เร่อื ง
เซลลปฐมภูมิ และ เซลลท ตุ ยิ ภมู ิ
จัดทาํ โดย
นางสาว จีรณา เตชะขันธ
ม5/15 เลขที่16
เสนอ
คุณครูเบญจพร อนิ ทรสด
โรงเรยี นนารีนุกลู อุบลราชธานี
สาํ นกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษาอุบลราชธานี
เซลลป ฐมภมู ิ
(Primary cell)
เซลลปฐมภมู ิ คือ เซลลไ ฟฟา ประเภทหนง่ึ ท่เี ม่ือสรางเสร็จแลวนาํ ไปใช
เพอ่ื จายกระแสไฟฟา ออกไดทนั ที เมือ่ ใชไปแลวสว นประกอบบางสวนจะ
หมดเปลืองไปโดยไมกลับคนื เปน สภาพเดิมไดอีก หรอื ไมส ามารถนาํ กลับ
ไปอดั ไฟและนาํ กลบั มาใชไ ดอกี เชน เซลลดาเนียล เซลลแ หง เปน ตน
เซลลท ุตยิ ภูมิ
(Secondary cell)
เซลลทุติยภมู ิ คือ เซลลไฟฟาประเภทหนง่ึ ท่ีเมื่อสรางเสร็จแลว ตอ งนาํ ไปอดั ไฟ
เสยี กอนแลว จึงจะนําไปใชเ พื่อจา ยกระแสไฟฟา ออกได เม่ือใชไ ปแลว
สว นประกอบบางสวนจะหมดเปลอื ง และแปรสภาพไป แตอ าจทําใหก ลบั คงสู
สภาพเดิมไดอกี โดยนําเซลลไ ฟฟา อดั ไฟใหม เชน เซลลส ะสมไฟฟาแบบ
ตะกวั่ เซลลนิกเกลิ - แคดเมียม เปนตน
เซลลแ หง (Dry cell)
เซลลแหง (Dry cell) คือ เซลลก ลั วานิกซงึ่ ประกอบดว ยสารทีไ่ มไหลหกออกนอกเซลล
ได สารเหลา น้ีจะอยใู นภาพของของแข็ง หรอื ก่งึ ของเหลวทีไ่ มส ามารถไหลไดอ ยา งรวดเรว็
เซลลแหงสามารถอยูในภาพกรด หรอื เบส ท้งั น้ขี ึ้นอยูก บั ชนดิ ของสารอเิ ลก็ โทรไลต
ตวั อยา งของเซลลแหง
ก. ถานไฟฉาย
ถานไฟฉาย เปน เซลลป ฐมภูมชิ นดิ เซลลแ หง ชนดิ กรด ถา นไฟฉายมีศักยไฟฟา ของเซลล
เรม่ิ ตน ประมาณ 1.5 โวลต แตถาใชไปนาน ๆ ศกั ยไ ฟฟาของเซลลจะตกเหลอื ประมาณ
0.8 โวลต ขณะทีเ่ กดิ ปฏกิ ิรยิ าจะเกิดสารผลิตภัณฑส ะสมอยภู ายในเซลล และถา เซลลนี้ถูก
ทิง้ ไมใชเ ปนวัน ๆ ศกั ยไฟฟา ของเซลลจ ะกลับเพม่ิ ขึ้นเปน 1.3 โวลต ขณะนัน้ สารผลติ ภัณฑ
ทเ่ี กิดจะกระจัดกระจายอยทู ัว่ ไปในอเิ ลก็ โทรไลตน น้ั
เซลลอคั คาไลน (Alkaline dry cells)
เซลลอ ลั คาไลน เปนเซลลปฐมภูมชิ นิดหนึ่ง ซ่ึงใชห ลกั การเดยี วกันกับถานไฟฉาย แต
สารละลายอเิ ล็กโตรไลตจะใช สารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด แทนแอมโมเนยี มคลอไรด
ภาชนะทที่ ําดวยสังกะสจี ึงไมผ กุ รอ นไดง ายใน OH-ทขี่ วั้ แอโนดถกู ลอมรอบดว ยสารผสมระหวา ง
สงั กะสกี บั โพแทสเซยี มไฮดรอกไซดมลี กั ษณะเปนกาว (Paste) สวนทขี่ ้ัวแคโทดมีสารละลาย
ผสมระหวา งแมงกานีส (IV) ออกไซดกับแกรไฟตล อ มรอบ เซลลชนดิ นี้มศี ักยไฟฟา ของเซลล
เทากับ 1.54 โวลต เกือบคงที่ และมอี ายกุ ารใชง านยาวนานกวา ถานไฟฉาย เม่ือเทยี บราคา
แลว ถกู กวาปฏิกริ ยิ าท่ีเกดิ ขน้ึ ในเซลลเ ปนดังน้ี
ที่แอโนด ; Zn(s) + 2OH- (aq) ® ZnO (s) + H2O (l) + 2e-
ที่แคโทด ; 2MnO2 (s) + H2O (l) + 2e- ® Mn2O3 (s) + 2OH- (aq)
ปฏิกิรยิ าสุทธขิ องเซลล คอื
Zn(s) + 2MnO2 (s) ® Zn(OH)2 (s) + Mn2O3 (s)
เซลลปรอท ( Mercury cell) หรือเซลลรบู นิ - มาลอรี (Rubin - mallory cell) เปน
เซลลอ ลั คาไลน เชน เดยี วกับเซลลอลั คาไลน และมลี ักษณะคลา ยกัน เปลย่ี นเฉพาะสาร
อิเลก็ โทรไลตจาก MnO2 เปน HgO (เมอคิวรี (II) ออกไซด) เซลลชนดิ นม้ี ศี กั ยไ ฟฟา ของ
เซลล 1.35 โวลต ปฏกิ ิรยิ าทเ่ี กดิ ขึ้นในเซลลด ังน้ี
แอโนด ; Zn (s) + 2OH- (aq) ® ZnO (s) + H2O (l) + 2e- , E0 =
1.25 V
แคโทด ; HgO (s) + H2O (l) + 2e- ® Hg (l) + 2OH- (aq) , E0 = 0.098 V
ปฏกิ ิริยาสุทธิ ; Zn (s) + HgO (s) ® ZnO (s) + Hg (l) , = 1.35 V
เซลลเงิน คอื เซลลป ฐมภูมิเชนเดียวกับเซลลอ ลั คาไลน และใชห ลักการเดยี วกัน เพียงแตใช
AgO แทน MnO2 เทา นั้น เซลลชนิดน้มี ศี ักยไฟฟาของเซลล เทา กบั 1.58 V ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิด
ขน้ึ ในเซลลด งั น้ี
ที่ขั้วแอโนด ;Zn (s) + 2OH- (aq) ® ZnO (s) + H2O (l) + 2e- , E0 = 1.25 V
ที่ขั้วแคโทด ;2AgO (s) + H2O (l) + 2e- ® Ag2O (s) + 2OH- (aq) , E0 = 0.61 V
ปฏกิ ริ ิยาสทุ ธิ ;Zn (s) + 2AgO (s) ® ZnO (s) + Ag2O (s) , = 1.86 V
ภายหลังจากซลิ เวอร(II) ออกไซดถูกใชในการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาสมบรู ณ เซลลน ก้ี ็ยงั คงเกดิ
ปฏกิ ริ ิยารีดกั ชนั ตอ ไป โดยซลิ เวอร (I) ออกไซด (Ag2O) เปล่ียนไปเปนโลหะเงิน (Ag) แตจ ะ
ใหค าศักยไ ฟฟาของเซลลตา่ํ ลง ดงั สมการของปฏิกริ ิยาตอ ไปน้ี
Zn (s) + Ag2O (s) + H2O (l) ® Zn(OH)2 (s) + 2Ag (s) , E0 = 1.58 V
เซลลทุติยภูมิ
(Secondary cell)
เซลลทุตยิ ภมู ิ เปนเซลลก ัลวานิกชนิดหนงึ่ ที่สารตั้งตน ทถี่ กู ใชไปแลวสามารถ
ทําใหกลับคืนมาใหมไ ด โดยการผา นไฟฟา กระแสตรงลงไปในเซลลดวยปรมิ าณที่
พอเหมาะ ซง่ึ เรียกกระบวนการน้วี า อัดไฟ (Charging หรอื Recharging) เซลล
ชนิดน้กี อ นจะนาํ ไปใชตอ งนําไปอดั ไฟเสียกอน แลว จงึ นาํ ไปใชเพ่ือจา ยกระแสไฟฟา
ออกได และเม่ือใชไ ปนาน ๆ สารตง้ั ตน จะถกู ใชหมดไป จงึ ตองนาํ ไปอัดไฟใหม
เพอื่ ใหสารผลติ ภณั ฑก ลับมาเปน สารต้งั ตนใหมอีกครง้ั แลว สามารถนําไปใชจา ย
กระแสไฟฟา ตอได เชน เซลลสะสมไฟฟา แบบตะกวั่ เซลลนกิ เกิล-แคดเมียม
เซลลสะสมไฟฟาแบบตะกวั่ (Lead storage battery)
เซลลสะสมไฟฟาแบบตะก่ัว เปน เซลลก ลั วานิกชนิดเซลลทตุ ิยภมู ิ ทีส่ ามารถอัดไฟนาํ กลบั
มาใชใหมไ ด และเนือ่ งจากตะกัว่ เปนธาตุทมี่ คี วามหนาแนน สงู จงึ เปน ผลทําใหเ ซลลช นดิ นี้ให
พลังงานตอหน่งึ หนว ยมวลตา่ํ (0.022 Kwh/kg) เมื่อนําเซลลสะสมไฟฟา แบบตะกัว่ ตอ กันเปน
อนกุ รม 6 เซลล มีศักยไฟฟาของเซลลป ระมาณ 12 โวลต แตล ะเซลลประกอบดว ยแอโนด เปน
ตะกั่วอัด พนื้ ผวิ ขรขุ ระเปน รพู รนุ และแคโทดเปน แผน ตะกว่ั เคลอื บหมุ ดว ยเลด (IV) ออกไซด
(PbO2) ขวั้ ทั้งสอง จมุ ในสารละลายกรดกํามะถนั เขม ขน 40% โดยมวล (ประมาณ 5.3 mol/dm3
) มคี วามถวงจําเพาะ 1.3 และถาความถว งจําเพาะตํ่ากวา 1.1 จะตอ งนาํ ไปอัดไฟใหม
ปฏกิ ิริยาที่เกดิ ขน้ึ จากการจายไฟของเซลลสะสมไฟฟาแบบตะกว่ั เปนดังน้ี
ที่ขัว้ แอโนด ; Pb (s) + SO42- (aq) ® PbSO4 (s) + 2e- , E0 = +0.356 V
ทขี่ ว้ั แคโทด ; PbO2 (s) + 4H+ (aq) + SO42- (aq) + 2e- ® PbSO4 (s) + 2H2O (l) , E0 =
+1.685 V
ปฏกิ ิริยาสุทธเิ ปนดงั น้ี
Pb (s) + PbO2 (s) + 4H+ (aq) + 2SO42- (aq) ® 2PbSO4 (s) + 2H2O (l) , =
+2.041 V
ขณะท่เี กิดกระแสไฟฟา ขนึ้ ในวงจรของเซลลจ ะเกดิ ตะกอน PbSO4 ตกลงที่กน ภาชนะ
ความเขมขน ของกรดกํามะถนั ลดลง และลดลงถึงจดุ หน่ึงตองนําไปอัดไฟใหม