New ทำความเขา ใจ
มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
สาระภมู ศิ าสตร์
ในกลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม
( ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 )
คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ การออกแบบ วทิ ยาการคำนวณ ภมู ศิ าสตร์
Science และเทคโนโลยี Computing Science
Mathematics Geography
Design&Technology
คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระใดบ้างทีม่ กี ารปรับปรงุ
วทิ ยาศาสตร์
สงั คมศึกษา ภูมิศาสตร์ การออกแบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ศาสนา และ และเทคโนโลยี และการส่อื สาร
วัฒนธรรม
การงานอาชพี
และเทคโนโลยี
สาระท่ีไมไ่ ด้มีการปรับปรุง
มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชี้วัด (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) เป็นอย่างไร
กลุ่มสาระการเรยี นรู้: กลุ่มสาระการเรยี นรู้:
วทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร
• ลดทอนเนอื้ หา • ลดทอนเน้ือหา
• ปรับเลื่อนเน้อื หาระหวา่ งชน้ั • ปรับเล่ือนเนอื้ หาระหวา่ งชัน้
• เพม่ิ เนือ้ หาใหม่ • เพ่มิ เน้ือหาใหม่
• ม.ปลาย ยงั คงแยกออกเปน็ รายวชิ าพืน้ ฐาน • ม.ปลาย ยงั คงแยกออกเป็นรายวชิ าพื้นฐาน
กบั รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ตามหลกั สตู รแกนกลาง ’51 กบั รายวิชาเพ่ิมเตมิ ตามหลกั สตู รแกนกลาง ’51
• ย ้ายสาระที่ 2 (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
กลุ่มสาระการเรยี นรู้:
และสาระท ี่ 3 (เทคโนโลยีสารสนเทศและ สงั คมศกึ ษาฯ
การสอ่ื สาร) จากกลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงาน
อาชีพและเทคโนโลยี มารวมกบั กลมุ่ สาระ • ปรบั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ’51 สาระภมู ศิ าสตร์
การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ • เนน้ Geo - Literacy
5
โครงสร้างการจดั การเรยี นการสอน กล่มุ สาระ
ท่ีมกี ารปรบั ปรงุ เป็นอย่างไร
มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษา (รายวชิ าพน้ื ฐาน) (รายวชิ าเพิ่มเตมิ )
ตอนต้น
• คณิตศาสตร์ • คณิตศาสตร์
• คณิตศาสตร์ • คณิตศาสตร์ • วิทยาศาสตร์ • วิทยาศาสตร์
• วทิ ยาศาสตร์ • วิทยาศาสตร์ 1. วทิ ย์ฯ ชีวภาพ 1. ชีววิทยา
• วิทยาการ • การออกแบบ 2. วิทย์ฯ กายภาพ 2. เคมี
ค�ำนวณ และเทคโนโลย*ี (เคม)ี 3. ฟสิ ิกส์
• สงั คมศกึ ษา/ • วทิ ยาการ 3. วทิ ยฯ์ กายภาพ 4. โลก ดาราศาสตร์
ภูมิศาสตร์ คำ� นวณ* (ฟิสกิ ส)์ และอวกาศ
• สงั คมศกึ ษา/ 4. วทิ ยฯ์ โลก
ภมู ศิ าสตร์ และอวกาศ
• การออกแบบและ
เทคโนโลยี
• วทิ ยาการคำ� นวณ
• ภมู ิศาสตร์
* ชือ่ สาระ/ชอ่ื สื่อท่ีใชป้ ระกอบการเรียนการสอนอาจเรียกแตกตา่ งกนั
มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้วี ัด (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ใชเ้ มอ่ื ใด
ปกี า2ร5ศ6ึก1ษา ปีกา2ร5ศ6ึก2ษา ปีกา2ร5ศ6กึ3ษา
ประถมศึกษา ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
มธั ตยอมนศตกึ ้นษา ม.1 ม.2 ม.3 ม.1 ม.2 ม.3 ม.1 ม.2 ม.3
มตธั อยนมปศลึกาษยา ม.4 ม.5 ม.6 ม.4 ม.5 ม.6 ม.4 ม.5 ม.6
6
การบริหารจัดการหลกั สูตร
ของสถานศกึ ษาเปน็ อย่างไร
การบริหารจดั การหลักสตู รยงั เปน็ ไปตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
พุทธศกั ราช 2551
เป้าหมายการพัฒนาผเู้ รยี น ตวั ชี้วัด
รายวชิ าพื้นฐาน รายวิชาเพม่ิ เติม มัธปยรมะศถกึ มษศาึกตษอาน-ต้น มตัธอยนมปศลกึ าษยา
มาตรฐาน ผลการเรียนรู้ ตวั ช้ีวัด ตัวชว้ี ดั
การเรยี นรู/้ ชนั้ ปี ช้ันปี
ตัวชว้ี ัด
การจดั รายวชิ า 1 กลุ่มสาระ จดั 1 รายวิชา
1 กลุ่มสาระ จัด 1 รายวชิ า หรอื มากกวา่
ประถมศึกษา 1 กลุม่ สาระ จัด 1 รายวิชา หรอื มากกวา่
มธั ยมศกึ ษาตอนต้น เรยี นภาคเรยี นใด ปใี ด ขน้ึ อยู่กบั สถานศึกษา
มธั ยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มสาระคณติ ศาสตร์ เรียนอะไร
รายวชิ าพ้ืนฐาน รายวิชาเพิ่มเตมิ
ตวั ชีว้ ดั และสาระการเรียนรู้ ผลการเรยี นรแู้ ละสาระการเรยี นรู้เพิ่มเติม
สาระจำ� นวนและพชี คณติ
สาระที่ 1 จำ� นวนและพีชคณิต สาระการวัดและเรขาคณติ
สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณิต สาระสถิติและความน่าจะเปน็
สาระท่ี 3 สถิตแิ ละความนา่ จะเปน็ สาระแคลคูลสั
7
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ เรียนอะไร
รายวิชาพน้ื ฐาน รายวชิ าเพ่มิ เติม
ตัวช้วี ัดและสำระกำรเรียนรู้แกนกลำง ผลกำรเรยี นรแู้ ละสำระกำรเรยี นร้เู พม่ิ เตมิ
สำระชวี วิทยำ
สำระที่ 1 วิทยำศำสตร์ชีวภำพ สำระเคมี
สำระท่ี 2 วทิ ยำศำสตร์กำยภำพ สำระฟิสกิ ส์
สำระที่ 3 วทิ ยำศำสตร์โลก และอวกำศ สำระโลก ดำรำศำสตร์ และอวกำศ
สำระท่ี 4 เทคโนโลยี
สาระภมู ิศาสตร์ในกลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ เน้นอะไร
สำระที่ 1 ศำสนำ ศีลธรรม จริยธรรม
สำระท่ี 2 หนำ้ ทีพ่ ลเมือง
สำระท่ี 3 เศรษฐศำสตร์
สำระท่ี 4 ประวัตศิ ำสตร์
เนน้ กำรรู้เรอ่ื ง สำระที่ 5 ภมู ิศำสตร์ มำตรฐำน ส 5.1
ภูมิศำสตร์ Geo - มำตรฐำน ส 5.2
Literacy
8
กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
จัดล�ำดับของเนอื้ หาตาม
ความยาก - ง่ายและความซับซ้อน
เพ่ือให้เหมาะสมต่อพัฒนาการ
ของผเู้ รยี น
ตัดเนื้อหาบางเรอ่ื ง เนน้ การเชอื่ มโยง
ที่อาจจะซ้�ำซอ้ นกบั เนื้อหาคณิตศาสตร์
เนอื้ หาในวิชาอืน่ กับการแกป้ ญั หา
ในชวี ติ จริง
เพิ่มเตมิ เนื้อหาบางเรอ่ื ง
ทม่ี ีความจำ� เป็นส�ำหรบั
ผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น
เล่อื นไหลบางเนอ้ื หาใหม้ ี
ความเหมาะสมตอ่ ผเู้ รยี น
ในแต่ละระดบั ชนั้
9
ตัวอย่าง เปรียบเทยี บมาตรฐาน ตวั ชีว้ ัด สาระ ของกลมุ่ สาระคณิตศาสตร์
หลกั สตู รแกนกลาง ’51 กับ ฉบับปรบั ปรงุ ’60
ประเดน็ หลักสูตรแกนกลาง ’51 ฉบับปรบั ปรงุ ’60*
1 1. จำ� นวนและการดำ� เนนิ การ คณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน
การจดั กลมุ่ 2. การวดั 1. จำ� นวนและพชี คณติ
3. เรขาคณติ 2. การวดั และเรขาคณิต
สาระ 4. พชี คณติ 3. สถิตแิ ละความนา่ จะเปน็
การเรียนรู้ 5. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และความนา่ จะเปน็ คณติ ศาสตร์เพ่มิ เติม
6. ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. จ�ำนวนและพชี คณิต
2. การวดั และเรขาคณิต
3. สถติ ิและความน่าจะเป็น
4. แคลคูลสั
ประเด็น หลักสูตรแกนกลาง ’51 ฉบบั ปรบั ปรุง ’60
2 สาระการเรยี นรู้ กล่มุ ผ้เู รียน สาระการเรยี นรู้ กลมุ่ ผเู้ รียน
การกำ� หนดสาระ ป.1 - ม.6 1. จ�ำนวนและพชี คณติ ป.1 - ม.6
1. จำ� นวนและการดำ� เนนิ การ 2. การวดั และเรขาคณติ
การเรยี นรู้ 2. การวดั 3. สถติ ิและความนา่ จะเป็น
สำ� หรบั 3. เรขาคณติ
กลมุ่ ผู้เรยี น 4. พชี คณติ
5. ก ารวเิ คราะหข์ ้อมลู
และความนา่ จะเป็น สาระการเรียนรู้ กลุ่มผูเ้ รยี น
6. ท กั ษะและกระบวนการ
1. จำ� นวนและพชี คณิต
ทางคณิตศาสตร์
2. การวัดและเรขาคณติ ม.4 - ม.6
3. สถติ ิและความน่าจะเป็น (แผนการเรียน
วทิ ยาศาสตร์)
4. แคลคลู สั
ม.1 - ม.3, ม.4 - 6 แบง่ เป็นรายวชิ าพื้นฐาน ม.1 - ม.3, ม.4 - ม.6 แบง่ เป็นรายวิชาพ้นื ฐาน
และรายวชิ าเพม่ิ เตมิ และรายวิชาเพิ่มเติม
* สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง
พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551. (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2560)
10
ตัวอยา่ ง เปรียบเทยี บมาตรฐาน ตวั ชีว้ ดั สาระ ของกลุ่มสาระคณติ ศาสตร์
หลักสูตรแกนกลาง ’51 กับ ฉบบั ปรบั ปรงุ ’60
ประเด็น หลักสตู รแกนกลาง ’51 ฉบบั ปรับปรุง ’60
ไม่มี
3 • ช่วงเวลาในแต่ละวัน (ป.1)
การเปล่ยี นแปลง • จ�ำนวนวนั และชื่อวนั ในสัปดาห์ (ป.1)
• การนบั เพม่ิ ทลี ะ 3 ทลี ะ 4 ทลี ะ 25 ทลี ะ 50 (ป.3)
เนอ้ื หา • การนับลดทีละ 3 ทลี ะ 4 ทลี ะ 25 ทลี ะ 50 (ป.3)
• ตดั เนอ้ื หา • ทศิ (ป.6)
• การบอกต�ำแหน่งโดยใชท้ ิศ (ป.6)
• ระบบตวั เลขฐานต่าง ๆ (ม.1)
• การวาด หรอื ประดิษฐ์รปู เรขาคณิตสามมิติที่
ประกอบขนึ้ จากลกู บาศก์ เมอื่ กำ� หนดภาพ
สองมิติที่ไดจ้ ากการมองด้านหน้า ด้านขา้ ง
และดา้ นบน (ม.1)
• การให้เหตผุ ล (ม.4 - 6)
• ทฤษฎีจำ� นวนเบอ้ื งต้น (ม.4 - 6)
• กำ� หนดการเชงิ เสน้ (ม.4 - 6)
• การสำ� รวจความคดิ เหน็ (ม.4 - 6)
• ความสัมพนั ธ์ระหว่างข้อมูล (ม.4 - 6)
• ทฤษฎกี ราฟเบอ้ื งตน้ (ม.4 - 6)
11
ตัวอย่าง เปรยี บเทียบมาตรฐาน ตวั ช้ีวดั สาระ ของกลุ่มสาระคณิตศาสตร์
หลักสตู รแกนกลาง ’51 กับ ฉบับปรบั ปรุง ’60
ประเดน็ หลกั สูตรแกนกลาง ’51 ฉบับปรบั ปรุง ’60
• เพิ่มเนอ้ื หา
• การบอกอันดับท่ี (ป.1)
• ก ารแสดงจำ� นวนนบั ไมเ่ กนิ 20 ในรปู ความสมั พนั ธ์
ของจำ� นวนแบบสว่ นยอ่ ย - สว่ นรวม
(Part - Whole Relationship) (ป.1)
• ก ารวัดและเปรียบเทียบปริมาตรและความจุ
เปน็ ชอ้ นชา ชอ้ นโตะ๊ ถ้วยตวง (ป.2)
• แ บบรูปของจ�ำนวนทเ่ี กดิ จากการคูณ การหาร
ไมม่ ี ดว้ ยจำ� นวนเดยี วกัน (ป.3)
• การเขยี นตารางทางเดียว (ป.3)
• ระนาบ (ป.4)
• การอา่ นตารางสองทาง (ป.4)
• ความยาวรอบรปู และพนื้ ทขี่ องรปู หลายเหลีย่ ม
(ป.6)
• ค�ำถามทางสถิติ (ม.1)
• แผนภาพจดุ (ม.2)
• ดอกเบ้ียและมลู คา่ ของเงนิ (ม.5 พืน้ ฐาน)
• การแจกแจงความนา่ จะเปน็ เบอ้ื งตน้ (ม.6 เพม่ิ เตมิ )
12
ตัวอยา่ ง เปรยี บเทยี บมาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระ ของกลุ่มสาระคณิตศาสตร์
หลักสูตรแกนกลาง ’51 กับ ฉบับปรบั ปรุง ’60
ประเดน็ หลกั สตู รแกนกลาง ’51 ฉบบั ปรับปรงุ ’60
• การเล่อื นไหล • ความหมายเศษส่วน การเขียน และการอ่าน • ความหมายเศษสว่ น การเขยี น และการอา่ น
ของเนอ้ื หา เศษส่วน (ป.4) เศษสว่ น (ป.3)
• เปรยี บเทยี บและเรยี งลำ� ดับเศษสว่ นที่มตี วั ส่วน • เ ปรียบเทยี บและเรียงลำ� ดับเศษสว่ นที่ตวั เศษ
เท่ากัน (ป.4) เทา่ กนั โดยทต่ี วั เศษนอ้ ยกวา่ หรอื เทา่ กบั ตวั สว่ น
• การบวกและการลบเศษส่วนทีม่ ตี ัวสว่ นเทา่ กนั (ป.3)
(ป.4) • การบวกและการลบเศษสว่ นทีม่ ตี วั ส่วนเท่ากัน
• ความหมายเศษสว่ น การเขียน และการอ่าน (ป.3)
เศษสว่ นแท้ เศษเกิน จ�ำนวนคละ (ป.5) • ค วามหมายเศษสว่ น การเขยี น และการอา่ น
• เศษส่วนทเ่ี ท่ากับจำ� นวนนับ เศษสว่ นทเ่ี ทา่ กัน เศษสว่ นแท้ เศษเกิน จ�ำนวนคละ (ป.4)
เศษส่วนอยา่ งต�่ำ (ป.5) • เศษส่วนที่เทา่ กนั เศษส่วนอยา่ งต่ำ� และเศษสว่ น
• ก ารเปรยี บเทยี บและเรยี งลำ� ดบั เศษสว่ นทต่ี วั สว่ น ทเ่ี ทา่ กบั จำ� นวนนบั (ป.4)
ตวั หนึ่งเป็นพหุคูณของตวั ส่วนอกี ตวั หนึง่ (ป.5) • การเปรยี บเทยี บและเรยี งลำ� ดบั เศษสว่ นทต่ี วั สว่ น
• การบวก การลบเศษส่วนท่ีตัวสว่ นตวั หนงึ่ เปน็ ตวั หนึง่ เป็นพหคุ ณู ของตัวส่วนอีกตัวหนึ่ง (ป.4)
พหคุ ูณของตัวส่วนอีกตวั หนงึ่ (ป.5) • การบวก การลบเศษสว่ นทตี่ ัวสว่ นตวั หน่งึ เปน็
• เศษส่วนของพหนุ าม (ม.2, ม.3) พหคุ ณู ของตวั สว่ นอีกตวั หนงึ่ (ป.4)
• อัตราสว่ นตรโี กณมิติ (ม.4 - 6) • เศษส่วนของพหนุ าม (ม.4 เพิ่มเติม)
• แผนภาพต้น - ใบ (ม.4 - 6) • อัตราส่วนตรโี กณมิติ (ม.3)
• แผนภาพกลอ่ ง (ม.4 - 6) • แผนภาพต้น - ใบ (ม.2)
• แผนภาพกล่อง (ม.3)
ประเด็น หลักสตู รแกนกลาง ’51 ฉบับปรับปรุง ’60
• ลดความ • ทิศและแผนผงั (คณิต, สังคม) • ทิศและแผนผงั (สังคม)
ซ�้ำซ้อน • ตวั หารรว่ มมากและตวั คณู รว่ มนอ้ ย (ป.6, ม.1) • ตวั หารรว่ มมากและตวั คณู ร่วมนอ้ ย (ป.6)
ของเนอ้ื หา
13
กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560)
สาระการเรยี นรู้
• จัดกลุม่ สาระการเรยี นรู้ใหม่
• เปลย่ี นชือ่ สาระการเรียนรู้
• แบ่งออกเป็นสาระการเรยี นรพู้ ื้นฐานกบั
สาระการเรยี นร้เู พม่ิ เตมิ
• นำ� สาระเทคโนโลยี (จากกลุ่มสาระฯ การงานอาชีพฯ)
มารวมกบั กลุ่มสาระฯ วทิ ยาศาสตร์
เนอื้ หา
• เน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทกั ษะในศตวรรษท่ี 21
• เน้นความรู้ทีท่ ันสมยั สอดคล้องต่อการด�ำรงชีวติ ในปจั จุบนั และอนาคต
ลดความซ้ำ� ซอ้ น โยกยา้ ยเน้ือหา เพิ่มเนอ้ื หา ตัดเนอื้ หา/
ของเนื้อหา ข้ามระดับชัน้ / ทที่ นั สมยั ลดทอนเนือ้ หา
ข้ามวชิ า ทย่ี าก
14
หลกั สูตร กลมุ่ สาระการเรียนรู้
แกนกลาง การงานอาชพี และเทคโนโลยี
’51
สาระท่ี 2 การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐานฯ
สาระที่ 3 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร และตัวชี้วดั กลุ่มสาระการเรยี นรู้
(ฉบับปรับปรุง ’60) วิทยาศาสตร์
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 มาตรฐาน ว 4.2
การออกแบบและเทคโนโลยี ม.1 - ม.5 วิทยาการคำ� นวณ ป.1 - ม.6
เรยี นรู้และทำ� ความ ลงมือปฏิบตั โิ ดยใช้ รวบรวมขอ้ มลู ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
เข้าใจเทคโนโลยี กระบวนการออกแบบ ประมวลผล ประเมนิ ผล และการส่อื สารอยา่ ง
(Design process) ขอ้ มลู หรอื สารสนเทศ
เพอื่ แกป้ ญั หาในชวี ติ จรงิ ปลอดภยั
ความรแู้ ละ กระบวนการ ICT
ความเขา้ ใจ Digital
D&T CS Literacy
ความรู้และทกั ษะ Computing
พ้นื ฐานเฉพาะดา้ น Science
เรียนรู้และฝึกทักษะการใช้ แกป้ ัญหาอย่างเปน็ ขน้ั ตอนและ
เครื่องมอื พืน้ ฐานเฉพาะดา้ น เปน็ ระบบ ใชแ้ นวคดิ เชงิ คำ� นวณ
อย่างถูกตอ้ งและปลอดภัย ในการแกป้ ญั หาในชีวติ ประจ�ำวัน
15
ตวั อย่าง เปรยี บเทยี บมาตรฐาน ตวั ช้วี ัด สาระ ของกลุ่มสาระวทิ ยาศาสตร์
หลกั สตู รแกนกลาง ’51 กับ ฉบบั ปรับปรุง ’60
ประเดน็ หลกั สตู รแกนกลาง ’51 ฉบับปรบั ปรงุ ’60*
1 กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ประกอบด้วย จดั กลมุ่ สาระการเรยี นรใู้ หม่ เปลยี่ นชอื่ สาระการเรยี นรู้
การจัดกลมุ่ 8 สาระ ดงั น้ี ดังน้ี
1. สง่ิ มชี วี ติ กบั กระบวนการดำ� รงชวี ติ • มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั (รายวชิ าพนื้ ฐาน)
สาระ 2. ชวี ติ กบั สง่ิ แวดลอ้ ม 1. วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ
การเรียนรู้ 3. สารและสมบตั ขิ องสาร 2. วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
4. แรงและการเคลอื่ นที่ 3. วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ
5. พลงั งาน 4. เทคโนโลยี
6. กระบวนการเปลยี่ นแปลงของโลก • ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าเพ่ิมเตมิ )
7. ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1. สาระชวี วิทยา
8. ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2. สาระเคมี
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3. สาระฟสิ กิ ส์
ประกอบดว้ ย 4 สาระ ดงั น้ี 4. สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
1. การดำ� รงชวี ติ และครอบครวั
2. การออกแบบและเทคโนโลยี
3. เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
4. การอาชพี
* สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ
พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551. (กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2560)
16
ตวั อย่าง เปรียบเทียบมาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระ ของกลุม่ สาระวทิ ยาศาสตร์
หลกั สตู รแกนกลาง ’51 กับ ฉบบั ปรบั ปรุง ’60
ประเด็น หลักสตู รแกนกลาง ’51 ฉบบั ปรับปรงุ ’60
2 สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ (รายวชิ าพื้นฐาน)
การกำ� หนดสาระ 1. วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ
1. สงิ่ มชี วี ติ กบั กระบวนการด�ำรงชีวติ 2. วิทยาศาสตร์กายภาพ (เคมี)
การเรยี นรู้ 2. ชีวติ กับสิง่ แวดลอ้ ม 3. วิทยาศาสตรก์ ายภาพ (ฟสิ ิกส)์
สำ� หรบั 3. สารและสมบัตขิ องสาร 4. วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ
กล่มุ ผ้เู รยี น 4. แรงและการเคลื่อนท่ี 5. การออกแบบและเทคโนโลยี
5. พลังงาน 6. วิทยาการคำ� นวณ
6. ก ระบวนการเปล่ียนแปลงของโลก
7. ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ สาระการเรยี นรู้ (รายวชิ าเพม่ิ เตมิ )
8. ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สาระชวี วทิ ยา
สาระเคมี
สาระฟิสกิ ส์
สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
17
ตัวอยา่ ง เปรียบเทยี บมาตรฐาน ตวั ชีว้ ัด สาระ ของกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
หลักสตู รแกนกลาง ’51 กบั ฉบบั ปรบั ปรุง ’60
วิชาวทิ ยาศาสตร์ ฉบบั ปรับปรุง ’60
ไมม่ ี
ประเดน็ หลักสูตรแกนกลาง ’51
3 • อาหารและสารเสพตดิ (ม.2)
การเปลีย่ นแปลง • การเคลอ่ื นทแ่ี บบหมุน
(ฟิสิกส์ เพ่มิ เตมิ ม.5)
เนอ้ื หา • วิวัฒนาการของมนุษย์
• ตดั เนอ้ื หา (ชวี วทิ ยา เพม่ิ เติม ม.5)
• การวเิ คราะหด์ เี อน็ เอและการศกึ ษาจีโนม
(ชีววทิ ยา เพิ่มเติม ม.5)
ประเด็น วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ฉบบั ปรับปรุง ’60
• เพม่ิ เนอ้ื หา
หลักสูตรแกนกลาง ’51
• การส�ำรวจพชื และสตั ว์ในบริเวณตา่ ง ๆ (ป.1)
• กล่มุ สิง่ มชี ีวติ ที่ไม่ใช่พืชและไม่ใชส่ ัตว์ (ป.4)
• มวลของวัตถุท่ีมีผลต่อการเปลีย่ นแปลง
การเคล่ือนที่ของวตั ถุ (ป.4)
• สารสงั เคราะห์จากพืช
(วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ พนื้ ฐาน ม.4)
• สารประกอบอนิ ทรยี ์
ไม่มี (วทิ ยาศาสตร์กายภาพ (เคม)ี พนื้ ฐาน ม.5)
• ทกั ษะและความปลอดภัยในปฏิบตั กิ ารเคมี
(เคมี เพิ่มเตมิ ม.4)
• พลงั งานทดแทน เทคโนโลยีด้านพลังงาน
(ฟิสกิ ส์ เพิ่มเติม ม.6)
18
ตัวอย่าง เปรยี บเทยี บมาตรฐาน ตวั ชวี้ ดั สาระ ของกลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตร์
หลักสตู รแกนกลาง ’51 กบั ฉบับปรับปรุง ’60
วิชาวิทยาศาสตร์
ประเด็น หลกั สูตรแกนกลาง ’51 ฉบับปรับปรุง ’60
• การเลอื่ นไหล • ลักษณะของสงิ่ มชี ีวิตและส่งิ ไมม่ ชี ีวิต (ป.1) • ลักษณะของสง่ิ มีชวี ิตและสงิ่ ไมม่ ชี วี ิต (ป.2)
ของเนอ้ื หา • แรงโน้มถว่ งของโลก (ป.3) • แรงโน้มถว่ งของโลก (ป.4)
• การขึน้ ตกของดวงจนั ทร์ (ป.3) • การขึ้นตกของดวงจันทร์ (ป.4)
• เสียงและทิศทางของเสียง (ป.5) • การเกดิ เสยี งและทศิ ทางของเสยี ง (ป.1)
• สัตวม์ ีกระดกู สนั หลงั และสัตว์ไมม่ กี ระดูกสันหลงั • สตั วม์ ีกระดกู สนั หลงั และสัตว์ไม่มีกระดูกสนั หลัง
(ป.5) (ป.4)
• พืชดอกและพืชไมม่ ดี อก (ป.5) • พืชดอกและพชื ไม่มีดอก (ป.4)
• วฏั จกั รชวี ติ ของพชื ดอก (ป.5) • วฏั จกั รชีวิตของพชื ดอก (ป.2)
• ปจั จัยทจี่ �ำเป็นต่อการเจรญิ เตบิ โตของคน • ปัจจัยทีจ่ �ำเป็นต่อการเจรญิ เตบิ โตของคน
และสตั ว์ (ป.2) และสตั ว์ (ป.3)
• วฏั จกั รชวี ติ ของสตั ว์ (ป.5) • วัฏจกั รชวี ิตของสัตว์ (ป.3)
• สมบัตทิ างกายภาพของวัสดุ (ป.5) • สมบตั ิทางกายภาพของวสั ดุ (ป.4)
• สมบตั ิของสสารทั้ง 3 สถานะ (ป.6) • สมบัติของสสารทงั้ 3 สถานะ (ป.4)
• การเปลย่ี นสถานะของสาร (ป.6) • การเปล่ียนสถานะของสาร (ป.5)
• ขา้ งข้นึ ข้างแรม (ป.6) • การปรากฏของดวงจันทร์ (ป.4)
• การเคล่อื นที่ของแสงจากแหล่งกำ� เนิดแสง (ป.4) • การเคล่ือนทีข่ องแสงจากแหลง่ กำ� เนิดแสง (ป.2)
• แสง (ม.2) • แสง (ม.3)
• ของแขง็ ของเหลว แก๊ส (เคมี เพ่ิมเติม ม.4) • ของแขง็ ของเหลว แกส๊ (เคมี เพม่ิ เติม ม.5)
• สภาพยืดหยนุ่ (ฟิสิกส์ เพิม่ เติม ม.4) • สภาพยืดหยนุ่ (ฟสิ ิกส์ เพ่ิมเตมิ ม.6)
• คล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟา้ (ฟสิ ิกส์ เพม่ิ เตมิ ม.5) • คล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟา้ (ฟิสกิ ส์ เพิ่มเติม ม.6)
19
ตัวอย่าง เปรียบเทียบมาตรฐาน ตวั ช้ีวดั สาระ ของกลุ่มสาระวทิ ยาศาสตร์
หลักสูตรแกนกลาง ’51 กับ ฉบับปรบั ปรงุ ’60
วิชาวิทยาศาสตร์
ประเดน็ หลักสูตรแกนกลาง ’51 ฉบับปรับปรุง ’60
• ลดความ • พลังงานนวิ เคลียร์ (ฟิสกิ ส์ เพิม่ เติม ม.6, • พลงั งานนวิ เคลยี ร์ (ฟสิ กิ ส์ เพ่ิมเตมิ ม.6)
ซ�้ำซอ้ น เคมี เพมิ่ เติม ม.4) • สารชีวโมเลกุล (ชีววิทยา เพมิ่ เตมิ ม.4)
ของเนอ้ื หา • สารชวี โมเลกุล (ชวี วิทยา เพ่มิ เติม ม.4, • ปโิ ตรเลยี ม (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
เคมี เพมิ่ เติม ม.6) เพิม่ เติม ม.4)
• ปิโตรเลยี ม (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
เพมิ่ เติม ม.4, เคมี เพมิ่ เตมิ ม.6)
วิชาการออกแบบและเทคโนโลยี*
ประเด็น หลกั สูตรแกนกลาง ’51 ฉบับปรับปรุง ’60
• ช่ือวชิ า • การออกแบบและเทคโนโลยี • การออกแบบและเทคโนโลยี
• เป้าหมาย กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ย้ายมาเป็นสาระที่ 4 เทคโนโลยี ในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
• เขา้ ใจเทคโนโลยเี พอ่ื นำ� ไปออกแบบสรา้ งสงิ่ ของ • เขา้ ใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยี เพอื่ นำ� ไปใช้
อยา่ งสรา้ งสรรค์ ในการดำ� รงชวี ติ ในสงั คมทม่ี กี ารเปลยี่ นแปลง
• เลอื กใชเ้ ทคโนโลยใี นทางสรา้ งสรรคต์ อ่ ชวี ติ อยา่ งรวดเรว็
สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม • ใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะของวชิ าวทิ ยาศาสตร์
คณติ ศาสตร์ และวชิ าอน่ื ๆ มาใชใ้ นการแกป้ ญั หา
หรอื พฒั นางานดว้ ยกระบวนการออกแบบ
เชงิ วศิ วกรรม
• เลอื กใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสม โดยคำ� นงึ ถงึ
ผลกระทบตอ่ ชวี ติ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม
* ช่อื สาระ/ชื่อส่ือที่ใชป้ ระกอบการเรยี นการสอนอาจเรียกแตกต่างกนั
20
ตัวอย่าง เปรียบเทยี บมาตรฐาน ตวั ชี้วดั สาระ ของกลมุ่ สาระวิทยาศาสตร์
หลักสูตรแกนกลาง ’51 กับ ฉบบั ปรับปรงุ ’60
วชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี
ประเด็น หลกั สูตรแกนกลาง ’51 ฉบับปรบั ปรุง ’60
• จุดเน้นของ • ฝกึ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละเครอื่ งมอื เพอ่ื สรา้ งสรรคช์ นิ้ งาน • ฝกึ ทกั ษะการแกป้ ญั หา การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ
วชิ า ความคดิ สรา้ งสรรค์ การคดิ เชงิ ระบบ เพอื่ พฒั นา
นวตั กรรม หรอื เทคโนโลยดี ว้ ยกระบวนการออกแบบ
เชงิ วศิ วกรรม
• เนน้ การบรู ณาการความรกู้ บั ศาสตรต์ า่ ง ๆ โดยเฉพาะ
วชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ ง
กับนโยบายประเทศไทย 4.0
• เลือกใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ และเครอ่ื งมอื ไดอ้ ย่าง
ถูกตอ้ งและปลอดภัย
• สาระหลัก แบง่ ตามกลมุ่ เนอ้ื หาได้ 3 กลมุ่ ดงั นี้ แบง่ ตามกลมุ่ ความรไู้ ด้ 3 กลมุ่ ดงั นี้
• ธรรมชาตขิ องเทคโนโลยี • ความรู้ ความเขา้ ใจ
• กระบวนการเทคโนโลยี • กระบวนการ
• การเลอื กใชเ้ ทคโนโลยี • ความรแู้ ละทกั ษะเฉพาะดา้ น
• การก�ำหนด ตวั ชวี้ ดั เนน้ ตวั ชว้ี ดั เนน้
ตวั ชว้ี ัด • การบอก • ฝกึ ทกั ษะปฏบิ ตั ิ
• การอธบิ าย หรอื อภปิ ราย • ฝกึ ทกั ษะการแกป้ ญั หา
• ฝกึ ทกั ษะการคดิ
• การเชื่อมโยง ไม่ได้ระบเุ ก่ยี วกบั การเชือ่ มโยงความรูใ้ นวิชาอน่ื • การประยกุ ต์ใช้ความรู้และทกั ษะเพ่อื แกป้ ญั หา
กบั วิชาอืน่ หรอื พัฒนางานผา่ น Project - Based หรอื
• ทกั ษะใน ตวั ชวี้ ดั ไม่ไดเ้ ชื่อมโยงกับทกั ษะในศตวรรษที่ 21 Problem - Based
ศตวรรษท่ี 21 ตวั ชวี้ ดั ไดร้ ะบเุ กย่ี วกบั การเชอื่ มโยงความรกู้ บั วชิ าอน่ื
ตวั ชวี้ ดั เนน้ ทกั ษะในศตวรรษที่21 เชน่ การแกป้ ญั หา
ความคิดสรา้ งสรรค์ การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ
เป็นตน้
21
ตัวอยา่ ง เปรยี บเทยี บมาตรฐาน ตวั ชี้วดั สาระ ของกลุ่มสาระวทิ ยาศาสตร์
หลกั สตู รแกนกลาง ’51 กับ ฉบบั ปรับปรุง ’60
วชิ าวิทยาการคำ� นวณ*
ประเด็น หลักสูตรแกนกลาง ’51 ฉบับปรบั ปรุง ’60
• ชอื่ วชิ า • เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร • วิทยาการคำ� นวณ
• เปา้ หมาย กล่มุ สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ย้ายมาเป็นสาระท่ี 4 เทคโนโลยี ในกลุ่มสาระ
การเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์
เ นน้ ใหผ้ ู้เรยี นใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและ • เ นน้ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถคดิ วเิ คราะห์ แกป้ ญั หาอยา่ งเปน็
การสอ่ื สารในการแกป้ ญั หา และการสรา้ งชนิ้ งาน ขั้นตอนและเป็นระบบ
อย่างเหมาะสมและมีจรยิ ธรรม • เนน้ ให้ผูเ้ รยี นมที กั ษะในการค้นหาขอ้ มลู
หรอื สารสนเทศ ประเมนิ จัดการ วเิ คราะห์
สังเคราะห์ ข้อมูล
• เ นน้ ใหผ้ เู้ รยี นนำ� สารสนเทศไปใชใ้ นการแกป้ ญั หา
ประยุกต์ใชค้ วามรู้ในการแกป้ ญั หาในชีวิตจริง
• เ นน้ ให้ผู้เรียนท�ำงานร่วมกันอยา่ งสร้างสรรค์
เพือ่ ประโยชน์ต่อตนเอง หรอื สงั คม
• เ นน้ ให้ผู้เรยี นใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ ง
ปลอดภยั รเู้ ทา่ ทนั มคี วามรบั ผดิ ชอบ มจี รยิ ธรรม
• จุดเนน้ ของ • เน้นใหผ้ เู้ รยี นสามารถเลือกใช้ฮาร์ดแวรแ์ ละ • เน้นให้ผู้เรียนมที กั ษะการคดิ วเิ คราะห์ การแก้
วชิ า ซอฟต์แวร์ได้อยา่ งเหมาะสม ปัญหาอย่างเปน็ ขน้ั ตอน และสร้างทางเลอื กใน
• เนน้ ให้ผเู้ รียนมีจริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยี การตดั สินใจ
สารสนเทศ • เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นนำ� สารสนเทศไปใชใ้ นการแกป้ ญั หา
• เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นมที กั ษะการแกป้ ญั หาผา่ นการเขยี น • เนน้ ให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้แนวคิดเชงิ คำ� นวณ
โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ เพือ่ แก้ปัญหาในชีวติ จริง
• เน้นให้ผเู้ รยี นใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สอื่ สารอย่างปลอดภยั
* ชือ่ สาระ/ชือ่ สือ่ ท่ีใชป้ ระกอบการเรียนการสอนอาจเรยี กแตกต่างกัน
22
ตวั อยา่ ง เปรยี บเทยี บมาตรฐาน ตัวชี้วัด สาระ ของกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
หลักสูตรแกนกลาง ’51 กบั ฉบับปรบั ปรงุ ’60
วชิ าวิทยาการคำ� นวณ
ประเดน็ หลกั สูตรแกนกลาง ’51 ฉบบั ปรับปรงุ ’60
• สาระหลัก แบง่ ตามกลุ่มเนือ้ หาได้ 3 กลุ่ม ดังน้ี แบง่ ตามกลุม่ ความรูไ้ ด้ 3 กลุม่ ดงั น้ี
• ข้อมูลและสารสนเทศ • วิทยาการคอมพวิ เตอร ์
• ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และเครือขา่ ย • เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
• การแกป้ ญั หา • การรดู้ จิ ทิ ลั
• การก�ำหนด • ตวั ชี้วดั ขาดการเชือ่ มโยงในทุกช้นั ปี เพราะได้ • ต ัวชี้วัดเนน้ วัดทักษะการคิด วิเคราะห์ในกลุ่ม
ตัวช้วี ดั กำ� หนดตามกลุม่ เนื้อหา ความรู้ทง้ั 3 กลุ่ม โดยมีการเช่อื มโยงกนั ใน
• ตัวชี้วดั เน้น ทุกชนั้ ปี
- การบอก • ตวั ชว้ี ดั เน้น
- การอธิบาย หรอื อภปิ ราย - ฝกึ ทักษะปฏบิ ัติ
- ฝึกทกั ษะการแกป้ ญั หา
- การประยกุ ต์ใช้ความรู้
- ตัวชว้ี ัดก�ำหนดให้แกป้ ัญหาผา่ น
Project - Based หรือ Problem - Based
• การเชื่อมโยง • ไม่ได้ระบุเก่ยี วกับการเชือ่ มโยงความรู้ในวชิ าอืน่ • ตัวชว้ี ดั ไดร้ ะบเุ ก่ียวกับการเชื่อมโยงความรูก้ บั
กบั วิชาอื่น วชิ าอนื่
• ทักษะใน • ตวั ชว้ี ดั ไมไ่ ด้เช่อื มโยงกบั ทักษะในศตวรรษที่ 21 • ตัวชว้ี ัดเนน้ ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 เช่น
ศตวรรษที่ 21 การทำ� งานรว่ มกนั อยา่ งสรา้ งสรรค์ การแกป้ ญั หา
ทกี่ �ำหนดระดับของปญั หาตามวฒุ ิภาวะ เปน็ ต้น
23
กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาระภูมิศาสตร์
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)
ความรู้ ความ
สามารถ
เปา้ หมาย
การเรียนรู้ กระบวนการ
ทางภมู ศิ าสตร์
สาระ
ภมู ศิ าสตร์ LGiteeroac-y
กระบวนการ ความ
สามารถทาง
ทักษะ ภูมศิ าสตร์
WHLIATTERISACGYE?O - ทกั ษะทาง
ภูมิศาสตร์
การรู้เรื่องภมู ศิ าสตร์ (Geo - Literacy)
ความรู้ ความสามารถ กระบวนการ ทักษะ
ทางภมู ิศาสตร์ ทางภูมิศาสตร์ ทางภมู ศิ าสตร์
• ล กั ษณะทาง
กายภาพของโลก • ความเข้าใจระบบ • การตั้งคำ� ถามเชิง • การสังเกต
• การใชแ้ ผนทแ่ี ละ ธรรมชาตแิ ละมนุษย์ ภมู ิศาสตร์ • การแปลความขอ้ มลู
เครอ่ื งมอื ทางภูมศิ าสตร์ ผา่ นปฏิสมั พนั ธ์ • การรวบรวมขอ้ มูล ทางภมู ิศาสตร์
• กระบวนการทาง • การใหเ้ หตผุ ลทาง • การจดั การข้อมลู • ก ารใช้เทคนิค และ
ภูมศิ าสตร์ ภูมศิ าสตรผ์ ่านการ • การวิเคราะหข์ ้อมูล เครอื่ งมือทางภมู ศิ าสตร์
• การใชภ้ มู ิสารสนเทศ เช่อื มโยงระหวา่ งกัน • การสรุปเพ่ือตอบค�ำถาม • การคดิ เชงิ พน้ื ท่ี
• ป ฏสิ มั พนั ธร์ ะหว่าง • การตดั สนิ ใจอยา่ งเปน็ • การคิดแบบองค์รวม
ระบบตามนยั • การใช้เทคโนโลยี
มนษุ ย์กับ • การใช้สถติ ิพ้นื ฐาน
สิ่งแวดลอ้ ม
ทางกายภาพ
24
ตวั อย่าง เปรียบเทยี บมาตรฐาน ตวั ชีว้ ัด สาระ ของสาระภูมศิ าสตร์
หลักสตู รแกนกลาง ’51 กบั ฉบบั ปรับปรงุ ’60
ประเดน็
1 การจัดกลุ่ม หลกั สตู รแกนกลาง ’51 ฉบบั ปรับปรงุ ’60*
สาระการเรยี นรู้
ไม่มี ไมม่ ี
ประเด็น หลักสตู รแกนกลาง ’51 ฉบบั ปรบั ปรุง ’60
2 ไมม่ ี ไมม่ ี
การกำ� หนดสาระ
การเรยี นรสู้ ำ� หรบั
กลุ่มผเู้ รยี น
ประเด็น หลักสูตรแกนกลาง ’51 ฉบบั ปรบั ปรุง ’60
3 มาตรฐาน ส 5.1 ไมม่ ี
การเปลีย่ นแปลง • ระบทุ ศิ หลกั และทต่ี งั้ ของสงิ่ ตา่ ง ๆ (ป.1)
มาตรฐาน ส 5.1
เนอ้ื หา • บอกความสมั พันธข์ องลักษณะทางกายภาพกับ
• ตัดเนอ้ื หา ลกั ษณะทางสงั คมของชมุ ชน (ป.3)
มาตรฐาน ส 5.2
• ตระหนกั ถงึ การเปลี่ยนแปลงของส่ิงแวดลอ้ ม
ในชุมชน (ป.3)
มาตรฐาน ส 5.1
• ก ารประเมนิ การเปลยี่ นแปลงธรรมชาตใิ นโลกวา่
เป็นผลมาจากการกระทำ� ของมนษุ ยห์ รอื
ธรรมชาติ (ม.4 - 6)
• เพิ่มเนอ้ื หา มาตรฐาน ส 5.2
• อ ธบิ ายความสมั พนั ธข์ องลกั ษณะทางกายภาพกบั
ไมม่ ี การดำ� เนนิ ชวี ติ ของคนในชมุ ชน (ป.3)
• มสี ว่ นรว่ มในการจดั การสงิ่ แวดลอ้ มในชมุ ชน (ป.3)
* ส�ำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และแนวการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้. (กรงุ เทพมหานคร : ม.ป.พ., 2560). 25
ตวั อย่าง เปรยี บเทียบมาตรฐาน ตวั ชี้วดั สาระ ของสาระภูมิศาสตร์
หลกั สูตรแกนกลาง ’51 กบั ฉบับปรบั ปรงุ ’60
ประเดน็
หลกั สูตรแกนกลาง ’51 ฉบับปรบั ปรุง ’60
• การเลอื่ นไหล ไม่มี ไม่มี
ของเนอ้ื หา
• ลดความ มาตรฐาน ส 5.2 มาตรฐาน ส 5.2
ซ้�ำซ้อน • ร ะบแุ นวทางการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ • ระบมุ าตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา กฎหมาย
ของเนอ้ื หา และสงิ่ แวดลอ้ มในภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก (ม.4 - 6) และนโยบายดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
• ร ะบมุ าตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา บทบาทของ สงิ่ แวดลอ้ ม บทบาทขององคก์ ารทเี่ กยี่ วขอ้ ง
และการประสานความรว่ มมอื ทงั้ ในประเทศ
องคก์ าร และการประสานความรว่ มมอื และระหวา่ งประเทศ (ม.4 - 6)
ทง้ั ในประเทศและนอกประเทศเกยี่ วกบั กฎหมาย
สงิ่ แวดลอ้ ม การจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ
สง่ิ แวดลอ้ ม (ม.4 - 6)
• เปลี่ยนค�ำ มาตรฐาน ส 5.2 มาตรฐาน ส 5.2
ให้ชดั เจน • สงั เกตและเปรยี บเทยี บการเปลยี่ นแปลงของ • สงั เกตและเปรยี บเทยี บการเปลย่ี นแปลงของ
สภาพแวดลอ้ มทอ่ี ยรู่ อบตวั (ป.1) สงิ่ แวดลอ้ ม เพอื่ การปฏบิ ตั ติ นอยา่ งเหมาะสม
มาตรฐาน ส 5.1 (ป.1)
• เขยี นแผนผงั งา่ ย ๆ เพอ่ื แสดงตำ� แหนง่ ทตี่ งั้ ของ มาตรฐาน ส 5.1
สถานทส่ี ำ� คญั ในบรเิ วณโรงเรยี นและชมุ ชน (ป.3) • วาดแผนผงั เพอื่ แสดงตำ� แหนง่ ทตี่ งั้ ของสถานท ี่
มาตรฐาน 5.2 สำ� คญั ในบรเิ วณโรงเรยี นและชมุ ชน (ป.3)
• อธบิ ายเกยี่ วกบั มลพษิ และการกอ่ ใหเ้ กดิ มลพษิ มาตรฐาน 5.2
โดยมนษุ ย์ (ป.3) • อธบิ ายสาเหตทุ ท่ี ำ� ใหเ้ กดิ มลพษิ โดยมนษุ ย์ (ป.3)
มาตรฐาน ส 5.1 มาตรฐาน ส 5.1
• ระบแุ หลง่ ทรพั ยากรและสง่ิ ตา่ ง ๆ ในจงั หวดั ของ • ระบแุ หลง่ ทรพั ยากรและสถานทส่ี ำ� คญั ในจงั หวดั
ตนเองดว้ ยแผนท่ี (ป.4) ของตนดว้ ยแผนทแี่ ละรปู ถา่ ย (ป.4)
• ใชแ้ ผนทอี่ ธบิ ายความสมั พนั ธข์ องสง่ิ ตา่ ง ๆ • อ ธิบายลักษณะทางกายภาพท่ีส่งผลต่อแหล่ง
ทมี่ อี ย่ใู นจงั หวดั (ป.4)
มาตรฐาน ส 5.2 ทรพั ยากรและสถานทสี่ ำ� คญั ในจงั หวดั (ป.4)
• อธบิ ายสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพของชมุ ชน มาตรฐาน ส 5.2
ทส่ี ง่ ผลตอ่ การดำ� เนนิ ชวี ติ ของคนในจงั หวดั (ป.4) • วเิ คราะหส์ งิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพทสี่ ง่ ผลตอ่ การ
• มสี ว่ นรว่ มในการอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ มในจงั หวดั ดำ� เนนิ ชวี ติ ของคนในจงั หวดั (ป.4)
(ป.4) • นำ� เสนอแนวทางการจดั การสง่ิ แวดลอ้ มในจงั หวดั
(ป.4)
26
ตวั อย่าง เปรยี บเทียบมาตรฐาน ตวั ชี้วดั สาระ ของสาระภมู ศิ าสตร์
หลักสตู รแกนกลาง ’51 กบั ฉบบั ปรับปรุง ’60
ประเดน็ หลกั สูตรแกนกลาง ’51 ฉบับปรับปรุง ’60
มาตรฐาน ส 5.1 มาตรฐาน ส 5.1
• ใช้เครอ่ื งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ (แผนที่ ภาพถา่ ย • ส ืบค้นและอธิบายข้อมูลลักษณะทางกายภาพ
ชนดิ ต่าง ๆ) ระบุลักษณะสำ� คญั ทางกายภาพ
และสงั คมของประเทศ (ป.6) ของประเทศไทยด้วยแผนท่ี รูปถ่ายทางอากาศ
มาตรฐาน ส 5.2 และภาพจากดาวเทยี ม (ป.6)
• จัดทำ� แผนการใชท้ รัพยากรในชุมชน (ป.6) มาตรฐาน ส 5.2
มาตรฐาน ส 5.1 • นำ� เสนอตวั อยา่ งทส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ ผลจากการรกั ษา
• วเิ คราะหเ์ ชอื่ มโยงสาเหตแุ ละแนวทางปอ้ งกนั ภยั และทำ� ลายทรพั ยากรและสง่ิ แวดลอ้ ม และเสนอ
ธรรมชาตแิ ละการระวงั ภยั ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในประเทศไทย แนวทางในการจดั การอยา่ งยงั่ ยนื ใประเทศไทย
และทวปี เอเชยี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี (ม.1) (ป.6)
มาตรฐาน ส 5.2 มาตรฐาน ส 5.1
• วเิ คราะห์ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงทาง • วเิ คราะหส์ าเหตกุ ารเกดิ ภยั พบิ ตั แิ ละผลกระทบใน
ธรรมชาตขิ องทวีปเอเชีย ออสเตรเลยี และ ทวปี เอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี (ม.1)
โอเชียเนีย (ม.1) มาตรฐาน ส 5.2
มาตรฐาน ส 5.1 • สืบค้น อภปิ รายประเดน็ ปญั หาจากปฏสิ มั พันธ์
• วเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งลกั ษณะทางกายภาพ ระหวา่ งส่ิงแวดล้อมทางกายภาพกบั มนษุ ย์ท่ี
และสงั คมของทวีปอเมรกิ าเหนือและอเมริกาใต้ เกดิ ข้ึนในทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลีย
(ม.3) และโอเชียเนีย (ม.1)
มาตรฐาน ส 5.2 มาตรฐาน ส 5.1
• สำ� รวจ อภปิ รายประเดน็ ปญั หาเกย่ี วกบั สง่ิ แวดลอ้ ม • ว เิ คราะหส์ าเหตกุ ารเกดิ ภยั พบิ ตั แิ ละผลกระทบใน
ทเี่ กดิ ขน้ึ ในทวปี อเมรกิ าเหนอื และอเมรกิ าใต้ (ม.3) ทวีปอเมรกิ าเหนือและทวีปอเมรกิ าใต้ (ม.3)
มาตรฐาน ส 5.1 มาตรฐาน ส 5.2
• ใชเ้ ครอ่ื งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ในการรวบรวม • วเิ คราะหแ์ นวทางการจดั การภยั พบิ ตั แิ ละการจดั การ
วเิ คราะห์ และนำ� เสนอข้อมลู ภมู สิ ารสนเทศ ทรพั ยากรและส่ิงแวดลอ้ มในทวีปอเมรกิ าเหนือ
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ (ม.4 - 6) และทวีปอเมริกาใต้อยา่ งย่งั ยนื (ม.3)
มาตรฐาน ส 5.2 มาตรฐาน ส 5.1
• อธิบายการใชป้ ระโยชน์จากส่งิ แวดลอ้ มในการ • ใ ชแ้ ผนทแี่ ละเครอื่ งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ในการคน้ หา
สรา้ งสรรค์วัฒนธรรม อันเปน็ เอกลักษณข์ อง วเิ คราะห์ และสรปุ ข้อมูล ตามกระบวนการทาง
ทอ้ งถิน่ ทง้ั ในประเทศไทยและโลก (ม.4 - 6) ภูมิศาสตรแ์ ละนำ� ภูมิสารสนเทศมาใชป้ ระโยชน์
ในชวี ิตประจ�ำวนั (ม.4 - 6)
มาตรฐาน ส 5.2
• วเิ คราะหป์ ฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างสงิ่ แวดล้อมทาง
กายภาพกบั กจิ กรรมของมนษุ ย์ในการสรา้ งสรรค์
วถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ ของทอ้ งถน่ิ ทงั้ ในประเทศไทย
และภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก และเหน็ ความสำ� คญั
ของสง่ิ แวดลอ้ มทมี่ ผี ลตอ่ การดำ� รงชวี ติ ของมนษุ ย์
(ม.4 - 6)
27
อจท. เตรียมสอ่ื ส�ำหรบั มาตรฐานฯ และตวั ชว้ี ัด พร้อม
(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ทกุ ชัน้ ทกุ วชิ าไว้
• ให้แนวทางในการจดั การเรียน • มีเนอ้ื หาครบถว้ น ครอบคลมุ ชดั เจน
• ใชเ้ ป็นหลกั ฐานในการประเมิน • ตรงตามมาตรฐานหลักสูตร
ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560
• นำ� เสนอเน้อื หาโดยใช้ Infographic
กาแรผสนอน หนังสือเรียน
• ตอ่ ยอดเนอ้ื หาในบทเรยี น สต่ือ่าเสงร ๆิม Learning คูม่ อื ครู • เตรียมการสอน
• มุ่งยกระดับ Ecosystem ชว่ ยครู
ผลการเรียนรู้ • ใช้ง่าย ใช้สะดวก
• อ่านสนกุ เขา้ ใจงา่ ย • สอดคลอ้ งกบั
หนังสอื เรยี น
PPoowinetr แบบฝึกหัด
• เปน็ เครอ่ื งมอื ประกอบ • สรา้ งกจิ กรรมเหมาะกบั ธรรมชาติวิชา
การสอน • เนน้ ให้เกิดการพัฒนาทกั ษะตา่ ง ๆ
• สรุปรวบยอดองค์ความรู้ • น�ำไปตอ่ ยอดในชีวติ ประจ�ำวัน
• ชัดเจน ครอบคลมุ
เข้าใจงา่ ย
กา้ วทนั เน้นเนอื้ หา ฝกึ ทกั ษะเพอ่ื
การพฒั นา ตรงสาระ ยกระดบั ผเู้ รยี น
28
บรษิ ทั อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกดั www.aksorn.com รหัสสินค้า 1090158
142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร 10200
โทร./แฟกซ.์ 02 6222 999 (อตั โนมตั ิ 20 คสู่ าย) New ทำความเข้าใจหลักสูตร
8 858649 139917