The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Piyaporn Khwansut, 2021-02-15 02:13:58

เอกสารv10

เอกสารv10

เอกสาร Social VDO Phatthalung
Foresight Phatthalung Forward 2030

การมองอนาคต (Foresight)

การมองอนาคต (Foresight) เป็นเครอ่ื งมือในการบ่งช้ีสัญญาณความเปล่ียนแปลง รวมถงึ ประเมิน
ประเดน็ การมองอนาคต (Foresight) เปน็ เคร่อื งมอื ในการบ่งชีส้ ญั ญาณความเปลี่ยนแปลง

ประเมนิ ประเดน็ ความไมแ่ น่นอน (Uncertainties) เพื่อรับรู้และคาดการณภ์ าพความเปลยี่ นแปลงใน
อนาคตและผลกระทบทอ่ี าจจะเกิดข้นึ ในระยะยาวสง่ ผลต่อการกาหนดทศิ ทาง (Direction setting)

วางแผนยุทธศาสตร์ กาหนดทางเลอื ก และการตดั สนิ ใจเชงิ กลยุทธใ์ หส้ อดคล้องกบั เง่ือนไขการ
เปลีย่ นแปลงในอนาคต เพ่อื ปรบั เปลีย่ นพืน้ ท่ีสกู่ ารพฒั นาท่ีทา้ ทายอย่างยิ่ง

สานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การ แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงเชิงพ้ืนที่

มหาชน) ร่วมกับ สานักบ่มเพาะวิชาการเพื่อวิสาหกิจ ที่สาคัญ จังหวัดพัทลุงเป็นจังหวัดท่ีมี
ในชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ ได้ดาเนินการศึกษาและ
พัฒนาภาพอนาคตแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นท่ี ขนาดเศรษฐกิจอยู่อันดับที่ 13 ของภาคใต้
เ พ่ื อ ก า ร พั ฒ น า น วั ต ก ร ร ม เ ชิ ง สั ง ค ม ( Social และอยู่อันดับที่ 61 ของประเทศ มีเนื้อใหญ่
Foresight) ในพื้นท่ีจังหวัดพัทลุง และข้อเสนอแนะ เป็นอันดับ 10 ของภาคใต้ ลักษณะทาง
เชิงนโยบาย เพ่ือขับเคลื่อนการพัฒนานวัตกรรมใน สังคมของคนพัทลุงมีวิถีดั้งเดิมท่ีมีคุณค่า มี
พื้นที่ให้สอดคล้องกับบริบทการเปล่ียนแปลงความท้า ความภาคภูมิใจในวัฒนธรรม มีวิถีชีวิตชีวิต
ทายในอีก 10 ปีข้างหน้า ผ่านการปรับตัวไปสู่ ความเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย เมืองมีเสน่ห์
“อนาคตของพัทลุง 2573” หรือ “Phatthalung ความโดดเด่นเชิงประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม
forward 2030” โดยมีแนวโน้มการเปล่ียนแปลงท่ี ทัศนียภาพทางธรรมชาติสวยงามและอุดม
สาคญั ดังน้ี สมบูรณ์ และมีความหลากหลายทางชีวภาพ
ที่ไม่สามารถเห็นได้ในเมืองใหญ่ โดยเฉพาะ
Social Foresight Phatthalung l 1 ต้นทุนด้านส่ิงแวด ล้อมที่เหมาะสมเอื้อต่อ
การทาเกษตร กรรม จังหวัดพัทลุงจึงเป็น
เมืองที่มีศักยภาพ ในการพัฒนาให้เติบโต
อย่างย่ังยืนภายใต้ต้นทุนที่มีอยู่ในพ้ืนที่เป็น
ปัจจัยท่ีเอ้ือต่อการเปล่ียนแปลงในอนาคต
ป ร ะ เ ด็ น แ น ว โ น้ ม ค ว า ม ท้ า ท า ย ก า ร
เปลีย่ นแปลงทส่ี าคัญในพนื้ ที่

แนวโน้มการเปลีย่ นแปลงเชงิ พืน้ ทท่ี สี่ าคญั

1) พัทลุงเป็นเมืองแห่งการท่องเท่ียวเชิง ท่มี า : สานักงานการท่องเทยี่ วจังหวัดพัทลุง
วัฒนธรรมและเศรษฐกิจสรา้ งสรรค์

จังหวัดพัทลุงมีทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีความอุดมสมบูรณ์
ทั้ง ป่า เขา นา เล ซ่ึงเอื้อต่อกิจกรรมการท่องเท่ียวใน
รปู แบบตา่ งๆ ซ่ึงสามารถดึงดูดผู้เย่ียมเยือน อีกท้ังยังมีภูมิ
ปัญญาชาวบ้าน / ท้องถ่ิน ที่สามารถสร้างความเข้มแข็ง
ให้แกช่ ุมชน และคาดว่าในอนาคตข้างหน้าพัทลุงก็ยังคงเน้น
ก า ร เ ป็ น ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
สร้างสรรค์ (Creative economy) จากข้อมูลของ
สานักงานท่องเที่ยวจังหวัดพัทลุงพบว่ามีรายได้จากการ
ท่องเท่ียวเพิ่มข้ึนในช่วงปี พ.ศ. 2559-2561 ประมาณ
ร้อยละ 31

ท่ีมา : รายงานประชากรในระบบ HDC

Social Foresight Phatthalung l 2

2) การเขา้ สสู่ ังคมผูส้ ูงวยั แบบสมบรู ณข์ องจงั หวัดพทั ลุง

จากข้อมูลในปี พ.ศ. 2560 – 2563 มีสัดส่วนผู้สูงวัยเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็วเป็นร้อยละ 21.55 เข้าสู่
สังคมสูงวัยโดยสมบูรณ์ (Aged society) และคาดว่าอาจเพิ่มสูงอีกถึงร้อยละ 31 ในอีก 20 ปี
ข้างหน้า ส่งผลกระทบต่อสังคมและเศรษฐกิจ เกิดการพ่ึงพิงสมาชิกในครอบครัวที่สูงข้ึน จะส่งผล
กระทบต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัดในระยะยาว จานวนประชากรวัยแรงงานท่ี
ลดลงและส่งผลต่อผลผลิตมวลรวมของจังหวัด ตลอดจนการจัดสรรทรัพยากรของจังหวัดพัทลุง
ดงั นน้ั จึงควรมนี โยบายหรือแผนปฏิบัตกิ ารท่ีเหมาะสมรองรับการเปล่ียนแปลงและผลกระทบในประเด็น
ต่างๆ ควรมีการจัดทาแผน การเตรียมความพร้อมพลเมืองวัยทางานเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในอนาคต
เพื่อให้จังหวัดพัทลุงเป็นเมืองท่ีเอ้ืออานวยให้กับทุกคน ทุกกลุ่มวัยที่เป็นพลเมืองของจังหวัดพัทลุงให้
ดารงชวี ิตอย่างมีความสขุ

แนวโน้มการเปล่ียนแปลงเชิงพ้ืนทีท่ ี่สาคัญ

3) พทั ลุงมสี ัดส่วนครอบครัวยากจนและครอบครวั เลี้ยงเด่ยี วเพมิ่ ขนึ้

สาเหตุหลักมาจากปัญหาของเศรษฐกิจของจังหวัดพัทลุงพึ่งพาเกษตรกรรมเป็นหลักโดยเฉพาะยางพารา
เมอ่ื ราคาผลผลิตเกษตรตกต่าจึงมีผลต่อปัญหาของครัวเรือนท่ีมีรายได้น้อยลงและมีหน้ีสินครัวเรือนเพ่ิมข้ึน
ทาให้สัดส่วนคนจนในภาพรวมของจังหวัดพัทลุงย่ิงเพ่ิมสูงขึ้น ติดอันดับ 7 ของประเทศ (ข้อมูลปี 2561)
โดยมสี ดั ส่วนครอบครัวยากจนเพ่มิ ขึ้นทุกปีต้ังแต่ พ.ศ. 2559 - 2561 ส่งผลต่อปัญหาครอบครัวมากข้ึนซ่ึง
จะเห็นได้ชัดจากข้อมูลการเพิ่มข้ึนของครัวเรือนเลี้ยงเดี่ยว (Single parent) และครอบครัวมีผู้สูงอายุอยู่
ตามลาพัง

Social Foresight Phatthalung l 3 ท่มี า : ดัชนคี วามก้าวหน้าของคนประจาปี 2562 ที่มา : ดัชนีความกา้ วหนา้ ของคนประจาปี 2562

4) ปรากฏการณ์สง่ิ ใหม่ หรอื New Normal หลังสถานการณ์ COVID-19

เกิดกระแสคนรุ่นใหม่กลับท้องถ่ิน
หันมาเป็นเกษตร กร หรือทาธุรกิจ
ออนไลน์ หรือเจ้าของธุรกิจเล็กๆ ที่
สามารถเล้ียงชีพตัวเองได้ และการ
มสี ว่ นชว่ ยพัฒนาท้องถ่ินในทุกด้าน
อีกด้วย พร้อมท้ังปรับ ตัวรองรับ
การเข้าสู่เมืองอัจฉริยะ (Smart
city) เพ่ือเพิ่มความสะดวกสบาย
ในการใช้ชีวิต แต่ยังคงรักษาวิถีด้ัง
เดิมของคนพทั ลุงเอาไว้

Social Foresight Phatthalung l 4 แนวโน้มการเปล่ียนแปลงเชงิ พื้นทที่ ี่สาคัญ

5) เศรษฐกจิ จังหวัดพัทลงุ ชะลอตวั และมีความเหลือ่ มล้าสูง

จากข้อมูลปี พ.ศ. 2562 มีแนวโน้มขยายตัวดีขน้ึ เล็กนอ้ ย โดยไดร้ บั ปจั จยั สนบั สนุนทสี่ าคญั จากการ
ผลผลติ ภาคเกษตรกรรม ที่คาดว่าน่าจะขยายตัวจากปรมิ าณผลผลิตและราคายางพาราที่เพ่ิมข้ึนจะ
สง่ ผลให้รายไดข้ องเกษตรกรเพิ่มขน้ึ รวมถงึ การปรบั ตวั ในการเปลีย่ นรปู แบบในการทาการเกษตรปลกู พืช
เชิงนโยบายหนั มาทาเกษตรแบบผสมผสาน และเลีย้ งสตั วเ์ พม่ิ มากขน้ึ ด้านการลงทุนภาคธุรกิจคาดว่าจะ
ขยายตัวเพ่มิ ข้ึนเล็กนอ้ ย ภาคเอกชนยงั คงชะลอตัวประชาชนยังคงระมัดระวังในการจบั จา่ ยใชส้ อย ภาค
บรกิ ารในระยะข้างหน้าทีม่ แี นวโน้มปรับตวั ข้นึ จากการท่องเท่ยี วทีด่ ขี นึ้ อย่างตอ่ เน่ือง และสาหรบั
ภาคอตุ สาหกรรม พบการชะลอตวั เนื่องจากผู้ประกอบการยงั คงรอการลงทุนใหม่เม่อื สถานการณ์ตา่ งๆ
ดีข้ึน นอกจากนน้ั จากผลกระทบอยา่ งรุนแรงของสถานการณโ์ รคระบาด COVID-19 ทีท่ ัว่ โลกกาลัง
เผชญิ ผลกระทบทุกด้านโดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจทาให้จังหวดั พัทลุงต้องเร่งหาโอกาสใหม่ๆ และในอนาคต
ตอ้ งมีการปรับตวั ทางเศรษฐกจิ ทใ่ี ช้วกิ ฤติเปน็ โอกาสภายใต้ทรพั ยากรทีม่ ีอยใู่ หเ้ หมาะสมและการมสี ว่ น
รว่ มของทกุ ภาคส่วน

ทมี่ า : สานกั งานเกษตรจงั หวดั พทั ลุง

Phatthalung ปจั จยั ขับเคล่อื นสาคญั ไปสู่ “อนาคตของพัทลุง
2573” หรือ “Phatthalung forward 2030”
2030Forward
ปัจจัยขับเคล่ือนท่ีได้จากการกวาดสัญญาณและนามาวิเคราะห์
เพ่ือหาความสัมพันธ์ของเปลี่ยนแปลงไปตามแนวโน้มของที่สามารถ
สร้างการเปล่ียนแปลงให้พ้ืนท่ีในอนาคต ประกอบด้วยปัจจัย
ขบั เคลื่อนสาคัญ 2 ปจั จัยสาคัญ ได้แก่

ภูมิปญั ญาสร้างสรรคเ์ ศรษฐกจิ ศูนย์ขอ้ มลู ดจิ ทิ ัลอจั ฉรยิ ะ
และ สงั คม
Smart Digital Center
Creative wisdom for
economy and society ศูนย์ข้อมูลดิจิทัลอัจฉริยะ หมายถึง หน่วย งานท่ีทา

ภูมิปัญญาสร้างสรรค์เศรษฐกิจ หน้าท่ีขับเคลื่อนจัดการกระบวนการทางธุรกิจ รวมถึงกิจกรรม
และ สังคม หมายถึง หมายถึง การ ทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม แบบมีส่วนร่วม โดยใช้
เทคโนโลยีสาร สนเทศเป็นตัวขับเคล่ือนหลัก ซ่ึงมีการแบ่งเป็น
สร้างมูลค่าสินค้า หรือบริการผ่านภูมิ ระดับระดับสากลและระดับภายในจังหวัดพัทลุง
ปัญญาสรา้ งสรรค์เพ่ือขบั เคลื่อนเศรษฐกิจ
บนฐานความรู้ (Knowledge) การศึกษา  ระดับสากล หมายถึงการใช้ระบบรวบรวมข้อมูลดิจิทัล
(Education) และความคิดสร้างสรรค์
(Creativity) พัฒนาไปสู่ความเป็น แบบอัจฉริยะท่ีมาจากต่างประ เทศหรือแพลตฟอร์มส่ือ
อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative ออนไลน์ต่าง ๆ ที่มีผู้นิยมใช้ในประเทศไทยจากอย่าง
industry) ซึ่งมีการแบ่งเป็นระดับสากล กว้างขวางอยู่แล้ว เช่น Facebook Twitter และ LINE
และระดบั ทอ้ งถ่ิน เป็นต้น โดยท่ีระบบดังกล่าวจะมีการพัฒนาและมีการคิด
ห รื อ สั ง เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล ไ ว้ ด้ ว ย ร ะ บ บ ปั ญ ญ า ป ร ะ ดิ ษ ฐ์
 ระดับสากล หมายถึง การนาภูมิ (Artificial Intelligence, AI) เพอ่ื นาไปใช้ประโยชน์ต่อ
ในด้านตา่ ง ๆ ทง้ั ดา้ นธุรกจิ สังคมหรือการเมอื ง
ปัญญาจากหลากหลายประเทศผ่าน
การเรียนรู้และสะสมจากแหล่งต่าง ๆ  ระดับภายในจังหวัดพัทลุง หมายถึง การใช้ระบบ
ทั้ ง ใ น รู ป แ บ บ ที่ อ ยู่ ใ น เ อ ก ส า ร ท า ง
วิชาการหรอื ในรปู แบบการเรยี นรู้จาก เทคโนโลยสี ารสนเทศทเี่ หมาะสมในการเก็บรวมรวมข้อมูล
สอ่ื ออนไลน์ต่าง ๆ และคิดหรือสังเคราะห์ข้อมูลต่าง ท่ีมีการจัดเก็บในพ้ืนท่ี
ด้วยเครือข่ายของหน่วย งานภาครัฐ ภาควิชาการและ
 ระดับท้องถิ่น หมายถึง จะเป็นการ ภาคเอกชน แบบมกี ารบรหิ ารจดั การรว่ มกนั

นาภูมิปัญญาที่มาจากการสะสมองค์ Social Foresight Phatthalung l 5
ความรู้ / ประสบการณ์ / เร่ืองเล่า
ข า น ที่ มี ก า ร จ ด บั น ทึ ก ใ น รู ป แ บ บ
เอกสารหรือการถ่ายทอดผ่านตัว
บุคคลจากรุ่นสู่รุ่น ผ่านจากครอบ
ครัว สถาบันการศึกษา และศูนย์
เรียนร้ใู นชุมชนนัน้ ๆ

Social Foresight Phatthalung l 6

ภาพอนาคตจากปจั จยั สาคญั จากการนาปัจจัยขับเคลื่อนสาคัญที่มีความไม่แน่นอนและมีผลกระทบการ
เปลี่ยนแปลงเชิงพื้นท่ีมาสร้างเป็นภาพอนาคตทางเลือก (alternative
(Alternative futures) futures) โดยนาปัจจัย 2 ปัจจยั มาเปน็

แกนกาหนดภาพอนาคตทางเลอื ก ไดแ้ ก่ แกนภูมิปญั ญาสร้างสรรคเ์ ศรษฐกจิ และสังคม และศนู ย์ข้อมูลดจิ ิทัลอจั ฉริยะ สามารถ
เปรยี บเทยี บภาพอนาคตของจงั หวัดพทั ลุงได้เป็น 4 ฉากทศั น์ ดังนี้

เมอื งแหง่ นวตั กรรมเพ่อื การเปลยี่ นแปลง (Innovative Phatthalung) เมื อง ศู นย์ ก ลา ง คว า ม
เชือ่ มโยงนานาประเทศ
เพอ่ื นานวัตกรรมตา่ งๆ มาชว่ ยสร้างการเปล่ียนแปลง ในการปรับปรุงผลผลิตการ
บริการ กระบวนการ หรือประสิทธิภาพขององค์กรท้ังภาครัฐและเอกชน โดยการสร้าง (Phatthalung Worldwide
มูลคา่ ใหม่ใหก้ ับผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสียของจังหวดั พัทลุง เพื่อให้จังหวัดพัทลุงเป็น

เมืองอารยะ (Civilized Phatthalung) เมืองแห่งศูนย์กลางด้านผลิต
และจาหน่ายสินค้าและบริการ
เพ่ือให้เกิดการพัฒนาที่เน้นแนวทางเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular econo my) ระดบั โลก โดยใช้จุดเด่นในด้าน
บนพ้ืนฐานเกษตร กรรมที่เข้มแข็งจนบรรลุสู่ความเป็นศูนย์กลาง ของแหล่งผลิตอาหาร ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิง
ปลอด ภัย ดึงดูดนักลงทุนด้านอุตสา หกรรมเทคโนโลยีอาหาร และนักพัฒนาจากท่ัว แวดล้อม รวมถึงอาจจะมีการ
โลกภายใต้โครงสร้างพื้นฐานการใช้พลังงานทด แทนและเทคโนโล ยีพลังงานสะอาดใน พัฒนาระบบขนส่งขนาดใหญ่
การประ กอบการ อาทเิ ชน่ โครง การรถไฟความ
เร็วสงู โครงการกอ่ สรา้ งสนาม
พัทลงุ อจั ฉริยะ (Smart Phatthalung) บินพัทลุง และโครง การขุด
คลองไทย เป็นต้น อาจส่งผล
เพ่ือให้มีการครอบครองข้อมูลท่ีภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เป็นของตนเอง และใช้ ให้จังหวัดพัทลุงเป็นเมืองท่า
ทรัพยากรของทอ้ งถนิ่ ในการเพิ่มมลู ค่าของผลผลติ ดว้ ยเศรษฐกจิ สร้างสรรค์ โดยมีการใช้ และศูนย์กลางการท่อง เท่ียว
เทคโนโลยีดิจิทลั มาสนบั สนุนการดาเนนิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ทง้ั ในดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม และส่ิง ห รื อ ก า ร ล ง ทุ น ใ น บ า ง
แวดล้อม เพื่อลดความยาก จนและเพ่ิมคุณภาพชีวิตท่ีดีของประชากรในจัง หวัดพัทลุง อตุ สาหกรรมเพมิ่ เตมิ ข้นึ
ในขณะเดียว กันสภาพสังคมของจังหวัดพัทลุงเป็นสังคมที่มีการให้และแบ่ง ปันซึ่งกันและ
กัน โดยมีความคาดหวังในการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ได้แก่ Smart City, Smart
Community, Smart Learning, Smart Green Agriculture, Smart Holistic
Health และ Smart Governance

เมื่อมีการนาฉากทัศน์ท้ัง 4 ไปเปรียบเทียบกับ ฉากทศั น์

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดพัทลุง (พ.ศ. Smart Phatthalung
2560 - 2565) พบวา่ ส่วนใหญม่ ีการสอดคล้องไป (พัทลงุ อัจฉรยิ ะ)
ด้วยกันได้ในระดับการกาหนดเป็นแผนงานซ่ึงจะมี
โครงการย่อย ๆ ท่ีดูแลรับผิดชอบโดยส่วนราชการ 1. Smart City
ต่าง ๆ อีกเป็นจานวนมากตามระบบราชการท่ัวไป เมอื งพัทลงุ อจั ฉรยิ ะ
อย่างไรก็ตามในความเป็นจริงมีแค่บางโครงการ
เท่านั้นที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาล เมืองพัทลุงอัจฉริยะที่มีความเพียบ
ส่วนกลาง และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ซึ่งโดย พร้อมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล มีการใช้ IoT
ภาพรวมการดาเนินการของโครงการดังกล่าวอาจ มาใช้ในการบริหารเมืองและการมีสิ่งอา
ยั ง ไ ม่ มี ผ ล ที่ เ ป็ น รู ป ธ ร ร ม ใ น ก า ร ส นั บ ส นุ น ภ า พ นวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ แก่ประ
อนาคตของจังหวัดพัทลุงในอีก 10 ปีข้างหน้าได้ ช า ช น ท้ั ง ร ะ บ บ ส า ธ า ร ณู ป โ ภ ค แ ล ะ
ส่วนผลจากการร่วมตัดสินใจโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สาธารณูปการที่มีค่าใช้จ่ายลดลงโดยมี
และผู้ทรงคุณวุฒิในจังหวัดพัทลุงได้ร่วมกันเลือก ความปลอดภัยในการใช้ เมืองพัทลุงมี
ฉากทัศน์ ในอนาค ตข้างหน้ าอีก 10 ปี ขอ ง ก า ร ใ ช้ พ ลั ง ง า น ห มุ น เ วี ย น ท่ี เ ป็ น พ ลั ง
Phatthalung forward 2030 ได้ลงมติเลือก สะอาดและประหยัดค่าใช้จ่าย มีระบบการ
Smart Phatthalung หรือพัทลุงเมืองอัจฉริยะ ขนส่งที่เช่ือมต่อภายในเมืองพัทลุงและ
เป็นฉากทัศน์ที่จะมีการนาไปพัฒนาข้อเสนอแนะใน ระหวา่ งเมอื งอื่น ๆ ท้งั ในระดับอาเภอ และ
การผลักดันให้ทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องในการบริหาร ระดบั จงั หวัดอื่น ๆ ในภูมิภาคต่าง ๆ ที่ทา
จัดการในอนาคตนาไปขับเคล่ือน โดยมีข้อมูล ให้สะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย นอกจากนี้
ประกอบในดา้ นตา่ ง ๆ ดังนี้ เมืองพัทลุงต้องมีระบบอัจฉริยะป้องกัน
เมือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงจากการเกิด
อุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย รวมท้ังระบบ
ป้องกนั อาชญากรรมท่ีมีประสิทธิภาพและ
มีการควบคุมความปลอดภัยในการจราจร
ของเมืองอีกด้วย

Social Foresight Phatthalung l 7

ฉากทศั น์

Smart Phatthalung
(พทั ลงุ อัจฉริยะ)

2. Smart Community

คนในชุมชนมีความสามารถเข้ามามี
สว่ นรว่ มในการบริหารปกครองด้วยตนเอง
มากข้ึน มีส่วนร่วมในการวางแผน พัฒนา
ควบคุมและประเมินท้ังในด้านเศรษฐกิจ
สังคม และสิ่งแวดล้อมของชุมชน โดยมี
ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ดิ จิ ทั ล ห รื อ ร ะ บ บ
ปัญญาประดิษฐ์ และอินเตอร์เน็ต เพ่ือการ
บรหิ ารจดั การชมุ ชนมากขึ้น และมีส่วนช่วย
สนับสนุนการดาเนินภารกิจหรือกิจกรรม
ต่าง ๆ ของชุมชน โดยเฉพาะอย่างย่ิงการ
นามรดกภูมิปัญญาวัฒนธรรมท้องถิ่นมา
สร้างงานและสร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชน
อย่างกว้างขวาง

3. Smart Learning ทาให้เกิดการนาไปพัฒนาต่อยอดความรู้ให้กับตัวเอง ชุมชน
และสังคมในจังหวัดพัทลุงได้ ก่อให้เกิดผลดีต่อเศรษฐกิจและ
ภาคประชาชนสามารถเรียนรู้เท่า สงั คมตอ่ ประเทศไดอ้ ีกทางหนงึ่
ทันความเปน็ โลกาภิวัตน์ โดยมีสถาบัน
การศึกษาต่าง ๆ ให้การสนับสนุน
ส่งเสรมิ การเรียนรู้ของประชาชนทั้งใน
ระบบและนอกระบบหรือการเรียนรู้
ตลอดชีวิต (Life-Long Learning)
เพ่ือให้สามารถนาข้อมูล ความรู้ใน
ระดับสากลมาเชื่อมโยงกับภูมิปัญญา
ท้องถิ่น รวมถึงมีการจัดการความรู้
และมีความคิดสร้างสรรค์ต่อยอด
ความรู้เดิม ท่ีจะช่วยในการปรับตัวกับ
สถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นใหม่ใน
อนาคต

Social Foresight Phatthalung l 8

Social Foresight Phatthalung l 9 4. Smart Green Agriculture ฉากทัศน์ Smart Phatthalung
(พัทลุงอัจฉริยะ)

ภายใต้การสนับสนุนอย่างจริงจังจากภาครัฐ

และเอกชนเพื่อพัฒนาภาคการเกษตรของจังหวัด

พัทลุงให้ก้าวสู่เกษตรอัจฉริยะ มุ่งเน้นการใช้ IoT มา

พัฒนาระบบการผลิตขั้นพื้นฐานทั้งกระบวนการ

เพ่ือเพ่ิมผลผลิตต่อเนื้อที่อย่างมีคุณภาพและได้

มาตรฐานสากล มีการบริหารจัดการดูแลด้าน

สิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมรองรับการทาเกษตรอินทรีย์

ให้โดดเดน่ ยง่ิ ข้ึน นอกจากนีม้ ีเรง่ นานวัตกรรมมาช่วย

การยกระดบั อุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทาง การเกษตรเพื่อเพ่มิ มลู ค่าในตวั สินคา้ ใหส้ งู ขึ้น

5. Smart Holistic Health

หน่วยงานสาธารณสุขจังหวัดและประชาชนใน
จังหวัดพัทลุงมีส่วนร่วมพัฒนาระบบการจัดการ
สาธารณสขุ ทีม่ คี ณุ ภาพและได้มาตรฐาน มีค่าใช้จ่ายใน
การดูแลรักษาสุขภาพท่ีลดลง โดยมีพัฒนาระบบ
สาธารณสุขท้ังในเชิงรับ (การรักษาสุขภาพ) และเชิง
รุก (การป้องกันโรค) โดยการใช้ระบบประมวลผล
อจั ฉริยะท่ดี ี ทาใหน้ อกจากดแู ลประชาชนภายในจังหวัด
ให้มีสุขภาพและคุณภาพดีแล้วยังช่วยส่งเสริมให้มีคน
จากต่างถิ่นมาท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ ส่งผลดีต่อ
เศรษฐกิจภายในจังหวดั พทั ลุงไดอ้ ีกทางหน่ึงดว้ ย

6. Smart Governance

เป็นระบบบริหารภาครัฐอัจฉริยะ ท่ีมีการสานพลัง
เครือข่ายภาคประชาชน ภาคเอกชน และภาครัฐ มีการบังคับ
ใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้ทั้งมาตรการทางวินัย
การปกครอง และทางกฎหมาย รวมถึงมีการสร้างระบบแจ้ง
เตือนทีเ่ หมาะสม ได้แกก่ ารทาการประเมินความเส่ยี งการทุจริต
หรือการกาหนดมาตรการป้องการรับสินบนและผลประโยชน์
ทบั ซอ้ นผ่านทางระบบเว็บไซต์ เป็นต้น สนับสนุนให้คนพัทลุงมี
บทบาทการบริหารจังหวัดโดยตนเอง โดยใช้ฐานข้อมูล Big
data ทที่ ันสมัย ถกู ตอ้ งและเพยี งพอ เพื่อวางแผนตัดสินใจใน
การจัดการด้วยตนเองรวมทั้งการกระจายอานาจ ทรัพยากร
งบประมาณให้แต่ละท้องถ่ินของจังหวัดพัทลุงเพ่ิมมากข้ึนและ
เป็นไปอย่างยุตธิ รรม

ข้อเสนอแนะในการพัฒนาจังหวัดพัทลุง เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามแนวทาง Smart

Phatthalung 2030 ท่ีมีประเด็นที่ต้องการพัฒนาให้เป็นเมืองอัจฉริยะทั้ง 6 ด้าน คือ ด้านเมืองอัจฉริยะ
(Smart city) ด้านชุมชนอัจฉริยะ (Smart community) ด้านการศึกษาอัจฉริยะ (Smart learning)
ด้านการเกษตรอัจฉริยะ (Smart green agriculture) ด้านการจัดการสุขภาพอัจฉริยะ (Smart
holistic health) และด้านการปกครองอัจฉริยะ (Smart governance) โดยมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
และโครงการท่สี ามารถนาไปปรับใช้ในแผนยุทธศาสตรข์ องจงั หวัดโดยมีหน่วยงานท่ีรับผิดชอบและระยะเวลา
ท่ดี าเนนิ การ สามารถสรปุ เป็นแผนการดาเนินได้ 3 ระยะ ดังน้ี เพอ่ื ใหน้ าไปใช้ในการขยายผลให้เป็นรูปธรรม
ไดด้ ังน้ี

ระยะเร่งด่วน (1 - 3 ปี) : จัดการด้านโครงสร้างพื้นฐานและการกาหนดหน่วยงานประสานงานหลักและ
รอง

ในระยะแรกนี้มีความจาเป็นที่สานักงานจังหวัดพัทลุงและคณะกรรมการขับเคล่ือนเชิงนโยบายหรือ
คณะกรรมการกลางของจังหวัดพัทลุงซ่ึงประกอบด้วยหัวหน้าหน่วยงานทุกภาคส่วนมาร่วมงานกันเพื่อนา
นโยบายไปขับเคล่ือน Smart Phatthalung อย่างจริงจังภายใต้การบริหารจัดการของผู้นาสูงสุดของ
จงั หวัด ควรเร่งการจัดต้งั ศูนยข์ ้อมูลอัจฉริยะของจงั หวัดพัทลุง เพ่ือรวบรวมและสังเคราะห์ข้อมูลด้านต่างๆ
มาใช้ในการวางแผนและดาเนินการท่ีสอดคล้องกับภารกิจปกติของแต่ละส่วนราชการและภาคส่วนประชา
สังคม การนาส่วนงานที่เกี่ยวข้องมาตั้งเป็นคณะอนุกรรมการในการพัฒนาระบบและการใช้เทคโนโลยีด้าน
สารสนเทศและระบบปัญญาประดิษฐ์ท่ีเหมาะสมจะต้องทาอย่างเร่งด่วน สอดคล้องข้อเสนอแนะในข้อท่ี 1 -
8 : ซ่ึงจะทาให้เกิดการพัฒนาด้าน Smart City, Smart Community และ Smart Learning เป็น
พ้ืนฐานที่จะได้รับการสนับสนุนและช่วยทาให้การพัฒนาประเด็นอ่ืน ๆ ตามมาภายหลัง โดยเฉพาะด้าน
Smart Governance ซึ่งจะเห็นผลได้เป็นรูปธรรมเมื่อมีการเชื่อมโยงกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมือง
อัจฉริยะในทุกภาคส่วนในทิศทางเดียวกัน ตัวอย่างโครงการในช่วงแรกน้ี อาทิเช่น การพัฒนาระบบการทา
แผนที่จงั หวัดและการกาหนดผังเมืองใหม่ของจังหวัดพัทลุง และการจัดต้ังระบบป้องกันภัยพิบัติต่างๆ ของ
จังหวัดพรอ้ มการสร้างเครอื ขา่ ยจากทุกภาคสว่ น (ผา่ นระบบออนไลน)์ เป็นตน้

Social Foresight Phatthalung l 11

ระยะเวลาเร่งด่วนปานกลาง (4 - 6 ปี) : จัดการด้านการพัฒนาคนและระบบโครงสร้างพ้ืนฐานที่รองรับ
เมืองอจั ฉริยะเต็มรปู แบบ

แบบเมื่อมีการออกแบบคณะทางานในชุดต่าง ๆ ที่สอดรับกับนโยบายกลางของจังหวัดพัทลุง การ
จัดการด้านกาลังคนหรือการพัฒนาคนท่ีรองรับกับการเปล่ียนแปลงขนาดใหญ่น้ีต้องมีการระดมสรรพกาลัง
จากส่วนงานต่าง ๆ ทั้งภายในและนอกจังหวัด การพัฒนาสถาบันการศึกษาในพ้ืนท่ี เช่น มหาวิทยาลัยทักษิณ
วิทยาลัย และโรงเรียนต่าง ๆ ในจังหวัดพัทลุงต้องมีการออกแบบหลักสูตรระยะสั้น ระยะกลางและระยะยาว
เพ่ือเตรียมกาลังคนรองรับท่ีทันต่อแผนการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ในขณะที่การช่องทางการเรียนรู้ที่
หลากหลายและใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมมีความจาเป็นต้องนามาปรับใช้อย่างต่อเนือง นอกจากน้ีต้องมีการ
พัฒนาและปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ระบบการขนส่งมวลชนและระบบจราจรให้เป็นระบบ
IoT และเช่ือมโยงกับระบบฐานข้อมูลของจังหวัดให้มีประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็ว ไร้มลพิษ และประหยัด
ตน้ ทนุ การขนส่ง ในระยะนค้ี วรเรง่ สง่ เสริมใหป้ ระชาชนเกดิ องค์ความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองท้ังกายและใจ มี
การแพทย์สมัยใหม่ท่ีเช่ือมโยงกับฐานข้อมูลจังหวัดและมีระบบ AI สนับสนุนในการบริการสาธารณสุขพร้อม
ระบบประกันสุขภาพของจังหวัดพัทลุงเพ่ิมเติมจากระบบประกันสุขภาพแห่งชาติ ผลการดาเนินการในระยะที่
สองนี้จะส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาด้าน Smart Learning, Smart Community Smart Holistic Health
และ Smart Green Agriculture ต้วอย่างโครงการที่ควรดาเนินการในช่วงน้ี อาทิเช่น การบูรณาการ
แผนพัฒนาโครงสร้างพ้ินฐานของจังหวัดให้สอดคล้องกับการพัฒนาเป็นเมืองอัจฉริยะ และ กาหนดนโยบาย
ให้เป็นจังหวัดพัทลุงเป็นเมืองท่ีปลดปล่อยคาร์บอนต่า การพัฒนาเมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis)
ร่วมกับมหาวิทยาลัยทักษิณ เป็นต้น

ระยะยาว (7 - 10 ป)ี : การบรหิ ารจดั การเมืองอัจฉริยะแบบเต็มรูปแบบ
เมือ่ มีการนานโยบายไปส่กู ารจัดทาแผนกลยทุ ธ์ในการขบั เคลือ่ นพทั ลุงเมืองอัจฉริยะในระยะเร่งด่วน

และระยะกลาง การนาองค์ประกอบต่าง ๆ ที่เร่ิมมีความพร้อมในระดับที่เพียงพอในการเร่ิมต้นใช้ในการ
บริหารจดั การเมืองไดท้ าให้การใชป้ ระโยชน์จากระบบ IoT และโครงสรา้ งพืน้ ฐานตา่ ง ๆ มีความพร้อมในการ
นาไปประยกุ ต์ใชเ้ พอื่ พฒั นาเมืองใหเ้ ติบโตอย่างรวดเร็วและเปน็ การพัฒนาท่ียั่งยืนได้ในอนาคตที่มากกว่า 10
ปขี า้ งหน้า รวมถงึ รองรับการเปลยี่ นแปลงต่าง ๆ ของจงั หวัดพทั ลุงหรอื ระดบั ประเทศและโลกได้อย่างดี หาก
มีการเกิดเหตุการณ์ในสถานการณ์ท่ีปั่นป่วน (Disruption) และโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ๆ เช่น การขุด
คลองไทย เป็นตน้ ตวั อยา่ งขอ้ เสนอโครงการทีส่ ามารถนาไปดาเนินการในชว่ งน้ี อาทเิ ช่น พัฒนาอาเภอเมือง
พทั ลงุ ให้เป็นเมอื งแหง่ การเรยี นรตู้ ามแนวทางของ UNESCO เป็นตน้

Social Foresight Phatthalung l 12

ตารางท่ี 1 Roadmap / แผนการนาข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายหรือแนวทางการพัฒนานาไปประกอบการ
วางแผนของจังหวดั พทั ลุงเพ่ือการบรรลุฉากทศั นข์ อง Smart Phatthalung ในปี 2030

ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางการ เปา้ หมายการ ระยะการดาเนินการ ตวั อยา่ งขอ้ เสนอโครงการ ผรู้ ับผิดชอบหลกั
พฒั นา พฒั นา พัฒนา Smart Phattalung
เร่งดว่ น เรง่ ด่วน ระยะยาว (ผรู้ ับผิดชอบรว่ ม)
มาก ปาน
กลาง

(1-3 ปี) (4-6 ป)ี (7-10 ป)ี

1. ส่งเสรมิ บทบาทของพล - Smart 1. การพัฒนาองคก์ ารบรหิ ารสว่ น 1. สานักงานจงั หวดั
เมืองในจังหวัดพทั ลุงให้เกิด Governance จังหวัดพทั ลุงให้เปน็ หนว่ ยงานนารอ่ ง (สานกั งานสถติ จิ ังหวดั
ความเข้มแข็งสามารถพึง่ พา ในการปกครองทอ้ งถ่นิ แบบอสิ ระและ พัทลงุ )
ตนเองสรา้ งความเทา่ เทียมใน - Smart นานโยบาย Smart Phattalung ไป
สังคมผ่านศูนย์สง่ เสรมิ ภาค Community ประยกุ ต์ใช้ 2. สานักงานศึกษาธกิ าร
พลเมอื งที่เชอ่ื มโยงกับระบบ จงั หวดั พัทลุง
ฐาน ขอ้ มูลของจังหวดั - Smart City (มหาวทิ ยาลัยทักษิณ)

2. ส่งเสริมการพฒั นาหลกั สตู รเพ่อื 3. สานักงานพัฒนา
การพัฒนาอย่างยงั่ ยนื ใน สงั คมและความม่นั คง
สถาบนั การศึกษาในจงั หวัดพัทลงุ ของมนุษยจ์ งั หวัดพัทลงุ

(ร่วมกบั สมาคมเครอื ขา่ ย

3. โครงการเมืองลงุ เมอื งคนคุณภาพ กองทนุ สวัสดิการชมุ ชน

จงั หวัดพัทลงุ )

4. พัฒนาศกั ยภาพชีวติ ความมน่ั คง 4. สานักงานพฒั นาฝมี ือ
ในชีวติ วยั ร่นุ และวยั ทางาน
แรงงานจังหวดั พทั ลุง

2. สร้างฐานข้อมูลใหม่และนา - Smart City 1. การจัดต้ังคณะทางานพัฒนาศูนย์ 1. สานักงานจังหวดั

ฐานข้อมูลเดิมมา วิเคราะห์ - Smart ข้อมูลกลางของจังหวัด (สานักงานสถติ ิจงั หวัด
สังเคราะห์เพ่ือเชื่อมโยงกัน Governance พัทลุง และมหาวทิ ยาลัย

ภ า ย ใ น แ ล ะ ภ า ย น อ ก จ น ถึ ง 2. การสนับสนุนงบประมาณพัฒนา ทกั ษิณ)

- Smart เคร่ืองมือและระบบที่รองรับการจัด 2. แขวงทางหลวงชนบท

ระดับสากลในรูปแบบศูนย์ Community ศนู ยข์ ้อมลู กลางฯ พัทลงุ
ข้อมูลจังหวัดสาหรับประกอบ
3. โครงการตดิ ตั้งปา้ ยจราจรอัจฉริยะ
ใ น ก า ร ตั ด สิ น ใ จ แ ล ะ ก า ห น ด

นโยบาย

3. จัดการท่ีดินในจังหวัด - Smart City 1. การพัฒนาระบบการทาแผนท่ี 1. สานกั งานจังหวัด
พัทลุงให้มีประสิทธิภาพโดย จังหวัดและการกาหนดผังเมืองใหม่ พัทลุง
การอาศัยเทคโนโลยี IoT ใน - Smart ของจังหวดั พทั ลงุ
การวางผังเมืองให้เป็นระบบ Community 2. สานกั งานทด่ี นิ
ดิจิทัลเพ่ือรองรับการขยาย 2. การจัดต้ังระบบป้องกันภัยพิบัติ จังหวดั พัทลุง
ของเมืองในอนาคต รวมทั้ง ต่างๆ ของจังหวัดพร้อมการสร้าง
ระบบป้องกันและฟ้ืนฟูจาก เครือข่ายจากทุกภาคส่วน (ผ่าน 3. สานักงานป้องกนั และ
กรณีภยั พิบัติ ระบบออนไลน์) บรรเทาสาธารณภัย
จังหวัดพทั ลงุ

4. สานกั งานเกษตรและ
สหกรณจ์ งั หวัดพัทลุง

Social Foresight Phatthalung l 13

ตารางท่ี 1 Roadmap / แผนการนาขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายหรือแนวทางการพัฒนานาไปประกอบการ
วางแผนของจังหวัดพัทลุงเพื่อการบรรลุฉากทัศน์ของ Smart Phatthalung ในปี 2030

ข้อเสนอแนะ / แนว เป้าหมายการ ระยะการดาเนนิ การ ตัวอย่างข้อเสนอโครงการ ผู้รบั ผดิ ชอบหลัก
พัฒนา Smart
ทางการพฒั นา พฒั นา เร่งด่วน เรง่ ดว่ น ระยะยาว Phattalung (ผรู้ บั ผดิ ชอบรว่ ม)
มาก ปาน
กลาง

(1-3 ปี) (4-6 ปี) (7-10 ปี)

4. นาระบบตัดสินใจ - Smart Green 1. การพัฒนาเมืองนวัตกรรม 1. สานักงานเกษตรและ
อจั ฉริยะ (AI System) Agriculture อาหาร (Food Innopolis) ร่วม สหกรณ์จังหวดั พัทลงุ
และเช่ือมโยงกับระบบ กบั มหาวิทยาลยั ทักษณิ
ฐาน ข้อมูลของจังหวัด - Smart City 2. สานักงานเกษตรและ
มาใช้ในภาคการเกษตร 2. ร่ วมเ ป็น เครื อข่ายพัฒน า สหกรณจ์ ังหวัดพัทลุง
และกระบวนการผลิต - Smart Learning อุ ท ย า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ กั บ ม ห า
ตลอดจนแปรรูปและส่ง วิทยาลยั ทักษิณ 3. สานกั งาน
ม อ บ ถึ ง มื อ ผู้ บ ริ โ ภ ค - Smart อุตสาหกรรมจงั หวดั
(Agro - foodInno Community พทั ลงุ
polis)
3. โครงการพัฒนาเศรษฐกิจฐาน (สานักงานสถิตจิ ังหวดั
การเกษตร และอุตสาหกรรม พัทลงุ และ

การเกษตรแบบครบวงจร มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ )

5. เน้นการเรียนรู้เพื่อ - Smart City 1. สรา้ งเครือข่ายสถาบนั การศึก 1. สานกั งานศกึ ษาธกิ าร
สร้างบคุ ลากรในอนาคต ษาในจังหวดั พัทลุง ทีม่ ีการพัฒ จังหวัดพทั ลุง
ท่ีเช่ียวชาญเทคโนโลยี - Smart Learning นาหลักสูตรเทคโนโลยแี ละ IoT
และ IoT 2. มหาวิทยาลยั ทักษิณ
- Smart
Community

6. นาภมู ิปัญญาท้องถิ่น - Smart City 1. พัฒนาอาเภอเมืองพัทลุงให้ 1. สานกั งานพาณิชย์
มาสรา้ งรายไดผ้ ่านศูนย์ เป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ ตาม จังหวัดพทั ลุง
ส่ ง เ ส ริ ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ภู มิ - Smart แนวทางของ UNESCO
ปัญญาชุมชนและนิคม Community 2. พัฒนาศูนย์พัทลุงศึกษา 2. สานกั งานวฒั นธรรม
เกษ ตร อุต สา หก รร ม ร่วมกับเครือข่ายศูนย์วัฒนธรรม จังหวดั พัทลุง
เ ก ษ ต ร อั จ ฉ ริ ย ะ ที่ - Smart Learning จังหวัดและม.ทักษิณ ในการจัด
เ ชื่ อ ม โ ย ง กั บ ร ะ บ บ แสดงพิพธิ ภัณฑ์ออนไลน์ 3. สานกั งานเกษตรและ
ฐานข้อมูลของจังหวัด - Smart Green 3. โครงการขบั เคล่อื นพัทลุงเมือง สหกรณ์จงั หวดั พทั ลุง
จั ง ห วั ด โ ด ย ใ ช้ แ น ว คิ ด Agriculture เกษตรปลอดภัย/อินทรีย์ วิถี
เศรษฐกจิ แบ่งปัน ย่งั ยืน 4. สานักงาน
ศกึ ษาธิการจังหวดั
พทั ลงุ

5. สภาเกษตรกรจงั หวัด
พัทลงุ

6. มหาวทิ ยาลัยทกั ษิณ

Social Foresight Phatthalung l 14

ตารางท่ี 1 Roadmap / แผนการนาข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายหรือแนวทางการพัฒนานาไปประกอบการ
วางแผนของจงั หวัดพทั ลุงเพอ่ื การบรรลฉุ ากทศั นข์ อง Smart Phatthalung ในปี 2030

เปา้ หมาย ระยะการดาเนินการ
การ เรง่ ดว่ น เร่งด่วน ระยะยาว ตวั อยา่ งขอ้ เสนอโครงการ
ข้อเสนอแนะ / แนวทางการ พฒั นา ผรู้ ับผิดชอบหลัก
พฒั นา มาก ปาน พัฒนา Smart
- Smart (ผรู้ บั ผดิ ชอบร่วม)
7. พัฒนาและปรับปรุงระบบ city กลาง Phattalung
สาธารณปู โภค สาธารณูปการ
ระบบการขนส่งมวลชนและ - Smart (1-3 ป)ี (4-6 ปี) (7-10 ป)ี
ระบบจราจรให้เป็นระบบ IOT Community
แ ล ะ เ ช่ื อ ม โ ย ง กั บ ร ะ บ บ ฐ า น 1. บรู ณาการแผนพัฒนา 1. ทีส่ านกั งานโยธาธกิ าร
ข้ อ มู ล ข อ ง จั ง ห วั ด ใ ห้ มี
ประสิทธิภาพ มีความสะดวก โครงสร้างพน้ื ฐานของจงั หวดั และผังเมืองจงั หวัดพัทลุง
ร ว ด เ ร็ ว ไ ร้ ม ล ภ า ว ะ แ ล ะ
ประหยดั ต้นทุนการขนส่ง ใหส้ อดคล้องกับการพัฒนา 2. สานกั งานจงั หวัดพัทลุง
เป็นเมอื งอัจฉรยิ ะ

2. กาหนดให้พัทลงุ เป็นเมอื งที่ 3. สานกั งานสถิติจังหวดั
เนน้ การดแู ลด้านส่งิ แวดลอ้ ม พทั ลงุ
และเนน้ การเกษตรอินทรยี ์ (สถานตี ารวจภธู รจังหวดั
โดยการประกาศเปน็ เมอื งท่ี พทั ลุง, สานกั งานส่งเสริม
ปลดปลอ่ ยคารบ์ อนตา่ การปกครองท้องถิ่นจังหวัด
พทั ลงุ , มหาวิทยาลยั
ทกั ษณิ )

8. ส่งเสริมให้ประชาชนเกิด -Smart 3. โครงการสรา้ งสะพานเชอื่ ม 4. สานักงานทางหลวง
องค์ความรู้ในการดูแลสุขภาพ Holistic จังหวดั พัทลงุ และสงขลาแหง่ ท่ี จังหวดั พทั ลงุ
ต น เ อ ง ท้ั ง ก า ย แ ล ะ ใ จ มี Health สอง
การแพทย์สมัยใหม่ท่ีเชื่อมโยง 1. พัฒนาระบบแอพลิเคชัน 1. สานักงานสาธารณสขุ
กั บ ฐ า น ข้ อ มู ล จั ง ห วั ด แ ล ะ มี -Smart ดแู ลสุขภาพตนเองผา่ นระบบ จงั หวัดพทั ลงุ
ระบบ AI สนับสนุนในการ City อจั ฉริยะ โดยมกี ารให้
บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ สุ ข พ ร้ อ ม คาปรึกษาออนไลน์ด้วยระบบ 2. สานักงานสถติ จิ ังหวดั
ร ะ บบปร ะ กั น สุ ข ภ า พ ข อง -Smart AI ผา่ นการจดั ตัง้ ศนู ย์ข้อมูล พัทลุง
จังหวัดพัทลุงเพิ่ม เติมจาก Community ดิจทิ ลั อจั ฉริยะ
ระบบประกันสขุ ภาพแห่งชาติ 3. สานักงานสง่ เสรมิ การ
2. โครงการเมอื งลุง เมืองสขุ ปกครองทอ้ งถน่ิ จงั หวดั
ภาวะ พทั ลงุ (มหาวทิ ยาลัย
ทักษณิ )

4. สานักงานสาธารณสุข
จงั หวดั พัทลงุ

Social Foresight Phatthalung l 15

Social Foresight Phatthalung l 16



รวมถึงการเตรียมของบประมาณจาก
รัฐบาลในการลงทุนในระยะท่ีสองซึ่งจะ
เ ป็ น ก า ร ล ง ทุ น โ ค ร ง ส ร้ า ง พื้ น ฐ า น ท่ี

จาเป็น โดยเฉพาะการจัดต้ังศูนย์
ข้อมูลอัจฉริยะในระดับจังหวัดท่ีมี

การประสานจากส่วนงานท่ีเกี่ยวข้อง
โดยเฉพาะสานักงานจังหวัด สานัก
งานสถิติจังหวัด และมหาวิทยาลัย
ทักษิณ และผลจากการพัฒนาจังหวัด
พัทลุงในทิศทางท่ีออกแบบอนาคตไว้
ในด้านเมืองอัจฉริยะ โดยเน้นจุดเด่น
ด้านการเกษตรอาหาร ท่องเที่ยว และ

อุตสาหกรรม New S – Curve

โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจดิจิตัลท่ีรอง
รับกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีใน
อนาคตจะส่งผลตอบแทนให้เกิดการ
เติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมได้สูงขึ้น
จากปัจจุบันได้เป็นหลายสิบเท่าภายใน
ระยะ 10 ปีข้างหน้าหรือสามารถ
ยกระดับรายได้เฉล่ียของคนพัทลุงได้
มากขึ้นจากเดิมเปลี่ยนให้เป็นจังหวัดที่
ความเหลื่อมล้าทางสังคมต่าหรือมีคน
จนหมดไปได้

โดยสรุปหากมีการพัฒนาจังหวัดพัทลุงให้มุ่งไปสู่ Smart ”

Phatthalung ในอีก 10 ปีข้างหน้า (พ.ศ. 2573) จากการ
ดาเนินการ Roadmap ทั้ง 3 ช่วงเวลาดังกล่าว แม้ว่าจะต้องมีการ
ลง ทุ น ใน ด้ า นก า ร จัด เ ต รีย ม ก าร ทั้ ง ใน ด้ า นก า ร บูร ณ า กา ร แ ผน แ ล ะ
งบประมาณจากส่วนงานต่างๆ ในจังหวัดพัทลุงเพ่ือจัดทาแผน
ขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ “Smart Phatthalung 2030” โดยในช่วง
แรกอาจมีการใช้งบประมาณกลางท่ีมีอยู่ในระดับหนึ่งแล้วของ
สานักงานจังหวัดพัทลุงในการจัดเตรียมการทาแผนและการเตรียม
คณะทางานชุดตา่ งๆ

ทีมนกั วจิ ัย ดร.พลากร ดร.สธุ ี ดร.รังสฤษฏ์

ผศ.ดร.นกุ ูล บุญใส โงว้ ศริ ิ อินทรโม

อนิ ทระสังขา อ.เทพรตั น์ อ.อัฏฐพล ดร.พลกฤษณ์

ดร.นิชากรณ์ จนั ทพันธ์ เทพยา คล้ายวติ ภัทร

พันธค์ ง นางสาวสกุ ลั ยา

ทีมผ้ชู ่วยนักวิจัย นางนชิ มลกานต์ สังข์ทอง

นางสาวเชาวลักษณ์ ขุนเพชร นายฐาณพัฒน์

สมาคม นางสาวธมลวรรณ คงพฒั น์

นายอานนท์ จมู ิ นางสาวปยิ าภรณ์

เทพทอง ขวญั สุด

ทีมผ้ปู ระสานงาน

นางพิชญส์ ินี นางอุษา นางสาวดรณุ ี

จนั ทรตั น์ ชชู ่วย ทองศรีน่นุ

facebook.com/ICEI-TSU


Click to View FlipBook Version