ฉบับที่ 2/2565 รายงานป-ร3-ะมาณการเศรษฐกิจจังหวดั พิษณโุ ลก
สานกั งานคลงั จงั หวดั พษิ ณุโลก ศาลากลางจงั หวดั พษิ ณโุ ลก ถ.วงั จนั ทน์ ต.ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.พิษณโุ ลก 65000
โทรศพั ท.์ 0 5525 8853 โทรสาร.0 5525 8853 ต่อ 302 http://www.cgd.go.th/cs/plk/plk/หนา้ หลัก.html
ณ มิถนุ ายน 2565
ประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดพษิ ณุโลกปี 2565
“สำนกั งานคลังจังหวัดพิษณุโลกประเมินเศรษฐกิจพิษณโุ ลกปี 2565 คาดวา่ ขยายตวั ร้อยละ 3.5
เป็นผลมาจากการฟื้นตัวของด้านอุปทานและการขยายตัวของด้านอุปสงค์ภายในจังหวัด โดยเฉพาะจากการ
เพิ่มขึ้นของปริมาณผลผลิตในภาคเกษตรกรรม ประกอบกับการฟื้นตัวของภาคบริการและภาคอุตสาหกรรม
จากการคล่คี ลายของสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้อื ไวรัสโควดิ -19 รวมท้งั แรงสนบั สนนุ จากมาตรการภาครัฐ
จะส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจของการบริโภคภาคเอกชน และการลงทุนภาคเอกชนปรับตัวสูงขึ้น ในส่วนของ
การใช้จ่ายภาครัฐยังคง ขยายตัวซึ่ง เป็นกลไกสำคัญต่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจจังหวัด ซึ่งคงมาตรการเร่งรัด
การใช้จ่ายเงินงบประมาณอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน
ส่งผลให้เงินเฟ้อปรับตัวสูงขึ้น ต้นทุนสินค้าสูงขึ้นได้ เพิ่มความเสี่ยงต่อความไม่แน่นอนอันอาจส่งผลกระทบ
ต่อการฟ้ืนตวั ทางเศรษฐกิจของจงั หวัดโดยรวม”
1. เศรษฐกิจจังหวดั พิษณุโลกปี 2565
1.1 ดา้ นการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจจังหวัดพิษณุโลกในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.5 ฟื้นตัวจากปีก่อนที่หดตัว
ร้อยละ -0.5 จากสภาพอากาศเอื้ออำนวยต่อการเพาะปลูก ผู้ประกอบการมีความมั่นใจในการลงทุน และการฟื้นตัว
ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจของจังหวัดจากการคลี่คลายของสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ประกอบกับ
คาดว่าภาครฐั จะมมี าตรการฟ้นื ฟูเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ือง
ด้านอุปทาน(การผลิต) คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.3 โดยภาคเกษตรกรรมคาดว่าจะขยายตัว
ร้อยละ 3.7 จากการขยายตัวของผลผลิตพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัด อาทิ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
และมนั สำปะหลัง เนอ่ื งจากคาดว่าจะมีปริมาณน้ำทีเ่ พียงพอต่อการเพาะปลูก ประกอบกับราคาสินค้าเกษตรหลายชนิด
มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น และการดำเนินนโยบายของภาครัฐ อาทิ การประกันรายได้ จูงใจให้เกษตรกรขยายการผลิต
สินค้าเกษตรเพิ่มมากขึ้น ส่วนภาคอุตสาหกรรมคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.9 จากยอดคำสั่งซื้อสินค้า
อุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับอุตสาหกรรมมีแนวโน้มขยายตัว อาทิ อุตสาหกรรมจากพืช อุตสาหกรรมอาหาร
อุตสาหกรรมอโลหะ และอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลทางการเกษตร เป็นต้น ส่งผลให้ความเช่ือม่ันในการลงทุน
และผู้ประกอบกิจการภายในจังหวดั เพิ่มมากขึน้ สำหรับภาคบรกิ ารคาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 4.5 จากการฟื้นตวั
ของภาคการค้า ภาคบริการที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว อาทิ โรงแรม ร้านอาหาร ธุรกิจการขนส่งโดยสาร ฯลฯ
และคาดว่าภาครัฐจะยังคงมีมาตรการฟื้นฟูเศรษฐกิจ เพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายและส่งเสริมภาคการท่องเที่ยวอย่าง
ต่อเน่ืองตลอดทัง้ ปี
ด้านอุปสงค์(การใช้จ่าย) คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.8 โดยการบริโภคภาคเอกชนคาดว่าจะ
ขยายตัวร้อยละ 3.8 เป็นผลจากการทยอยผ่อนคลายมาตรการการควบคุมการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19
และการฉีดวัคซีนที่ปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจ รายได้ของครัวเรือนในภาพรวม และ
ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคปรับดีขึ้น นอกจากนี้มาตรการสนับสนุนกระตุ้นการบริโภคของภาครัฐ ยังช่วยให้
ประชาชนมีการจับจ่ายใช้สอยเพิ่มมากขึ้น ส่วนการลงทุนภาคเอกชนคาดว่าการขยายตัวร้อยละ 3.7
ตามการลงทุนด้านเครื่องจักรและอุปกรณ์สอดคล้องกับอุปสงค์โดยรวมที่ปรับดีขึ้น สำหรับการใช้จ่ายภาครัฐ
-4-
คาดวา่ จะขยายตัวร้อยละ 8.0 พระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ 2565 มีผลใช้บังคับได้เร็ว
เหมือนปีก่อน ทำให้กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างรวดเร็วขึ้น ประกอบกับจากการใช้จ่ายเงินกู้จากพระราชกำหนดให้
อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับผลกระทบ
จากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2563 และพระราชกำหนดให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงิน
เพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคมจากการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส โคโรนา 2019 เพิ่มเติม พ.ศ. 2564
วงเงิน 5 แสนลา้ นบาท (พ.ร.ก. กู้เงนิ ฯ เพมิ่ เตมิ ) ส่งผลดที ่ีจะทำใหเ้ ม็ดเงินกระจายตวั ลงสรู่ ะบบเศรษฐกิจจังหวัด
ไดร้ วดเร็วและการเบิกจา่ ยเงินงบประมาณเพม่ิ ขน้ึ
1.2 ดา้ นเสถียรภาพเศรษฐกจิ ภายในจังหวดั พิษณุโลก
เสถียรภาพเศรษฐกิจภายในจังหวัดพิษณุโลกอยู่ในเกณฑป์ กติ โดยอัตราเงนิ เฟ้อทัว่ ไปในปี 2565
คาดว่ามีทิศทางเพิ่มขึ้นที่ระดับร้อยละ 5.5 โดยมีสาเหตุมาจากแนวโน้มราคาสินค้าในกลุ่มพลังงาน
เช่น น้ำมันเชอื้ เพลงิ และไฟฟา้ ปรับตวั สงู ขึน้ ส่งผลให้ราคาสินคา้ หมวดอาหารและเคร่ืองดื่มไม่มีแอลกอฮอล์สูงข้ึน
ได้แก่ เครื่องประกอบอาหาร เนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ำ อาหารบริโภคนอกบ้าน ประกอบกับหมวดอื่นๆ
ไม่ใช่อาหารและเครื่องด่ืมราคาสูงขึ้นเช่นกัน รวมถึงหมวดพาหนะ การขนส่งและการส่ือสาร หมวดเคหสถาน
และหมวดการตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคล ในส่วนของจำนวนผู้มีงานทำปรับตัวเพิ่มขึ้นโดยคาดว่า
จะมีจำนวนประมาณ 475,289 คน เพ่มิ ข้ึนจากปีกอ่ นประมาณ 5,610 คน หรอื คิดเปน็ การขยายตวั รอ้ ยละ 1.2
ปัจจยั สนับสนุนเศรษฐกจิ ในปี 2565 ของจงั หวัดพิษณโุ ลก
1. การป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดภายในจังหวดั ให้อย่ใู นวงจำกัด
2. พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 มีผลใช้บังคับเร็วส่งผลดี
ตอ่ กระบวนการจัดซอื้ จดั จ้างและการเบกิ จ่ายเงินงบประมาณท้ังรายจา่ ยประจำและรายจา่ ยลงทุน
3. การคงไว้ซึ่งมาตรการเพื่อบรรเทาค่าครองชีพผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ และโครงการประกันรายได้
เกษตรกร ซง่ึ จะชว่ ยรักษากำลังซอื้ ของเศรษฐกิจฐานราก
4. มาตรการกระตุ้นการใช้จ่ายในการเพิม่ กำลังซือ้ ผ่านโครงการตา่ ง ๆ อาทิ คนละครึ่ง, การเพิ่มกำลังซ้ือ
ใหแ้ ก่ผมู้ บี ัตรสวัสดิการแหง่ รัฐ/บตั รประชาชน, เราเท่ยี วด้วยกนั ฯลฯ
5. การปรับเงื่อนไขของมาตรการ Soft loan และการใช้เครื่องมือการค้ำประกันความเสี่ยงของ บรรษัท
ประกันสินเชื่อขนาดย่อม (บสย.) เข้ามาเพื่อส่งผ่านสภาพคล่องไปยังธุรกิจ SMEs และการคงอัตราดอกเบ้ีย
นโยบายอยู่ในระดบั ตำ่ ตอ่ เนอ่ื งของคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.)
6. ผบู้ รหิ ารระดับสูงของจังหวดั ให้ความสำคัญต่อการดำเนนิ มาตรการเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณของสว่ นราชการ
ปจั จัยเสยี่ งเศรษฐกิจในปี 2565 ของจังหวัดพษิ ณโุ ลก
1. การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทั้งในไทยและต่างประเทศที่อาจกลับมารุนแรงอีกครั้ง
โดยเฉพาะหากมีการกลายพนั ธุข์ องไวรัสที่ลดประสทิ ธภิ าพวัคซนี ลดลง
2. การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลกระทบต่อความต่อเนื่องของการฟื้นตัว
ทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะภาคธรุ กจิ SMEs ท่ีมคี วามเปราะบางสูงจากการขาดเงินทนุ หมุนเวยี น
3. ความเสย่ี งจากปญั หาภัยทางธรรมชาติและการระบาดของแมลงศัตรูพืช ซ่งึ จะส่งผลกระทบต่อปริมาณ
ผลผลิตพืชเศรษฐกจิ สำคญั ของจังหวดั
-5-
4. พฤติกรรมการออมจากการกลัวความเสี่ยงในอนาคต (precautionary saving) สะท้อนว่าประชาชน
ส่วนใหญ่มีการเน้นเก็บออมในช่วงเวลาวิกฤตเนื่องจากยังกลัวความเสี่ยงในอนาคต ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวจะเป็น
อุปสรรคขัดขวางการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ เพราะประชาชนจะลดการใช้จ่ายและทำให้เม็ดเงินหมุนเวียนในระบบ
เศรษฐกจิ น้อยลง
-6-
ตารางสรปุ สมมติฐานและผลการประมาณการเศรษฐกจิ จังหวัดพษิ ณโุ ลกปี 2565
(ณ เดือนมิถุนายน 2565)
2565F
2563 2564E (ณ มิถุนายน 2565)
เฉล่ีย ช่วง
สมมติฐานหลัก -12.8 4.1 1.8 0.8 - 2.8
สมมติฐานภายนอก -15.7 -13.7 16.4 15.4 - 17.4
1) ปรมิ าณผลผลติ : ขา้ ว (ร้อยละตอ่ ป)ี 7,584 7,376 9,351 9,277 – 9,424
2) ปริมาณผลผลติ : ขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์ (รอ้ ยละตอ่ ป)ี 7,023 6,970 8,190 8,120 – 8,259
3) ราคาทเ่ี กษตรกรขายไดเ้ ฉล่ีย : ขา้ ว (บาทตอ่ ตนั ) 441 442 456 452 - 460
4) ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉล่ีย : ขา้ วโพดเลย้ี งสัตว์ (บาทต่อตนั ) -0.1 -0.3 3.0 2.0 – 4.0
5) จำนวนโรงงานอุตสาหกรรม (แหง่ ) 13.1 -4.8 4.8 3.8 - 5.8
6) ปรมิ าณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม (รอ้ ยละต่อปี) 377,226 147,567 150,813 149,338 – 152,289
7) ยอดขายสินค้าท้ังปลีกและสง่ (ร้อยละต่อปี) 4.0 -0.9 3.1 2.1 - 4.1
8) จำนวนผูโ้ ดยสารผ่านสนามบนิ (คน) 5,462 5,376 5,672 5,618 – 5,725
9) ภาษมี ูลค่าเพม่ิ ทจ่ี ัดเกบ็ ได้ (ร้อยละตอ่ ป)ี 16,175 17,199 17,715 17,543 – 17,887
10) จำนวนรถยนต์นงั่ ส่วนบคุ คลจดทะเบียนใหม่ (คนั ) 18,353 18,996 19,537 19,347 – 19,727
11) จำนวนรถจกั รยานยนตจ์ ดทะเบยี นใหม่ (คนั )
12) สินเชอื่ เพื่อการลงทุน (ล้านบาท) 25,828 26,449 28,196 27,931 – 28,460
สมมติฐานด้านนโยบาย
3.5 2.4 9.2 8.2 - 10.2
13) รายจา่ ยประจำ (ลา้ นบาท) 6,052 6,371 7,292 7,228 – 7,356
-6.4 5.3 20.5 19.4 - 21.5
(ร้อยละต่อปี)
-5.4 -0.5 3.5 2.5 - 4.5
14) รายจา่ ยลงทุน (ล้านบาท) -0.8 -0.7 3.3 2.3 - 4.3
-6.1 7.8 3.7 2.7 - 4.7
(รอ้ ยละตอ่ ปี) -4.1 -1.3 3.9 2.9 - 4.9
ผลการประมาณการ 2.6 -1.4 4.5 3.5 - 5.5
0.9 0.1 3.8 2.8 - 4.8
1) อตั ราการขยายตัวทางเศรษฐกจิ (รอ้ ยละตอ่ ปี) -0.7 -0.2 3.8 2.8 - 4.8
2) อัตราการขยายตวั ทางดา้ นอุปทาน (รอ้ ยละต่อป)ี -2.0 1.5 3.7 2.7 - 4.7
3) อตั ราการขยายตัวของภาคเกษตรกรรม (ร้อยละต่อปี) 1.9 3.0 8.0 7.0 – 9.0
4) อตั ราการขยายตัวของภาคอตุ สาหกรรม (ร้อยละตอ่ ปี) -9.2 7.7 24.7 22.4 - 26.9
5) อตั ราการขยายตวั ของภาคบริการ (รอ้ ยละตอ่ ปี) -1.6 1.7 5.5 4.5 - 6.5
6) อตั ราการขยายตัวทางดา้ นอปุ สงค์ (ร้อยละตอ่ ปี) 469,521 469,680 475,289 473,620 – 476,958
7) อตั ราการขยายตวั ของการบริโภคภาคเอกชน (ร้อยละตอ่ ปี)
8) อัตราการขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชน (รอ้ ยละต่อป)ี -10,644 158 5,610 3,940 – 7,279
9) อตั ราการขยายตัวของการใชจ้ า่ ยภาครฐั บาล (รอ้ ยละตอ่ ป)ี
10) อัตราการขยายตวั ของรายไดเ้ กษตรกร (รอ้ ยละต่อปี)
11) อตั ราเงินเฟอ้ (รอ้ ยละต่อปี)
12) จำนวนผมู้ งี านทำ (คน)
เปลย่ี นแปลง (คน)
E = Estimate : การประมาณการ ทมี่ า : กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกจิ จงั หวดั สำนักงานคลังจงั หวดั พษิ ณุโลก
F = Forecast : การพยากรณ์ (ปรับปรุง : มิถุนายน 2565)
-7-
สมมติฐานหลกั ในการประมาณการเศรษฐกจิ
1.ด้านอุปทาน(การผลิต) ในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.3 จากการขยายตัวของท้ัง
ภาคเกษตรกรรม ภาคอตุ สาหกรรม และภาคบริการ โดยมรี ายละเอยี ดสมมติฐาน ดังน้ี
1.1 ปริมาณผลผลิตข้าวในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 1.8 จากปริมาณน้ำมีเพียงพอต่อการผลิต
และประสบกับปัญหาภัยแล้งน้อยกว่าปีที่ผ่านมา ทำให้เกษตรกรสามารถทำการเพาะปลูกข้าว
ได้เพิ่มขึ้น ประกอบกับการดำเนินนโยบายและมาตรการของภาครัฐที่จูงใจให้เกษตรกรดำเนินการผลิต
ได้อยา่ งต่อเนอื่ ง
60 %yoy ปรมิ าณผลผลติ : ขา้ ว
40
50.2
20 22.8
0 -1.2 -9.4 4.1 2.0 1.8
-20 -12.8 (ณ มี.ค. (ณ
-18.9 -17.0 -22.9 -19.8
65) มิ.ย.65)
-40 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F
1.2 ปริมาณผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวท่ีร้อยละ 16.4 เนื่องจากหน่วยงาน
ภาครัฐส่งเสริมให้มีการเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์หลังฤดูทำนาเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์น้ำ
ในปจั จุบนั ประกอบกับราคาผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในปีที่ผา่ นมาอยู่ในเกณฑ์ดี และผู้ประกอบการ
อาหารสัตว์มีความต้องการใช้อย่างต่อเนื่อง จูงใจให้เกษตรกรขยายพื้นที่ปลูกเพิ่มขึ้นในพื้นที่ที่เคย
ปลอ่ ยว่าง
100 %yoy ปรมิ าณผลผลติ : ขา้ วโพดเลี้ยงสตั ว์
80.2 81.4
50
24.4 16.4 16.4
0 -5.3 -12.8 -15.7 -13.7 (ณ (ณ
-21.4 -28.1 ม.ี ค.65) ม.ิ ย.65)
-34.3
-50 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F
-8-
1.3 จำนวนโรงงานอุตสาหกรรมในปี 2565 คาดวา่ จะมีจำนวนโรงงานทั้งส้นิ 456 แหง่ เพมิ่ ขึ้นจากปีก่อน
14 แห่ง หรือคิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 3.2 จากยอดคำสั่งซื้อสินค้าอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้น
หลังจากการแพร่ระบาดของเช้อื ไวรสั โควิด-19 คล่คี ลาย ประกอบกับอตุ สาหกรรมมแี นวโนม้ ขยายตัว
อาทิ อุตสาหกรรมจากพืช อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมอโลหะ และอุตสาหกรรม
เครื่องจักรกลทางการเกษตร เป็นต้น ส่งผลต่อความเชื่อมั่นในการลงทุนและผู้ประกอบกิจการ
โรงงานย่ืนขออนญุ าตประกอบกิจการโรงงานภายในจังหวดั เพิ่มมากขึ้น
600 โรง จานวนโรงงานอุตสาหกรรม
400 368 412 430 413 418 428 436 426 441 442 508 456
200
0
(ณ (ณ
ม.ี ค.65) มิ.ย.65)
2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F
1.4 ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรมในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.3 จากการเพิ่มขึ้น
ของปริมาณการใช้ไฟฟ้าในอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ภายในจังหวัด โดยเฉพาะอุตสาหกรรมจากพืช
(โรงสีขา้ ว) ตามปรมิ าณผลผลิตขนั้ ตน้ เขา้ สู่โรงงานเพ่มิ ขึน้ โดยเฉพาะผลผลิตขา้ ว
20 ปรมิ าณการใช้ไฟฟ้าภาคอตุ สาหกรรม
%yoy
16.2
15
10 12.0
5 6.9
0 2.5 0.9 2.5 2.0 1.7 -0.1 -0.3 2.3 3.0
-5 (ณ (ณ
มี.ค.65) มิ.ย.65)
2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F
-9-
1.5 ยอดขายสนิ ค้าท้งั ปลีกและส่งในปี 2565 คาดวา่ จะขยายตวั ร้อยละ 4.8 จากมาตรการสนับสนุนกำลัง
ซื้อของภาครัฐและการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 สะท้อนปริมาณ
จำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคซึ่งคำนวณจากยอดจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มร้านค้าส่งร้านค้าปลีก (บิ๊กซี
โลตัส และ แม็คโคร) มีทศิ ทางเพม่ิ ขึน้
40.0 %yoy ยอดขายสินคา้ ทัง้ ปลีกและส่ง
35.0
29.4
30.0
20.0
10.0 9.1 13.1 5.5 4.8
0.0 4.0 4.6
-10.0
-4.1 -2.8 -8.2 -4.8 (ณ (ณ
ม.ี ค.65) ม.ิ ย.65)
-20.0 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F
1.6 จำนวนผู้โดยสารผ่านสนามบิน ในปี 2565 คาดว่าจะมีจำนวนทั้งสิ้น 150,813 คน หรือคิดเป็น
การขยายตัวร้อยละ 2.2 จากรัฐบาลเริ่มการทยอยผ่อนคลายมาตรการควบคุมการระบาดของ
เชื้อไวรัสโควิด-19 และสายการบินเพิ่มเที่ยวบนิ ขึ้นทำให้ประชาชนเดินทางเข้าจังหวัดและท่องเที่ยว
ภายในจงั หวัดเพ่มิ ขึ้น คาดว่าจะส่งผลดตี อ่ กลุ่มธรุ กจิ ทเี่ กยี่ วเน่อื งกบั การท่องเทีย่ วภายในจังหวดั
800 พนั คน จานวนผู้โดยสารผ่านสนามบนิ
600
400 476 548 493 595 676 705
377
200 215 245 148 140 151
0
(ณ มี.ค. (ณ
65) มิ.ย.65)
2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F
-10-
2.ด้านอุปสงค์(การใช้จ่าย) ในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 3.8 ตามการขยายตัวในเครื่องชี้
ทุกด้านทั้งการบริโภคภาคเอกชน การลงทนุ ภาคเอกชน และการใชจ้ า่ ยภาครัฐ โดยมรี ายละเอียดสมมติฐาน ดังนี้
2.1 ภาษีมูลค่าเพิ่มรวมที่จัดเก็บได้ในปี 2565 คาดว่าขยายตัวร้อยละ 3.1 จากแรงสนับสนุนมาตรการ
กระตุ้นการบริโภคของภาครัฐ ประกอบกับความกังวลต่อสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัส
โควิด-19 ของประชาชนน้อยลง ส่งผลให้ความเชื่อม่ันของผู้บริโภคปรับตัวดีขึ้น คาดว่าประชาชน
มีแนวโน้มจับจา่ ยใชส้ อยเพ่ิมขนึ้
20 %YOY ภาษมี ูลคา่ เพ่มิ
15
17.0
10 6.5 5.4 6.7 5.3 4.0 3.1 3.1
5 5.6
0 -1.1 -0.9
-5 -3.6 (ณ (ณ
มี.ค.65) ม.ิ ย.65)
2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F
2.2 จำนวนรถยนต์นั่งส่วนบุคคลจดทะเบียนใหม่ในปี 2565 คาดว่าจะมีจำนวน 5,672 คัน หรือคิดเป็น
การขยายตัวร้อยละ 5.5 จากสถานการณ์แพร่ระบาดเชื้อไวรัสโควิด-19 คลี่คลายลง เศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัว
ประกอบกับการรับประกันรายได้เกษตรกร และการส่งเสริมการขายของผู้จำหน่ายรถยนต์ ส่งผลให้
ประชาชนมคี วามมั่นใจในการตดั สินใจครอบครองรถมากขน้ึ
12,000 คัน จานวนรถยนต์นัง่ ส่วนบุคคลจดทะเบยี นใหม่
10,000
8,000 8,920 9,898
6,000 5,292 4,708 4,534 5,399 6,009 6,734 5,462 5,376 5,762 5,672
4,000
2,000 (ณ (ณ
ม.ี ค.65) ม.ิ ย.65)
-
2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F
-11-
2.3 จำนวนรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในปี 2565 คาดว่าจะมีจำนวน 17,715 คัน หรือคิดเป็น
การขยายตัวร้อยละ 3.0 จากรายได้เกษตรกรขยายตัวจากการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าเกษตรสำคัญ
เช่น ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสตั ว์ มันสำปะหลงั เป็นต้น และมาตรการกระตุ้นการบริโภคและบรรเทาภาระ
คา่ ครองชีพของประชาชน
25,000คนั 19,168 จานวนจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ 16,175 17,199 16,660 17,715
20,000
20,869
15,000 16,444 15,451 15,410 16,142 17,418 16,707
10,000
5,000
-
(ณ (ณ
มี.ค.65) ม.ิ ย.65)
2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F
2.4 สินเชื่อเพื่อการลงทุนของธนาคารพาณิชย์ในจังหวัดพิษณุโลก ในปี 2565 คาดว่ามีจำนวน
19,537 ล้านบาท หรือคิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 2.8 ปรับเพ่ิมขึ้นจากการลงทุนด้านเคร่ืองจักร
และอุปกรณ์สอดคล้องกับอุปสงค์โดยรวมที่ปรับดีขึ้น และความต้องการลงทุนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
การผลิต เช่นเดียวกบั การลงทุนดา้ นการก่อสร้างปรบั เพิ่มข้ึน
ล้านบาท สนิ เชอ่ื เพื่อการลงทุน
25,000 16,342 19,759 20,024 17,489 16,970 16,795 17,638 18,393 18,353 18,996 18,87619,537
20,000
15,000
10,000
5,000
-
(ณ (ณ
ม.ี ค.65) ม.ิ ย.65)
2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F
-12-
2.5 การใช้จ่ายภาครัฐในปี 2565 คาดว่าขยายตัวร้อยละ 8.0 โดยรายจ่ายประจำคาดว่าขยายตัวร้อยละ
9.2 และรายจ่ายลงทุนคาดว่าจะขยายตัวถึงร้อยละ 20.5 จากพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
ประจำปีงบประมาณ 2564 มีผลใช้บังคับเร็วกว่าปีก่อนถึง 5 เดือน ทำให้กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
รวดเร็วยิ่งขึ้นส่งผลให้การเบิกจ่ายเพิ่มขึ้นได้ ตลอดจนเม็ดเงินเพิ่มเติมจาก พรก.เงินกู้ฯ ในส่วนของ
วงเงินเพื่อการฟื้นฟูฯที่มีเม็ดเงินงบประมาณลงสู่หน่วยดำเนินการในจังหวัดกว่า 1,000 ล้านบาท
ทั้งรายจ่ายประจำและรายจ่ายลงทุนจะเป็นแรงสนับสนุนสำคัญต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจจังหวัด
ตลอดท้ังปี 2565
30 %yoy รายจา่ ยประจา
26.3
20
10 9.8 7.5 3.5 7.7 9.2
0 3.7 -0.9 -1.8 2.6 2.4
-10 2555 2556 2557 2558-8.5 2559 2560 2561 2562 2563 2564E (ณ (ณ
ม.ี ค.65) มิ.ย.65)
-20 2565F
%yoy รายจ่ายลงทุน
60
40 42.4 37.2
20
0 8.3 2.3 14.1 5.3 20.5
-20 13.0
-40
1.3 -3.5 -6.4 (ณ (ณ
ม.ี ค.65) มิ.ย.65)
2555 2556 2557 2558 2559 2560 -33.02561 2562 2563 2564E 2565F
-13-
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กำหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมไว้ที่ร้อยละ 93.0
ของวงเงินงบประมาณในภาพรวม และเป้าหมายการเบิกจ่ายงบลงทุนไว้ที่ร้อยละ 75.0 ของวงเงิน
งบประมาณงบลงทนุ และเปา้ หมายการเบกิ จ่ายรายไตรมาสประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ดังนี้
เปา้ หมายการเบกิ จ่าย ภาพรวม (ร้อยละ) งบลงทุน(รอ้ ยละ)
ไตรมาสที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 30.0 13.0
ไตรมาสท่ี 2 ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 51.0 29.0
ไตรมาสท่ี 3 ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 72.0 46.0
ไตรมาสท่ี 4 ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 93.0 75.0
สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ผลการเบิกจ่ายสะสมตั้งแต่ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือนมิถุนายน
2565 สามารถเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวมได้ทั้งสิ้น 11,760.5 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเบิกจ่าย
ร้อยละ 88.9 ของวงเงินงบประมาณในภาพรวม ซง่ึ ตำ่ กวา่ เป้าหมายการเบิกจ่ายที่กำหนดไว้ทร่ี ้อยละ 93.0
โดยรายจ่ายประจำสามารถเบิกจ่ายได้ 7,429.4 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเบิกจ่ายท่ีร้อยละ 95.0
ของวงเงินงบประมาณประจำ สำหรับรายจ่ายลงทุนสามารถเบิกจ่ายได้ 4,331.1 ล้านบาท คิดเป็นอัตรา
การเบกิ จา่ ยทรี่ อ้ ยละ 80.0 ของวงเงินงบประมาณงบลงทุน
ตารางผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
รายการ งบประมาณ ผลการ ร้อยละ ผลการ คาดการณ์ เปา้ หมาย สูง/ตำ่
จัดสรร เบกิ จ่ายสะสม การ คาดการณ์ ร้อยละ การ กว่า
ต้ังตน้ ปี งปม. เบกิ จ่าย เบกิ จ่ายปี การ เปา้ หมาย
จนถึงเดอื น งปม.2565 เบิกจ่าย เบิกจา่ ย
ม.ิ ย. 65 7,429.4
4,331.1
1. งบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 11,760.5
1.1 รายจา่ ยประจำ 6,466.7 5,494.7 85.0 95.0 98.0 ต่ำกวา่
2,837.7 53.4 80.0 75.0 สงู กว่า
1.2 รายจา่ ยลงทนุ 5,318.8 8,332.4 70.7 88.9 93.0 ตำ่ กวา่
รายจา่ ยภาพรวม 11,785.5
2. รายจา่ ยงบประมาณเหลื่อมปี
2.1 ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 2,271.8 1,661.6 73.1
0.0 0.0
2.2 ก่อนปงี บประมาณ พ.ศ.2564 0.0 71.1
9,994.0
รวมงบเหลอื่ มปี 14,057.3
-14-
กราฟผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณภาพรวม ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 เทียบกับเป้าหมาย
การเบิกจา่ ยสะสมตั้งแต่ตน้ ปีงบประมาณจนถงึ เดอื นมิถุนายน 2565
รอ้ ยละ 77.0 80.0 90.0 100.0
100.0 70.7
80.0 54.0 60.0 65.0
53.2 62.0 66.1
60.0 42.0 45.0
32.0 46.6
40.0 10.0 20.0
20.0 18.6 25.1 38.6
36.2
0.0
Oct-64 Nov-64 Dec-64 Jan-65 Feb-65 Mar-65 Apr-65 May-65 Jun-65 Jul-65 Aug-65 Sep-65
เบกิ จา่ ยภาพรวมสะสม เป้าหมายสะสม
กราฟผลการเบิกจ่ายงบประมาณงบลงทนุ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 เทียบกับเปา้ หมาย
การเบกิ จ่ายสะสมตง้ั แต่ต้นปีงบประมาณจนถึงเดือนมิถนุ ายน 2565
120.0 รอ้ ยละ
100.0 100.0
80.0
60.0 55.0 65.0 70.0 80.0
40.0 44.1 53.4
20.0 20.0 30.0 35.0 45.0 50.0
0.0 15.0 11.5 13.5 18.4 29.1 38.6
8.8
5.0
7.9
Oct-64 Nov-64 Dec-64 Jan-65 Feb-65 Mar-65 Apr-65 May-65 Jun-65 Jul-65 Aug-65 Sep-65
เบิกจา่ ยงบลงทนุ สะสม เปา้ หมายสะสม
-15-
3. ด้านรายได้เกษตรกรในปี 2565 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 24.7 จากปัจจัยทั้งดา้ นปริมาณผลผลติ
และแนวโน้มราคาสินค้าเกษตรที่เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตามภาวการณ์ผลิตยังคงต้องเฝ้าระวังปัญหาภัยแล้ง
และความเสียหายจากภัยธรรมชาติซึ่งจะเป็นตวั บั่นทอนรายได้เกษตรกรให้แกว่งตัวตามปัจจัยที่ควบคมุ ไม่ได้
ตลอดจนแรงกดดันของอุปสงค์สินค้าเกษตรในช่วง COVID-19 ถูกฉุดรั้งจากปัจจัยการส่งออกสินค้าเกษตร
สู่ต่างประเทศให้ลดลงอีกด้วย โดยมีรายละเอียดประกอบสมมติฐาน ดังน้ี
3.1 ราคาข้าว ในปี 2565 คาดว่าเฉลี่ยที่ 9,351 บาทต่อตัน หรือคิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 26.8
จากราคาสินค้าอุปโภคบริโภคในประเทศปรับเพิ่มขึ้น ทำให้ราคาข้าวเปลือกเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
ประกอบกับภาวะแล้งที่เกิดขึ้นกับประเทศผู้ผลิตข้าว ทำให้มีปริมาณผลผลิตน้อย ราคาในตลาดปรับ
เพิ่มขึ้นใกลเ้ คยี งกบั ราคาของไทย ในขณะที่ข้าวของไทยมีคณุ ภาพที่ดีกวา่ ทำให้ผู้บริโภคหนั มาซ้ือข้าว
ของไทยมากขึ้น สง่ ผลให้ราคาขา้ วปรับสงู ข้ึน
12,000 บาท/ตนั ราคาทีเ่ กษตรกรขายไดเ้ ฉลย่ี : ข้าว
10,000 9,946 10,025 9,351
8,000 7,025 6,920 6,943 7,739 7,763 7,779 7,584 7,376 7,770
6,000
4,000
2,000
0
(ณ ม.ี ค.65) (ณ ม.ิ ย.65)
2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F
3.2 ราคาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในปี 2565 คาดว่าเฉลี่ยที่ 8,190 บาทต่อตัน หรือคิดเป็นการขยายตัว
ร้อยละ 17.5 เนื่องจากความต้องการข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เพื่อใช้เป็นส่วนผสมของอาหารสัตว์มากข้ึน
ส่งผลใหร้ ะดับราคาคอ่ นขา้ งปรับตัวสงู ขนึ้ อยา่ งต่อเนอ่ื ง
10,000 บาท/ตัน ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้เฉลี่ย : ข้าวโพดเลีย้ งสัตว์
8,000
6,000 7,807 6,787 7,513 6,882 7,459 6,178 7,918 7,808 7,023 6,970 8,1908,190
4,000
2,000
0
(ณ ม.ี ค.65) (ณ ม.ิ ย.65)
2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F
-16-
4.ด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจภายในจังหวัดพิษณุโลกอยู่ในเกณฑ์ปกติ โดยอัตราเงินเฟ้อ
ในปี 2565 คาดว่ามีทิศทางเพิ่มขึ้นท่ีระดับร้อยละ 5.5 จากแนวโน้มราคาสินค้าในกลุ่มพลังงาน เช่น น้ำมันเชื้อเพลิง
และไฟฟ้าปรับตัวสูงขึ้น ส่งผลให้ราคาสินค้าหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์สูงขึ้น ได้แก่
เครื่องประกอบอาหาร เนื้อสัตว์ เป็ดไก่ และสัตว์น้ำ อาหารบริโภคนอกบ้าน ประกอบกับหมวดอื่นๆ ไม่ใช่อาหาร
และเครอื่ งดืม่ ราคาสงู ข้ึนเชน่ กนั รวมถงึ หมวดพาหนะ การขนสง่ และการส่ือสาร หมวดเคหสถาน และหมวดการตรวจรักษา
และบรกิ ารสว่ นบุคคล
%yoy อัตราเงินเฟ้อ : Inflation
8.0
6.0 3.7 3.4 2.6 5.3 5.5
4.0
2.0 1.0 0.3 0.5 1.7
-
-2.0 -0.9 -1.8 -1.6 (ณ (ณ
-4.0 ม.ี ค.65) ม.ิ ย.65)
2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564E 2565F
ระดบั การจ้างงานในปี 2565 จำนวนผมู้ ีงานทำปรับตวั เพ่ิมข้ึนโดยคาดว่าจะมีจำนวนประมาณ 475,289 คน
เพ่ิมขึ้นจากปีก่อนประมาณ 5,610 คน หรือคิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 1.2 ตามการขยายตัวของภาคการผลิต
และภาคบริการของจังหวัด
คน การจา้ งงาน: Employment
20,000
10,000 14,120 10,099
0
(10,000) 2,384 4,950 5,610
(20,000) (2,803) (2,897)
(16) 158
(5,549) (ณ ม.ี ค.65) (ณ ม.ิ ย.65)
2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 (10,2654644E) 2565F
(17,280)
-17-
ตารางสรปุ ภาพรวมเศรษฐกิจและแนวโน้มของจังหวัดพิษณโุ ลก
เครอื่ งชเ้ี ศรษฐกจิ หนว่ ย 2563 2564E Min 2565F Max
ล้านบาท 96,586 98,729 106,054 Consensus 110,003
ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจงั หวดั %yoy -4.5 2.2
ณ ราคาปปี จั จบุ นั ล้านบาท 48,430 48,194 7.4 108,029 11.4
%yoy -5.4 -0.5 49,378 9.4 50,342
ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั 895,525 895,159
ณ ราคาปฐี าน (ปฐี าน 2531) คน -0.1 -0.04 2.5 49,860 4.5
%yoy 107,854 110,292 897,141 3.5 897,141
ประชากรในจังหวัด บาท/คน/ปี -6.1 7.8
%yoy 0.2 897,141 0.2
ผลิตภณั ฑม์ วลรวมตอ่ หวั -4.1 -1.3 118,213 0.2 122,615
ดชั นปี รมิ าณผลผลติ %yoy
ภาคการเกษตร(API) 2.6 -1.4 2.7 120,414 4.7
ดชั นีปริมาณผลผลิต %yoy -0.7 -0.2 3.7
ภาคอตุ สาหกรรม(IPI) %yoy -2.0 1.5 2.9 4.9
ดชั นีปรมิ าณผลผลิตภาคบรกิ าร(SI) %yoy 1.9 3.0 3.9
ดัชนีการบรโิ ภคภาคเอกชน (CP) %yoy -9.2 7.7 3.5 5.5
ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน (IP) %yoy 2.8 4.5 4.8
ดชั นกี ารใช้จา่ ยภาครัฐ (G) -1.6 1.7 2.7 3.8 4.7
ดชั นรี ายได้เกษตรกร %p.a. 7.0 3.7 9.0
(Farm Income) 0.9 2.7 22.4 8.0 26.9
อตั ราเงินเฟอ้ %yoy 24.7
(Inflation rate) 469,521 469,680 4.50 6.5
ระดบั ราคาเฉลย่ี ของGPP Person -10,644 158 5.5
(GPP Deflator) yoy 5.0 7.0
การจา้ งงาน 6.0
(Employment) 473,620 476,958
3,940 475,289 7,279
5,610
ทม่ี า : กลุ่มงานนโยบายและเศรษฐกิจจงั หวัด สำนักงานคลงั จังหวดั พษิ ณุโลก
ปรบั ปรงุ ล่าสุด : มิถนุ ายน 2565
ท่ีมา : กลมุ่ บรหิ ารการคลงั และเศรษฐกิจจังหวดั (CFO) สำนักงานคลังจังหวดั พิษณโุ ลก
ปรับปรงุ ล่าสุด : มิถุนายน 2559
-18-
คำนิยามตัวแปรและการคำนวณในแบบจำลองเศรษฐกิจจงั หวัดพษิ ณุโลก
GPP constant price ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั ณ ราคาปีฐาน
GPP current prices ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั ณ ราคาปีปจั จุบนั
GPPS ดชั นผี ลติ ภณั ฑ์มวลรวมจงั หวดั ณ ราคาปฐี าน ด้านอปุ ทาน
GPPD ดัชนีผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั ณ ราคาปฐี าน ดา้ นอปุ สงค์
API ดชั นปี รมิ าณผลผลติ ภาคเกษตร
IPI ดัชนปี ริมาณผลผลิตภาคอตุ สาหกรรม
SI ดชั นปี รมิ าณผลผลติ ภาคบรกิ าร
Cp Index ดัชนีการบรโิ ภคภาคเอกชน
Ip Index ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน
G Index ดชั นกี ารใชจ้ ่ายภาครฐั บาล
GPP Deflator ระดับราคาเฉลี่ยของผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั พษิ ณุโลก
CPI ดชั นีราคาผู้บริโภคจงั หวดั พิษณโุ ลก
PPI ดัชนีราคาผผู้ ลิตระดับประเทศ
Inflation rate อตั ราเงนิ เฟ้อจังหวดั พษิ ณุโลก
Farm Income Index ดชั นีรายไดเ้ กษตรกร
Population จำนวนประชากรของจงั หวดั พิษณโุ ลก
Employment จำนวนผู้มงี านทำของจังหวัดพิษณโุ ลก
%yoy อัตราการเปลย่ี นแปลงเทยี บกับชว่ งเดียวกนั ของปีก่อน
Base year ปฐี าน (2548 = 100)
Min สถานการณ์ทค่ี าดวา่ เลวรา้ ยที่สดุ
Consensus สถานการณ์ทีค่ าดวา่ จะเป็นได้มากทส่ี ุด
Max สถานการณ์ทีค่ าดวา่ ดที สี่ ดุ
การคำนวณดัชนี
จัดทำขึ้นเพื่อใช้ติดตามภาวการณ์ผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของจังหวัดพิษณุโลก
เป็นรายเดือน ซึ่งจะล่าช้าประมาณ 1เดือนครึ่ง (45 วัน) โดยการคำนวณ API (Q), IPI (Q), SI (Q) ได้กำหนดปีฐาน 2548
ซึ่งคำนวณจากเครื่องชี้ผลผลิตภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของจังหวัดจังหวัดพิษณุโลกรายเดือนอนุกรม
เวลาย้อนหลงั ไปตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา
ดัชนีช้ีวัดเศรษฐกจิ ดา้ นอปุ ทาน (Supply Side หรอื Production Side: GPPS)
ประกอบด้วย 3 ดัชนีไดแ้ ก่
1) ดชั นภี าคบรกิ ารจังหวดั พษิ ณุโลก โดยใหน้ ้ำหนัก 0.60437
2) ดัชนีภาคเกษตรกรรมจงั หวัดพิษณโุ ลก โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.29398
3) ดัชนีภาคอตุ สาหกรรมจงั หวัดพิษณุโลก โดยให้นำ้ หนัก 0.10165
การกำหนดน้ำหนักของแต่ละองค์ประกอบของดัชนี โดยหาสัดส่วนจากมูลค่าเพิ่มราคาปีปัจจุบันของเครื่องชี้เศรษฐกิจ
ภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตร) เครื่องชี้เศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรม (สาขาเหมืองแร่ สาขาอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้า และ
สาขาประปา) และเครื่องชี้เศรษฐกิจภาคบริการ (14 สาขาตั้งแต่สาขาก่อสร้าง ถึงสาขาบริการอื่น ๆ) จากข้อมูลGPP ของสศช.
เทียบกบั GPP รวม ณ ราคาปปี จั จุบันของ สศช.
ดชั นีปรมิ าณผลผลิตภาคเกษตร (Agricultural Production Index: API)
-19-
• ประกอบไปด้วยองคป์ ระกอบทัง้ สน้ิ 6 ตวั คือ
- ปรมิ าณผลผลิต : ข้าวนาป+ี นาปรงั โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.74002
- ปรมิ าณผลผลติ : ขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์ โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.06940
- ปริมาณผลผลิต : มะมว่ ง โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.09502
- ปรมิ าณผลผลิต : ยางพารา โดยใหน้ ้ำหนัก 0.00647
- ปรมิ าณผลผลติ : ออ้ ยโรงงาน โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.04833
- ปรมิ าณผลผลติ : มนั สำปะหลัง โดยให้นำ้ หนัก 0.04077
• โดยตัวชวี้ ัดทุกตวั ได้ปรับฤดกู าล (Seasonal Adjusted : SA) แลว้
การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ API(Q) ให้น้ำหนักของเครื่องชี้ข้างต้น ได้จากสัดส่วนมูลค่าเพิ่ม
ของเครอ่ื งช้ี ณ ราคาปีปจั จุบัน กับ GPP แบบ Bottom up ณ ราคาปปี ัจจบุ ันภาคเกษตรกรรม (สาขาเกษตร และสาขาประมง)
ดชั นีปริมาณผลผลิตภาคอตุ สาหกรรม(Industrial Production Index: IPI)
• ประกอบไปด้วยองค์ประกอบทงั้ สนิ้ 4 ตัว คอื
- ปริมาณการใชไ้ ฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม โดยใหน้ ้ำหนัก 0.27291
0.27217
- จำนวนโรงงานอุตสาหกรรม โดยให้น้ำหนัก 0.28924
0.16568
- ทุนจดทะเบียนของโรงงานอตุ สาหกรรมใหม่ โดยให้น้ำหนัก
- ภาษมี ูลเพ่ิมโรงงานอุตสาหกรรม โดยให้น้ำหนัก
การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำ IPI ให้น้ำหนักของเครื่องชี้จากหาความสัมพันธ์Correlation ระหว่าง
เครื่องชี้เศรษฐกิจผลผลิตอุตสาหกรรมรายปี กับ GPP(สศช.) ณ ราคาคงที่ภาคอุตสาหกรรม (สาขาเหมืองแร่ สาขาอุตสาหกรรม
และสาขาไฟฟ้า)
ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคบรกิ าร(Service Index: SI) โดยให้น้ำหนัก 0.38509
• ประกอบไปดว้ ยองค์ประกอบทัง้ สน้ิ 6 ตวั คือ โดยให้นำ้ หนัก 0.33425
- ยอดขายสินคา้ ท้งั ปลกี และส่ง โดยใหน้ ้ำหนัก 0.19228
- สาขาการศกึ ษา โดยใหน้ ้ำหนัก 0.02868
- ปรมิ าณเงนิ ฝากรวม(ตัวกลางฯ) โดยให้นำ้ หนัก 0.02868
- จำนวนผู้โดยสารผา่ นสนามบนิ โดยให้น้ำหนัก 0.03102
- จำนวนผมู้ าเย่ยี มเยือนจงั หวดั
- ภาษีมูลคา่ เพิ่มหมวดโรงแรมและภตั ตาคาร
การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำSI ให้น้ำหนักของเครื่องช้ี โดยเครื่องชี้ภาคบริการ ด้านขายส่งขายปลีก
การศึกษา ตัวกลางทางการเงิน การขนส่ง และโรงแรม ได้จากสัดส่วนของ GPP ณ ราคาปีปัจจุบัน 2561 (สศช.) เทียบ GPP
รวมภาคบรกิ าร ณ ราคาปปี ัจจุบนั (สศช.) หารดว้ ยจำนวนเครือ่ งช้ีในดา้ นนัน้ ๆ
ดัชนชี ี้วดั เศรษฐกิจด้านอุปสงค(์ DemandSide:GPPD)
จัดทำขึ้นเพื่อใช้ติดตามภาวะการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคภาคเอกชนการลงทุน และใช้จ่ายภาครัฐของจังหวัดพิษณุโลก
เป็นรายเดือน ซึ่งจะล่าช้าประมาณ 1เดือนครึ่ง (45 วัน) โดยการคำนวณ Cp Index, Ip Index, G Index ได้กำหนดปีฐาน 2548
ซึ่งคำนวณจากเครื่องชี้ภาวะการใช้จ่ายเพ่ือการบริโภคภาคเอกชนการลงทุน และใช้จา่ ยภาครัฐของจังหวดั พิษณุโลกเปน็ รายเดือน
อนกุ รมเวลาย้อนหลงั ไปตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา
• ประกอบไปด้วย 3 ดัชนีไดแ้ ก่ โดยให้นำ้ หนกั 0.34541
(1) ดัชนีการบรโิ ภคภาคเอกชน
(2) ดัชนกี ารลงทนุ ภาคเอกชน โดยให้น้ำหนกั 0.32830
(3) ดัชนกี ารใช้จ่ายภาครฐั โดยใหน้ ้ำหนกั 0.32630
การกำหนดนำ้ หนักของแตล่ ะองคป์ ระกอบของดัชนี โดยหาค่าเฉลย่ี ในแตล่ ะดชั นี เทยี บกับเทียบกับGPP constant price
โดยเฉลย่ี เพ่อื หาสัดส่วนและคำนวณหาน้ำหนักจากสัดสว่ นของแต่ละดชั นเี ทยี บผลรวมสดั ส่วนดชั นรี วมท้ังหมด
-20-
ดชั นีการบริโภคภาคเอกชน (Private Consumption Index: Cp Index)
• ประกอบไปดว้ ยองคป์ ระกอบท้ังสนิ้ 4 ตัว คอื
- ภาษีมูลคา่ เพิ่มท่ีจดั เกบ็ ได้ โดยให้นำ้ หนกั 0.63067
0.22002
- จำนวนรถยนตน์ งั่ สว่ นบคุ คลจดทะเบียนใหม่ โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.09158
0.05774
- ปริมาณการใชไ้ ฟฟา้ ของครัวเรือนทีอ่ ยูอ่ าศยั โดยใหน้ ้ำหนกั
- ปริมาณรถจกั รยานยนต์จดทะเบียนใหม่ โดยให้น้ำหนกั
การกำหนดน้ำหนักขององค์ประกอบในการจัดทำCp Index ให้น้ำหนักของเครื่องชี้ จากการหาค่าเฉลี่ยของเครื่องชี้
ในการจัดทำCp Index และแปลงเป็นมูลค่าหนว่ ยเดียวกัน (บาท) แล้วหาน้ำหนักจากสัดส่วนมูลค่าเครื่องชี้ฯ เทียบกับมูลค่ารวม
ของเครอ่ื งชท้ี ั้งหมด
ดชั นีการลงทุนภาคเอกชน (Private Investment Index: Ip)
• ประกอบไปด้วยองคป์ ระกอบทั้งสน้ิ 4 ตัว คอื
- สินเชอื่ เพ่อื การลงทนุ โดยให้น้ำหนกั 0.64613
- จำนวนรถยนต์พาณชิ ย์ท่จี ดทะเบยี นใหม่ โดยให้นำ้ หนัก 0.07483
- พนื้ ท่ไี ด้รับอนญุ าตใหก้ อ่ สรา้ งรวม โดยใหน้ ้ำหนัก 0.21193
- ทนุ จดทะเบียนนติ ิบคุ คลใหม่ โดยใหน้ ำ้ หนกั 0.06711
การกำหนดนำ้ หนักขององค์ประกอบในการจัดทำIp Index ให้น้ำหนักของเครื่องชี้ จากการหาค่าเฉลี่ยของเคร่ืองชี้ในการ
จัดทำ Ip Index และแปลงเป็นมูลค่าหน่วยเดียวกัน (บาท) แล้วหาน้ำหนกั จากสดั ส่วนมลู ค่าเครื่องช้ีฯ เทียบกับมูลคา่ รวม
ของเคร่อื งช้ีทั้งหมด
ดชั นีการใช้จา่ ยภาครฐั (Government Expenditure Index: G)
• ประกอบไปดว้ ยองค์ประกอบทง้ั สนิ้ 4 ตัว คือ
- รายจ่ายประจำภาครัฐ ท้ังสว่ นกลางและสว่ นภมู ภิ าค โดยใหน้ ้ำหนัก 0.67225
- รายจ่ายลงทุนภาครัฐ ทั้งสว่ นกลางและสว่ นภมู ภิ าค โดยให้นำ้ หนกั 0.21266
- รายจา่ ยประจำส่วนทอ้ งถน่ิ โดยใหน้ ำ้ หนัก 0.09070
- รายจ่ายลงทนุ สว่ นทอ้ งถนิ่ โดยใหน้ ้ำหนัก 0.02439
การกำหนดนำ้ หนกั ขององค์ประกอบในการจดั ทำ G Index ให้นำ้ หนกั ของเคร่ืองช้ี จากการหาค่าเฉลย่ี ของเคร่ืองช้ใี นการ
จัดทำ G Index และแปลงเปน็ มลู ค่าหน่วยเดยี วกนั (บาท) แล้วหานำ้ หนักจากสัดสว่ นมลู คา่ เครื่องช้ีฯ เทียบกบั มูลค่ารวมของ
เคร่ืองชี้ท้ังหมด
ผลิตภัณฑม์ วลรวมจังหวัด ณ ราคาคงที่ (GPP constant price) โดยให้นำ้ หนัก 0.70000
โดยให้น้ำหนกั 0.30000
• ประกอบไปด้วยดชั นี 2 ด้าน
- ดชั นชี ีว้ ดั เศรษฐกจิ ด้านอปุ ทาน(GPPS)
- ดชั นชี ี้วัดเศรษฐกจิ ดา้ นอุปสงค(์ GPPD)
ดัชนีช้วี ัดดา้ นเสถยี รภาพเศรษฐกจิ โดยให้นำ้ หนกั 0.70000
โดยใหน้ ้ำหนกั 0.30000
• GPP Deflator : ระดับราคา ประกอบไปด้วย
- ดชั นรี าคาผผู้ ลิต (PPI)
- ดชั นีราคาผ้บู รโิ ภคจงั หวดั พษิ ณุโลก (CPI)
• การเปลย่ี นแปลงของจำนวนผมู้ ีงานทำ
คำนวณจาก GPP constant price X 0.355517 (อตั ราการพึ่งพาแรงงาน)
-21-
อัตราการพ่ึงพาแรงงาน
คำนวณจากการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย(Simple Linear Regression Analysis)โดยมีรูปแบบ
ความสมั พันธ์ คอื ln(Emp) = +(ln(GPP))
โดยที่ Emp =จำนวนผมู้ งี านทำจำแนกตามอตุ สาหกรรม และเพศของจงั หวดั พิษณุโลก
ขอ้ มลู Website สำนักงานสถิติแห่งชาติ ซ่งึ ใช้ปี 2548–2561 โดยไมร่ วม
จำนวนผ้มู งี านทำในสาขาการกอ่ สรา้ ง
GPP =ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั พษิ ณุโลก ณ ราคาคงที่ ข้อมูลจาก สศช.
ซงึ่ ใชป้ ี 2548–2561 โดยไม่รวม GPP สาขาการกอ่ สรา้ ง
หน่วยงานผสู้ นบั สนนุ ขอ้ มูลในการประมาณการเศรษฐกจิ ประกอบดว้ ย
ส่วนราชการภาครฐั ทอ้ งถิ่น รฐั วิสาหกจิ และภาคเอกชนในจงั หวดั
สานกั งานคลงั จงั หวดั พษิ ณโุ ลกขอขอบคณุ ทกุ หนว่ ยงานในการสนบั สนนุ ขอ้ มลู
สว่ นราชการ รัฐวสิ าหกจิ และหน่วยธุรกิจในจงั หวัดพษิ ณุโลกทสี่ นบั สนนุ ข้อมูล
สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จงั หวดั พิษณุโลก สำนักงานจัดหางานจังหวัดพษิ ณุโลก
สำนกั งานเกษตรจังหวดั พิษณุโลก สำนกั งานแรงงานจงั หวัดพษิ ณโุ ลก
สำนกั งานสรรพากรพื้นทพี่ ษิ ณุโลก ทา่ อากาศยานจงั หวัดพิษณโุ ลก
สำนักงานสรรพสามติ พน้ื ทพี่ ษิ ณโุ ลก สมาคมธรุ กิจท่องเที่ยวจงั หวัดพษิ ณโุ ลก
สำนกั งานขนสง่ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก หอการคา้ จงั หวดั พิษณโุ ลก
สำนักงานพาณชิ ย์จังหวดั พิษณโุ ลก สภาอุตสาหกรรมจังหวัดพษิ ณุโลก
สำนักงานการค้าภายในจังหวัดพิษณุโลก ชมรมธนาคารจังหวดั พษิ ณุโลก
สำนกั งานพฒั นาธุรกิจการค้าจังหวัดพษิ ณุโลก ธนาคารออมสนิ เขตพิษณโุ ลก
สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั พษิ ณุโลก ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สาขาพษิ ณโุ ลก
สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา- ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร
พิษณุโลก เขต 1 สาขาพิษณโุ ลก
สำนกั งานอุตสาหกรรมจังหวัดพิษณุโลก โรงสไี ฟสงิ หวัฒน์ จงั หวดั พิษณโุ ลก
สำนักงานสถติ ิจงั หวัดพิษณุโลก สำนกั งานการทอ่ งเท่ยี วแห่งประเทศไทย สนง.
การไฟฟา้ สว่ นภมู ิภาคจังหวัดพิษณุโลก พษิ ณโุ ลก
สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร เขต 2 สำนักบริหารพืน้ ที่อนุรกั ษ์ที่ 11
สำนักงานทอ่ งเที่ยวและกฬี าจังหวดั พษิ ณโุ ลก สำนกั งานชลประทานท่ี 3
สำนกั งานโยธาธกิ ารและผงั เมอื งจังหวดั พษิ ณุโลก แขวงการทางพิษณุโลก กรมทางหลวง
สำนกั งานประกนั สังคมจังหวดั พิษณโุ ลก องค์การบริหารส่วนจังหวัดพิษณุโลก
เทศบาลนครพษิ ณโุ ลก เทศบาลตำบลบ้านคลอง
เทศบาลตำบลอรัญญิก เทศบาลตำบลหวั รอ
เทศบาลตำบลเนนิ ก่มุ