The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การรักษาดุลยภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Teerawit Neampoka, 2019-12-28 10:37:01

การรักษาดุลยภาพ

การรักษาดุลยภาพ

3หน่วยการเรียนรทู้ ่ี

การดารงชีวิตของมนษุ ย์

ตัวชวี้ ดั
• อธิบายการควบคมุ ดลุ ยภาพของนา้ และสารต่าง ๆ ในเลอื ดโดยการท้างานของไต
• อธิบายการควบคุมดุลยภาพของกรด-เบส ของเลอื ดโดยการท้างานของไตและปอด
• อธบิ ายการควบคุมดลุ ยภาพของอณุ หภูมิภายในร่างกายโดยระบบหมนุ เวยี นเลือด ผิวหนงั และกล้ามเนือโครงร่าง
• อธบิ ายและเขียนแผนผังเกยี่ วกบั การตอบสนองของรา่ งกายแบบไมจ่ ้าเพาะ และแบบจา้ เพาะต่อสง่ิ แปลกปลอมของรา่ งกาย
• สบื คน้ ข้อมลู อธบิ ายและยกตัวอยา่ งโรคหรืออาการทเ่ี กดิ จากความผิดปกตขิ องระบบภูมคิ ้มุ กัน
• อธิบายภาวะภมู ิค้มุ กันบกพรอ่ งท่ีมีสาเหตุมาจากการติดเชอื HIV

การรกั ษาดลุ ยภาพของน้าและแร่ธาตุในรา่ งกาย

ร่างกายของมนุษย์มี ไต (Kidney) เป็นอวัยวะในการ

รักษาสมดุลของน้าและเกลือแร่ในร่างกาย โดยทาหน้าที่
กรองของเสียและสารแปลกปลอมออกจากกระแสเลือด
แล้วขับออกในรูปของปัสสาวะ และดูดกลับสารท่ีมี
ประโยชน์เข้าส่กู ระแสเลอื ด



ปัสสาวะ อุจจาระและกากอาหาร ก๊าซ เหง่อื







การรักษาดุลยภาพของน้าและแร่ธาตุในรา่ งกาย

สว่ นประกอบของหน่วยไต โกลเมอรูลัส (glomerulus) โบวแ์ มนสแ์ คปซลู (Bowman’s capsule)

เปน็ กลุ่มเส้นเลอื ดฝอยที่อยู่แนบชิดกับโบว์แมนส์แคปซูล ท้าหน้าที่เป็น มลี กั ษณะเป็นทรงกลมหอ่ หุ้มกลมุ่ เสน้ เลือดฝอยหรือโกล
เยื่อกรองใหน้ า้ เลอื ดผ่านเข้าสู่โบวแ์ มนสแ์ คปซลู เมอรลู ัส

ไต

ทอ่ ไต

กรวยไต ทอ่ หน่วยไต (convoluted tubule) ท่อรวม (collecting duct)

ทา้ หน้าท่ีดูดกลับสารท่มี ปี ระโยชน์ เชน่ กลโู คส เปน็ บรเิ วณทร่ี วมของเหลวทีไ่ ด้จากการทา้ งานของ
กรดอะมิโน นา้ และไอออนของเกลอื แร่ เขา้ สู่ หน่วยไตก่อนที่จะส่งตอ่ ไปยงั กรวยไต ซ่ึงของเหลว
กระแสเลอื ด มีลกั ษณะคล้ายปสั สาวะ

การรักษาดลุ ยภาพของนา้ และแร่ธาตุในร่างกาย

2 การกรองของหนว่ ยไต
1
1 เลือดเข้าสู่ไตทางหลอดเลือดรีนัลอาร์เตอรี ซ่ึงจะแตกแขนง
3 เปน็ กลมุ่ ของหลอดเลอื ดฝอยหรือ โกลเมอรลู สั

วนี ัลอาร์เตอรี่ เม่ือเลือดมาถงึ โกลเมอรูลสั นา้ เลือดและโมเลกุลของสารต่าง ๆ ท่ีอยูใ่ นน้าเลอื ดจะ
รนี ลั เวน
2 ออกจาก โกลเมอรูลสั เขา้ สู่โบว์แมนสแ์ คปซลู ซ่งึ จะมเี ฉพาะของเหลวและสารโมเลกลุ

ขนาดเล็ก เชน่ กลูโคส กรดอะมิโน ทผ่ี า่ นการกรองของโกลเมอรูลัส แตส่ ารโมเลกลุ
ขนาดใหญ่ เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดง โปรตนี จะไม่ผา่ นการกรอง

4

ของเหลวท่ีผ่านเข้าสู่โบว์แมนส์แคปซูล จะเคล่ือนที่ต่อเข้าสู่ท่อหน่วยไต ซ่ึงใน

3 ระหว่างที่ผ่าน ท่อหน่วยไตจะมีการดูดสารที่มีประโยชน์กลับเข้าสู่หลอดเลือดอีกครั้ง

เช่น กลโู คส กรดอะมโิ น นา้ และไอออนของเกลอื แร่

4 ของเหลวท่ีไหลผ่านท่อไตแล้วจะไปรวมกันในกระเพาะปัสสาวะเป็นน้า
ปัสสาวะ เพ่ือขับออกจากร่างกายตอ่ ไป



















การรักษาดุลยภาพของน้าและแรธ่ าตุในรา่ งกาย

การท้างานของไตในการดูดกลับน้าจะถูกควบคุมโดยสมองส่วนไฮโพทาลามัส (hypothalamus) ซ่ึงจะ
กระตุน้ หรือยบั ยงั การหลงั่ ฮอร์โมนแอนตไิ ดยเู รติก (ADH)
จากตอ่ มใต้สมองสว่ นหลงั ดงั นี

เมอื่ รา่ งกายขาดน้า เมอ่ื ร่างกายไดร้ บั นา้ มาก

กระตุ้น ไฮโพทาลามสั
ยับยงั้
หลงั่
แอนติไดยูเรติกฮอรโ์ มน (ADH) ตอ่ มใต้สมองส่วนหลงั

หน่วยไตดดู นา้ กลับมาก ไม่หล่งั
ปสั สาวะน้อย แอนตไิ ดยูเรติกฮอร์โมน

หน่วยไตดดู น้ากลับ
น้อย
ปสั สาวะมาก

















➢ ถ้า + ในเลอื ดเข้มข้นเกนิ ไป ร่างกายมีวธิ ีการใดบ้างใน
การปรับให้กลับสู่ดุลยภาพ

เฉลย
-……ห…าย…ใ…จ …..เร็วขนึ ้ เพื่อกำจดั + ในรูปของ 2O และ 2

-ไตขบั + จำกเลือดเข้ำสทู่ ่อหน่วยไตโดยตรง และขบั แอมโมเนียเข้ำสู่
ท่อหนว่ ยไตเพ่ือจบั กบั + ในรูปของแอมโมเนียมไอออน 4 + และ
ขบั ออกจำกร่ำงกำยทำง……ปัส…ส…าวะ………..
ขณะเดียวกนั จะดดู กลบั ไอออนบำงชนิด เชน่ + 3 − กลบั คืน
สเู่ ลือดมำกขนึ ้ เพ่ือ…ลด…สภ…า…พค…วา…มเ…ป็ น…ก…รด…ขอ…งเ.ลือด

➢ เพราะเหตุใดจงึ ต้องรักษาสมดุลของความเป็ น
กรด-เบสของเลือด

เฉลย ในเลอื ดมโี ปรตนี และเอนไซม์หลำยชนิดซงึ่ ทำงำนได้ดที ี่
pH…ป…ระ…มำ…ณ…7.. ดงั นนั้ ถ้ำมีกำรเปลี่ยนแปลงควำมเข้มข้นของ H+
ในเลอื ดจะทำให้ประสทิ ธิภำพในกำรทำงำนของโปรตนี และเอนไซม์
ตำ่ งๆในเลอื ด…ล…ดล…ง. และสง่ ผลเสยี ตอ่ ร่ำงกำยในที่สดุ จงึ
จำเป็นต้องรักษำควำมเป็นกรด-เบส ในเลอื ดไว้ให้คงที่

การรักษาดลุ ยภาพของอุณหภูมิในรา่ งกาย

ร่างกายมีกลไกในการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกายให้อยู่ในช่วงที่
เหมาะสม โดยมีศูนย์กลางควบคุมอยู่ท่ีสมองส่วนไฮโพทาลามัส ซึ่งจะส่ง
สัญญาณไปกระตนุ้ หรือยับย้ังกระบวนการเมแทบอลิซึมต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น
การเผาผลาญอาหาร การหดและขยายตัวของหลอดเลอื ด การหดและขยายตัว
ของรูขมุ ขน การผลติ เหง่อื ของตอ่ มเหงื่อ เปน็ ต้น

กลไกการรักษาดลุ ยภาพของ การตอบสนองของรา่ งกาย
อุณหภมู ใิ นร่างกาย - ลดอตั ราเมแทบอลิซึม
- เพิ่มการขยายตวั ของหลอดเลือด
- ตอ่ มเหงอื่ สร้างเหงอื เพมิ่ มากขึน้
- เพิ่มการระเหยและการพาความร้อนออกจากร่างกาย

เมอื่ อณุ หภูมริ า่ งกายสงู กว่า 37 C จะไป
กระต้นุ ศูนยค์ วบคมุ ท่สี มองสว่ นไฮโพทาลามัส

อุณหภมู ลิ ดลงเหลือ 37 C

อุณหภมู ิปกติของรา่ งกายอยู่ในช่วง 35.85
- 37.70 C

อุณหภูมิปกติของรา่ งกายอยู่ในชว่ ง 35.85
-37.70 C

อุณหภูมเิ พิ่มขึ้นเปน็ 37 C อณุ หภูมริ ่างกายต่ากว่า

37 C จะไปกระตนุ้ ศูนย์

ควบคมุ ท่ีสมองส่วนไฮโพ

การตอบสนองของรา่ งกาย ทาลามสั

- เพิ่มอตั ราเมแทบอลิซมึ

- ลดการขยายตัวของหลอดเลอื ด

- ต่อมเหงื่อสรา้ งเหงือ่ น้อยลงหรือไมส่ ร้างเหงื่อ

- ขนลกุ เกิดอาการหนาวส่ัน

- ลดการระเหยและการพาความร้อนออกจากร่างกาย

การรกั ษาดลุ ยภาพของนา้ และแร่ธาตุใน
สิง่ มชี วี ติ อนื่ ๆ

ส่งิ มชี วี ิตอนื่ ๆ เช่น พารามีเซียม, ปลานา้ จดื , ปลานา้ เคม็ , นกทะเล
ฯลฯ ต่างก็มีความต้องการน้าและแรธ่ าตุในปริมาณท่พี อเหมาะ ดงั นนั จงึ
ตอ้ งมีการรกั ษาดลุ ยภาพของน้าและแรธ่ าตใุ นร่างกาย แตร่ ายละเอยี ดของ
กลไกในการรกั ษาดลุ ยภาพจะแตกตา่ งกนั เชน่ ...

การรักษาดุลยภาพของนา้ ในพารามีเซียม

“พารามีเซียม” (Paramecium sp.) เปน็ ส่งิ มชี ีวติ เซลล์เดยี วท่ี

อาศยั อยูใ่ นแหลง่ นา้ จดื ทีม่ คี วามเข้มขน้ ของสารละลายนอ้ ยกว่าสารละลาย
ภายในพารามีเซียม น้าจงึ ออสโมซิสเข้าส่พู ารามีเซียมมากกวา่

- ดังนนั พารามีเซียมจงึ มี
โครงสร้าง “คอนแทรกไทล์ แวคิวโอล”
(Contractile vacuole) ท่ชี ่วยขบั
น้าส่วนเกนิ ทอี่ อสโมซสิ เขา้ มาออกจาก
เซลล์พารามเี ซยี ม

เซลล์พารามเี ซยี มกอ่ นขบั
น้าส่วนเกนิ

เซลลพ์ ารามเี ซยี มหลงั ขบั นา้
ส่วนเกนิ

ปลานา้ จืด Hypotonic

อาศัยอยใู่ นนา้ ซึ่งมคี วามเข้มข้น…ต…้่ากว…า่ สารละลายภายในร่างกาย เจือจาง
บริเวณ…เหง…ือก..มีเซลลพ์ เิ ศษดดู แร่ธาตทุ ่ีจ้าเปน็ กลับสู่รา่ งกาย
โดยวิธี…กา…รล้า…เลีย…งแบ…บใช…้พลังงาน
ม…ี …เกล…ด็ ,ผ…วิ หน…งั .เพ่ือปอ้ งกนั ไม่ให้นา้ ซึมผ่านได้

ปลานา้ เค็ม Hypertonic

เกลือแร่

เข้มข้น

อาศยั อย่ใู นนา้ ซึง่ มีความเขม้ ข้น…ส…ูงกว…่า สารละลายภายในร่างกาย
บรเิ วณเหงือกปลาทะเลมีหน้าที่ขับแรธ่ าตุออกจากรา่ งกาย
ปลาจะ…สญู …เสีย..น้าออกจากรา่ งกาย และมี…เกล…ือแร.่ .จ้านวนมากท่ีจะแพรเ่ ข้าสู่ร่างกาย
ปลาจะกนิ …น…้าทะ…เล .เพือ่ ทดแทนปรมิ าณนา้ ท่สี ญู เสีย





การรกั ษาดุลยภาพ
ของนา้ ในนกทะเล

- นกที่อาศัยอย่รู มิ ทะเล เชน่
นกอลั บาทรอส จะไดร้ บั แร่ธาตุจากไอ
นา้ ทะเลอยู่ตลอดเวลา

- ดงั นันนกเหล่านีจงึ มี
“ต่อมนาซลั ” (Nasal gland) เพอ่ื
ขับนา้ เกลือสว่ นเกนิ ออกทางรจู มูกของ
นกทะเล



การรกั ษาดุลยภาพของอณุ หภมู ใิ นรา่ งกาย

“อณุ หภูมิของรา่ งกาย” ถอื เปน็ ปจั จยั สา้ คัญทม่ี ผี ลต่อประสิทธภิ าพ
การทา้ งานของเอนไซม์ เช่น เอนไซม์อะไมเลส ดงั กราฟ...

- รา่ งกายของสิ่งมชี วี ิตแตล่ ะชนิดจะมีช่วงอุณหภูมิในร่างกายท่ี
เหมาะสมไมเ่ ท่ากัน ในกรณีรา่ งกายมนษุ ยจ์ ะมอี ุณหภูมิในรา่ งกายเฉล่ีย 37
องศาเซลเซยี ส (เปน็ อุณหภูมิแกนกลางของร่างกายมนษุ ย์)

- ดงั นันรา่ งกายของมนษุ ย์
จงึ ต้องมกี ารรกั ษาดลุ ยภาพด้าน
อุณหภูมขิ องร่างกายใหค้ งท่ี แมจ้ ะ
อยู่ในสภาพแวดล้อมท่มี อี ณุ หภมู ิ
เปล่ียนแปลงไปในช่วงท่ีมนษุ ย์
สามารถด้ารงชีวติ อยู่ได้

กลไกการควบคมุ การรกั ษาดลุ ยภาพของอณุ หภมู ิ

ถ้าอุณหภูมิของรา่ งกายสงู เกนิ กว่า 37 องศาเซลเซยี ส (๐C) สมอง
ส่วนไฮโปทาลามัสก็จะกระตุ้นร่างกายตอบสนองดังนี

1. หลอดเลอื ดขยายตวั เพ่ือเพม่ิ พนื ทผ่ี ิวในการแลกเปล่ยี นความร้อน
ระหวา่ งรา่ งกายกับสิ่งแวดล้อม (ท้าให้เกดิ อาการผิวแดง)

2. ขบั เหงอ่ื จากต่อมเหงอ่ื แลว้ น้าความร้อนจากรา่ งกายถา่ ยเทให้กับ
เหงื่อจนระเหยไป

3. ลดอตั ราเมตาบอลซิ มึ ในรา่ งกาย



ถา้ อุณหภมู ขิ องรา่ งกายตา่้ ลงกวา่ 37 องศาเซลเซยี ส (๐C) สมอง
สว่ นไฮโปทาลามสั กจ็ ะกระตนุ้ รา่ งกายตอบสนองดังนี

1. หลอดเลือดหดตวั เพือ่ ลดพืนทผ่ี ิวในการแลกเปลีย่ นความรอ้ น
ระหวา่ งรา่ งกายกบั ส่งิ แวดลอ้ ม (ท้าใหเ้ กิดอาการผิวซีด)

2. กลา้ มเนอื โครงร่างหดตวั อยา่ งรวดเรว็ ท้าให้เกดิ อาการหนาวส่ัน
และเกดิ พลงั งานจากการสัน่

3. ขนลุกชนั เพื่อเป็นฉนวนกันความรอ้ นออกจากร่างกาย

4. เพ่ิมอตั ราเมตาบอลซิ ึมในรา่ งกาย



อณุ หภมู สิ งู ปัจจัยส่งิ แวดลอ้ ม อุณหภมู ติ า้่

อุณหภูมิในเลอื ดสูงกว่า 37 อุณหภูมิในเลอื ดต้่ากว่า 37
องศาเซลเซยี ส องศาเซลเซียส

กระตุน้ ศูนยค์ วบคุม กระตุน้ ศูนยค์ วบคุม
ที่ไฮโพทาลามสั ที่ไฮโพทาลามสั

ลดอตั ราเมแทบอลิซึม เพ่มิ อตั ราเมแทบอลิซึม

หลอดเลือดขยายตวั หลอดเลือดหดตวั
ต่อมเหง่ือสร้างเหง่ือ ต่อมเหง่ือไม่สร้างเหง่ือ
ขนลุกร่างกายหนาวสน่ั
ขนเอนราบ

เพิม่ การระเหยและการแผ่รงั สี ลดการระเหยและการแผร่ งั สี

อุณหภมู ขิ องเลือดลดลง อณุ หภมู ิของเลอื ดเพ่มิ ขึน

อณุ หภูมขิ องเลอื ดปกติ กวา่ 37 องศาเซลเซียส

- ในกลไกการรกั ษาดลุ ยภาพด้านอณุ หภมู ขิ องร่างกายดงั กลา่ ว
พบวา่ อวยั วะที่มีความสา้ คัญมาก คอื ……………………….

- องคป์ ระกอบภายในผิวหนงั
ที่มีบทบาทตอ่ การรักษาดุลยภาพด้าน
อณุ หภมู ิ ได้แก่....

1. ตอ่ มเหงื่อ

2. หลอดเลอื ดในชนั ผวิ หนงั

3. ขนทป่ี กคลุมผวิ หนงั

4. กล้ามเนอื ในชันผิวหนงั

การรกั ษาดลุ ยภาพของอุณหภูมขิ องสตั ว์ต่างๆ

สตั ว์ตา่ งๆกม็ กี ลไกในการรักษาดลุ ยภาพดา้ นอณุ หภูมิท่แี ตกตา่ งกัน
ออกไป แตส่ ามารถแบง่ ลกั ษณะกลไกการรกั ษาดลุ ยภาพของอณุ หภมู ใิ นสตั ว์
ไดเ้ ปน็ 2 แบบ โดยใชเ้ กณฑ์การเปลี่ยนแปลงอุณหภมู ิของร่างกายทสี่ ัมพนั ธ์
กบั การเปลี่ยนแปลงของอณุ หภมู ใิ นส่ิงแวดลอ้ ม ได้แก.่ ..

1. สัตวเ์ ลอื ดเยน็ (Poikilothermic Animal)

2. สัตวเ์ ลอื ดอนุ่ (Homeothermic Animal)


Click to View FlipBook Version