The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศรัญญู รัตนวิเชียร, 2022-05-20 00:29:08

หน่วยที่ 3 นิติกรรม-สัญญา

สื่อการเรียนรู้

บทท่ี นิติกรรม-สญั ญา
3

สาระการเรยี นรู้

1. นิติกรรม
- ความหมายและลักษณะของนิติกรรม
- วตั ถปุ ระสงค์ของนิติกรรม
- แบบของนิติกรรม
- ความสมบูรณ์ของนิติกรรม
- หลักเกณฑ์เกี่ยวกับเรอื่ งการแสดงเจตนา
ในการเข้าทานิติกรรม
2. สัญญา
- ความหมายของสัญญา
- คาม่นั
- สัญญาต่างตอบแทนกับสัญญาไมต่ า่ งตอบแทน
- มัดจากับเบย้ี ปรบั
- การเลิกสัญญา

1. นิติกรรม

“นิติกรรม”

นิ ติ ก ร ร ม จั ด เป็ น บ่ อ เ กิ ด แห่ ง ห น้ี
ลักษณะหน่ึงที่เกิดจากความสมัครใจของ
บุคคล โดยความหมาย และลักษณะของ
นิติกรรมปรากฏในประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชยบ์ รรพท่ี 1

1. นิติกรรม

ความหมายและลักษณะของนิติกรรม
“นิติกรรม หมายความว่า การใด ๆ อันทาลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจ

สมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพ่ือจะก่อเปล่ียนแปลง
โอนสงวนหรอื ระงับซ่งึ สิทธิ”

นิติกรรมมอี งค์ประกอบอยู่ 5 ประการ คือ

1. การใด ๆ หมายถึงการกระทาของบุคคลซึ่งกฎหมายไม่ระบุว่ามีก่ีคน ดังน้ัน
คนเพียงคนเดียว ก็สามารถทา นิติกรรมได้
2. กระทาลงโดยชอบด้วยกฎหมาย
3. กระทาด้วยความสมัครใจ คือไม่มีใครมาบังคับ ขู่เข็ญ หรอื ทา ให้ล่มุ หลงมัว
เมาขาดสติ
4. มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ คือการเคล่ือนไหวแห่งสิทธิจากการทานิติ
กรรมซ่งึ ต่างจากสทิ ธหิ น้าทใ่ี นเรอ่ื งละเมดิ จัดการงานนอกสงั่ หรอื ลาภมิควรได้
5. กระทาเพ่ือจะก่อเปล่ียนแปลงโอนสงวนหรอื ระงับซึ่งสทิ ธิซ่ึงรวมแล้วเรยี กว่า
การเคลื่อนไหวแห่งสทิ ธิ

1. นิติกรรม

วตั ถุประสงค์ของนิติกรรม

1. การน้ันเปน็ การต้องห้ามตามกฎหมาย กล่าวคือ บุคคลสามารถจะทานิติกรรมใดก็ได้
เวน้ แต่นิติกรรมนั้นจะต้องห้ามตามกฎหมาย เช่น ขายยาเสพติด ขายอาวธุ สงคราม

2. การน้ันเปน็ การพน้ วิสัย คือไม่มีทางท่บี ุคคลใด ๆ จะทาใหก้ ารน้ันสาเรจ็ ได้
เชน่ ตกลงจ้างคน มาฝกึ ให้ลิงสามารถพดู ภาษามนุษย์ได้

3. การน้ันขดั ต่อความสงบเรยี บรอ้ ย กล่าวคือ นิติกรรมนั้นจะก่อให้
เกิดความวนุ่ วายหรอื กระทบความสงบของประชาชน

4. การนั้นขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน เช่น จ้างให้เดิน
เปลือยกายการทาสญั ญายินยอม ใหค้ ่สู มรสมีค่คู รองได้หลายคน

1. นิติกรรม

แนวของนิติกรรม

1. แบบของนิติกรรมท่ตี ้องทาเปน็ หนังสอื และจดทะเบยี นต่อพนักงานเจ้าหน้าทย่ี กตัวอย่าง
เชน่ การซอ้ื ขายอสังหารมิ ทรพั ย์ การจานอง การใหอ้ สงั หารมิ ทรพั ย์

2. แบบของนิติกรรมที่ต้องทาเปน็ หนังสือ ซงึ่ คาวา่ ทาเปน็ หนังสอื นี้ต่างจากคาว่ามี
หลักฐานเป็นหนังสอื เพราะคาวา่ ทาเป็นหนังสือเป็นเรอ่ื งแบบของนิติกรรม หากไม่
ทาผลจะเป็นโมฆะ ก็เทา่ กับว่านิติสมั พันธ์ไมเ่ กิดขึ้น

3. แบบของนิติกรรมทต่ี ้องจดทะเบยี นต่อเจ้าหน้าที่ เช่น การจัดต้ังบรษิ ัท

4. แบบของนิติกรรมทต่ี ้องทาเป็นหนังสือต่อเจ้าหน้าท่ี
เช่น การทา พินัยกรรมฝา่ ยเมืองหรอื เอกสารลับ

1. นิติกรรม

ความสมบูรณ์ของนิติกรรม

1. นิติกรรมท่ีสมบูรณ์ หมายความวา่ นิติกรรมทีก่ ่อใหเ้ กิดนิติสมั พนั ธค์ ือมีการเคลื่อนไหว
แหง่ สทิ ธิ เช่น นายแดงซ้ือก๋วยเต๋ียวจากนายดา นายแดงมีสิทธิรบั ประทานก๋วยเต๋ียวและ
นายดามีสทิ ธเิ รยี กเอาเงินจากนายแดง

2. นิติกรรมที่เปน็ โมฆะ หมายความวา่ นิติกรรมน้ันเสียเปล่าไม่ก่อให้เกิดการ
เคลื่อนไหวแหง่ สทิ ธิ เช่น นายแดงซ้อื เฮโรอีนจากนายดา นายแดงไม่ยอมจ่าย
เงนิ นายดาจะเรยี กเอาเงนิ จากนายแดงไม่ได้

3. นิติกรรมที่เป็นโมฆียะ หมายความวา่ นิติกรรมนั้นสมบูรณ์จนกวา่
จะมีการบอกล้างให้เป็นโมฆะ ซ่ึงหากเราพจิ ารณาจากความหมายของ
นิติกรรมที่เป็นโมฆยี ะ จะเหน็ ว่าเปน็ นิติกรรมทสี่ มบูรณ์ ดังน้ัน ความ
เคล่ือนไหวแหง่ สิทธยิ ังคงเกิดขน้ึ เหมือนนิติกรรมทส่ี มบูรณ์

1. นิติกรรม

หลักเกณฑท์ เ่ี ก่ียวกับเรอ่ื งการแสดงเจตนาในการเข้าทานิติกรรม

1. เจตนาลวง หมายถึง เจตนาทีแ่ สดงขึน้ มาเพอื่ ลวงหรอื ไม่ตรงกับเจตนาท่ีแท้จรงิ
2. นิติกรรมอาพราง หมายถึง การทานิติกรรมหนึ่งอาพรางอีกนิติกรรมหน่ึง กฎหมายให้
นานิติกรรมที่ถกู อาพรางมาใช้บังคับ

3. การสาคัญผิดในสาระสาคัญ
4. นิติกรรมท่ีสาคัญผิดในคณุ สมบัติ
5. การแสดงเจตนาท่ีถกู กลฉ้อฉล คาว่ากลฉ้อฉล หมายความถึง
การใชอ้ ุบายล่อลวงใหอ้ ีกฝา่ ยหน่ึงหลงเชอ่ื
6. การแสดงเจตนาเพราะถกู ข่มขู่

2. สญั ญา

ความหมายของสัญญา

“สญั ญา”

หมายถึง นิติกรรมที่บุคคลตั้งแต่ 2 ฝ่าย
ขึ้นไปตกลงทากัน โดยฝ่ายหนึ่งเป็นผู้ทาคา
เสนอ และอีกฝ่ายหน่ึงเป็นผู้ทาคาสนองใน
คาเสนอนั้น และสัญญาจะเกิดขึ้นเมื่อคา
เสนอตรงกับคาสนอง แต่บางครงั้ คาสนอง
ท่ีไม่ตรงกับคาเสนอ อาจจะเป็นคาเสนอขึ้น
ใหม่ก็ได้

2. สัญญา

คาม่ัน

1. ผู้ที่ใหค้ าม่ันต้องใหร้ างวัลแก่ผู้ที่กระทาการสาเรจ็ แม้ว่าผู้น้ันจะไม่ได้ทา เพราะเห็นแก่รางวัล
2. ถ้ายังไม่มีผู้ใดทาสาเรจ็ ตามคามั่น อาจถอนคาม่ันด้วยวิธีการเดียวกันกับท่ีโฆษณา ถ้าทา
ไม่ได้ก็ให้ใชว้ ธิ อี ื่นได้แต่การใช้วธิ ีอื่นน้ีก็ให้ถือวา่ การถอนคาม่ันจะสมบูรณ์เฉพาะคนทรี่ ูเ้ ท่านั้น
3. ถ้าเป็นคาม่ันทมี่ ีกาหนดเวลาให้สันนิษฐานไวก้ ่อนว่าได้สละสิทธิถอนคา ม่ันก่อนกาหนดเวลา
แปลวา่ เมื่อยังไม่ถึงกาหนดเวลาก็ใหส้ นั นิษฐานก่อนว่าคาม่ันยังไม่มีการถอน
4. ถ้ามีคนทาได้ตามคามั่นหลายคน คนทาได้ก่อนมีสทิ ธิรบั รางวลั
5. ถ้ามีคนทา ได้หลายคนพรอ้ มกันก็ใหแ้ บ่งรางวัลเท่า ๆ กัน แต่ถ้าโดย
สภาพของรางวลั เปน็ ทรพั ย์ทีแ่ บง่ ไม่ได้ก็ใหจ้ ับสลาก

2. สัญญา

สญั ญาต่างตอบแทนกับสญั ญาไมต่ ่างตอบแทน

1. สัญญาต่างตอบแทน หมายถึง สัญญาที่คู่สัญญาทง้ั 2 ฝ่าย
มสี ทิ ธหิ น้าทีต่ ่อกันและกัน
2. สัญญาไม่ต่างตอบแทน หมายถึง สัญญาท่ีคู่สัญญามี
หน้าท่ีต่ออีกฝา่ ยหน่ึงแต่อีกฝา่ ยหน่ึงไมม่ หี น้าที่

2. สัญญา

มดั จากับเบย้ี ปรบั

มัดจา หมายถึง ส่ิงที่มอบไว้ให้แก่คู่สัญญาอีกฝ่ายหน่ึงเมื่อเข้าทา สัญญาเพ่ือเป็นการ
ประกัน การท่ีจะปฏิบัติตามสัญญาน้ัน ซึ่งมัดจากฎหมายใช้คาว่า “สิ่ง” ดังน้ัน มัดจาจะเป็น
เงนิ หรอื สง่ิ ของก็ได้ แต่ต้องมีการมอบให้ไวแ้ ก่กัน

ผลของการวางมัดจา มีดังน้ี
1. กรณีฝ่ายที่วางมัดจาไม่ปฏิบัติตามสัญญาหรอื กรณีไม่สามารถ
ปฏิบัติตามสัญญาได้ เพราะพฤติการณ์ท่ีฝ่ายที่วางมัดจาต้องรบั ผิดชอบ
อีกฝ่ายมีสทิ ธิรบิ มัดจา
2. กรณีฝ่ายที่รบั มัดจาไม่ปฏิบัติตามสัญญาหรอื กรณีไม่สามารถ
ปฏิบัติตามสัญญาได้เพราะพฤติการณ์ท่ีฝ่ายที่รบั มัดจาต้องรบั ผิดชอบ
ต้องส่งคืนมัดจา
3. กรณีท่ีปฏิบัติตามสัญญาได้ให้คืนมัดจาหรอื เอามัดจาเป็นการ
ชาระหน้ีบางส่วน

2. สัญญา

มดั จากับเบีย้ ปรบั

เบ้ียปรบั หมายถึง เงินที่คู่สัญญาตกลงจะให้อีกฝ่ายหนึ่ง หากไม่ชาระหน้ีหรอื ชาระหน้ี
ไม่ถูกต้อง หรอื ผิดนัดชาระหน้ี โดยกฎหมายกาหนดหลักเกณฑไ์ วด้ ังนี้

1. หากลูกหนี้ตกลงจะใช้เบี้ยปรบั หากตนไม่ชาระหน้ี ถ้าเจ้าหนี้จะเรยี กเอาเบี้ยปรบั แทน
การชาระหน้ีก็เป็นอันขาดต่อสิทธิเรยี กรอ้ งให้ชาระหน้ี

2. หากลูกหนี้ตกลงจะใหเ้ บี้ยปรบั เมื่อตนชาระหนี้ไม่ถกู ต้อง เช่น ชาระหน้ี
ไม่ตรงตามเวลา นอกจากจะเรยี กใหช้ าระหนี้จะเรยี กเอาเบี้ยปรบั ด้วยก็ได้

3. ถ้าเบีย้ ปรบั สงู เกินส่วน ศาลจะลดจานวนเป็นจานวน
พอสมควรได้

2. สัญญา

การเลิกสญั ญา

1. กรณีในสัญญามีข้อกาหนดให้เลิกสัญญา การเลิกสัญญาทาได้โดยฝ่ายหน่ึงแสดง
เจตนาเลิกสัญญาแก่อีกฝ่ายหน่ึง และอีกฝ่ายหน่ึงตอบรบั เจตนาน้ัน แปลว่าท้ังสองฝ่ายต้อง
ให้ความยินยอมเลิกสัญญา

2. ถ้าฝา่ ยหนึ่งไม่ชาระหน้ีอีกฝา่ ยหนึ่งต้องกาหนดระยะเวลาให้ชาระหนี้
พอสมควร และเมื่อถึงกาหนดเวลาแล้วยังไม่มีการชาระหนี้ก็ใหเ้ ลิกสัญญาได้

3. ถ้าเปน็ สญั ญาทม่ี ีวตั ถปุ ระสงค์ว่าโดยสภาพแล้วการชาระหน้ี
ณ เวลาทกี่ าหนดไว้เป็นลักษณะสาคัญ

4. การชาระหน้ีเป็นพ้นวสิ ยั อันโทษลกู หนี้ได้เจ้าหนี้บอกเลิก
สญั ญาได้

สรุป

นิติกรรม เป็นบ่อเกิดแห่งหน้ีลักษณะหนึ่งอันเกิดจากความสมัครใจของ
บุคคล กฎหมายจึงได้ให้ความสาคัญเกี่ยวกับการแสดงเจตนาของบุคคล และ
กาหนดผลทางกฎหมายให้สมบูรณ์ข้ึน เม่ือมีการแสดงเจตนาท่ีวิปรติ ผิดเพี้ยน
ไป เช่น การสาคัญผิด การถูกฉ้อฉล การถูกข่มขู่ ส่วนสัญญา คือการท่ีบุคคล
สมัครใจเข้าผูกมัดตนในภาระหน้าที่หนึ่งกับอีกฝ่ายหนึ่ง ท้ังน้ีเพื่อให้เกิดการ
ปฏิบัติตามสัญญา กฎหมายจึงกาหนดหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ไว้ เช่น เรอ่ื งมัดจา
เบย้ี ปรบั เปน็ ต้น


Click to View FlipBook Version