The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Piyaporn Khwansut, 2022-03-29 12:44:14

แนะนำสำนัก

แนะนำสำนัก

ศนู ย์บม่ เพาะวสิ าหกจิ

โครงสร้างการดาเนินงาน
• สานกั งานเลขานกุ าร
• กลมุ่ ภารกจิ บม่ เพาะวสิ าหกิจ
• กลุ่มภารกจิ คลนิ กิ เทคโนโลยี
• กลุ่มภารกิจอทุ ยานวิทยาศาสตร์

จัดต้งั เมือ่ วนั ที่ 12 มกราคม 2551 ระยะเวลา 8 ปี
ผอู้ านวยการคนแรก รศ.ดร.จอมภพ แววศกั ด์ิ
ผูอ้ านวยการคนทีส่ อง ผศ.ดร.นกุ ลู อนิ ทระลงั ขา

สานกั บม่ เพาะวิชาการ
เพือ่ วสิ าหกจิ ในชมุ ชน

วัตถุประสงค์
• ขบั เคล่ือนการนาวิชาการเพื่อรับใช้สงั คมผา่ นกระบวนการบม่ เพาะ
• สนบั สนนุ การใช้ประโยชนผ์ ลงานวจิ ยั สเู่ ชงิ พาณชิ ย์
• ประสานงานกับกระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และ

นวัตกรรมเพ่ือให้คาปรึกษา ถ่ายทอดองคค์ วามรู้สชู่ มุ ชนในเขตพ้นื ท่ี
ของมหาวิทยาลยั
• เป็นหน่วยงานเครอื ขา่ ยอทุ ยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้

โครงสรา้ งการดาเนนิ งาน
• สานกั งานเลขานกุ าร
• กลุ่มการกจิ บ่มเพะวิชาการเพ่อื สงั คม
• กลุ่มการกจิ บ่มเพาะวสิ าหกจิ
• กลุม่ การกิจคลนิ ิกนาคโนโลยีและหนว่ ยขับเคลอื่ นนวตั กรรมเพอ่ื สงั คม
• กลุ่มภารกิจอทุ ยานวิทยาศาสตร์

จดั ตงั้ เม่ือวันที่ 23 เมษายน 2559 มรี ะยะเวลา 4 ปี
ผู้อานวยการ คือ ผศ.ดร.นุกูล อินทระสงั ขา
ปจั จบุ ันมีผบู้ รหิ ารและบคุ ลากรจานวน 21 คน

ICEI-TSUวิสยั ทัศน์
มุ่งเน้นการบ่มเพาะ ถ่ายทอดองคค์ วามรแู้ ละงานวจิ ัย รว่ มสรา้ งสรรค์นวัตกรรม
สสู่ ังคมผู้ประกอบการเพื่อรับใชส้ งั คม

พนั ธกิจตามยทุ ธศาสตร์ (Mission)
กรอบในการดาเนินงานในการพฒั นาไปสวู่ สิ ยั ทัศน์ ไดก้ าหนดพันธกิจทางยทุ ธศาสตร์ดงั นี้
1. ประสานและขบั เคลอ่ื นการนาวิชาการเพอ่ื สงั คม ผ่านกระบวนการบ่มเพาะและพัฒนาบุคลากรและ
บณั ฑติ ในมหาวิทยาลยั ทกั ษิณ เพอ่ื สนบั สนนุ การประกอบวสิ าหกิจเพอื่ สังคม (Social Enterprise)
2. สนบั สนนุ การใชป้ ระโยชนผ์ ลงานวจิ ยั (Research Utilization) ของมหาวิทยาลยั ทกั ษิณสูเ่ ชงิ พาณชิ ย์
และสรา้ งสังคมผู้ประกอบการใหแ้ ก่นสิ ิต คณาจารย์ บคุ ลากร และบุคคลทวั่ ไปผ่านกระบวนการ
บม่ เพาะธรุ กจิ
3. เพอ่ื ใหค้ าปรึกษา ถ่ายทอดองคค์ วามรู้สชู่ ุมชนดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรมกบั ชุมชนใน
พืน้ ทต่ี ั้งของมหาวทิ ยาลยั ในรูปแบบคลินกิ เทคโนโลยี โดยประสานงานกบั กระทรวงการอุดมศกึ ษา
วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม
4. เพื่อให้บรกิ ารด้านการจดั การทรัพย์สินทางปัญญา การพฒั นาและรับรองมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ การ
จัดทาฐานข้อมูลโครงสร้างพืน้ ฐานภาครัฐดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และการใหบ้ ริการและพัฒนาขดี
ความสามารถทางเทคโนโลยีและวิจยั ของภาคเอกชนโดยประสานเปน็ เครือขา่ ยของอุทยานวิทยาศาสตร์
ภาคใต้และระดบั ประเทศ

โครงการ/กจิ กรรมของ

สานกั เพาะวิชาการฯ

1. กิจกรรมบ่มเพาะวสิ าหกจิ
2. กจิ กรรมเตรยี มความพรอ้ ม
3. กจิ กรรมสร้างความตระหนัก
4. โครงการ Startup Thailand league 2021
5. โครงการ เสน้ ทางส่นู วตั วณชิ ย์ Research to Market (R2M)
6. กจิ กรรม Smart Start Idea by GSB Startup
7. โครงการ สรา้ งผู้ประกอบการ Micropreneur (GSB Micropreneur
Academy)
8. กจิ กรรม Smart Startup Company by GSB Startup
9. กิจกรรมการสง่ เสรมิ ศักยภาพผู้ประกอบการธรุ กิจนวัตกรรมรายใหม่
ระหวา่ งกจิ การขนาดใหญแ่ ละมหาวิทยาลัย (Business Brotherhood)
10. แผนงานการพฒั นาระบบนเิ วศนเ์ พือ่ สรา้ งผู้ประกอบการรนุ่ ใหม่ (P1)
11. โครงการ TED FUND Certified incubator
12. การพัฒนาศกั ยภาพและใหบ้ ริการหอ้ งปฏิบตั กิ ารแกภ่ าคอุตสาหกรรม
(Laboratory Service)
13. ฐานข้อมลู โครงสรา้ งพ้ืนฐานภาครัฐด้าน ว และ ท (STDB)
14. การบริหารจดั การทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา
15. บริการออกแบบนวตั กรรม (Innovation Design Center)
16. สานกั ความร่วมมืออตุ สาหกรรม (OIL)
17. โปรแกรม ITAP
18. การบม่ เพาะธรุ กิจวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวตั กรรม (STI
Incubation Platform)
19. การพัฒนาความสามารถทางเทคโนโลยีและวจิ ัยของภาคเอกชนในพืน้ ท่ี
20. โครงการสร้างกาลงั คนและทกั ษะแห่งอนาคตในภูมภิ าคเพอ่ื ตอบโจทยก์ าร
พฒั นานวัตกรรมของประเทศ
21. โครงการ ยกระดบั คุณภาพชีวิตและเศรษฐกจิ ทอ้ งถนิ่ ในภมู ภิ าคด้วยองค์
ความรู้ภมู ิปัญญาและนวตั ภรรม
22. แผนบรกิ ารให้คาปรึกษา
23. โครงการ หมูบ่ า้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
24. แผนงานบม่ เพาะนักธรุ กิจชุมชน (BCE)
25. โครงการ ออมสนิ ยุวพัฒนร์ ักษถ์ ่ิน
26. โครงการ Social Innovation Driving unit
27. แผนงานการส่งเสรมิ การนานวตั กรรมไปใช้ประโยชนใ์ นพืน้ ทเ่ี พือ่ พฒั นา
สังคมและชมุ ชน (P7)
28. โครงการ ศึกษาข้อมูลเชิงพนื้ ทีท่ ีม่ ีความพร้อมในการยกระดบั
ดา้ นนวตั กรรมจากเกษตรดัง้ เดิมสู่เกษตรสมยั ใหม่ จังหวดั พัทลุง
29. โครงการ สง่ เสริมให้บุคลากรในสถาบันอุดมศกึ ษาไปปฏบิ ตั งิ านเพื่อแกไ้ ข
ปัญหาและเพิม่ ซดี ความสามารถในการผลติ ให้กับภาคเอกชน (Talent
Mobility)
30. แผนงาน วิจัยรว่ มกบั ภาคเอกชน ( Co-Research )

สานักบม่ เพาะวิชาการเพ่ือวสิ าหกิจในชุมชน มหาวิทยาลัยทกั ษณิ เป็นหน่วยงานอิสระภายใต้การกากับของ
มหาวิทยาลยั ทกั ษณิ โดยไดพ้ ฒั นามาจากหน่วยงานเดิม คือ ศนู ยบ์ ม่ เพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ ที่ได้อนุมัติ
จัดตั้งจากสภามหาวิทยาลยั ในการประชุมสภามหาวิทยาลัยทกั ษิณ เม่ือวันที่ 12 มกราคม 2551 ซึ่งได้ดาเนินการ
เป็นระยะเวลา 8 ปี ระยะแรกมีการบรหิ ารจดั การโดยหน่วยงานตัวเอง มีบุคลากร จานวน 6 คน ต่อมามีการขยาย
เป็นเครอื ข่ายของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีส่วนหนา้ ดว้ ยการเป็น คลินิกเทคโนโลยี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552
โดยได้สังกัดในศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจทาหน้าท่ีบูรณาการกับงานท่ีเกี่ยวกับการให้คาปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยกี ับชุมชน โครงการพฒั นาชุมชนให้เขม้ แขง็ ดว้ ยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม

นอกจากน้ีต้ังแต่ ปี พ.ศ. 2559 ได้เข้าไปร่วมงานในเครือข่ายอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาคที่ดาเนินงาน
ร่วมกับมหาวิทยาลัยอ่ืนๆ อีก 15 แห่ง โดยในภาคใต้ได้เข้าเป็นเครือข่ายของอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้ที่มี
มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทรเ์ ป็นแม่ข่าย

ต่อมาสานักบ่มเพาะวิชาการเพื่อวิสาหกิจในชุมชน มหาวิทยาลัย
ทักษิณ (Institute of Community Enterprise Incubation Thaksin
University (ICEI-TSU) ไดอ้ นุมัติจัดต้ังจากสภามหาวิทยาลัยทกั ษณิ เมื่อ
วันที่ 23 เมษายน 2559 เป็นหน่วยงานลักษณะพิเศษ ตามข้อบังคับ
มหาวิทยาลัยทักษิณ ว่าด้วย หน่วยงานลักษณะพิเศษ ปี พ.ศ. 2558
ปัจจุบันมีระยะเวลาในการดาเนินงานมาแล้ว 5 ปี รูปแบบการบริหาร
ภายใต้ระเบียบ คาส่ัง ข้อบังคับ และประกาศของคณะกรรมการ
อานวยการที่แต่งตั้งโดยสภามหาวิทยาลัย ปัจจุบันมีผู้บริหารและ
บคุ ลากรทง้ั หมด 21 คน

กลุ่มภารกจิ

Bบ่มUเพาSะวIสิNาหEกจิSS INCUBATION CENTER

“เน้นกลมุ่ เป้าหมายที่เป็นนสิ ติ บัณฑิต กระบวนการดาเนินงานกลุม่ ภารกิจฯ
และศิษยเ์ กา่ มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ ”
1. โครงการบ่มเพาะวสิ าหกิจ
2. กิจกรรมสรา้ งความตระหนกั การเป็นผูป้ ระกอบการ
3. กิจกรรมเตรียมความพร้อมการเป็นผูป้ ระกอบการ
4. กจิ กรรม Smart Start Idea by GSB Startup
5. โครงการ เสน้ ทางสนู่ วตั วณชิ ย์
Research to Market -R2M
6. โครงการ Startup thailand league
7. โครงการ P1 แผนงานการพัฒนาระบบนิเวศเพ่ือสรา้ ง
ผปู้ ระกอบการรนุ่ ใหม่ Entrepreneurial Ecosystem
Development
8. โครงการ TED FUND Certified incubator
9. โครงการ แผนงานการสรา้ งผู้ประกอบการในห้องเรยี น
(T1 : Class to Work platform)

ผู้รบั ผดิ ชอบกลุม่ ภารกิจฯ

คุณสกุ ัลยา สังข์ทอง ตาแหนง่ ผู้จัดการกลุ่มภารกจิ ฯ
คณุ ลติญา สวา่ งอารมณ์ ตาแหนง่ นักพฒั นาธุรกจิ
คุณณพิชญา เชญิ พันธกลุ ตาแหน่ง เจา้ หน้าทปี่ ระสานงานโครงการ
คณุ สุดาพร พรายจรูญ ตาแหน่ง เจา้ หนา้ ท่ปี ระสานงานโครงการ

โครงการบ่มเพาะวสิ าหกจิ

เป็นโครงการทีบ่ ม่ เพาะใหเ้ กดิ ผ้ปู ระกอบการรายใหม่พัฒนาสู่บรษิ ทั จดั ตงั้ ใหม่ และ
เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพของผปู้ ระกอบใหม้ คี วามเข้มแขง็ และเปน็ ชอ่ งทางในการนาองคค์ วามรู้
ต่างๆ เช่น ผลงานวจิ ยั สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรมท่ีสรา้ งสรรคโ์ ดยคณาจารย์ในสถาบนั
อุดมศกึ ษา พฒั นาส่กู ระบวนการใช้งานเชงิ พาณชิ ย์ โดยมกี ลุ่มเปา้ หมายเป็นนิสิต บณั ฑติ และ
ศษิ ยเ์ ก่า มศี กั ยภาพและมีความสนใจเป็นผ้ปู ระกอบการ

กิจกรรมเตรยี มความพรอ้ มการเป็นผู้ประกอบการ

กิจกรรมเตรียมความพรอ้ มการเปน็ ผู้ประกอบการ ดาเนนิ การภายใต้ ชมรม
TSU - Start up Club เพอ่ื เตรยี มความพร้อมการเป็นผปู้ ระกอบการ ให้แกน่ สิ ิตผา่ น
กิจกรรมต่างๆ เชน่ กิจกรรมอบรมการทาแผนธรุ กจิ กจิ กรรมแชรป์ ระสบการณ์จากนกั
ธรุ กจิ โดยมกี ล่มุ เปา้ หมาย คือ นสิ ิตมหาวิทยาลัยทกั ษิณ ทกุ ชั้นปี

กจิ กรรมสรา้ งความตระหนกั การเปน็ ผปู้ ระกอบการ

สร้างแรงบนั ดาลใจ ความตระหนกั และสง่ เสรมิ จิตวญิ ญาณผู้ประกอบการ
(Entrepreneurial Spirit) ใหแ้ ก่นิสิต นกั ศึกษา คณาจารย์ และศิษย์เกา่ ใหม้ ีสว่ นรว่ มใน
กจิ กรรมการฝกึ อบรม และหลักสูตรในและนอกชน้ั เรยี น โดยกลุ่มเป้าหมาย คือ นิสติ
มหาวิทยาละยทักษิณ ทกุ ช้นั ปี

กจิ กรรม Smart Start Idea by GSB Startup

เปน็ กจิ กรรมทช่ี ว่ ยให้นิสติ นักศกึ ษา เกดิ แนวคิดในการสรา้ งสรรค์ผลงานนวัตกรรม
ใหม่ ๆ และสามารถนาแนวคิดที่เกิดขึ้นไปพัฒนาเป็นสินค้า หรือผลิตภัณฑ์ต้นแบบ เม่ือได้
สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ต้นแบบท่ีพร้อมจัดจาหน่ายแล้ว ธนาคารออมสินจะสนับสนุน การ
จัดตง้ั บรษิ ัทจาลองใหก้ ับนสิ ติ นักศกึ ษา ได้มีโอการเป็นผู้ประกอบการรายใหม่ และจะมีการ
พฒั นาทักษะ ในด้านต่างๆ ทจ่ี าเป็นตอ่ การดาเนินธุรกิจควบคู่กันไป โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ
นิสติ ทกุ ช้ันปี

กิจกรรม Smart Startup Company by GSB Startup

สนับสนนุ การจัดต้งั บรษิ ัทจาลองให้กบั นสิ ิต นักศกึ ษาที่มสี ินคา้ /บริการ ทีพ่ ร้อม
เรม่ิ ต้นดาเนนิ ธุรกิจ ให้นาเสนอแผนธรุ กิจท่ีได้รับความเหน็ ชอบจากมหาวทิ ยาลัย โดย
ธนาคารออมสินจะพิจารณาอนมุ ตั ิเงินทนุ สนับสนนุ จากกองทนุ ธนาคารออม โดยมี
กลมุ่ เปา้ หมาย คอื นสิ ิต และผปู้ ระกอบการ

โครงการ Startup Thailand League

เป็นโครงการที่สนับสนุนให้นักศึกษาพัฒนาแนวคิดผลิตภัณฑ์ควบคู่กับการพัฒนา
รปู แบบธุรกิจนวัตกรรม (Business Model Innovation) และช่วยผลักดันการสร้างธุรกิจ
นวัตกรรมที่มีความเข้มแข็งและสามารถเติบโตได้อย่างรวดเร็วผ่านการพัฒนาความเป็น
ผู้ประกอบการ (Entrepreneurship) ภายใต้ระบบพี่เลี้ยง (Mentor) โดยกลุ่มเป้าหมาย คือ
นิสิต ทกุ ชัน้ ปี

โครงการ P1
แผนงานการพัฒนาระบบนิเวศเพื่อสร้างผปู้ ระกอบการร่นุ ใหม่
Entrepreneurial Ecosystem Development

เปน็ โครงการทสี่ ร้างระบบนิเวศการเปน็ ผู้ประกอบการนวัตกรรมให้กับนักศึกษาและผู้ท่ี
จบการศึกษาไม่เกิน 10 ปี โดยการสร้างองค์ความรู้ให้ตระหนักถึงการพัฒนาเศรษฐกิจ
ฐานนวัตกรรม เข้าใจกระบวนการการดาเนินธุรกิจในรูปแบบต่างๆ สามารถแก้ไขปัญหาที่
เกิดขึ้นอย่างมืออาชีพ รองรับความต้องการที่แตกต่างและหลากหลายในอนาคต โดยมี
กลมุ่ เปา้ หมาย คือ นกั ศกึ ษาและผู้ที่จบการศึกษาไมเ่ กิน 10 ปี

โครงการ
TED FUND Certified incubator

เป็นการสนับสนุนการพัฒนาให้เกิดผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่ หรือกระบวนการ
ผลิตหรือให้บรกิ ารใหม่ ซ่ึงครอบคลุมกระบวนการพิสูจน์แนวคิด การพัฒนาต้นแบบเพื่อ
สนับสนุนนวัตกรรมการจัดการซึ่งจะช่วยให้ธุรกิจสามารถขยายผลเชิงพาณิชย์ได้จริง
เปน็ รปู ธรรม โดยมีกล่มุ เป้าหมาย คือ นสิ ิตและผทู้ ีจ่ บการศึกษาไม่เกนิ 5 ปี

โครงการ แผนงานการสรา้ งผู้ประกอบการในหอ้ งเรยี น
T1 : Class to Work platform

มี เ ป้ า ห ม า ย เ พื่ อ เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้
นักศกึ ษาของหลักสูตรนารอ่ งได้ประกอบ
อาชีพที่เก่ียวข้องกับสาขาวิชาที่กาลัง
ศึกษาอยู่ โดยอุทยานวิทยาศาสตร์
ภู มิ ภ า ค จ ะ ท า ก า ร อ บ ร ม ใ น ก า ร ส ร้ า ง
แนวคดิ ทักษะในการเป็นผู้ ประกอบ การ
แ ล ะ ก า ร ป ร ะ ส า น กั บ ภ า ค เ อ ก ช น ท่ี
เกี่ยวข้องเพ่ือเป็นช่องทางให้นักศึกษาได้
ประกอบอาชีพ หรือ หากนักศึกษาสนใจ
จะเป็นผู้ประกอบการด้วยตนเองก็จะมี
อุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาคช่วยเป็นพ่ี
เลย้ี งในการทาธุรกจิ โดยมีกลุ่ม เป้าหมาย
คือ นิสิตมหาวิทยาลัยทักษิณ ทุกช้ันปี

โครงการ เสน้ ทางสู่นวตั วณชิ ย์
Research to Market - R2M

เป็นโครงการท่ีจัดข้ึนเพื่อมุ่งหวังที่จะผลักดันให้เกิดการต่อยอดงานวิจัยไปสู่การ
พฒั นาตลอดจนเปดิ ชอ่ งทางในการสร้างธุรกิจเทคโนโลยีให้กับนักวิจัยและนิสิตได้เรียนรู้
การเริ่มต้นทาธรุ กจิ จนถึงการแขง่ ขนั เข้าสูเ่ ชงิ พาณิชย์ และเป็นการเพ่ิมเติมความรู้แก่นิสิต
และนักวิจัยเก่ียวกับขั้นตอนของนวัตกรรมจนถึงการตลาด กลุ่มเป้าหมาย คือ นิสิต

กลุ่มภารกิจ

CLINICTECHNOLOGYคลินกิ เทคโนโลยแี ละหนว่ ยขบั เคลอ่ื นนวตั กรรมเพอ่ื สงั คม

“เนน้ กลมุ่ เป้าหมายทเี่ ป็นชมุ ชนและมีการ กระบวนการดาเนินงานกลุ่มภารกจิ ฯ
เปดิ รับผปู้ ระกอบการแบบทัง้ ภายในและ
1.คลนิ กิ เทคโนโลยี
ภายนอก” ▪ แผนงานโครงการบรกิ ารใหค้ าปรึกษา
▪ แผนงานหมูบ่ า้ น วทน และ บม่ เพาะธุรกิจเพ่ือชมุ ชน

2.หน่วยขบั เคล่อื นนวัตกรรมเพอื่ สังคมประจาพ้นื ท่ีภาคใต้ฝ่ัง
อ่าวไทย
▪ แผนงาน Social Innovation Driving Unit

3.ธนาคารออมสนิ
▪ แผนงานโครงการออมสนิ ยุวพัฒนร์ ักษ์ถิ่น (หน่วยพ้นื ที่

จังหวดั พทั ลุง)

4.แผนงานโครงการยกระดบั คุณภาพชวี ติ และเศรษฐกิจทอ้ งถิ่น
ในภูมิภาค ดว้ ยองค์ความรู้ภมู ิปญั ญาและนวัตกรรม
▪ แผนงานการส่งเสริมการนานวตั กรรมไปใชป้ ระโยชน์ใน

พื้นทเ่ี พื่อพฒั นาสงั คมและชุมชน (Area-based
Innovation for Community) P7

ผู้รบั ผดิ ชอบกลมุ่ ภารกิจฯ

คุณนชิ มลกานต์ ขุนเพชร ตาแหน่ง ผจู้ ัดการกลมุ่ ภารกจิ ฯ
คณุ คชาภรณ์ รองเดช ตาแหน่ง เจ้าหนา้ ท่บี ริหารงานท่วั ไป
คณุ องั คณา นวลจันทร์ ตาแหนง่ นกั พัฒนาธุรกจิ

E-mail : [email protected]

ทุนสนับสนนุ

▪ แผนงานโครงการบริการให้คาปรึกษา จานวน 231,250 บาท
▪ แผนงานหมู่บา้ น วทน และ บ่มเพาะธุรกิจเพื่อชุมชน

จานวน 349,400 บาท
1. หมู่บา้ นเทย่ี วลาสนิ ธ์ุ พร้อมเรยี นรถู้ นิ่ เกษตรอตั ลักษณ์
ชายแดนใต้ ปที ี่1
2. หมบู่ ้านเมล็ดพันธุด์ ปี ลเี หลืองพทั ลุง
เมืองชยั บุรี ปีท่ี2

▪ แผนงาน Social Innovation Driving Unit
จานวน 4,000,000 บาท

▪ แผนงานโครงการออมสินยวุ พัฒน์รักษ์ถนิ่ (หนว่ ยพื้นท่ีจังหวดั
พทั ลุง) จานวน 700,000 บาท

▪ แผนงานการสง่ เสรมิ การนานวัตกรรมไปใช้ประโยชนใ์ นพนื้ ทเ่ี พ่ือ
พฒั นาสังคมและชมุ ชน (Area-based Innovation for
Community) P7 (ปี 2564) จานวน 1,282,500 บาท

โครงการออมสินยุวพฒั น์รกั ษ์ถ่ิน

ปี 2563 - 2564

ทีม Fantasti ccoconut oil คณะวิทยาการสุขภาพและ
การกฬี า รว่ มกบั สานักบม่ เพาะวิชาการเพอื่ วสิ าหกิจใน
ชุมชน ไดร้ บั รางวัลชนะเลิศระดบั ประเทศ "Best of
the best“ ประเภทใชด้ ี

ในการประกวดโครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น ปี 25632– 564 ได้รับเงินรางวัล จานวน 50,000 บาท พร้อมประกาศ
เกียรตคิ ุณและโล่รางวัล โดยนิสติ จะได้เข้ารว่ มนาเสนอผลงานบนเวทีใหญ่ในพิธีนาเสนอผลสัมฤทธิ์โครงการออมสินยุวพัฒน์
รกั ษ์ถ่นิ และได้รับยกยอ่ งเป็น "ทีมยวุ พัฒน์ต้นแบบ" เพอื่ ถา่ ยทอดแนวคดิ ประสบการณก์ ารทางานใหก้ ับนสิ ิตทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการ
ในรุน่ ต่อไป

New 7 Platform แผนงาน P7 : Tech Transfer to Community

โครงการยกระดับคุณภาพชวี ิตและเศรษฐกจิ ในภูมิภาคด้วยองค์ความรู้ภมู ิปญั ญาและนวัตกรรม ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563
ช่อื โครงการ : โรงอบแห้งแปง้ สาคตู น้ พลงั งานแสงอาทติ ย์รว่ มกับพลังงานชวี มวล
วิสาหกิจสาคูต้นยายฉุย
บา้ นหัวพรุ อาเภอควนขนุน จังหวัดพทั ลุง โดย รศ.ดร.จตพุ ร แกว้ อ่อน (นักวิจัยคณะ
วศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ)

การใช้เทคโนโลยกี ารอบแหง้ แบบพาราโบลารโ์ ดมซึ่งใชพ้ ลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับพลังงานความร้อนจากการเผาไหม้
เชอ้ื เพลิงชีวมวล ซง่ึ ออกแบบเป็นเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบไหลสวนทางกัน โดยใช้กลุ่มท่อเป็นตัวรับความร้อนแล้วใช้
อากาศไหลเวยี นภายในกล่มุ ท่อเป็นตัวรบั ความร้อน แลว้ พาความรอ้ นเข้าหอ้ งอบแห้ง การออกแบบโรงอบจะตอ้ งคานึงถึงขนาด
อุณหภมู ิ ความช้นื และการไหลหมนุ วนของอากาศภายในโรงอบ

กล่มุ ภารกิจ

Sอทุ CยาIนEวิทNยาCศาEสตรP์ ARK

“เน้นกลุ่มเป้าหมายที่เปน็ ผู้ประกอบการใน กระบวนการดาเนินงานกลุ่มภารกิจฯ
พ้ืนท่ีจังหวัดพทั ลุง และใกล้เคยี ง ”
1. แผนงานพฒั นาบรกิ ารอทุ ยานวทิ ยาศาสตร์
ผรู้ ับผิดชอบกลุ่มภารกจิ ฯ การบริการห้องปฏบิ ตั กิ ารสาหรบั การให้บริการแก่
ภาคอุตสาหกรรม

2. แผนงานบรกิ ารออกแบบนวตั กรรม
3. แผนงานพฒั นาบริการอทุ ยานวทิ ยาศาสตร์

การบรหิ ารจัดการทรัพย์สนิ ทางปัญญาแก่
ภาคอตุ สาหกรรม
4. ฐานข้อมลู โครงสรา้ งพนื้ ฐานภาครัฐด้านวทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี (STDB)
5. แผนงานบม่ เพาะธุรกิจวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
นวัตกรรม(TBI)
6. P2 แผนงานการพฒั นาความสามารถทางเทคโนโลยี
ของบคุ ลากรภาคอุตสาหกรรม
7. P4 แผนงานยกระดบั เทคโนโลยสี ู่ภาคอตุ สาหกรรม
8. P6 โครงการยกระดบั การวจิ ัยและพฒั นาของ
ผู้ประกอบการดว้ ยเครือขา่ ยโครงสร้างพน้ื ฐาน
วทิ ยาศาสตรว์ ิจยั และนวตั กรรม
9. T2 โครงการนกั ธุรกจิ เทคโนโลยรี ุน่ ใหม่ New Gen
Technopreneur แผนงานยกระดับและเพิม่ กาลังการ
ผลติ ของผปู้ ระกอบการ
10. T3 โครงการนกั ธุรกิจเทคโนโลยรี ุน่ ใหม่ New Gen
Technopreneur แผนงานเรง่ การเติบโตของ
ผปู้ ระกอบการ Acceleration Platform

คณุ เชาวลกั ษณ์ สมาคม ตาแหนง่ ผจู้ ัดการกลุ่มภารกจิ ฯ

คณุ ปยิ นชุ ไชยสง ตาแหนง่ นักพัฒนาธุรกิจ
คุณธมลวรรณ จูมิ ตาแหนง่ เจ้าหนา้ ที่ทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา
คณุ ฐานพัฒน์ คงพัฒน์ ตาแหนง่ นกั พฒั นาธรุ กิจ
คุณปิยาภรณ์ ขวญั สุด ตาแหน่ง นักพัฒนาธรุ กจิ
E-mail : [email protected]

แผนงานพัฒนาบริการอทุ ยานวทิ ยาศาสตร์
การบรกิ ารห้องปฏบิ ัตกิ ารสาหรับการใหบ้ ริการแก่ภาคอุตสาหกรรม

Laboratory Service
การพัฒนาศักยภาพของห้องปฏิบัติการสาหรับการ
ให้บริการแก่ภาคอุตสาหกรรมนั้น จะครอบคลุมถึงการ
ปรบั ปรงุ ห้องปฏบิ ตั กิ ารในมหาวิทยาลัยให้ได้มาตรฐาน หรือมี
ความพรอ้ มในการให้บริการวิเคราะห์ทดสอบ หรือศึกษาวิจัย
แก่ภาคอุตสาหกรรม เช่นการปรับปรุงพ้ืนท่ี การจัดหา
เครื่องมืออุปกรณ์วิเคราะห์ทดสอบหรือการวิจัยและพัฒนา
การให้บริการออกหนังสือรับรองผลการวิเคราะห์ทดสอบ
ตามวิธีมาตรฐาน ข้อมูลกาหนดมาตรฐานการวิเคราะห์
ทดสอบ ลดต้นทุนของภาคเอกชนในการส่งตัวอย่างไป
วเิ คราะห์ทตี่ ่างประเทศ เกิดประโยชน์ตอ่ อุตสาหกรรมเป้าหมาย
ตา่ งๆ ท้ังน้ีเพื่อมุ่งสนับสนุนกิจกรรมด้านการวิจัยและพัฒนา
ตลอดจนการผลิตผลิตภัณฑ์ของภาคอุตสาหกรรมร่วมกับ
แผนงานต่างๆ ของกลมุ่ ภารกจิ อุทยานวิทยาศาสตร์

ท่ี หอ้ งปฏบิ ัติการ หนว่ ยงาน งบประมาณ
สนบั สนนุ (บาท)
ปีงบประมาณ 2562
1 หอ้ งปฏบิ ตั ิการเคมพี ื้นฐาน ศูนยถ์ า่ ยทอดเทคโนโลยยี างเพือ่ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ 790,000

ชมุ ชน คณะวศิ วกรรมศาสตร์ 1,900,000
สถาบันวจิ ัยและพัฒนา 1,749,400
ปีงบประมาณ 2564
1 ห้องปฏิบัตกิ ารเคมีพืน้ ฐาน ศูนยถ์ า่ ยทอดเทคโนโลยยี างเพอื่

ชุมชน

2 ห้องวิเคราะหท์ างเคมี ศนู ย์เครือ่ งมือกลาง สถาบนั วิจยั และ
พัฒนา มหาวิทยาลัยทักษณิ

บริการออกแบบนวตั กรรม
Innovation Design Center

การสร้างเพ่ิมมูลสินค้าและบริการโดยนาวิทยาศาสตร์
เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม เ ป็ น อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ใ น ก า ร ช่ ว ย ใ ห้
ผู้ประกอบการสามารถประกอบธุรกิจได้ด้วยองค์ความรู้
คาปรึกษาทางธุรกจิ จงึ ประสานความรว่ มมือกับคณะศิลปกรรม
ศาสตร์ของมหาวิทยาลัยและศูนย์สร้างสรรค์ศิลปกรรมศาสตร์
Arts Creative Center (ACC) มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต
สงขลาและ หน่วยย่อยศูนย์ดังกล่าวท่ี มหาวิทยาลัยทักษิณ
วิทยาเขตพัทลุง เพื่อพัฒนาศูนย์ออกแบบนวัตกรรมฯดังกล่าว
ให้แก่ผู้ประกอบการท่ีรับบริการภายใต้อุทยานวิทยาศาสตร์ และ
ผูส้ นใจทวั่ ไปในพื้นทีเ่ ปา้ หมาย

✓ บรกิ ารใหค้ าปรึกษาเรอื่ งท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การออกแบบครบวงจร
✓ บรกิ ารการพัฒนาผลติ ภณั ฑใ์ หม่ พฒั นาบรรจภุ ัณฑ์ ออกแบบฉลากสนิ คา้
✓ วเิ คราะห์ความต้องการของลกู คา้ หรอื ผปู้ ระกอบการ

แผนงานพัฒนาบรกิ ารอุทยานวิทยาศาสตร์
การบรหิ ารจดั การทรพั ย์สินทางปญั ญาแกภ่ าคอตุ สาหกรรม
Intellectual Property Management for Industry

ให้บริการทง้ั บุคคลภายใน และภายนอกมหาวทิ ยาลยั ทักษิณ
▪ ให้คาปรกึ ษาเรอื่ งท่เี ก่ียวข้องกับทรพั ย์สนิ ทางปัญญา
▪ บริการย่ืนขอรับความคมุ้ ครองดา้ นทรัพย์สินทางปญั ญา

- สิทธบิ ตั รการประดิษฐ์
- สิทธบิ ตั รการออกแบบผลติ ภัณฑ์
- อนุสทิ ธบิ ตั ร
- เครอื่ งหมายการค้า
- ลขิ สิทธิ์

ฐานขอ้ มูลโครงสร้างพ้ืนฐานภาครัฐดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Science and Technology Infrastructure DataBank : STDB

การมฐี านข้อมูลเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจึงเป็น
สงิ่ จาเป็นสาหรับทุกศาสตร์ และทุกงาน เพื่อให้การเก็บ
ข้อมูลเป็นระบบ ระเบียบ สามารถค้นหาง่าย และทาให้
ข้ อ มู ล ที่ มี ป ร ะ โ ย ช น์ ไ ม่ ก ล า ย เ ป็ น ข้ อ มู ล ข ย ะ
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจึงได้จัดทา
ฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานภาครัฐด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี เพอื่ เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดา้ นวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ดังนี้ ข้อมูลนักวิจัย ข้อมูลงานวิจัย
ข้ อ มู ล ห้ อ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร แ ล ะ ข้ อ มู ล เ ค ร่ื อ ง มื อ
วิทยาศาสตร์ และให้นักศึกษา ผู้ประกอบการ หรือ
บุคคลท่ัวไปที่สนใจสืบค้นข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ได้เข้ามาสืบค้นข้อมูล หรือหาความรู้ เพื่อ
นาไปใช้ในการเรียนการสอน หรือพัฒนาเป็นงานวิจัย
อนื่ ๆ ต่อไป

แผนงานบ่มเพาะธุรกิจวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม
(STI Incubation Platform)

มุ่งเน้นพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการในพ้ืนท่ีจังหวัดพัทลุงและ
พ้ืนทใ่ี กล้เคยี ง ให้สามารถผลิตสินค้า ผลติ ภัณฑ์และบริการท่ีมีคุณภาพสูง
เพ่ือให้สามารถแข่งขันในเชิงพาณิชย์ได้ โดยหน่วยงานบ่มเพาะธุรกิจเป็น
หน่วยงานสร้างและส่งเสริมผู้ประกอบการใหม่ท่ีมีศักยภาพ ด้วยการ
บ่มเพาะธุรกิจทางเทคโนโลยีการผลิตและทางด้านการตลาด เพ่ือนาไปสู่
การสรา้ งมูลค่าเพิม่ และการต่อยอดองค์ความรู้ ท้ังน้ีการเสริมศักยภาพ
ทางธุรกิจและเทคโนโลยี รวมไปถึงการสร้างเครือข่ายทางธุรกิจท่ี
เกี่ยวข้อง สง่ ผลใหธ้ รุ กิจมโี อกาสรอดและเตบิ โตสูงเปน็ ผูป้ ระกอบการท่ีมี
คณุ ภาพมศี ักยภาพในการแขง่ ขนั ได้อย่างย่ังยืน ตลอดจนมีการสร้างและ
พัฒนาผลิตภัณฑ์โดยใช้การวิจัยและนวัตกรรมเช่ือมโยงกับการพัฒนา
เศรษฐกิจของพน้ื ทโี่ ดยเตรียม
ความพรอ้ มเพอ่ื รองรับ
การเติบโตทางเศรษฐกิจ
ในอนาคต

วัตถุประสงค์
1. สร้างนสิ ิต บณั ฑติ ศิษยเ์ กา่ และบคุ คลทวั่ ไปทีม่ ีศกั ยภาพและสนใจ

เป็นผ้ปู ระกอบการให้สามารถเปน็ ผู้ประกอบการใหม่ได้
2. นาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมซงึ่ นกั วิจยั ได้พฒั นาข้ึน มาประยกุ ตใ์ ช้ใน

เชิงพาณิชย์ไดอ้ ยา่ งแท้จรงิ
3. สรา้ งการพัฒนาอยา่ งตอ่ เนื่องท้ังดา้ นเทคโนโลยกี ารผลติ และ

การตลาดให้ธรุ กจิ ในพนื้ ทแี่ ละพ้ืนทใ่ี กล้เคียง สกู่ ารเป็น
ผปู้ ระกอบการท่มี คี วามม่ันคงและแข่งขันไดใ้ นตลาดทั้งในประเทศ
และตา่ งประเทศ
กลุ่มอุตสาหกรรมทีม่ ุง่ เนน้ และอุตสาหกรรมเป้าหมาย

กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายของการพัฒนาศักยภาพและให้บริการ
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารแกภ่ าคอุตสาหกรรม ขึ้นอยูก่ บั ศกั ยภาพ ความพร้อม และ
ฐานทรัพยากรของพ้ืนที่นั้นๆ โดยสามารถจาแนกกลุ่มอุตสาหกรรม
เป้าหมายของแต่ละเครือข่ายได้ ดังน้ี ผลิตภัณฑ์ยางแปรรูป ผลิตภัณฑ์
อาหาร และอาหารแปรรูป ผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง และเภสัชภัณฑ์
เทคโนโลยีสารสนเทศ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ และอุปกรณ์ และ
ผลติ ภณั ฑ์บรกิ ารอนื่ ๆ ทมี่ ศี ักยภาพ

P2 แผนงานการพฒั นาความสามารถทางเทคโนโลยีของบคุ ลากร
ภาคอตุ สาหกรรม (Brain Power Skill Up)

บคุ ลากรท่ีเขา้ มาทางานในภาคอุตสาหกรรมก็ขาดทักษะ และฝีมือการทางานท่ีรองรับ
เทคโนโลยีสมยั ใหม่ จึงจาเป็นอยา่ งยง่ิ ทีท่ างภาครฐั และภาคอุตสาหกรรมควรร่วมมือกันใน
การพัฒนาความสามารถทางเทคโนโลยีให้กับบุคลากรภาคอุตสาหกรรม เพ่ือเพ่ิมทักษะ
ความรู้ ความเชี่ยวชาญ ใหก้ ับบุคลากรในภาคอตุ สาหกรรม
1. เพ่ือเพ่ิมทกั ษะความสามารถทางเทคโนโลยแี หง่ อนาคตในภูมภิ าคใหก้ ับบุคลากร

ภาคเอกชน เพื่อตอบโจทยก์ ารพัฒนานวัตกรรมของประเทศ
2. เพ่อื สร้างหลกั สตู รพฒั นาศักยภาพแรงงานเพื่อทกั ษะแห่งอนาคตใหต้ รงตามความ

ตอ้ งการของภาคอตุ สาหกรรม
3. เพอ่ื สร้างการขบั เคล่อื นเศรษฐกิจฐานนวตั กรรมของประเทศ ด้วยอทุ ยาน

วทิ ยาศาสตร์ภมู ิภาค

P4 : Technology to Industry Convergence
แผนงานยกระดบั เทคโนโลยสี ภู่ าคอุตสาหกรรม

การพัฒนาเทคโนโลยีและงานวิจัยถือเป็นปัจจัยสาคัญในการต่อยอดและเพิ่มมูลค่า
แก่ระบบเศรษฐกิจ โดยเฉพาะกับผู้ประกอบการในระดับต่างๆ การนาเทคโนโลยีหรือ
งานวิจัยไปประยกุ ต์ใช้งานอย่างเหมาะสม จะเป็นการเพ่ิมโอกาสในการประสบความสาเร็จ
ทางธุรกิจและเพ่ิมมูลคา่ ใหก้ บั ผลิตภัณฑ์หรอื บริการไดอ้ ยา่ งกา้ วกระโดด ทัง้ น้ี ภาคเอกชน
สามารถคิดค้นงานวิจัยเพื่อต่อยอดได้เอง หรือร่วมมือในการวิจัยและพัฒนากับ
หน่วยงานท่ีมีความเชี่ยวชาญ ได้แก่ มหาวิทยาลัย ซึ่งมีความพร้อมของบุคลากรและ
ความเช่ียวชาญในหลากหลายสาขา

มหาวทิ ยาลัยเป็นแหลง่ รวบรวมองค์ความรู้และผลงานวิจัยท่ีหลากหลาย ซึ่งหลาย
ผลงานยังไม่ไดร้ บั การตอ่ ยอดในเชิงพาณิชยด์ ว้ ยเหตผุ ลทีแ่ ตกต่างกับไป เช่น งานวิจัยยัง
ไม่ไดร้ บั การขยายผลถึงระดับการผลติ ขาดความพรอ้ มทางบุคลากร ขาดองค์ความรู้ใน
การต่อยอดทางธุรกิจ ขาดความร่วมมือทางธุรกิจจากภาคเอกชน เป็นต้น จากเหตุผล
ดังกล่าวถือเป็นการเสียโอกาสของประเทศ ภาคเศรษฐกิจและผู้ประกอบการเป็นอย่าง
มาก ในการทีจ่ ะไดใ้ ช้ประโยชน์จากกงานวิจัยทีม่ ศี ักยภาพในเชงิ พาณชิ ย์

แผนงานการยกระดับเทคโนโลยีสู่ภาคอุตสาหกรรม เป็นแผนงานที่พร้อมจะ
สนับสนุนการใช้ประโยชน์งานวิจัย เทคโนโลยีหรือองค์ความรู้ ที่ยังไม่เคยได้รับการ
สนับสนุนหรือออกสู่เชิงพาณิชย์มาก่อน ให้ได้รับโอกาสในการพัฒนางานวิจัยสู่ระดับท่ี
ใกล้เคียงกับการใช้งานจริง การพิสูจน์เทคโนโลยี การวางแผนและวิเคราะห์แนวทางใน
การต่อยอดทางธุรกิจ รวมถึงการมองหาภาคเอกชนที่จะมาใช้ประโยชน์งานวิจัยใน
อนาคต ซึ่งจะเกิดประโยชนก์ บั ภาคเอกชนที่จะมีงานวิจัยและเทคโนโลยีให้เลือกและสามารถ
นาไปตอ่ ยอดได้มากขน้ึ และเกิดการใชป้ ระโยชน์จากงานวิจยั ที่ภาครฐั ได้ลงทุนไปแลว้

P6 : Industrial Research and Development RD Facility Boost Up
โครงการยกระดบั การวจิ ัยและพฒั นาของผปู้ ระกอบการดว้ ยเครือข่าย
โครงสรา้ งพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์วจิ ัยและนวัตกรรม

แผนงานให้บริการภาคเอกชน/ผู้ประกอบการ ในการใช้บริการโครงสร้างพืน้ ฐานใน
มหาวิทยาลัยทกั ษิณ การขอรับการสนบั สนนุ งบประมาณสงู สุดถึง 80% ตอ่ โครงการ

Track #1 ผปู้ ระกอบการท่ีตอ้ งการวิเคราะห์ ทดสอบ ในห้องปฏิบตั ิการ
- สนบั สนุนงบประมาณการวิเคราะห์ ทดสอบ ในห้องปฏบิ ัตกิ าร ไมเ่ กนิ ร้อยละ 80
หรือไมเ่ กนิ 100,000 บาท ตอ่ โครงการ
Track #2 ผ้ปู ระกอบการทีต่ อ้ งการวเิ คราะห์ ทดสอบ ในหอ้ งปฏิบัตกิ าร และผลติ
ผลติ ภณั ฑต์ ้นแบบ (Prototype) ในโรงงานต้นแบบ
- สนับสนุนงบประมาณการวเิ คราะห์ ทดสอบ ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ และผลติ prototype
ในโรงงานตน้ แบบไม่เกนิ ร้อยละ 80 หรอื ไมเ่ กิน 300,000 บาท ต่อโครงการ

โครงการ นักธรุ กิจเทคโนโลยรี ุ่นใหม่ New Gen Technopreneur
แผนงานยกระดับและเพม่ิ กาลงั การผลติ ของผ้ปู ระกอบการ
T2 : Entrepreneurial Scale-up platform

มหาวิทยาลัยเครือข่ายอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาคมี
ศักยภาพและความเข้มแข็ง ทั้งองค์ความรู้ทางด้านธุรกิจ
วิทยาศาสตร์ การทาวิจัย และการพัฒนาเทคโนโลยี ก่อให้เกิด
การสร้างระบบนิเวศนวัตกรรม อีกท้ังยังส่งเสริมให้เกิดการ
สร้างผู้ประกอบการธุรกิจเทคโนโลยี โดยมหาวิทยาลัย
เครือข่ายอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาคมีบทบาทท่ีสาคัญในการ
ช่วยผู้ประกอบการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ให้ความรู้เพื่อ
พัฒนาศักยภาพทางธุรกิจและเทคโนโลยี สนับสนุนการ
ยกระดับและเพ่ิมกาลังการผลิตผ่านโครงสร้างพื้นฐานท่ีมีอยู่
รวมถึงให้คาแนะนาในการดาเนินธุรกิจ เพื่อสร้างความเชื่อม่ัน
แก่ผู้ประกอบการธุรกิจเทคโนโลยี ในการนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบ
ทไี่ ดร้ ับการพฒั นาแล้วออกสู่เชิงพาณชิ ย์

โครงการนักธรุ กิจเทคโนโลยีรุ่นใหม่ New Gen Technopreneur
แผนงานเรง่ การเตบิ โตของผูป้ ระกอบการ

T3 : Acceleration Platform

การเร่งการเติบโตของผู้ประกอบการธุรกิจเทคโนโลยี เป็นการมุ่งเน้นการพัฒนา
นกั ธุรกิจเทคโนโลยีทม่ี ีแนวคิดผลิตภัณฑ์หรือบรกิ ารทช่ี ดั เจน มตี น้ แบบผลิตภัณฑ์ท่ีพร้อม
ตอ่ การเตบิ โต โดยอทุ ยานวิทยาศาสตร์ภมู ภิ าคจะมีสว่ นร่วมในการชว่ ยให้เข้าถงึ โครงสร้าง
พื้นฐานการผลิต รวมถึงการตลาดและการเข้าถึงกลุ่มลูกค้าใหม่ๆ เพื่อเป็นการยกระดับ
และขยายกาลงั การผลติ ของผปู้ ระกอบการเทคโนโลยีท่ีมคี วามพร้อมและมีศักยภาพในการ
ทาธุรกิจ และสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สร้างอาชีพ สร้างรายได้
ให้กับผู้ประกอบการในภูมิภาค มีความพร้อมในการส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมที่มีความ
ต้องการพัฒนาด้านเทคโนโลยีให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของบริบทโลกให้สามารถเพิ่ม
ความสามารถในการเข้าถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรม ดังน้ัน อุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค
สามารถเป็นเครื่องมือสาคัญท่ีมีความมุ่งมั่นในการขับเคลื่อนนวัตกรรมสู่ภูมิภาค เพื่อ
ยกระดับคุณภาพชีวิตและความสามารถในการแข่งขันเชิงพ้ืนท่ี รวมถึงการสร้าง “นัก
ธรุ กิจเทคโนโลยรี ่นุ ใหม”่ (New Gen Technopreneur) ได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

กลมุ่ ภารกิจ

บC่มuเlพtiาvะaวtชิ eากaาcรaเพdือ่emสงั icคsม for society

“เน้นกลมุ่ เป้าหมายท่เี ปน็ ผู้ประกอบการ กระบวนการดาเนินงานกลุ่มภารกจิ ฯ
SMEs และวิสาหกจิ ชมุ ชน”
1. โครงการพฒั นาขีดความสามารถทางเทคโนโลยีและวจิ ัย
ของภาคเอกชนในพน้ื ท่ี: IRTC

2. สานกั งานความรว่ มมืออุตสาหกรรม (Office of
Industrial Liaison)

3. แผนงานการพัฒนากระบวนการวิจัยของผปู้ ระกอบการ

4. Innovation and Technology Assistance Program :
ITAP โปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยี และ
นวตั กรรม

ผรู้ ับผิดชอบกล่มุ ภารกจิ ฯ

คณุ อานนท์ เทพทอง ตาแหนง่ ผจู้ ัดการกลมุ่ ภารกิจฯ
คณุ สจุ ิวรรณ พวงพรกิ ตาแหนง่ เจ้าหนา้ ท่ีบริหารงานท่วั ไป
คุณธรี ภทั ร์ เจ้ยจู ตาแหนง่ เจา้ หน้าทีป่ ระสานงานโครงการ

โครงการพัฒนาขีดความสามารถทางเทคโนโลยีและวิจัย

ของภาคเอกชนในพื้นที่ : IRTC

แผนงานพฒั นาขดี ความสามารถทางเทคโนโลยีและวจิ ัยของภาคเอกชนในพ้ืนที่ หรือโครงการ
IRTC เป็นโครงการที่ให้บริการแก่ผู้ประกอบการการ SMEs เพ่ือทาหน้าท่ีช่วยเหลือผู้ประกอบการ
ภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่ด้วยการส่งเสริมการนาเทคโนโลยีเข้าไปทาให้เกิดนวัตกรรมในการพัฒนา
เทคโนโลยี การจับคู่นวัตกรรมในรูปแบบของการใช้ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคเข้าไปเป็นที่ปรึกษาในการ
แกไ้ ขปัญหาทางเทคนิค ปรับปรุงประสทิ ธิภาพ กระบวนการผลิต พัฒนาคุณภาพสนิ คา้ ให้ได้มาตรฐาน
และพัฒนาผลติ ภัณฑใ์ หมๆ่ รวมถงึ การฝกึ อบรมเสาะหาเทคโนโลยีจากแหลง่ ตา่ งๆ เพ่ือให้สามารถเข้า
สกู่ ารแขง่ ขนั ในตลาดการค้าได้อย่างเข้มแข็ง

สานักงานความร่วมมอื อุตสาหกรรม
Office of Industrial Liaison

การสร้างความตระหนกั การเผยแพรข่ อ้ มูลแก่ผู้ประกอบการท่ี
สนใจทาธุรกิจทั้งภาคอุตสาหกรรม ภาคชุมชน หรือผู้ประกอบการ
SME เกิดขน้ึ จานวนมากรวมถึงผูป้ ระกอบการท่ีดาเนินกิจการอยู่แล้ว
ก็มจี านวนมากเช่นกัน การที่ผูป้ ระกอบการดาเนินกิจการไปได้น้ัน ต้อง
อาศัยปัจจัยหลายๆ อย่าง ทั้งองค์ความรู้ ท่ีปรึกษาทางธุรกิจ
ผู้เช่ียวชาญ รวมไปถึงงบประมาณในการดาเนินกิจการ ในขณะเดียว
กันก็มีหน่วยงานภาครัฐหลายๆ หน่วยงานได้เข้าไปช่วยเหลือ
ผู้ประกอบการในเรื่องของงบประมาณ กระทรวงการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมก็เป็นอีกหน่วยงานหน่ึงท่ีได้จัดทา
โครงการตา่ ง ๆ

แผนงาน การพัฒนากระบวนการวจิ ัยของผ้ปู ระกอบการ
Industrial Research and Development Capacity Building

แผนงานการพัฒนากระบวนการวิจัยของผู้ประกอบการ
(Industrial Research and Development Capacity Building
IRD Cap Building) เป็นการยกระดับการวิจัยและพัฒนาของภาค
อุตสาหกรรม ผา่ นการสนับสนนุ ดา้ นองค์ความรู้ ประสบการณ์ และ
ความเช่ียวชาญด้านกระบวนการวิจัยของมหาวิทยาลัยและอุทยาน
วิทยาศาสตร์ภูมิภาค เพ่ือให้ผู้ประกอบการ มีความพร้อมและ
ความสามารถในการจัดตั้งหรือพัฒนาปรับปรุงหน่วยวิจัย (R&D
Unit) ในสถานประกอบการ ตลอดจนพัฒนาให้ผู้ประกอบการใน
ทอ้ งถน่ิ สามารถนาภูมิปัญญามาผสมผสานกับเทคโนโลยีนวัตกรรม
สมัยใหม่ อันเป็นการกระตุ้นการลงทุนด้วนการวิจัยและพัฒนาใน
อนาคตต่อไป

Innovation and Technology Assistance Program : ITAP
โปรแกรมสนบั สนนุ การพัฒนาเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม

ITAP เปน็ โปรแกรมเพ่ือให้บริการภาคอุตสาหกรรม
ในการวิจัยและพัฒนา รวมทั้งยกระดับเทคโนโลยีการผลิต
โดยมีภารกิจหลัก คือ การสร้างกลไกเชื่อมโยงระหว่างผู้
ให้บริการเทคโนโลยี (Technology Service Providers) กับ
ผู้ใช้เทคโนโลยี (Technology Users) ในรูปแบบของการ
จัดหาผู้เช่ียวชาญด้านเทคนิค เพื่อให้ความช่วยเหลือด้าน
การวิจัยและพัฒนา เข้าไปให้คาปรึกษาและแก้ไขปัญหาถึงใน
โรงงาน

วัตถุประสงค์

วัตถปุ ระสงคห์ ลงั คือ กระตุ้นการเจริญ เติบโตทาง
เศรษฐกิจของประเทศไทย ให้มีการสร้างนวัตกรรมทาง
เทคโนโลยี เพ่ือยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้าน
เทคโนโลยี ของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาด
ยอ่ ม


Click to View FlipBook Version