทยป์ ัญหาเกย่ี วกับเวลาและ ระหว่างช่วั โมงกับนาที แบบฝกึ ทกั ษะ

ระยะเวลา การอ่านและการเขยี น

บนั ทกึ กจิ กรรมที่ระบุ

เวลา

สปั ดาห์ วันเดือนปี มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด เน้อื หาสาระ 31
ท่ี (ต้องร/ู้ ควรรู้)
10 30 ส.ค. – การแก้โจทยป์ ัญหา รปู แบบ สอื่ /อปุ กรณ์
3 ก.ย. 64 มาตรฐาน/ตวั ช้วี ดั (ต้องร)ู้ เกย่ี วกับเวลาและ ON HAND หนงั สือเรียน
ค 2.1 ป.3/2 แสดงวิธีหาคำตอบ ระยะเวลา
ใบความรู้
ของโจทย์ปญั หาเกีย่ วกบั เวลาและ แบบฝึกทกั ษะ
ระยะเวลา
ON HAND หนังสอื เรยี น
11 6 – 11 มาตรฐาน/ตัวชว้ี ัด (ต้องร)ู้ - เศษส่วนท่ีตัวเศษน้อย ใบความรู้
แบบฝกึ ทกั ษะ
ก.ย. 64 ค 1.1 ป.3/3 บอก อา่ น และเขยี น กว่าหรอื เทา่ กับตวั สว่ น

เศษสว่ นแสดงปรมิ าณสง่ิ ตา่ ง ๆ และ - การเปรยี บเทยี บและ

แสดงส่ิงตา่ ง ๆ ตามจำนวนเศษสว่ นที่ เรยี งลำดบั เศษสว่ น

กำหนด - การบวกและการลบ

ค 1.1 ป.3/4 เปรียบเทียบเศษส่วน เศษส่วน

ที่ตวั เศษเท่ากันโดยท่ตี วั เศษน้อยกว่า

หรือเทา่ กับตัวสว่ น

ค 1.1 ป.3/10 หาผลบวกของ

เศษสว่ นทม่ี ตี วั ส่วนเท่ากนั และผลบวกไม่

เกนิ ๑ และหาผลลบของเศษส่วนที่มีตัว

สว่ นเท่ากัน

12 13 – 18 ค 1.1 ป.3/11 แสดงวธิ หี าคำตอบของ การแกโ้ จทย์ปัญหาการ ON HAND หนงั สอื เรยี น

ก.ย. 64 โจทย์ปัญหาการบวกเศษสว่ นท่ีมตี ัวสว่ น บวกและโจทย์ ใบความรู้

เทา่ กันและผลบวกไมเ่ กิน ๑ และ ปญั หาการลบเศษสว่ น แบบฝึกทกั ษะ

โจทยป์ ญั หาการลบเศษสว่ นทีม่ ตี ัวสว่ น

เท่ากัน

13 20 – 25 ค 1.1 ป.3/6 หาค่าของตวั ไม่ทราบ - การคณู จำนวน 1 หลกั ON HAND หนงั สอื เรยี น

ก.ย. 64 ค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการคูณ กบั จำนวนไมเ่ กนิ 4 หลกั ใบความรู้

ของจำนวน ๑ หลักกบั จำนวนไม่เกนิ ๔ - การคณู จำนวน 2 หลกั แบบฝึกทักษะ

หลักและจำนวน ๒ หลกั กับจำนวน กบั จำนวน 2 หลัก

๒ หลกั

32

สัปดาห์ วันเดือนปี มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั เน้อื หาสาระ รูปแบบ สื่อ/อุปกรณ์
ท่ี (ต้องรู้/ควรรู้) ON HAND
14 27 ก.ย. – - การพฒั นาความรูส้ กึ เชิง หนังสอื เรียน
2 ต.ค. 64 ค 1.1 ป.3/6 หาค่าของตวั ไม่ทราบคา่ ใน จำนวนเกี่ยวกบั การคูณ ใบความรู้
ประโยคสญั ลกั ษณ์ แสดงการคูณของ - การหาคา่ ของตวั แบบฝึกทกั ษะ
จำนวน ๑ หลักกบั จำนวนไม่เกนิ ๔ ไม่ทราบคา่ ในประโยค
หลักและจำนวน ๒ หลกั กบั จำนวน สัญลกั ษณแ์ สดงการคูณ
๒ หลกั - โจทยป์ ัญหาการคูณและ
การสรา้ งโจทย์ปญั หา
การคณู

33

ตวั อยำ่ งแผนกำรจดั กำรเรยี นรู้

34

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 4

รายวชิ าคณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3 รหสั วิชา ค13101 ภาคเรียนท่ี 1

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เร่อื งจำนวนนับไม่เกนิ 100,000 เวลาเรียน 10 ช่ัวโมง

หน่อยยอ่ ยที่ 1.3 หลกั และค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลักของจำนวนนบั ไมเ่ กนิ 100,000 จำนวน 1 ชั่วโมง

สอนวนั ท่ี 18 เดือน มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 ผู้สอน นางสาวธนั ยพร ไชยรบ

มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของ

จำนวน ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการดำเนินการ สมบตั ขิ องการดำเนินการ และการนำไปใช้
ตัวชว้ี ดั
ค 1.1 ป.3/1 อา่ นและเขยี น ตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ ตัวเลขไทย และตวั หนงั สือ แสดงจำนวนนับไม่เกิน

100,000 และ 0

สาระสำคญั
หลกั เลขประกอบหลักหนว่ ย หลกั สิบ หลักร้อย หลกั พนั หลักหม่นื และหลักแสน โดยแต่ละหลักจะมี

ค่าประจำหลักเป็น 1, 10, 100, 1000, 10,000 และ 100,000 ตามลำดับ ทำให้เลขโดดที่อยู่หลักต่างกันของ
จำนวนนบั มคี ่าตา่ งกนั ยกเว้น 0 อยู่ในหลักใดกย็ ังมคี า่ เท่ากบั 0

จุดประสงค์การเรียนรู้ เมือ่ เรียนจบเรอื่ งน้ีแลว้ นกั เรยี นสามารถ
1. ด้านความรู้ (K)
บอกหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั ได้ถูกต้อง
2. ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P)
เขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจายไดถ้ ูกต้อง
3. ดา้ นคณุ ลักษณะ (A)
แสดงพฤตกิ รรมมีความม่งุ ม่ันในการทำงาน

สาระการเรยี นรู้
หลักและคา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั ของจำนวนนบั ไมเ่ กิน 100,000

35

กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขั้นนำเข้าสบู่ ทเรยี น
1. ครูทบทวนจำนวนนับไม่เกิน 100,000 โดยครูนำเสนอตัวอย่าง 20,496 โดยครูติดบัตรภาพหลัก

ลูกคดิ แสดงจำนวน 20,496 บนกระดานดงั น้ี

หม่นื พัน รอ้ ย สบิ หนว่ ย

ครูถามคำถามให้นกั เรียนชว่ ยกันตอบ ดังนี้
- บัตรภาพหลักลูกคดิ แสดงจำนวนใด (สองพันสี่ร้อยเก้าสิบหก)
- เขียนตัวเลขแสดงจำนวนได้อย่างไร (20,496 หรอื ๒๐,๔๙๖)
- 2,496 เขยี นในรูปกระจายไดอ้ ย่างไร (2,496 = 20,000 + 0 + 400 + 90 + 6)

ข้ันสอน
1. ครูกำหนดจำนวนห้าหลัก ให้นักเรียนช่วยกันใส่ลูกคิดแสดงจำนวนที่กำหนดให้ทีละจำนวน เช่น

38,047 62,365 ครูตรวจสอบความถูกต้อง แล้วครูตดิ บตั รภาพหลกั ลูกคิดทีแ่ สดงจำนวน 38,047 บนกระดาน

หมื่น พัน ร้อย สิบ หน่วย

36

ครูถามคำถามให้นักเรยี นชว่ ยกันตอบ ดงั นี้

- บัตรภาพหลกั ลกู คิดแสดงจำนวนใด (สามหมนื่ แปดพันสส่ี ิบเจด็ )

- เขียนตวั เลขแสดงจำนวนได้อย่างไร (38,047 หรอื ๓๘,๐๔๗)

- 38,047 เป็นจำนวนกี่หมื่น (3 หมื่น) กับกี่พัน (8 พัน) กับกี่ร้อย (0 ร้อย) กับกี่สิบ (4 สิบ)

กับกี่หนว่ ย (7 หนว่ ย)

- 3 อยใู่ นหลกั ใด (หลักหมื่น) มีค่าเทา่ ใด (30,000)

- 8 อยู่ในหลักใด (หลักพัน) มีคา่ เทา่ ใด (8,000)

- 0 อยใู่ นหลกั ใด (หลักรอ้ ย) มีคา่ เทา่ ใด (0)

- 4 อยใู่ นหลกั ใด (หลักสบิ ) มคี า่ เทา่ ใด (40)

- 7 อย่ใู นหลักใด (หลกั หนว่ ย) มีค่าเทา่ ใด (7)

- 38,047 เขียนในรปู กระจายไดอ้ ยา่ งไร (38,047 = 30,000 + 8,000 + 40 + 7)

2. ครแู นะนำการเขียน 62,365 ในรปู กระจายดงั น้ี 62,365 = 60,000 + 2,000 + 300 + 60 + 5

3. ครนู ำบัตรตัวเลข 7 77 777

77777

ติดบนกระดาน ใหน้ ักเรยี นสังเกตและคดิ ว่าถา้ นักเรยี นนำบตั รเหล่านัน้ มาวางซ้อนกันจะได้จำนวนใด
(77777 )

ขั้นสรปุ และฝึกทักษะ
1. ครูนำเสนอตัวอย่างจำนวนนับที่มากกวา่ 10,000 แต่น้อยกว่า 100,000 เช่น 40,740 บนกระดาน

ให้นกั เรยี นช่วยกันบอกคา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั ดงั น้ี
4 ในหลักหมนื่ มีคา่ เทา่ ใด (40,000)
0 ในหลักพนั มีคา่ เท่าใด (0)
7 ในหลักร้อยมคี า่ เท่าใด (700)
4 ในหลกั สิบมีค่าเท่าใด (40)
0 ในหลักหน่วยมคี า่ เทา่ ใด (0)

หลังจากนั้น ครูให้นกั เรยี นช่วยกนั ตอบคำถามตอ่ ไปน้ี

37

- 40,740 เขียนในรปู กระจายไดอ้ ย่างไร (40,740 = 40,000 + 700 + 40)
2. ครูติดบัตรภาพ 100,000 เป็นจำนวนหกหลกั เลขโดด 0 ในหลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย หลัก
พัน หลักหมน่ื มคี า่ เป็น 0 และเลขโดด 1 อยใู่ นหลักแสน มีคา่ 100,000
3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนใดๆ ในรูป
กระจาย เป็นการเขียนในรูปการบวกค่าของเลขโดดในหลักตา่ ง ๆ ของจำนวนน้นั และเลขโดดเดียวกนั ถ้าอยู่ใน
หลักต่างกันจะมีค่าต่างกัน ยกเว้น 0
4. ครใู หน้ ักเรียนทำใบกิจกรรมท่ี 3 เรอ่ื ง หลกั คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตวั เลขแสดง
จำนวนในรูปกระจาย

สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้
สอ่ื การเรยี นรู้
1. บตั รภาพ
2. บัตรตัวเลข
3. ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่อง หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวน
ในรูปกระจาย
4. หนังสอื เรยี นรายวชิ าคณิตศาสตรพ์ น้ื ฐานชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3 เลม่ 1 (สสวท.)

แหล่งการเรยี นรู้
1. หอ้ งสมดุ โรงเรียนหนองสำโรงวทิ ยา
2. www.google.com (คำค้น) : หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั และการเขียนตัวเลขแสดงจำนวน

ในรูปกระจาย

38

บนั ทกึ ผลหลังการสอน
ผลการจัดการเรียนรู้

ปัญหาและอปุ สรรค

แนวทางการแก้ไขปญั หา

ลงชอ่ื ............................................ (ผูส้ อน)
(นางสาวธันยพร ไชยรบ)

............/............../..............

ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะของครูพเี่ ลยี้ ง / หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์

ลงช่อื ............................................... (ครพู เ่ี ล้ยี ง)
(นางประยงค์ งามจิตร)

หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
............/............../..............

39

ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะของผู้บรหิ าร

ลงชอ่ื ............................................................
(นายรชตพล มีช้นั ชว่ ง)
รองผู้อำนวยการโรงเรียน
............/............../..............

ลงช่ือ ............................................................
(นายเชวง ช่ืนตา)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น

............/............../..............

40

การวดั และประเมินผล

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เคร่ืองมือ เกณฑ์การประเมิน
นกั เรยี นได้คะแนนระดบั
1. ดา้ นความรู้ (K) แบบสังเกต
นักเรียนสามารถบอกหลักและค่าของเลข การตอบคำถาม คุณภาพดีขึ้นไป

โดดในแตล่ ะหลักได้ถกู ต้อง 70% ขนึ้ ไป ถอื ว่า
ผ่านเกณฑ์การประเมิน
2. ดา้ นทักษะและกระบวนการ (P) ใบงานท่ี 3
นักเรยี นได้คะแนนระดบั
นักเรียนสามารถเขียนตัวเลขแสดงจำนวน เร่อื ง หลกั คา่ ของเลขโดด คณุ ภาพดีขึ้นไป

ในรปู กระจายได้ถูกตอ้ ง ในแตล่ ะหลกั และการเขยี น

ตวั เลขแสดงจำนวนในรูป

กระจาย

3. ดา้ นคุณลักษณะ (A) แบบสงั เกตพฤติกรรมดา้ น
นักเรียนแสดงพฤติกรรมมีความมุ่งมั่นใน คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

การทำงาน

41

แบบสงั เกตการตอบคำถามในช้นั เรยี น
วิชาคณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3

คำชแ้ี จง ทำเครอ่ื งหมาย ✓ ลงในชอ่ งระดับคะแนนพฤตกิ รรมทีน่ ักเรียนปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี

ระดับ 3 หมายถงึ แสดงพฤติกรรมใหเ้ ห็นมาก

ระดับ 2 หมายถึง แสดงพฤติกรรมให้เห็นปานกลาง

ระดบั 1 หมายถึง แสดงพฤติกรรมให้เห็นน้อย

รายการประเมิน

ที่ ชือ่ -สกุล สนใจและ ตอบคำถาม ตอบคำถาม รวมคะแนน การ หมาย
ตั้งใจฟัง ได้ตรง อย่าง ประเมินผล เหตุ
คำถาม ประเดน็ สมำ่ เสมอ

3 21321321 ผา่ น ไม่ผ่าน

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

คะแนนรวม ระดับคุณภาพ ลงช่อื ……………………………………………ผู้ประเมนิ
(นางสาวธนั ยพร ไชยรบ)
7 - 9 ดีมาก ………./………./……….

4 - 6 ดี

ต่ำกว่า 4 พอใช้

ระดับดีขึน้ ไปผ่านเกณฑ์

42

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
วิชาคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 3

คำชแี้ จง : ครผู ้สู อนสังเกตพฤตติกรรมของผเู้ รยี นโดยการขีดเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องว่างตรงกบั ความจรงิ

รายการประเมิน การ
ประเมนิ ผล
ที่ ชือ่ -สกุล มวี นิ ัย ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มน่ั การ รวมคะแนน หมาย
ทำงาน เหตุ

321321321 ผ่าน ไมผ่ า่ น

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ลงช่ือ...................................................ผปู้ ระเมนิ
(นางสาวธันยพร ไชยรบ)
คะแนนรวม ระดบั คณุ ภาพ ………./………./……….

7 - 9 ดีมาก

4 - 6 ดี

ตำ่ กว่า 4 พอใช้

ระดบั ดีขน้ึ ไปผา่ นเกณฑ์

43

ใบกิจกรรมท่ี 3

เร่อื ง หลกั ค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และการเขยี นตวั เลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย

คำช้แี จง ใหน้ กั เรียนบอกหลกั และค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลัก

ตวั อย่าง 62,613
6 อยู่ในหลกั หม่ืน มีค่า 60,000
2 อยู่ในหลัก พัน มีค่า 2,000
6 อยู่ในหลัก รอ้ ย มีค่า 600
1 อยู่ในหลัก สบิ มคี ่า 10
3 อยู่ในหลัก หน่วย มีค่า 3

3. 34,602 มีค่า 4. 98,05 มคี ่า
3 อยู่ในหลกั มคี ่า 3 อยู่ในหลกั มีค่า
4 อยู่ในหลัก มคี ่า 4 อยู่ในหลกั มคี ่า
6 อยู่ในหลกั มีค่า 6 อยู่ในหลัก มีค่า
0 อยู่ในหลกั มีค่า 0 อยู่ในหลกั มคี ่า
2 อยู่ในหลกั 2 อยู่ในหลกั

44

คำชี้แจง เขยี นตัวเลขแสดงจำนวนในรปู กระจาย
ตวั อย่าง 1. 21,231 = 20,000 + 1,000 + 200 + 30 + 1

2. 52,502 =
3. 34,675 =
4. 10,934 =

5. 53,788 =

ช่อื …………………………………………………………………………………………..เลขท…่ี …….…….ชนั้ ………………….

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 7 45
รายวชิ าคณติ ศาสตร์
กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 รหสั วิชา ค13101 ภาคเรยี นท่ี 1

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง จำนวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 เวลาเรยี น 10 ชั่วโมง
หนอ่ ยย่อยที่ 1.6 เรอ่ื ง แบบรปู ของจำนวนทเ่ี พ่มิ ข้นึ ทีละเทา่ ๆ กัน จำนวน 1 ชั่วโมง
สอนวันท่ี 23 เดือน มิถนุ ายน พ.ศ. 2564
ผ้สู อน นางสาวธันยพร ไชยรบ

มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชวี้ ดั
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวเิ คราะห์แบบรปู ความสมั พนั ธ์ ฟงั ก์ชัน ลำดับและอนกุ รม และนำไปใช้
ตวั ชี้วดั
ค 1.2 ป.3/1 ระบจุ ำนวนทห่ี ายไปในแบบรปู ของจำนวนทีเ่ พ่ิมข้ึนหรือลดลงทีละเท่า ๆ กัน

สาระสำคญั
แบบรูปของจำนวนทเ่ี พ่ิมขึ้นหรอื ลดลง ทลี ะเท่า ๆ กนั เปน็ ชดุ ของจำนวนทมี่ ีความสัมพนั ธ์กนั อย่าง

ต่อเนอื่ งในลกั ษณะทเี่ พ่ิมข้นึ หรอื ลดลงทีละเท่า ๆ กัน โดยชุดของจำนวนทเี่ รยี งลำดบั จากน้อยไปมาก หรือจาก
มากไปน้อย ซง่ึ ผลตา่ งของสองจำนวนท่อี ยตู่ ดิ กนั เทา่ กนั เสมอ

จุดประสงค์การเรยี นรู้ เม่อื เรียนจบเรอื่ งนแี้ ลว้ นักเรยี นสามารถ
1. ดา้ นความรู้ (K)
บอกจำนวนท่หี ายไปในแบบรูปของจำนวนทเ่ี พมิ่ ขน้ึ ทีละเท่า ๆ กันได้
2. ด้านทักษะและกระบวนการ (P)
เขยี นบอกจำนวนทหี่ ายไปในแบบรูปของจำนวนท่ีเพมิ่ ขน้ึ ทีละเท่า ๆ กนั ได้
3. ดา้ นคุณลกั ษณะ (A)
แสดงพฤตกิ รรมมคี วามมงุ่ มนั่ ในการทำงาน

สาระการเรียนรู้
แบบรูปของจำนวนทเ่ี พมิ่ ขึน้ ละเทา่ ๆ กัน

กิจกรรมการเรียนรู้
ข้นั นำเขา้ สูบ่ ทเรยี น
1. ครูกระตนุ้ ความสนใจของนักเรียนโดยการใหน้ ักเรียนดูบตั รตวั เลขแสดงจำนวน 5 ใบ ดังนี้

46

80 105 130 155 180

จากนั้นครูตั้งคำถามแล้วให้นักเรียนร่วมกันตอบว่า นักเรียนรู้หรือไม่ว่า จำนวนเหล่านี้มี
ความสัมพนั ธ์กันอย่างไร (เปน็ การเพิม่ ขน้ึ ทลี ะ 25)

2. ครูคอยกระตุ้นให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล โดยให้คำแนะนำว่าบัตรตัวเลขแสดง
จำนวนแต่ละใบตา่ งกันหรือเหมือนกันอย่างไร ถา้ ต่างกนั ตา่ งกันอย่างไร หรือถ้าเหมอื นกัน เหมือนกนั อยา่ งไร

ข้นั สอน
1. ครูตดิ แถบแบบรปู ของจำนวนทเ่ี พม่ิ ข้ึนทีละเท่า ๆ กัน บนกระดาน

แบบรปู ของจำนวนทลี่ ดลงทลี ะเทา่ ๆกัน

460 490 525 550 580

2,700 2,800 2,900 3,000

105 110 115 125

1,008 1,108 1,208 1,408

ใหน้ กั เรยี นสงั เกตและบอกสง่ิ ทร่ี ู้จากแถบแบบรปู ทีค่ รูติดบนกระดาน
ครูถามตอบกับนักเรียนถึงแบบรปู ของจำนวนทีล่ ดลงทีละเท่า ๆ กัน

2. ครูถามตอบกับนักเรยี นถงึ แบบรปู ของจำนวนทีเ่ พิ่มขึน้ ทีละเทา่ ๆ กนั
3. ครูอธบิ ายเกีย่ วกับแบบรปู ของจำนวนท่เี พิ่มขนึ้ ทลี ะเทา่ ๆ กัน

+3 +3 +3

30 27 24 18

30 27 24 เป็นแบบรูปของจำนวนทเ่ี พมิ่ ขนึ้ ทลี ะ 3
ดังนน้ั จำนวนท่ีหายไป คือ 21 เพราะ 24 เพ่ิมข้นึ 3 ได้


Click to View FlipBook Version