The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ธรรมชาติของภาษา-และการเปลี่ยนแปลงของภาษา (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by krunongporn2531, 2021-08-14 23:11:50

ธรรมชาติของภาษา-และการเปลี่ยนแปลงของภาษา (1)

ธรรมชาติของภาษา-และการเปลี่ยนแปลงของภาษา (1)

ธรรมชาตขิ องภาษา

ธรรมชาตขิ องภาษา

1. ภาษาใชเ้ สียงสื่อความหมาย ซ่งึ ต้องประกอบดว้ ยหน่ วยเสียง (เป็นหน่ วยใน
ภาษา) และความหมาย

ความหมายของภาษามี 2 อยา่ ง คือ

1.1 ความหมายอยา่ งกวา้ ง ภาษา หมายถึง การแสดงออกเพื่อส่ือความหมาย
โดยมรี ะบบกฎเกณฑ์เข้าใจกนั ระหว่างสองฝ่ายอาจจะเป็นการแสดงออกทาง
เสียง ทา่ ทาง หรอื สัญลกั ษณ์ตา่ ง ๆ และอาจเป็นการสื่อความหมายระหวา่ ง
มนษุ ยห์ รอื ระหว่างสัตว์กไ็ ด้

1.2. ความหมายอยา่ งแคบ ภาษา หมายถึง ถ้อยคําท่มี นษุ ยใ์ ชส้ ่ือความหมาย

ธรรมชาตขิ องภาษา (ตอ่ )

2. เสียงกบั ความหมายมีความสัมพันธก์ นั มีสาเหตเุ กดิ จากการเลียนเสียง จาก
ธรรมชาติ เชน่

- เกิดจากการเลยี งเสียงจากส่ิงต่าง ๆ เชน่ เพลง้ , โครม , ปัง เป็นต้น
- เกิดจากการเลียนเสียงของสัตว์ เชน่ แมว , ตุ๊กแก
- เกิดจากการเลยี นเสียงจากส่ิงส่ิงนั้ น เชน่ หวูด , ออด

ธรรมชาตขิ องภาษา (ตอ่ )

2. เสียงกบั ความหมายมีความสัมพันธ์กัน มสี าเหตเุ กดิ จากการเลยี นเสียง จาก
ธรรมชาติ เชน่

-เกิดจากเสียงสระหรอื พยญั ชนะทม่ี ีความสัมพันธก์ บั ความหมาย เชน่ เซ , เป๋
มคี วามหมายวา่ ไม่ ตรง (แตเ่ ป็นเพียงส่วนน้ อยในภาษาเทา่ นั้น)

- ภาษาถ่นิ บางถ่ินจะมเี สียงสัมพันธก์ บั ความหมาย เชน่ สระเอาะ หรอื ออ
ภาษาถ่ินบางถ่ินจะบอก ความหมายว่าเป็นขนาดเลก็ ดังเชน่ จ่อว่อ หมายถึง
เลก็ , โจ่โว่ หมายถึง ใหญ่ เป็นตน้

ธรรมชาตขิ องภาษา (ตอ่ )

3. เสียงกับความหมายไม่สัมพันธ์กัน เชน่ เด็ก น้ อย เดิน เสียงจะไม่สัมพันธก์ นั
แต่เราก็รูว็ า่

"เดก็ " หมายถึง คนท่มี อี ายนุ ้ อย
"น้ อย" หมายถึง เล็ก และ
"เดนิ " หมายถึง การยกเทา้ กา้ วไป
เป็นการตกลงกัน ของคนทใ่ี ชเ้ สียงนั้ น ๆ ว่าจะให้มีความหมายเป็นอย่างไร

ธรรมชาตขิ องภาษา (ตอ่ )

4. หน่วยในภาษาประกอบกันเป็นพยางค์ท่ใี หญ่ข้ึน หน่ วยในภาษา หมายถึง
ส่วนประกอบของภาษา ได้แก่ เสียง คํา และประโยค ซ่งึ เราสามารถนํ า เสียงท่ี
มีอย่อู ย่างจาํ กัดมาสรา้ งคําได้เพ่ิมข้ึน และนํ าคํามาสรา้ งเป็นประโยค
ต่าง ๆ ได้มากข้ึน เชน่ ฉันกนิ ข้าว อาจจะเพ่ิมคําเป็น "ฉันกนิ ข้าวผดั กะเพรา"
เป็นต้น

ธรรมชาตขิ องภาษา (ตอ่ )

5. ภาษามกี ารเปล่ียนแปลง การเปล่ียนแปลงของภาษามีสาเหตุ ดังน้ี

1. การพูดจาในชวี ิตประจาํ วัน

- การกรอ่ นเสียงพยางค์หน้ า เชน่

หมากขาม เป็น มะขาม สาวใภ้ เป็น สะใภ้

- ตัวอพั ภาส เป็นการตัดเสียง หรอื การกรอ่ นจากตัวท่ซี าํ้ กนั เชน่

ยบั ยับ เป็น ยะยบั วบิ วิบ เป็น วะวบิ

รร่ี ่ี เปน ระร่ี

- การกลมกลนื ของเสียง เชน่

อย่างไร เป็น ยงั ไง ดฉิ ัน เป็น เด๊ียน

อนั หน่ึ ง เป็น อน่ึ ง

ธรรมชาตขิ องภาษา (ตอ่ )

5. ภาษามกี ารเปล่ียนแปลง การเปล่ยี นแปลงของภาษามสี าเหตุ ดงั น้ี
2. อทิ ธพิ ลของภาษาอ่ืน เชน่ ภาษาอังกฤษจะมอี ิทธพิ ลมากทส่ี ดุ

มกี ารยมื คํา และประโยคมาใชท้ าํ ให้เป็นเกดิ เป็นสํานวนต่างประเทศ
และมีการดดั แปลงเพ่ือให้เข้ากับลักษณะภาษาไทย

ธรรมชาตขิ องภาษา (ตอ่ )

5. ภาษามกี ารเปล่ยี นแปลง การเปล่ยี นแปลงของภาษามสี าเหตุ ดังน้ี
3. ความเปล่ยี นแปลงของส่ิงแวดล้อม เม่ือมสี ่ิงใหม่ ๆ เกิดข้ึน
กระบวนการความคิดใหม่ ๆ เกดิ ข้ึน เป็นสาเหตใุ ห้เกดิ คําศัพทใ์ หม่ ๆ ตาม
มามากข้ึนตามยคุ ตามสมัยปัจจบุ ัน ส่วนคําทใ่ี ชม้ าแตเ่ ดิม อาจจะสูญหายไป
ซ่งึ คนสมยั ใหมอ่ าจจะไมร่ ูจ้ ัก เชน่ ดงขาว หรอื เกดิ ศัพทใ์ หม่แทนของเกา่
เชน่ ถนน เป็น ทางดว่ น บา้ น เป็น คอนโด ทาวเฮ้าส์ ฯลฯ

ธรรมชาตขิ องภาษา (ตอ่ )

5. ภาษามกี ารเปล่ยี นแปลง การเปล่ียนแปลงของภาษามีสาเหตุ ดงั น้ี
4. การเรยี นภาษาของเดก็ ภาษาของเดก็ เม่ือเรม่ิ เรยี นรูภ้ าษา

เด็กจะปรุงเป็นภาษาของเดก็ เอง ซง่ึ ไม่ เหมอื นกับภาษาของผใู้ หญ่
ใชค้ ําไม่ตรงกนั ออกเสียงไมต่ รงกัน ความหมายจึงไมต่ รงกบั ผใู้ หญ่
เม่อื เดก็ เติบโตข้ึนก็จะสืบทอดภาษาต่อไปได้อีกทาํ ให้ภาษาเปล่ยี นแปลงไปได้

ธรรมชาตขิ องภาษา (ตอ่ )

6. ลกั ษณะท่คี ลา้ ยคลึงกันและแตกตา่ งกนั ของภาษา
ลกั ษณะท่ีคลายคลงึ กนั

1. ใช้เสียงสื่อความหมาย มีทงั้ เสียงสระและเสียงพยญั ชนะ
2. มีการสรา้ งศัพทข้ึนใหม่ ได้แก่ คําประสม , คําซา
3. มีสํานวน มีการใชค้ ําในความหมายเดยี วกนั

ธรรมชาตขิ องภาษา (ตอ่ )

6. ลักษณะท่คี ลายคลงึ กนั และแตกตา่ งกนั ของภาษา
ลกั ษณะท่ีคลายคลึงกัน

4. มีคําชนิดตา่ ง ๆ เช่น คํานาม คําสรรพนาม คํากรยิ า และคําขยาย
5. สามารถขยายประโยคเพื่อให้ยาวออกไปเร่อื ย ๆ ได้
6. มีการแสดงความคิดตา่ ง ๆ เช่น ประโยคคําถาม ประโยคคําตอบ

ประโยคปฏเิ สธ ประโยคคําสั่ง
7. สามารถเปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลา

ธรรมชาตขิ องภาษา (ตอ่ )

6. ลักษณะท่ีคลายคลงึ กันและแตกตา่ งกนั ของภาษา
ลกั ษณะท่ีแตกตา่ งกนั

1. เสียงในภาษาองั กฤษมเี สียง G , Z แตใ่ นภาษาไทยไม่มี
2. ภาษาไทยมวี รรณยกุ ตใ์ นประโยค ส่วนภาษาอนื่ ไมม่ ี
3. ไวยากรณ์ ภาษาไทยเรยี งประโยคจาก ประธาน + กริยา + กรรม แต่
ภาษาอนื่ เรยี งสลบั กนั ได้

ธรรมชาตขิ องภาษา (ตอ่ )

7. ลกั ษณะของภาษาในการส่ือสาร
1. วัจนภาษา คือ ภาษาท่ใี ช้ถ้อยคําในการส่ือสาร
2. อวจั นภาษา คือ ภาษาท่ไี ม่ใช้ถ้อยคําในการส่ือสาร ได้แก่
- กริยา ทา่ ทาง สีหน้า สายตา เสียง(ปริภาษา)
- สัญญาณ สัญลักษณ์ (รวมถึงอักษร)
- การสัมผัส (ผสั ภาษา/สัมผสั ภาษา)

ธรรมชาตขิ องภาษา (ตอ่ )

7. ลกั ษณะของภาษาในการส่ือสาร
1. วัจนภาษา คือ ภาษาท่ใี ช้ถ้อยคําในการส่ือสาร
2. อวจั นภาษา คือ ภาษาท่ีไมใ่ ช้ถ้อยคําในการส่ือสาร ได้แก่
- ลักษณะทางกายภาพ(ภาษาวตั ถุ/กายภาษา)
- ระยะห่าง(เทศภาษา)
- เวลา(กาลภาษา)
- กล่นิ รส ภาพ สี ลกั ษณะตวั อักษร

การเปลีย่ นแปลงของภาษา

การเปลย่ี นแปลงคํา
การเปล่ยี นแปลงของภาษาท่ีมกั จะเห็นได้งา่ ย ได้แก่

1. การเปลย่ี นแปลงทางเสียงของคํา
2. การเปลี่ยนแปลงทางความหมายของคํา
3. การเลกิ ใชค้ ําเดมิ และเปล่ยี นเป็นคําใหม่

1. การเปล่ยี นแปลงทางเสียงของคํา

1. การเปล่ยี นแปลงทางเสียงของคํา (ตอ่ )

1. กขู ี่ชา้ งเบกพล กขู ับเขา้ ก่อนพ่อกู
(ดา้ นที่ 1 บรรทดั ท่ี 7)

2. ในนามีปลา ในนามีข้าว
(ดา้ นท่ี 1 บรรทดั ที่ 18-19)

3. พ่อกจู งึ ข้นึ ชอื่ กู ชอ่ื พระรามคําแหง
(ด้านท่ี 1 บรรทดั ที่ 9-10)

4. เหย้าเรอื นพ่อเชอ้ื เส้ือคํามัน… ไวแ้ ก่ลกู มันส้ิน
(ดา้ นท่ี 1 บรรทดั ท่ี 22-24)

2. การเปลี่ยนแปลงทางความหมายของคํา

คําตา่ งสมัยนั้ นอาจมีต่างกนั ไปได้ 2 ลกั ษณะคือ
1. คําหน่ึ งความหมายกว้างกวา่ อีกคําหน่ึ ง
2. คําหน่ึ งความหมายตา่ งกับอกี คําหน่ึ ง

1. คําหน่ึ งความหมายกว้างกว่าอีกคําหน่ึ ง

ความหมาย ความหมาย
แคบเขา้ กวา้ งออก

ความหมายแคบเขา้

พยาบาล

สมยั สโุ ขทยั และอยธุ ยา หมายถึง ดูแล ใชก้ บั ส่ิงมชี วี ติ
หรอื ไมม่ ชี วี ิตกไ็ ดไ้ มจ่ ํากดั

สมัยปัจจบุ ัน หมายถึง ดูแล ใชเ้ ฉพาะการดูแลบุคคลท่ี
ป่วย หรอื บาดเจ็บไม่ใชก้ บั สัตว์

ความหมายกว้างออก

เถื่อน

สมยั สโุ ขทัย หมายถึง ป่า

สมัยปัจจบุ ัน กย็ ังคงหมายถึง ป่า มกั ใชใ้ นคําประพันธ์
และใชข้ ยายคําอนื่ หมายถงึ นอกกฎหมาย เชน่ ฝ่ ินเถื่อน
หมอเถื่อน หวยเถ่อื น หรอื ไมก่ ห็ มายถงึ ไมเ่ จรญิ เชน่
แดนเถอื น บ้านป่าเมอื งเถอื น คนเถอ่ื น

ถา้ ใชซ้ อ้ นกบั คําว่าป่า จะหมายถงึ ความไม่เจรญิ

2. คําหน่ึ งความหมายตา่ งกับอีกคําหน่ึ ง

ความหมายย้ายท่ี
จงั หวดั
ตัง้ แตส่ มัยอยธุ ยา จนถงึ สมยั ต้นรตั นโกสินทร์ หมายถึง เขต บรเิ วณ
ปัจจุบนั หมายถึง หน่ วยการปกครองส่วนภมู ิภาคทีร่ วมทอ้ งทหี่ ลาย ๆ
อาํ เภอเขา้ ดว้ ยกัน

การเลกิ ใช้คําเดิมและเปล่ยี นเป็นคําใหม่

ก.การเลกิ ใช้คํา

ข. การสรา้ งคําใหม่

1. คิดคําใหม่โดยเลยี นเสียงธรรมชาตหิ รอื คําท่มี ีคําเดมิ
2. ประกอบคําข้นึ ใหม่

ก. การเลิกใช้คํา

คําวา่ ป่วยงาน ปัจจบุ ันเราไมใ่ ช้ ความหมายของ ป่วยงาน อาจสันนิ ษฐาน
จากบรบิ ทไดว้ า่ น่ าจะหมายความอยา่ งเดียวกบั ป่วยการ คือ เสียการงานหรอื
เสี ยประโยชน์

คําว่า หมดหน้ า หมายถึง คนมขี องดีมผี า้ น่ งุ , ผา้ ห่ม, สะอาดงาม, ว่าคนนั้นมี
ของหมดหน้ าของตัว เม่ือพิจารณาคําวา่ หมดหน้ า ในขอ้ ความท่คี ัดมาจาก
กฎหมายตราสามดวง ประกอบกับความหมายของคําวา่ หมดหน้ า

คําว่า หมดหน้ า น่ าจะหมายถงึ สะอาดงาม มีความหมายทาํ นองเดียวกบั
คําวา่ หมดจด แตป่ ัจจบุ นั คําวา่ หมดหน้ า เลกิ ใชไ้ ปแลว้

ข. การสรา้ งคําใหม่

1. คิดคําข้ึนใหมโ่ ดยเลียนเสียงธรรมชาตหิ รือคําท่มี ีอยเู่ ดิม เชน่ เรยี ก
เครอ่ื งใชช้ นิ ดหน่ึ งว่า กรง่ิ เพราะเสียงดังเชน่ นั้น เรยี กสัตว์ชนิ ดหน่ึ งว่า จ้งิ จก
เพราะมันรอ้ งเชน่ นั้ น เรยี กรถชนิ ดหน่ึ งว่า รถต๊กุ ๆ เพราะเวลาแล่น รถชนิ ดนี้
ทําเสียงเชน่ นั้ น

2. ประกอบคําข้ึนใหม่ อาจประกอบคําแบบไทยคือซาเสียงหรอื ประสมคํา
หรอื ซอ้ นคํา หรอื ยืมวธิ ปี ระกอบคําของภาษาอ่นื เรยี กคาํ ท่ีประกอบขน้ึ ใหมวา คําซ้าํ
คําประสม คาํ ซอ น หรอื คาํ สมาส

- การเปลี่ยนแปลงรูปประโยค

1. รูปประโยคภาษาไทยเปลย่ี นแปลงไปบา้ งจากสมัยกอ่ น รูปประโยคบาง
แบบท่เี ราเห็นในหนั งสือแปล บทแปลข่าว ฯลฯ แต่เดิมไมม่ ใี ชใ้ นภาษาไทย
เชน่

- เธออย่ใู นชดุ ราตรที ่ถี ูกออกแบบโดยห้องเสื้อชนั้ นํ า

- การค้นหาลกู เรอื ดาํ นารสั เซยี 7 คน ทจ่ี มหายไปโดยทมี ประดานาของ
อังกฤษเรม่ิ ตน้ เมอื่ วานนี้

- การเปลยี่ นแปลงรูปประโยค

1. ประโยคกรรมมีมากข้นึ

ประโยคภาษาไทยมกั เรยี งแบบประธาน กรยิ า กรรม ถ้าต้องการเน้ น
กรรมกเ็ รยี งกรรมไว้ตน้ ประโยค เรยี กวา่ ประโยคกรรม เชน่

- “วันเดินทางผมยังไมไ่ ดก้ าํ หนด” วันเดินทาง เป็นกรรมซง่ึ อยตู่ น้
ประโยค

- “คนรา้ ยถูกตํารวจจบั ได้แล้ว” คนรา้ ย กเ็ ป็นกรรมซง่ึ อยตู่ ้นประโยค
ประโยคน้ี มีคําวา่ ถกู อยหู่ น้ ากรยิ าด้วย

- การเปลี่ยนแปลงรูปประโยค

2. มีประโยคท่ใี ชส้ รรพนาม มัน ข้นึ ตน้ ประโยค โดยท่ีสรรพนาม มัน
ไมไ่ ด้ใชแ้ ทนสัตวห์ รอื ส่ิงของ เชน่

- มนั ถงึ เวลาแล้วท่จี ะตอ้ งขยนั
- มันเป็นการงา่ ยท่จี ะเข้าใจผดิ
- มนั เป็นหน้ าท่ขี องพ่อแมท่ ่จี ะต้องอบรมลกู

- การเปล่ยี นแปลงรูปประโยค

แตค่ ําวา่ “มัน” ภาษาไทยไม่นิ ยมข้นึ ต้นประโยค จึงตัดคําว่า “มนั ” ออก
แตถ่ งึ จะตัดคําว่า “มัน” ออกไปแล้ว ถ้าประโยคยังข้ึนต้นดว้ ยคําวา่ “เป็น”
ก็ยงั ฟังเป็นสํานวนอังกฤษอยู่ เชน่

- เป็นการสมควรทเ่ี ราจะพิจารณาเรอ่ื งนี้ ก่อน
- เป็นความจรงิ ท่วี ่าผลน้ี ไม่กระทบยโุ รปเหนื ออยา่ งรุนแรงเทา่ ยโุ รปใต้
- เป็นเรอ่ื งไมน่ ่ าเชอ่ื เลยทเ่ี ขาจะชว่ ยคุณ

- การเปล่ยี นแปลงรูปประโยค

3. ประโยคต่าง ๆ มบี พุ บทมากข้นึ ทําให้ประโยคยาวข้ึน
เชน่

- เราควรจะสนใจในเหตกุ ารณ์ทีเ่ กิดข้นึ
- โครงการภายใต้การนํ าของ ดร.สมบูรณ์ประสบกบั ความสําเรจ็

เป็นอย่างดี
- ส่วนมากของเอกสารไดส้ ูญหายไป

- การเปลี่ยนแปลงรูปประโยค

3. ประโยคตา่ ง ๆ มบี ุพบทมากข้นึ ทําให้ประโยคยาวข้นึ
เชน่

- เราควรจะสนใจในเหตุการณ์ทเ่ี กดิ ข้นึ
- โครงการภายใตก้ ารนํ าของ ดร.สมบูรณ์ประสบกบั ความสําเรจ็

เป็นอย่างดี
- ส่วนมากของเอกสารไดส้ ูญหายไป

- การเปลยี่ นแปลงรูปประโยค

4. ประโยคตา่ ง ๆ มคี ําอาการนามมากข้นึ
เม่อื เตมิ คําวา่ การ หรอื ความ แลว้ ก็มีผลให้ตอ้ งเพ่ิมคําอน่ื ด้วย

อยา่ งน้ อยกต็ ้องเพ่ิมคํากรยิ าสําหรบั ใชก้ บั คําอาการนามนั้ น ๆ

ประโยคทม่ี ีคําชนิ ดน้ี จงึ มกั จะยาวข้นึ
เชน่
- การสะดุดหยดุ ลงของการค้าทาํ ให้พวกพ่อค้าสญู หายไป
- การกวาดลา้ งผปู้ ระกอบมิจฉาชพี ทวั่ เมอื งหลวงไดผ้ ลทางดา้ น
ของการหยดุ อาชญากรรมประเภทต่าง ๆ ลงชวั่ คราว

- การเปลยี่ นแปลงรูปประโยค

4. ประโยคตา่ ง ๆ มคี ําอาการนามมากข้นึ
เม่อื เตมิ คําวา่ การ หรอื ความ แลว้ กม็ ีผลให้ตอ้ งเพ่ิมคําอน่ื ด้วย

อยา่ งน้ อยกต็ ้องเพ่ิมคํากรยิ าสําหรบั ใชก้ บั คําอาการนามนั้ น ๆ

ประโยคทม่ี ีคําชนิ ดน้ี จงึ มกั จะยาวข้นึ
เชน่
- การสะดุดหยดุ ลงของการค้าทําให้พวกพ่อค้าสญู หายไป
- การกวาดลา้ งผปู้ ระกอบมิจฉาชพี ทวั่ เมอื งหลวงไดผ้ ลทางดา้ น
ของการหยดุ อาชญากรรมประเภทต่าง ๆ ลงชวั่ คราว

- การเปลย่ี นแปลงรูปประโยค

5. มปี ระโยคท่นี ํ าส่วนขยายมาไว้ต้นประโยค
ประโยคภาษาไทยนั้ นถา้ มสี ่วนขยาย ส่วนขยายมักอย่หู ลังคํา

หรอื วลีท่ถี ูกขยาย ไม่ใชอ่ ยตู่ ้นประโยค แต่ปัจจุบนั มีผใู้ ชป้ ระโยค
ท่เี รยี งส่วนขยายไวต้ น้ ประโยค

เชน่
จากการสอบถามของผสู้ ่ือขา่ ว นายสมชายบอกวา่ ถกู จับมา
พรอ้ มกบั พ่ีชาย
เกย่ี วกับเรอ่ื งน้ี ข้าพเจา้ ไม่มีความเห็น

สาเหตขุ องความเปลย่ี นแปลง

1. ความเปลี่ยนแปลงของส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพ
2. ความเปล่ียนแปลงของส่ิงแวดลอ้ มทางสังคม
3. อทิ ธพิ ลของภาษาอ่นื
4. อทิ ธพิ ลของภาษาถ่ิน

1. ความเปล่ียนแปลงของส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ

เมือ่ มีส่ิงใหม่ ๆ ความคิดใหม่ ๆ กระบวนการใหม่ ๆ เกิดข้นึ กจ็ ะตอ้ ง
มศี ัพทใ์ ชเ้ รยี กส่ิงท่เี กดิ ข้นึ ใหมเ่ หลา่ น้ี เชน่ โทรศัพทไ์ รส้ าย พืชตัดตอ่
พันธุกรรม การนํ ากลับมาใชใ้ หม่ การทอ่ งเที่ยวเชงิ อนรุ กั ษ์ ฯลฯ ส่ิงท่ี
เคยอยเู่ ดมิ เมื่อเลกิ ใชก้ ็อาจทาํ ให้คําทใ่ี ชเ้ รยี กส่ิงนั้ นสญู ไปจากภาษาด้วย
หรอื ถึงแมค้ ํานั้นจะยังคงอยู่ คนรุน่ ใหม่ก็อาจไม่รูค้ วามหมาย หรอื เข้าใจ
ความหมายผดิ ไปได้

1. ความเปล่ยี นแปลงของส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ

ตัวอย่างคําท่เี กดิ ข้ึนเพราะความเปลยี่ นแปลงของส่ิงแวดล้อมมอี ยมู่ าก
บางคําใชเ้ รยี กส่ิงทเ่ี ราพบเห็นทวั่ ไปในชวี ิตประจําวัน

เชน่ รถไฟ ไฟฟ้า ไฟฉาย ไมข้ ีดไฟ เครอื่ งปรบั อากาศ ตเู้ ย็น
บางคําสรา้ งข้นึ ใหม่เพื่อให้ทนั กบั ความกา้ วหน้ าทางวชิ าการ คําเหล่านี้ มัก
เรยี กกนั วา่ “ศัพทบ์ ัญญัติ” เชน่
เหตจุ งู ใจ (motive)
แบบสอบถาม (questionnaire)
หนั งสืออ้างอิง (reference book)

1. ความเปล่ียนแปลงของส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพ

บางคําเป็นคําซอ้ น เชน่ บางคําเปลย่ี นเสียงคําทม่ี ีอย่เู ดมิ เชน่
ผลลัพธ์ (result) ระเบียบ (order)
ทดสอบ (test) ระเบียน (record)
ทรพั ยส์ ิน (asset)
ดดั แปลง (adapt)

1. ความเปล่ยี นแปลงของส่ิงแวดล้อมทางกายภาพ

บางคํากม็ กี ารตกแต่งโดยเติมคําอุปสรรคหน้ าคําบา้ ง สมาสกับคําอ่ืนบ้าง เชน่

ปฏกิ ิรยิ า (reaction) อนภุ าค (particle)

ปฏิกรณ์ (react) อนสุ ัญญา (convention)

คําท่คี ิดข้ึนใหมน่ ้ี บางคําก็มเี สียงคลา้ ยคลงึ และความหมายตรงกับคําศัพท์
ในภาษาองั กฤษ เชน่

สัมมนา (seminar) มาตร (meter)

ปรสิต (parasite) ตรโี กณมติ ิ (trigonometry)

2. ความเปล่ียนแปลงของส่ิงแวดล้อมทางสังคม

คนบางกล่มุ ในสังคม เชน่ สื่อมวลชน วัยรุน่ มักสรา้ งคําหรอื
สํานวนข้ึนใชเ้ พ่ือให้เกิดความแปลกใหม่ ทาํ ให้ภาษาของตน
น่ าสนใจ เชน่ สรา้ งคําว่า สตอเบอร่ี ตวั แม่ งานเข้า แอบ๊ แบ๊ว
คําท่สี รา้ งข้ึนใชเ้ ฉพาะพวกเฉพาะกลุ่มเพื่อให้เกิดความแปลกใหม่
เชน่ นี้ เรยี กกนั ว่า “คําสแลง” คําสแลงหรอื คําคะนองส่วนใหญ่
ใชก้ นั ในชว่ งเวลาสั้น ๆ คําสแลงทเ่ี คยนิ ยมใชก้ นั สมัยหน่ึ ง ปัจจบุ ัน
เลกิ ใชก้ นั ไปจนคนรุน่ ใหมไ่ ม่รูค้ วามหมาย เชน่ โลซก ชน้ิ เช้
สะบดั ชอ่ ฯลฯ แต่กม็ อี ยบู่ า้ งบางคําทก่ี ลายเป็นคําทใ่ี ชท้ วั่ ไปในภาษา
เชน่ ท่งึ เก๋ ครึ พื้นเสีย โคมลอย ฯลฯ



3. อทิ ธิพลของภาษาอนื่

เมื่อมีการติดต่อสื่อสารหรอื รบั วฒั นธรรมอ่นื เรากอ็ าจยมื คําหรอื รูปประโยค
บางแบบของภาษาอ่ืนมาใช้ ภาษาทไี่ ทยรบั คําเข้ามาจาํ นวนน้ อยก็ไม่ส้มู อี ทิ ธพิ ล
ต่อภาษาไทยเทา่ ไรนั กแตภ่ าษาที่ไทยรบั คําเขา้ มาใชม้ ากอย่างภาษาบาลี –
สันสกฤต เขมร จีน และอังกฤษ ก็ทําให้ลกั ษณะภาษาไทยเปลี่ยนไปได้ เชน่

ก. อทิ ธพิ ลของภาษาบาลี – สันสกฤตและเขมร
ข. อทิ ธพิ ลของภาษาจนี
ค. อิทธพิ ลของภาษาอังกฤษ

4. อิทธิพลของภาษาถ่ิน

1. ภาษาภาคเหนื อ ไดแ้ ก่ ภาษาทพ่ี ูดในจงั หวัดทางภาคเหนื อของประเทศ
ไทย เชน่ จงั หวดั เชยี งใหม่ เชยี งราย แพร่

2. ภาษาภาคอสี าน ได้แก่ ภาษาทพี่ ดู ในจงั หวัดทางภาคตะวนั ออกเฉียงเหนื อ
ของประเทศไทย เชน่ จังหวดั นครราชสีมา อุบลราชธานี รอ้ ยเอ็ด มหาสารคาม

3. ภาษาภาคใต้ ได้แก่ ภาษาท่พี ูดในจังหวัดภาคใตข้ องประเทศไทย เชน่
จังหวัดนครศรธี รรมราช ตรงั พัทลงุ พังงา ภเู กต็ ปัตตานี

ข้อสังเกตเก่ียวกับการเปล่ยี นแปลงของภาษา
และสาเหตุของการเปล่ยี นแปลง

1. พจนานกุ รมถอื ได้ว่าเป็นหนั งสือทีบ่ นั ทกึ การเปล่ียนแปลงของภาษา
ถ้าเปรยี บเทยี บพจนานกุ รมสมัยตน้ รตั นโกสินทร์ เชน่
ตะลยุ เป็นชอ่ื ท่เี ตียนตลอด ไม่มที ีก่ ัน้ ที่บงั นั้ น
(อกั ขราภิธานศรบั ท์ หน้ า 239)
ตะลยุ ว. อาการท่ตี ีหรอื บกุ ดะเขา้ ไปโดยไมห่ ยดุ , อาการทท่ี ําอยา่ งเรง่ รบี
เพื่อให้ได้มากทสี่ ุด
(พจนานกุ รม หน้ า 481)

ข้อสังเกตเก่ียวกับการเปล่ยี นแปลงของภาษา
และสาเหตขุ องการเปล่ยี นแปลง

2. คําท่เี ลิกใชไ้ ป อาจสันนิ ษฐานความหมายได้จากข้อความแวดลอ้ ม หรอื
ท่เี รยี กวา่ บรบิ ท ข้อความแวดลอ้ มจะชว่ ยบอกว่าคํานั้ นหมายความวา่ อย่างไร
ถ้าพบคํานั้ นหลายแห่งและทกุ แห่งน่ าจะมคี วามหมายอยา่ งทเ่ี ราสันนิ ษฐาน

เชน่ คําว่า “ขพง” พบในจารกึ สมยั สุโขทยั หลายหลกั ดงั น้ี

“หินน้ี ทา่ นเอาแต่เขาพระขพงหลวงมาแล” (จารกึ วัดหินตงั้ หน้ า 79)

ข้อสังเกตเก่ียวกับการเปล่ยี นแปลงของภาษา
และสาเหตุของการเปล่ยี นแปลง

3. สาเหตทุ ท่ี าํ ให้ภาษาเปล่ยี นแปลงอาจมมี ากกว่าท่ีกลา่ วไว้ข้างต้น

เชน่ มผี กู้ ล่าวว่าการใชภ้ าษาในอนิ เทอรเ์ น็ ตทาํ ให้ภาษาเปล่ียนไปมาก

4. การเปล่ยี นแปลงของภาษาถือเป็นปรากฏการณ์ท่ีจะตอ้ งเกดิ แก่ภาษา
ทกุ ภาษาแต่ถา้ ผใู้ ชภ้ าษาปลอ่ ยให้ภาษาเปลี่ยนแปลงไปอาจก่อให้เกดิ ผลเสีย
แกก่ ารส่ือสาร เป็นตน้ ว่า

ถา้ ปล่อยให้เสียง ร หรอื ควบกลาหายไป คําทม่ี ี ร ออกเสียงเป็น ล เชน่ คํา รกั
ออกเสียง ลัก

คําทม่ี ีเสียงควบกลา แต่ไม่ออกเสียงควบกลา เชน่ ปลา ออกเสียง ปา ผพู้ ูดและ ผู้
ฟังก็จะเข้าใจไมต่ รงกัน ส่ือสารกันไม่ได้ผล

ทบทวน ชวนคิด

๑. ข้อใดอธบิ ายลกั ษณะของภาษาได้ถกู ต้อง
ก. ภาษาทกุ ภาษาจะมลี ัษณะเดน่ คือ ความหมายสัมพันธก์ บั เสียง
ข. แมภ้ าษาของชาติทไ่ี ม่ไดต้ ดิ ตอ่ กับชาติอื่นกม็ ีการเปล่ยี นแปลง
ค. ภาษาทกุ ภาษายอ่ มมีภาษาเขยี นกอ่ น
ง. บางภาษาเทา่ นั้ นทม่ี ีการขยายประโยคให้ยาวออกไปได้เรอ่ื ยๆ

ทบทวน ชวนคิด

๑. ข้อใดอธบิ ายลกั ษณะของภาษาได้ถกู ต้อง
ก. ภาษาทกุ ภาษาจะมลี ัษณะเด่น คือ ความหมายสัมพันธก์ ับเสียง
ข. แม้ภาษาของชาติทไ่ี มไ่ ดต้ ิดตอ่ กบั ชาติอน่ื กม็ กี ารเปล่ยี นแปลง
ค. ภาษาทกุ ภาษายอ่ มมภี าษาเขยี นก่อน
ง. บางภาษาเทา่ นั้ นทม่ี ีการขยายประโยคให้ยาวออกไปไดเ้ รอ่ื ยๆ

ทบทวน ชวนคิด

๒. ข้อใดเสียงสัมพันธก์ บั ความหมายทกุ คํา
ก. เก เป๋ เด่ เซ
ข. งดั ขดั ซดั คัด
ค. แกะ แคะ แงะ แซะ
ง. โป่ง โลง่ โก่ง โดง่


Click to View FlipBook Version