The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการพัฒนาศักยภาพการทำงานของหน่วยงาน พม. ด้านเด็กและเยาวชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

โครงการพัฒนาศักยภาพการทำงานของหน่วยงาน พม. ด้านเด็กและเยาวชน

โครงการพัฒนาศักยภาพการทำงานของหน่วยงาน พม. ด้านเด็กและเยาวชน

โครงการพัฒนาศักยภาพการทาํ งานหน่วยงาน พม. ด้านเด็กและเยาวชน
สํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ5

คํานํา
โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหน่วยงาน พม. ด้านเด็กและ
เยาวชน มีวัตถุประสงค์เพือให้ บุคลากรหน่วยงาน พม. ในเขตพื นที
รับผิดชอบ ได้ทราบกระบวนการการจัดตังสภาเด็กและเยาวชนและการ
ทํางานของบ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัด เพือให้เกิดการเชือมโยงการ
ทํางานร่วมกันของหน่วยงาน พม. มกี ลุ่มเป้ าหมาย คือ บุคลากรหน่วยงาน
พม. ในเขตพื นทีรบั ผิดชอบของสํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5
ซึงโครงการดงั กล่าวมีความต้องการให้บุคลากรในหน่วยงาน พม. ได้ทราบ
ถงึ กระบวนการในการจัดตังสภาเด็กและเยาวชน ระดับตําบล ระดับอําเภอ
ระดับจังหวัด และระดับประเทศ พร้อมกับการเชือมโยงการทํางานร่วมกนั
ด้านเด็กและเยาวชน เพือให้การทํางานมปี ระสิทธิภาพ ตลอดจนเจ้าหน้าที
ผูป้ ฏิบัตงิ านได้พัฒนาศกั ยภาพทีสอดคล้องกับการทํางานและสามารถนําไป
ปรับใช้ได้อย่างเหมาะสมต่อไป
สํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5 ขอขอบคุณ วิทยากร
นางสาวพนา นาคราช จากมูลนิธิสถาบันเพือการวิจัยเพือพัฒนาท้องถิน
อีสาน และเจ้าหน้าทีผู้เข้าร่วมโครงการฯ ทกุ ทา่ น มา ณ โอกาสนี

ณ พฤษภาคม 2561

โครงการพัฒนาศักยภาพการทาํ งานหน่วยงาน พม. ด้านเด็กและเยาวชน
สํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ5

โครงการพฒั นาศักยภาพการทํางานหนวยงาน พม. ดา นเดก็ และเยาวชน 1
สํานกั งานสงเสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5

บทนาํ
เด็กและเยาวชนเป็นกลุ่มคนทีสําคัญในสังคม ซึงเหมือนกับคําที
กล่าวไว้ว่า “เด็กในวันนี คือผู้ใหญ่ในวันหน้า” ซึงหมายความว่า เด็กจะ
เติบโตเป็ นผู้ใหญ่บริหารประเทศ ขณะเดียวกัน อนาคตของคนจะเป็ น
อย่างไร ย่อมขึ นอยู่กับพฤตกิ รรมของเขาขณะทยี ังเยาว์วัย ถ้าเป็นเด็กเกเร
ไม่เรียนหนังสือ เมือนําสองส่วนมาผสมกันกจ็ ะกล่าวได้ว่าอนาคตของ
ประเทศจะเป็นอย่างไรนันย่อมขึ นอยู่กับว่าเด็กและเยาวชนในปัจจุบันมี
พฤติกรรมอย่างไร มคี ่านิยมในรปู แบบไหน และมองบทบาทของตนเองทีมี
ต่อสังคมอย่างไรบ้าง กล่าวอีกนัยหนึง เด็กและเยาวชนเคยมีความคิด
เกี ย วกับ สิ ง ที จะ ทําอ ะไ รให้ ประเทศชา ติหรือสังคมบ้ า งหรื อไ ม่
นอกเหนือจากการสนใจแต่ในเรืองส่วนตวั สนุกสนาน และใช้ชีวิตไปในวัน
หนึงๆ โดยไม่คิดอะไร คอยแบมอื ขอเงินจากผู้ปกครองอยู่ตลอดเวลา เด็ก
และเยาวชนในปัจจุบันมีลักษณะทีค่อนไปในทางวัตถุนิยม บริโภคนิยม
และเงนิ ตรานิยม มแี นวโน้มทีจะใช้เงินหรือสถานะทางการเงินเป็นเกณฑ์ใน
การสร้างความสัมพันธ์และวัดความสัมพันธ์ ความเจริญทางวัตถุและความ
ทันสมยั ของเทคโนโลยี รวมถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและธุรกจิ ใน
ยุคปัจจุบนั ได้นําไปสูก่ ารเกิดของชนชันกลางซึงมลี กู หลานเป็นคนรุ่นใหม่ที
มีลักษณะดังกล่าว จะเห็นได้ ว่า เด็กและเยาวชนในปัจจุ บันต่างมี
โทรศัพทม์ ือถือและคุยกับเพือนโดยผ่านมือถือนานเป็นชัวโมง มักจะหา
ความสนุ กสําราญในแหล่งบันเทิงสําหรับเยาวชน เดินเทียวตาม
ห้างสรรพสินค้าหรือโรงภาพยนตร์ จุดประสงค์หลักคือหาความสนุกสนาน
คบเพือนทีอยู่ในรุ่นราวคราวเดียวกันทังเพศเดียวกันและต่างเพศ แต่นี
ไม่ได้หมายความว่าเด็กและเยาวชนเหล่านี ไม่สนใจเล่าเรยี นศึกษาหากแต่ว่า

โครงการพฒั นาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดานเด็กและเยาวชน 2
สํานักงานสงเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 5

มจี ํานวนไม่น้อยทีวางแผนจะใช้ความรู้ดงั กล่าวหาเงนิ เพือหาความสุขใส่ตัว
ความรู้สึกเรืองรับใช้สงั คมหรือทําเพือประโยชน์ของประเทศชาติอาจจะมี
บ้าง แต่ส่วนใหญ่จะไม่ได้ให้ความสนใจในแง่มุมดังกล่าว เด็กและเยาวชน
จํานวนไม่น้อยในปัจจุบันสนใจแต่เรอื งสวัสดิการของตัวเอง ไม่สนใจเรอื งที
เกียวกับภาพรวมของสังคม ความคิดเกียวกบั สังคมและประเทศชาติทีจะ
นําไปสูค่ ําถามทีว่า ประเทศไทยจะสามารถแข่งขันกับประเทศเพือนบ้านได้
หรอื ไม่ในอนาคต ในด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
และการศึกษา หรือคําถามทีว่า จะทําให้ ความเป็ นอยู่ของชาวนาดีขึ น
อย่างไรในอีก 10 ปี ข้างหน้า หรือสภาพเศรษฐกิจและสังคมทีล้าหลังนี จะมี
สว่ นเสรมิ หรอื เป็นอปุ สรรคต่อการพัฒนาการเมอื งและการปฏิรูปสังคมให้มี
คุณภาพชีวิตหรอื ไม่อย่างไร ในทางตรงกนั ข้าม เด็กและเยาวชนจาํ นวนไม่
น้อยจะสนใจในเรืองการไปรบั ดาราชาวญีปุ ่ นทีเดินทางมาเยียมประเทศไทย
ความสนใจบางทีอยู่ทีว่าจะไปฟังคอนเสิรต์ ทีจะจัดขึ นในวันอาทิตยน์ ี หรอื ไม่
ฯลฯ โดยรวมเด็กและเยาวชนส่วนใหญ่ สนใจแต่เรืองตัวเอง ซึงหลายคน
มองว่าจะเป็นจุดเริมต้นของการนําไปสู่ความเห็นแกต่ ัว เด็กและเยาวชนใน
ตะวันตกเรียกร้องสิทธแิ ละเสรีภาพและความเป็ นตัวของตัวเอง ซึงกําลัง
เป็ นสิงทีเกิดขึ นในสังคมไทย ความแตกต่างอยู่ทีว่าเดก็ และเยาวชนใน
ตะวันตกนันพยายามพึงตนเองด้วยการทํางานหาเงิน แม้กระทังหาเงินเรียน
หนังสือเองเพือจะใช้ชีวิตอย่างอิสระตามความใฝ่ ฝัน แต่ในกรณีของ
สังคมไทยนั นเด็กและเยาวชนจํานวนไม่น้ อยยังพึ งเงินจากพ่อแม่ผู้ ปกครอง
โดยการ แบมือขอทุกอาทิตย์ เรียกร้องให้มีการซื อมือถือรุ่นใหม่ ซื อ
เสื อผ้าและสิงอืนๆ และเมือทําผิดพลาดพ่อแม่ก็จะเข้ามาคุ้มครองป้ องกัน
เหมือนแม่ไก่คุ้มครองลูกไก่เมือถูกอีกาไล่จิก เดก็ และเยาวชนเหล่านี

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดานเดก็ และเยาวชน 3
สาํ นกั งานสงเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 5

เรยี กร้องสิทธิและเสรีภาพแต่ไม่ยอมโตเป็นผู้ใหญ่ ถ้าเด็กและเยาวชนส่วน
ใหญ่ยังคงรักสนุก ปล่อยชีวิตตามสบาย ไม่มีความรู้เกียวกับปัญหาของ
ประเทศชาตทิ ังภายในและภายนอกบรบิ ทของต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่าง
ยิงการเปลียนแปลงของสังคมโลก และการพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี โอกาสทีจะเป็นบุคคลทีสามารถรับผิดชอบต่อประเทศชาติใน
อนาคตก็จะมีไม่มากนัก ถ้าหากสภาวะทีกล่าวมาเบื องต้นเป็นสิงทีถูกต้อง
ภาพทีจะมองอนาคตของประเทศชาตกิ ็จะไม่สวยงามนัก คําถามก็คือแล้วจะ
หาทางออกอย่างไร คําตอบมีอยู่ว่า เด็กและเยาวชนในปัจจุบันจะเติบโต
เป็นผู้ใหญ่ในรูปแบบใดนัน จะขึ นอยู่กับตัวแปรสองตัว คือ การศึกษาและ
วัฒนธรรม ในแง่การศกึ ษานันถ้าเป็นระบบการศึกษาทีทําให้คนสามารถมี
ความคิดเป็นอสิ ระ คิดแบบผู้ใหญ่ มีเหตุมีผล และความรู้ทีเล่าเรียนนั น
สอดคล้องในยุคปัจจุบันและโลกทีจะเปลียนในอนาคต ก็จะได้ผู้ใหญ่ทีมี
ความพร้อมทีจะต่อสู้กับปัญหาทีจะต้องเผชิญ ในส่วนของวัฒนธรรมนั น
บุคลิกทีจะถูกกล่อมเกลาด้วยค่านิยม แบบสวนกระแสของพฤตกิ รรม ความ
เชือ ย่อมขึ นอยู่กบั วัฒนธรรม วัฒนธรรมไทยทีดีเช่น ความมีนาํ ใจ ความ
เอื อเฟื อเผือแผ่ ไม่สดุ โต่งในเรืองอุดมการณ์และความเชือเป็นส่วนทีควร
รกั ษาไว้

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดานเดก็ และเยาวชน 4
สํานกั งานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5

การดําเนินงาน
ใ น ก า ร ดํา เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ก า ร ท ํา ง า น ข อ ง
หน่วยงาน พม. ด้านเด็กและเยาวชน ของสํานักงานส่งเสริมและสนับสนุน
วิชาการ 5 ได้เสร็จลงเรียบร้อยแล้ว สามารถสรปุ ผลการดําเนินงานดงั นี
ระยะเวลาอบรม ระหว่างวันพฤหัสบดีที 29 มีนาคม 2561 ถึงวัน
ศุกร์ที 30 มนี าคม 2561ระยะเวลา 2 วัน ณ ห้องเมขลา โรงแรมปัญจดารา
ตําบลในเมอื ง อําเภอเมอื งนครราชสีมา จังหวดั นครราชสีมา
กลุ่มเป้ าหมาย ประกอบด้วย ข้าราชการและเจ้าหน้าทีหน่วยงาน
พม. ในเขตพื นทีรบั ผดิ ชอบ สํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ5
จํานวน 30 คน
เนื อหาและกระบวนการ
1. การให้ความรู้ทบทวน พระราชบัญญตั สิ ่งเสรมิ การพัฒนาเด็ก
และเยาวชนแห่งชาติ (ฉบับที 2)
2. การนาํ หลักคิดทางศาสนา การนําหลกั คิดทางศาสนามาปรบั
ใช้ให้สอดคล้องกับการทํางานของสภาเด็กและเยาวชน
3. วิเคราะห์กระบวนการทํางาน ด้านเด็กและเยาวชน
4. แลกเปลียนเรียนรู้ นําเสนอผลการทํางานของหน่วยงาน พม.
เกียวกับงานด้านเด็กและเยาวชน
วทิ ยากร ในการอบรมดังกล่าวสํานักงานส่งเสรมิ และสนับสนุน
วิชาการ 5 ได้รบั ความร่วมมือจากวิทยากร มูลนิธิสถาบันวิจัยเพือพฒั นา
ท้องถินอีสาน และพระอาจารยม์ หาประสงค์ เขมาจาโร วัดหนองโจด ตําบล
ลํามลู อําเภอโนนสูง จังหวัดนคราชสีมา

โครงการพฒั นาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดา นเด็กและเยาวชน 5
สํานกั งานสงเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 5

ผลการดาํ เนินงาน
จากการพัฒนาศักยภาพการทํางานของหน่วยงาน พม. ด้านเด็ก

และเยาวชน ผลทีได้มรี ายละเอียดดงั นี
1. การให้ความรู้

พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.
2550 และทีแก้ไขเพิมเติม (ฉบับที 2) พ.ศ. 2560 ได้จัดแยก
เนื อหาของกฎหมาย เป็น3 หมวด 1 บทเฉพาะกาล สรปุ สาระสําคญั ดงั นี

คํานิยามตามมาตรา 4 ทีสําคัญมดี ังนี
“เดก็ ” หมายความว่า บุคคลทีมอี ายุตํากว่าสิบแปดปี บริบูรณ์
“เยาวชน” หมายความว่า บุคคลทีมีอายุตังแต่สิบแปดปี ถึงยีสิบห้าปี
บริบูรณ์
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการสง่ เสริมการพัฒนาเด็กและ
เยาวชนแห่งชาติ
“คณะบริหาร” หมายความว่า คณะบรหิ ารสภาเด็กและเยาวชนตําบล คณะ
บริหารสภาเด็กและเยาวชนเทศบาล คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน
อําเภอ คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเขต คณะบริหารสภาเดก็ และ
เยาวชนจังหวัด คณะบริหารสภาเดก็ และเยาวชนกรุงเทพมหานคร และ
คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย
“สํานักงาน” หมายความว่า กรมกิจการเด็กและเยาวชน
“ผู้อาํ นวยการ” หมายความว่า อธิบดีกรมกิจการเด็กและเยาวชน
“รัฐมนตร”ี หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติ

โครงการพฒั นาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดา นเดก็ และเยาวชน 6
สาํ นกั งานสงเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 5

สรปุ สาระสาํ คัญพระราชบัญญัติส่งเสรมิ การพัฒนาเดก็ และ
เยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และทีแก้ไขเพิมเตมิ (ฉบับที 2) พ.ศ.
2560

1) คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาเดก็ และเยาวชนแห่งชาติ
(กดยช.) โดยตําแหน่งได้แก่ ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงการ
ท่องเทียวและกีฬา ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของ
มนุษย์ ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพือเศรษฐกิจและสังคม ปลัดกระทรวง
มหาดไทย ปลัดกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงแรงงาน ปลัดกระทรวง
วัฒนธรรม ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ปลัดกระทรวงสาธารณสุขผู้บญั ชาการ
ตํารวจแห่งชาติ ปลดั กรงุ เทพมหานคร ประธานสภาองค์การพัฒนาเด็กและ
เยาวชน และประธานสภาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ

2) ผู้แทนองคก์ รสว่ นท้องถินซึงคดั เลือกกันเอง จํานวน 3 คน เป็น
กรรมการสง่ เสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ

3) ผู้แทนเด็กและเยาวชนในคณะกรรมการสง่ เสรมิ การพัฒนาเด็ก
และเยาวชนแห่งชาติ พ้นจากตําแหน่งเมือมีอายุเกนิ ยีสบิ ห้าปี หรือพ้นจาก
การเป็ นผู้ แทนของสภาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ

4) กําหนดจัดให้มีสภาเดก็ และเยาวชนตําบลและสภาเดก็ และ
เยาวชนเทศบาล (ภายใน 120 วัน) ในวาระเริมแรก เมือคณะบริหารดํารง
ตําแหน่งครบหนึงปี ให้คณะบริหารยกเว้นประธานสภา จับฉลากออกกึง
หนึงและคัดเลือกผู้บริหารใหม่แทนตาํ แหน่งทีว่าง โดยให้ผู้ทีได้รับการ
คัดเลือกใหม่มวี าระการดํารงตําแหน่งสองปี

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหนวยงาน พม. ดานเด็กและเยาวชน 7
สาํ นกั งานสงเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 5

5) กําหนดให้มสี ภาเด็กและเยาวชนเขต และสภาเด็กและเยาวชน
อําเภอ (ภายใน 150 วัน) สภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร สภาเด็ก
และเยาวชนจังหวัด สภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย(ภายใน 180 วัน)

6) ประธานสภาเด็กและเยาวชน ต้องผ่านการเป็นคณะบริหารสภา
เด็กและเยาวชนระดับตําบล/เทศบาล และระดับอําเภอ

7) คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชน มีวาระดํารงตําแหน่งคราวละ
2 ปี นับแต่วันทีได้รบั การคดั เลอื ก โดยคณะบริหารซงึ พ้นจากตําแหน่งอาจ
ได้รบั การคัดเลอื กอีกได้แต่ต้องดํารงตําแหน่งไม่เกิน2 วาระตดิ กัน

8) นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ คณะบริหารพ้นจาก
ตําแหน่งเมอื ตาย ลาออก ขาดคุณสมบัตหิ รอื มลี กั ษณะต้องห้ามตามมาตรา
32 หรือถกู ถอดถอนออกจากตําแหน่งตามทีกําหนดไว้ในข้อบังคับของสภา
เด็กและเยาวชน

9) กําหนดอํานาจหน้าทีของสภาเด็กและเยาวชนทกุ ระดบั
10) กําหนดให้นายอําเภอเป็ นทีปรึกษาคณะบริหารสภาเดก็ และ
เยาวชนตําบล/เทศบาล/อําเภอ และให้แต่งตังคณะทีปรึกษาคณะบริหาร
สภาเด็กและเยาวชนตําบล/เทศบาล/อําเภอ ตามทีคณะบริหารสภาเด็ก
และเยาวชนเสนอ
11) ให้นายอําเภอหรือผู้อํานวยการเขต เป็นทีปรึกษาคณะบริหาร
สภาเด็กและเยาวชนอําเภอหรือคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเขต และ
ให้แต่งตังทีปรกึ ษาคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนอําเภอหรือคณะบริหาร
สภาเด็กและเยาวชนเขต ตามทีคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนอําเภอหรือ
คณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนเขตเสนอ

โครงการพฒั นาศักยภาพการทํางานหนวยงาน พม. ดา นเด็กและเยาวชน 8
สาํ นกั งานสงเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 5

12) กําหนดให้ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นทีปรึกษาคณะบริหารสภา
เด็กและเยาวชนจังหวัด และให้แต่งตังทีปรึกษาคณะบริหารสภาเด็กและ
เยาวชนจังหวัด ตามทีคณะบริหารสภาเด็กและเยาวชนจังหวัดเสนอ

13) กําหนดให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เป็ นทีปรึกษาคณะ
บริหารสภาเดก็ และเยาวชนกรุงเทพมหานครและแต่งตังทีปรึกษาคณะ
บริหารสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร ตามทีคณะบริหารสภาเด็ก
และเยาวชนกรงุ เทพมหานครเสนอ

แนวทางปฏิบัติ
กรมกิจการเด็กและเยาวชน ส่งเสริม สนับสนุน ประสานงาน
การจัดให้มแี ละการดําเนินกิจการของสภาเด็กและเยาวชนอําเภอ และสภา
เด็กและเยาวชนจังหวัด
พัฒนาสังคมและความมั นคงของมนุษย์จังหวัด เป็ นพีเลี ยง
ให้กับบ้านพักเดก็ และครอบครัวในการจัดให้มีสภาเดก็ และเยาวชนให้
เป็นไปตามกฎหมายและแล้วเสร็จตามกําหนด ทํางานภายใต้แนวคิดONE
HOME
บ้านพักเด็กและครอบครัวหัวหน้าบ้านพักเด็กและครอบครัวแต่
ละจังหวัด ส่งเสริม สนับสนุนและประสานงาน ให้องค์การบริหารส่วน
ตําบล/เทศบาล จัดให้มีสภาเด็กและเยาวชนตําบลและสภาเด็กและเยาวชน
เทศบาล แล้วแต่กรณี
องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน
- ให้องค์การบริหารส่วนตาํ บล/เทศบาล จัดให้ มีสภาเด็กและ
เยาวชนตําบล และสภาเด็กและเยาวชนเทศบาลแล้วแต่กรณี

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดานเดก็ และเยาวชน 9
สาํ นกั งานสงเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 5

- จัดทําแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในระดับท้องถินให้สอดคล้อง
กบั แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ และจัดสรรงบประมาณเพือการ
พัฒนาเด็กและเยาวชนทีอยู่ในพื นทีรบั ผิดชอบ

- ส่งเสริมและสนับสนุนสภาเด็กและเยาวชนตําบล และสภาเด็ก
และเยาวชนเทศบาล ดําเนินกิจกรรมสร้างสรรคใ์ นพื นที

- จัดทําฐานข้อมูลเด็กและเยาวชนทุกคน และข้อมูลคณะบริหาร
สภาเด็กและเยาวชนตําบล/เทศบาล

กรงุ เทพมหานคร
- จัดให้มสี ภาเด็กและเยาวชนเขต
- จัดให้มีสภาเด็กและเยาวชนกรงุ เทพมหานคร
- ส่งเสริมและสนับสนุนสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร
ดําเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ในพื นที
- จัดทําฐานข้อมูลคณะบรหิ ารสภาเด็กและเยาวชนเขตและสภา
เดก็ และเยาวชนกรงุ เทพมหานคร
กระทรวงศึกษาธิการ ส่งเสรมิ สนับสนุน และมีส่วนร่วมในการจัด
ให้มสี ภาเด็กและเยาวชนตําบล/เทศบาล สภาเด็กและเยาวชนเขต และสภา
เด็กและเยาวชนกรงุ เทพมหานคร
2. การนาํ หลักคิดทางศาสนามาปรับใชใ้ ห้สอดคล้องกับการทํางานสภา
เดก็ และเยาวชน การทํางานกับบคุ คลหากต้องการให้งานประสบ
ความสําเร็จต้องทําความเข้าใจในเรอื งคนก่อน ว่าคนทีเข้าไปประสานหรือ
ทํางานด้วยมลี ักษณะแบบไหน โดยสามารถจําแนกหรอื ดูลักษณะของคน
ออกตามจริตของตวั บุคคล ด้วย 6 จริต

โครงการพฒั นาศักยภาพการทํางานหนวยงาน พม. ดานเดก็ และเยาวชน 10
สาํ นกั งานสงเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 5

จรติ ยังแปลได้ว่า ความประพฤติ,กิริยาอาการเพราะฉะนัน จริต
คือ ลักษณะนิสัยหรือความประพฤติพื นฐานทีประพฤติปฏิบัติ ตามความ
เคยชินของจิตใจเดิมของบุคคลนั น การทีจะรู้ว่าใครมีจริตแบบไหนเรา
สามารถดูจากอปุ นิสัยของคนคนนัน และเพือให้ง่ายต่อการเข้าใจ เราจึงจะ
มาศึกษาถึงรายละเอียดของอุปนิสัยของคนทีมีจริตต่าง ๆ เพือทําให้เรา
สามารถทราบได้ว่าตัวเราและบุคคลอืนๆ นันมจี ริตเป็นเช่นไร

1. ราคจริต
ลักษณะ บุคลิกดี มีมาด นําเสียงนุ่มนวลไพเราะ ตดิ ในความสวย
ความงาม ความหอม ความไพเราะ ความอร่อย ไม่ชอบคิด แต่ช่าง
จินตนาการเพ้อฝัน

จุดแข็ง มีความประณีต อ่อนไหว และละเอียดอ่อน ช่างสังเกต
เก็บข้อมูลเกง่ มีบุคลิกหน้าตาเป็นทีชอบและชืนชมของทุกคนทีเห็น วาจา
ไพเราะ เข้าได้กบั ทุกคน เก่งในการประสานงาน การประชาสมั พันธ์ และ
งานทีต้องใช้บุคลกิ ภาพ

จุดอ่อน ไม่มสี มาธิ ทํางานใหญ่ได้ยาก ไม่มีเป้ าหมายในชีวิต ไม่มี
ความเป็นผู้นําขี เกรงใจคน ขาดหลักการ มุ่งแต่บํารุงบําเรอผัสสะทัง5 ของ
ตัวเอง คือ รูป รส กลิน เสียงสัมผัส ชอบพูดคําหวานหู แต่อาจไม่จริง
อารมณร์ นุ แรง ช่างอิจฉา ริษยา ชอบปรงุ แต่ง

2. โทสจรติ
ลักษณะ จิตขุ่นเคอื ง โกรธง่าย คาดหวังว่าโลกต้องเป็นอย่างทีตัวเอง
คดิ พดู ตรงไปตรงมา ชอบชี ถกู ชี ผิด เจ้าระเบียบ เคร่งกฎเกณฑ์ แต่งตัว
ประณตี สะอาดสะอ้าน เดนิ เร็วตรงแน่ว

โครงการพฒั นาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดา นเดก็ และเยาวชน 11
สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5

จุดแข็ง อุทิศตัวทุ่มเทให้กบั การงาน มีระเบียบวินัยสงู ตรงเวลา
วิเคราะห์เก่งมองอะไรตรงไปตรงมา มคี วามจรงิ ใจต่อผู้อืนสามารถพึงพาได้
พูดคําไหนคํานัน ไม่ค่อยโลภ

จุดอ่อน จิตขุ่นมัว ร้อนรุ่ม ไม่มีความเมตตา ไม่เป็ นทีน่าคบค้า
สมาคมของคนอืน และไม่มีบารมี ไม่มีความคิดสร้าง สรรค์สร้างวจีกรรม
เป็นประจํา มโี รคภัยไข้เจ็บได้ง่าย

3. โมหจริต
ลักษณะ งว่ งๆ ซมึ ๆ เบือๆ เซ็งๆ ดวงตาดูเศร้าๆ ซึ งๆ พดู จาเบาๆ
นุ่มนวลออ่ นโยนยิ มง่าย อารมณ์ไม่ค่อยเสีย ไม่ค่อยโกรธใคร ไม่ชอบเข้า
สังคม ไม่ชอบทําตวั เป็นจุดเดน่ เดนิ แบบขาดจุดหมาย ไร้ความมุ่งมัน

จุดแข็ง ไม่ฟุ ้ งซ่าน เข้าใจอะไรได้ง่ายและชัดเจน มีความรู้สกึ มัก
ตัดสินใจอะไรได้ถูกต้อง ทํางานเก่ง โดยเฉพาะงานประจํา ไม่ค่อยทุกข์หรือ
เครยี ดมากนัก เป็นคนดี เป็นเพือนทีน่าคบไม่ทําร้ายใคร

จุดอ่อน ไม่มีความมันใจ มองตัวเองตํากว่าความเป็นจริง โทษ
ตัวเองเสมอ หมกมุ่นแต่เรืองตวั เองไม่สนใจคนอืน ไม่จัดระบบความคิดทํา
ให้เสมือนไม่มีความรู้ ไม่มคี วามเป็นผู้นําไม่ชอบเป็นจุดเด่นสมาธิอ่อนและ
สัน เบอื ง่าย อารมณ์อ่อนไหวง่าย ใจน้อย

4. วติ กจรติ
ลักษณะ พูดเป็นนําไหลไฟดบั ความคิดพวยพุ่งฟุ ้ งซ่านอยู่ในโลก
ความคดิ ไม่ใช่โลกความจรงิ มองโลกในแง่ร้ายว่าคนอืนจะเอาเปรียบกลัน
แกล้งเรา หน้าจะบึ ง ไม่ค่อยยิ ม เจ้ากี เจ้าการอัตตาสูง คดิ ว่าตวั เองเก่ง
อยากรู้อยากเห็นไปทุกเรือง ผัดวนั ประกันพรุ่ง

โครงการพฒั นาศักยภาพการทํางานหนวยงาน พม. ดานเดก็ และเยาวชน 12
สํานักงานสงเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 5

จุดแข็ง เป็นนักคิดระดับเยียมยอด มองอะไรทะลปุ รโุ ปร่งหลายชัน
เป็นนักพูดทีเก่ง จูงใจคน เป็นผู้นําหลายวงการ ละเอียดรอบคอบ เจาะลึก
ในรายละเอียด เห็นความผดิ เล็กความผดิ ทีคนอืนไม่เห็น

จุดอ่อน มองจุดเล็กลมื ภาพใหญ่ เปลียนแปลงความคิดตลอดเวลา
จุดยืนกลับไปกลับมา ไม่รักษาสญั ญา มีแต่ความคิด ไม่มีความรู้สึก ไม่มี
วิจารณญาณ ลังเล มักตัดสินใจผิดพลาดมักทะเลาวิวาท ทําร้ายจิตใจ เอา
รดั เอาเปรียบผู้อืน มีความทกุ ข์เพราะเห็นแต่ปัญหาแต่หาทางแก้ไม่ได้

5. สัทธาจรติ
ลักษณะ ยึดมันอย่างแรงกล้าในบุคคล หลักการหรือความเชือ ยําคิด
ยําพูดในสิงทีตนเองเชอื ถอื และศรัทธา คิดว่าตัวเองเป็นคนดี น่าศรทั ธา
ประเสรฐิ กว่าคนอืน เป็นคนจริงจังพดู มีหลักการ

จุดแข็ง มีพลังจิตสูงและเข้มแขง็ พร้อมทีจะเสียสละเพือผู้อืน
ต้องการเปลียนแปลงตัวเองและสังคมไปสู่สภาพทีดีกว่าเดิม มีพลัง
ขับเคลือนมหาศาล มลี กั ษณะความเป็นผู้นํา

จุดอ่อน หูเบา ความเชืออยู่เหนือเหตุผล ถูกหลอกได้ง่าย ยิง
ศรัทธามาก ปัญญายิงลดน้ อยลง จิตใจคับแคบ ไม่ยอมรับความคิดที
แตกต่าง ไม่ประนีประนอม มองโลกเป็นขาวและดํา เพือให้บรรลุเป้ าหมาย
ทีตนคิดว่าถกู ต้องสามารถทําได้ทุกอย่างแม้แต่ใช้ความรนุ แรง

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดานเดก็ และเยาวชน 13
สํานกั งานสงเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 5

6. พุทธิจริต
ลักษณะ คดิ อะไรเป็นเหตุเป็นผล มองเรอื งต่างๆ ตามสภาพความ
เป็นจริง ไม่ปรุงแต่งพร้อมรบั ความคดิ ทีแตกต่างไปจากของตนเอง ใฝ่
เรียนรู้ ช่างสังเกต มคี วามเมตตาไม่เอาเปรียบคน หน้าตาผ่องใสตาเป็น
ประกาย ไม่ทกุ ข์

จุดแข็ง สามารถเห็นเหตุเห็นผลได้ชัดเจน และรู้วิธีการแก้ไข
ปัญหาต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง อัตตาตํา เปิ ดใจรับข้อเทจ็ จริง จิตอยู่ใน
ปัจจุบนั ไม่จมปลักในอดีต และไม่กงั วลในสิงทีจะเกิดในอนาคต พัฒนา
ปรบั ปรงุ ตวั เองอยู่เสมอ เป็นกัลยาณมิตร

จุดอ่อน มคี วามเฉือย ไม่ต้องการพัฒนาจิตวิญญาณ ชีวิตราบรืน
มาตลอด หากต้องเผชญิ พลงั ด้านลบ อาจเอาตัวไม่รอด ไม่มคี วามเป็นผู้นาํ
จิตไม่มพี ลังพอทีจะดึงดูดคนให้คล้อยตาม
อ้างอิง : กัลยาณมติ ร.จรติ 6 (อปุ นิสัย 6 ประการ)(ออนไลน์) สืบค้น จาก
www.kalyanamitra.org/th/article_detail.p hp?i=15408
(17 พฤษภาคม 2561)

ทําอยา่ งไรให้สมองพัฒนาและเรยี นรู้อยา่ งมีศักยภาพการ
พัฒนาการคนมปี ัจจัยหลายอย่าง รวมถึงเทคโนโลยี เมือเทคโนโลยเี ป็นสว่ น
หนึงของชีวิตและมีบทบาทมากขึ น จะทําอยา่ งไรให้เด็กๆ ใช้เทคโนโลยี
อย่างรู้เท่าทัน และชาญฉลาดมขี ้อเท็จจริงทีควรคํานึงถงึ ทังในเชงิ บวกและ
เชงิ ลบ โดยแบ่งออกเป็นเชิงบวก 4 ข้อ และเชิงลบ 4 ข้อ

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดานเด็กและเยาวชน 14
สํานักงานสงเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 5

ขอ้ เท็จจรงิ ในเชิงบวก
1. ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ อ ย า ก เ รี ย น รู้/ ช่ ว ย ใ ห้ ห า ข้ อ มู ล ง่ า ย ขึ น

เทคโนโลยีมีส่วนช่วยสร้างความตืนเต้น และดึงดูดความสนใจ ช่วยให้
สะดวกสบายในการค้นหาข้อมูล แต่การตอบสนองแบบทันทีทันใด อาจ
ส่งผลให้ เด็กมีแนวโน้ มทีจะมีสมาธิสัน และกล้ามเนื อมือไม่แขง็ แรง
นอกจากนัน ยังอาจส่งผลต่อบุคลิกภาพและอุปนิสยั ทําให้เด็กไม่รู้จักรอ
คอย ทําทุกอย่างเป็ นอัตโนมัติ ตามความคุ้นชิน และขาดการประมวล
ความคิด ดังนัน เด็กทีอายุตํากว่า 5 ปี ควรหลีกเลียงการใช้เทคโนโลยี
(สมาร์ตโฟน แทปเล็ต โทรทัศน)์ หรอื หากมีความจําเป็นต้องใช้ อนุโลมได้
ตังแต่วัย 2 ขวบ แต่จะต้องอยู่ในความดูแลของผู้ปกครองตลอดเวลา

2. เตรยี มตัวให้เด็กพร้อมทํางานในอนาคตเนืองจากอปุ กรณ์ต่างๆ
ได้รับการออกแบบมาให้สะดวกสบายในการใช้งาน เป็นแหล่งข้อมูลขนาด
ใหญ่ และสิงอํานวยความสะดวกมากมาย อีกทังราคายังถูกลงมากทําให้ดู
คล้ายเทคโนโลยีจะเข้ามาแทนหลายสิงในชีวิตประจํา แต่สิงสาํ คัญที
เทคโนโลยียังทดแทนไม่ได้คือ การให้ข้อมูลสะท้อนกลับ และปฏิสัมพันธ์
ระหว่างผู้คนเทคโนโลยีอาจสร้างแรงจูงใจกระตุ้นให้อยากเรยี นอยากรู้ และ
มีข้อมูลมากมายพร้อมให้เข้าถึง แต่ความท้าทายอยู่ทีการเลือกใช้ข้อมูล
การแยกแยะ และการเลือกทีจะเชือ เด็กจะต้องได้รับการชี แนะให้รู้จัก
วิเคราะห์ข้อมูลทีมีอยู่มากมาย เพือการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีให้เกิด
ประโยชน์
สูงสุด

3. ทําให้ได้พบปะผู้คนมากมายการเข้าสังคมออนไลน์จะเกิด
ประโยชน์หากเด็กมที ักษะทางสังคมดีอยู่แล้ว แต่อาจทําให้เกิดความสับสน

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหนวยงาน พม. ดานเด็กและเยาวชน 15
สาํ นกั งานสงเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 5

ได้ เพราะการแสดงความคดิ เห็นในสังคมออนไลน์จะมีความรนุ แรง และ
อาจขัดแย้งกับความเป็นจริง หากไม่มคี วามมันคงทางความคดิ จิตใจ
เพียงพออาจแกว่งไปตามกระแส ถูกกลันแกล้งรังแก ถกู ล่อลวงจนเกิด
ความเสียหายต่อตนเองและผู้อืนได้

4. เล่นเกมทําให้ฝึกคิด ได้ตดั สินใจ เจตนารมณ์ของเกมคือ ความ
สนุก ซึงสามารถนํามาสร้างแรงจูงใจให้เกิดการเรยี นรู้ได้ คอื ใช้กลยุทธ
รางวัล การแข่งขัน การเอาชนะ ความสนุกสนาน ทีสําคัญคอื ต้องเลอื กเกม
ให้เหมาะกับทักษะทตี ้องการจะสง่ เสรมิ การใช้เกมในการส่งเสรมิ ทักษะควร
คํานงึ ถงึ ความเหมาะสมกับวัยของเด็ก เช่น เกมการศึกษาเพือการเรยี นการ
สอนจะเหมาะกับเด็กโตมากกว่าเด็กเล็ก และต้องคํานึงถึงความปลอดภยั
เช่น ใสร่ หัสล็อคเครอื ง เพือพ่อแม่จะสามารถติดตามเฝ้าระวงั การเลือกสือของลูก
ได้อย่างเหมาะสม
ข้อเท็จจรงิ ในเชิงลบ

1. ทําให้เสียความเป็นสว่ นตวั ไป ในปัจจุบัน เทคโนโลยเี ก็บข้อมลู
ส่วนตัวของผู้ใช้ไปโดยทีเจ้าของข้อมลู อาจไม่ทันระวัง ทําให้สูญเสียความ
เป็นสว่ นตัว เป็นเหตุให้เสียสมาธิจนถึงความปลอดภัยต่อชวี ิตและทรพั ย์สิน
ดังนัน ผู้ใช้จึงต้องตังสตใิ นการใช้เทคโนโลยอี ย่างระมัดระวัง

2. การทํางานหลายๆ อย่างได้ในเวลาเดียวกัน ทําให้คดิ ไม่
ลกึ ทักษะการทํางานหลายอย่างในเวลาเดยี วกันกัน (Multi – tasking skills)
เป็นทีกล่าวถงึ กันมากเมอื เทคโนโลยมี ีสว่ นช่วยให้ทําทุกอย่างได้
สะดวกสบายมากขึ นปัญหาอาจจะเกิดขึ นได้ในการทําเรืองผิวเผินแต่หาก
เป็นการคิดวิเคราะห์ในเชงิ ลกึ จําเป็นต้องจดจ่อ(focus) จัดลําดบั สําคัญ
(prioritize) และติดตาม (monitor) ทีละอย่าง แต่อาจปรับให้เร็วขึ นได้ ที

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดา นเดก็ และเยาวชน 16
สาํ นกั งานสงเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 5

สําคญั คอื ต้องให้มีหลกั คิด และมีใจจดจ่อลงมือทําอย่างต่อเนืองจนสําเร็จ
ตามทีตังใจไว้

3. ปัญหาสุขภาพจากการใช้เทคโนโลยี ความสะดวกสบายอาจทํา
ให้เคลือนไหวน้อยลง เฉือยชา และอ้วน สิงทีดตี ่อสมองและร่างกายคอื การ
เคลอื นไหว เพลง ดนตรี ความผ่อนคลาย ความสงบ จะทําให้สมองเปิ ดรับ
ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ รั ก ษ า ส ม ดุ ล ทั ง สุ ข ภ า พ ก า ย แ ล ะ สุ ข ภ า พ ใ จ

4. เปลี ยนวิถีของสังคม คิดว่ าเทคโนโลยีแทนคนได้
งานวิจัยเรืองความสุขของชีวิต พบว่าความรักคือความสขุ ของชีวิต เพราะ
แท้จริงแล้ว relationship คือความสุขของชีวิต ความสัมพันธ์เป็ นสิงที
เทคโนโลยที ดแทนไม่ได้ คุณสมบตั ิทีศตวรรษที 21 ต้องการ คอื การทํางาน
เป็นทีม ต้องทํางานร่วมกับคนอืน เดก็ ๆ จึงต้องมกี ารเรียนรู้ทีจะอยู่ร่วมกบั
ผู้อืนในสังคมได้อย่างมคี วามสุข

จากข้อมลู จะทําให้เห็นว่าเด็กทุกวันนี พึงพาเทคโนโลยมี ากกวอ่าดีต
สมยั ก่อนเด็กจะเล่นกันเป็นกลุ่มใหญ่ต้องไปเล่มรวมกันทีวัด เพือร่วมกัน
เล่นการละเล่นต่างๆ ทําให้คนอยู่ใกล้วัด และมีสงั คมพบปะซึงกันและกัน
แต่ปัจจุบันคนติดทีจะอยู่บ้านและดูสือผ่านทางข้อมูลออนไลน์ต่างๆ ถ้า
ต้องการให้เด็กและเยาวชนเข้าถึงวัดเหมือนคนสมยั ก่อนเราต้องจัดให้วัดมา
หาประชาชนโดยจัดสือทีเกียวข้องกับวัดเข้ามาในระบบออนไลน์ให้มากขึ น
เพือให้เด็กและเยาวชนเห็นและศกึ ษาเกียวกับวัดได้มากขึ น

อ้างอิง : กระตุกต่อมคิด เพือพัฒนาความคิด เพิมความรู้
สร้างสรรค์ภูมิ ปัญญา.เด็กกับเทคโนโลยี ความพอดีอยู่ทีไหน(ออนไลน์) สืบค้น
จาก www.okmd.or.th/bbl/documents/699/(17 พฤษภาคม2561)

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหนวยงาน พม. ดา นเดก็ และเยาวชน 17
สาํ นักงานสงเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 5

3. วิเคราะห์กระบวนการทํางาน วิเคราะห์กระบวนการทํางาน ด้านเด็ก
และเยาวชน

ภารกิจ/โครงการหนว่ ยงาน พม. ด้านเด็กและเยาวชน
หน่วยงานกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย์มี
การทํางานร่วมกันด้านเด็กและเยาวชนหลายหน่วยงาน เพือให้เกิดการ
ทํางานและเป็นเครอื ข่ายในการทํางานร่วมกันโดยมีงานทีเกียวข้องกบั การ
พัฒนาเด็กและเยาวชนในแต่ละหน่วยงาน แยกตามภารกิจบทบาทหน้าทีได้
ดังนี
สํานักงานพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุ ษย์ เป็ น
คณะทํางาน ระดับจังหวัด ระดับอําเภอ ร่วมขับเคลือนเพือให้ เกิด
คณะทํางานสภาเด็กระดับอําเภอและระดับตําบล
สถานคุ้มครองสวัสดิภาพผู้เสียหายจากการค้ามนุ ษย์
(บ้านนารีสวัสด)ิ จังหวัดนครราชสีมา มีโครงการทีเกียวข้องกับการ
พัฒนาเด็กและเยาวชน คอื
- โครงการอบรมให้ความรู้ด้านกฎหมายและสิทธิของผู้เสียหาย
จากการค้ามนุษย์
- โครงการเตรียมความพร้ อมให้ กับผู้ เสียกายก่อนกลับสู่
ครอบครวั และสังคม
- โครงการครอบครวั บําบดั
- กิจกรรมพัฒนาทักษะชวี ิต 10 ด้าน

1. การตดั สินใจ
2. การแก้ไขปัญหา

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดานเด็กและเยาวชน 18
สาํ นกั งานสงเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 5

3. การคดิ วิเคราะห์
4. การคิดสร้างสรรค์
5. การสือสารอย่างมีประสิทธิภาพ
6. การตระหนักรู้ในงาน
7. การเห็นใจผู้อืน
8. การจัดการกับความเครยี ด
9. การสร้างสัมพันธภาพ
10. การจัดการกับอารมณต์ ่างๆ
- กิจกรรมพัฒนาทักษะอาชีพด้วยชวี ะบําบัด
1. แผนกเกษตรอินทรีย์
2. แผนกโภชนาการ
3. แผนกเสรมิ สวยและนวดแผนไทย
4. แผนกศลิ ปะประดิษฐ์
5. แผนกตัดเย็บ
6. ร้านฝึกประสบการณ์ ร้านกาแฟ ร้านเสริมสวย ฯลฯ
- กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต การอบรมให้ความรู้ นันทนาการ
ทัศนะศกึ ษา งานกีฬา และวันสําคญั ทางศาสนา
- กิจกรรมและโครงการเพือการฟื นฟูให้กับกลุ่มเป้ าหมาย ผู้เข้ารบั
การคุ้มครองภายในสถานคุ้มครอง
- โครงการเพือการให้ความรู้กลุ่มเป้ าหมาย เด็ก เยาวชน สตรี
ครอบครัว และภาคีเครอื ข่าย ภายนอกสถานสงเคราะห์
- โครงการป้ องกันการค้ามนุษยด์ ้านแรงงานต่างด้าว และอบรมให้
ความรู้นายจ้าง/สถานประกอบการ

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหนวยงาน พม. ดานเดก็ และเยาวชน 19
สาํ นักงานสงเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 5

- โครงการพัฒนากลไกเครือข่ายในการป้ องกนั และแก้ไขปัญหา
การค้ามนุษย์

- โครงการเยาวชนวัยใสใสใ่ จภัยการค้ามนุษย์
- โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเพิมทางเลือกรายได้ตาม
แนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง (การฝึกอบรมระยะสัน)
- โครงการทอฝัน by พม.
นิคมสร้างตนเองพิมาย มีโครงการทีเกียวข้องกับการพัฒนาเด็ก
และเยาวชน คือ
- การให้ความช่วยเหลือเด็กทีพิการในครอบครัวอยากจน
- การบรจิ าคจักรยานเพือให้เด็กปันไปโรงเรยี นและไปทํากิจกรรม
- โครงการทีคาดหวัง การนําเด็กและเยาวชน (กลุ่มA) มาเพือ
พัฒนาศักยภาพตามโครงการบ้ านน้ อยในนิคมโดยเน้ นการส่งเสริมการมี
สว่ นร่วมในกิจกรรมด้านเด็ก ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนได้มกี ารทํางานเพือ
เข้าร่วมกิจกรรมในสภาเด็กและเยาวชน
ศูนย์คุ้มครองคนไร้ทีพึง ไม่มีโครงการทีเกียวข้องกับการพัฒนา
เด็กและเยาวชนแต่จะเป็นการสง่ ต่อเมือมีการตรวจพื นทีขอทานคนเร่ร่อน
คัดกรองเมือเจอเด็ก จะส่งต่อบ้านพักเด็กและครอบครัวในพื นทีให้ดูแล
และดําเนินการช่วยเหลอื ต่อไป
ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุบ้านบุรีรัมย์ มี
โครงการทีเกียวข้องกับการพัฒนาเด็กและเยาวชน คือ
- โครงการผู้สูงวัยใสใ่ จลกู หลาน โดยมีกิจกรรมถ่ายทอดภูมปิ ัญญา
ผู้สูงอายุ และกิจกรรมพัฒนาเด็กในศนู ยเ์ ด็กโดยผู้สูงอายุ

โครงการพฒั นาศักยภาพการทํางานหนวยงาน พม. ดานเดก็ และเยาวชน 20
สํานกั งานสงเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 5

บ้านพักเด็กและครอบครัวดําเนินการขับเคลือนการดําเนินงาน

จัดตังสภาเด็กและเยาวชนโดยมีกระบวนการดังนี

1. การอบรมเชงิ ปฏิบัติการครู ก ร่วมกับเครือข่าย อปท. ร่วมกับ

เครอื ข่าย อปท.

2. การอบรมเชิงปฏิบัติการครู ข ให้กบั เจ้าหน้าทีในระดับตําบล/

เทศบาล

3. ประสานเจ้าหน้าทีครู ข และสภาเด็กทกุ ระดับให้เปิ ดบัญชี สภา

เด็กและจัดทําแผน/โครงการ

4.ประชุมคณะบริหารสภาเด็กเพือจัดทําแผนการดําเนินงาน

โครงการ

5. สภาเด็กจังหวัดเขียนโครงการเพอื ของบประมาณในการจัดค่าย

พัฒนาศักยภาพสภาเด็กทุกะดับ

6. จัดโครงการค่ายพัฒนาศักยภาพสภาเด็กจํานวน 2 รุ่น

7. ผู้แทนทีเข้าค่ายพัฒนาศักยภาพสภาเด็ก ทําโครงการถ่ายทอด

ความรู้ต่อ

8. ประชุมคณะบริหารสภาเด็กจังหวัดเพือนําโครงการสืบสาน

วัฒนธรรมประเพณีบุญเดือนหก

9. ประชุมคณะบริหารสภาเด็กจังหวัดเพือทําโครงการ

10. ติดตามงาน จ่ายเช็ค ประสานโครงการ

การจัดตังสภาเด็กตาม พรบ.2560 แบ่งออกเป็น 3 ระดบั

- ระดับจังหวัด จํานวน 21 คน

- ระดับอําเภอ จํานวน 21 คน

- ระดบั ตําบล จํานวน 21 คน

โครงการพฒั นาศักยภาพการทํางานหนวยงาน พม. ดานเดก็ และเยาวชน 21
สาํ นกั งานสงเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 5

ปัญหา อปุ สรรค ในการขับเคลือนงาน
- การประชาสัมพันธ์ในการจัดตังสภาเด็กและเยาวชน
- เจ้าหน้าทีผู้รับผิดชอบในระดับตําบลขาดความเข้าใจ
- ขาดการใช้เครืองมือสือสารสมัยใหม่ ไลน์ เฟสบุ๊ค เพือใช้ในการ

ตดิ ตามผล ประสาน และรายงานผลต่างๆ
- การประสานเด็กและตดิ ต่อกับเด็ก เพือรวมตัวกัน เด็กบางคนไม่

ทราบมากอ่ นว่าตวั เองอยู่ในสภาเด็ก
ผลการประเมินความพงึ พอใจ
ผู้เข้ารบั การอบรมส่วนใหญ่ให้ความสนใจในการอบรมครังนี เป็นอย่าง

ดี ผลประเมินภาพรวมทังหมดอยู่ในระดับดี รายละเอียดดังนี
ผู้เข้าร่วมอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จาํ นวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 52

เป็นชาย 13 คน และคิดเป็นร้อยละ 48
อายุของผู้เข้าอบรม อายุ 31 – 40 ปี จํานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ

44 รองลงมาคืออายุ 20 - 30 ปี จํานวน 9 คน คิดเป็ น ร้อยละ 36
อายุ 41 – 50 ปี จํานวน 3 คน คิดเป็ น 12 และอายุ 51 – 60 ปี
จํานวน 2 คนคดิ เป็น 8

การศกึ ษาผู้เข้าร่วมอบรม จบการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี จํานวน
22 คน คดิ เป็นร้อยละ 88 และรองลงมาจบการศกึ ษาระดับอนุปรญิ ญา
หรอื เทียบเท่า จํานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 12
เกณฑ์คะแนนเฉลียระดบั ความพึงพอใจ เป็นดังนี

1.00 – 1.80 หมายถึง น้อยทีสุดต้องปรับปรุง
1.81 – 2.60 หมายถึง น้อย

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดานเดก็ และเยาวชน 22
สาํ นักงานสงเสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5

2.61 – 3.40 หมายถงึ ปานกลาง
3.41 – 4.20 หมายถงึ ดี
4.21 – 5.00 หมายถงึ ดมี าก
ด้านวทิ ยากร
ผู้เข้าร่วมอบรมมคี วามพึงพอใจต่อการเปิ ดโอกาสให้ผู้เข้าอบรมได้
ซักถามเป็นระยะๆ อย่างเหมาะสมระดับดีมาก ( x = 4.76) รองลงมาคือ
การตอบข้อซกั ถามหรือข้อข้องใจได้อย่างฉะฉานตรงประเด็นได้ดี ระดับดี
มาก ( x = 4.56) เตรยี มประเด็นเนื อหาสาระ ความรู้ประกอบการบรรยาย
ระดับดีมาก ( x = 4.28) และการเตรยี มเอกสาร/สือประกอบการบรรยาย
ได้ระดับดี ( x = 4.08) ตามลําดบั
ด้านสถานท/ี ระยะเวลา/อาหาร/การประสานงาน
ผู้เข้าอบรมสว่ นใหญ่มคี วามพึงพอใจการประสานงานจากเจ้าหน้าที
ดําเนินงานระดับดีมาก ( x = 4.60) รองลงมาคือระยะเวลาในการจัด
อบรมมีความเหมาะสมระดับดีมาก( x = 4.56) ความสะดวกในการ
เดินทางมายังสถานทีจัดงานระดับดีมาก ( x = 4.48) สถานทีจัดทีมี
สภาพแวดล้อมและบรรยากาศทีเหมาะสมระดับดีมาก ( x = 4.44) และ
คุณภาพอาหารมคี วามเหมาะสมระดบั ดี ( x = 4.04) ตามลําดบั
ด้านหลักสูตร
ผู้เข้ารบั การอบรมหลงั จากเข้ารบั การอบรมมคี วามพึงพอใจเชือโยง
เนื อหาทีนําไปสูก่ ารนําไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมระดับดีมาก( x = 4.24)
รองลงมาคือการนําเสนอเนื อหาอย่างเปน็ ลําดับขันตอน น่าสนใจระดับดี

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหนวยงาน พม. ดา นเดก็ และเยาวชน 23
สาํ นกั งานสงเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 5

( x = 4.12) การส่งเสริมความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายและพรบ.
(ด้านเด็กและเยาวชน)ระดับดี ( x = 3.80) ตามลําดับ
ด ้ านการนําความรู ้ ไปใช ้

ผู้ เข้ าร่ วมอบรมมีความพึงพอใจต่อการสามารถนําความรู ้ ทีได้ ไป
เผยแพร่และถ่ายทอดได้ระดับดี ( x = 4.04) รองลงมาคือสามารถนํา
ความรู้ทีได้รบั ไปประยุกตใ์ ช้กับการปฏิบัตงิ านได้ระดับดี( x = 3.96) และ
สามารถนําความรู้ทีไดร้ บั ไปพัฒนาและต่อยอดกับการปฏบิ ัตงิ านได้ระดับดี
( x = 3.84) ตามลําดบั
ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะเพิมเติม

1. วิทยากรให้แนวคิดในการทํางาน ทําให้เห็นภาพในการทํางาน
ชัดเจนขึ น

2. การทํางานกับบุคคลควรมกี ารเข้าใจในตัวบุคคลทีเราทํางาน
หรือประสานงานด้วย เพือจะได้ทํางานด้วยความเรียบร้อยและเข้าใจตรงกัน

โครงการพฒั นาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดา นเด็กและเยาวชน 24
สาํ นักงานสงเสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 5

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดา นเด็กและเยาวชน 25
สาํ นักงานสงเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 5

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหน่วยงาน พม.
ด้านเด็กและเยาวชน

1. หลักการและเหตุผล
เด็กและเยาวชนเป็ นกลุ่มเป้ าหมายหนึงในนโยบายเร่งด่วน A1

ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุษย์ คือพัฒนา
คุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชน ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็ก
และเยาวชนแห่งชาติ (ฉบับที 2) พ.ศ. 2560 ว่าด้วยการส่งเสริมการ
พัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ เป็นอีกเรอื งทีต้องทําความเข้าใจและนาํ มา
พัฒนาการทํางานเพือให้ทันต่อสถานการณป์ ัจจุบัน

สํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5 จึงเหน็ ว่ามีความจาํ เป็นที
จะต้องดําเนินการพัฒนาศักยภาพให้กบั บุคลากรของหน่วยงาน พม. ใน
เขตพื นทีรับผิดชอบ โดยพัฒนาศักยภาพของผู้ปฏบิ ัติงานให้ ทราบถึง
กระบวนการทํางานของบ้านพักเด็กและเยาวชนจังหวัด ทีสนับสนุนการ
จัดตังสภาเด็กและเยาวชนในพื นที เพือให้เกิดประโยชน์แก่เด็กและเยาวชน
พร้อมทังแลกเปลียนเรียนรู้การทํางานร่วมกันของหน่วยงาน พม. ในพื นที
รับผิดชอบ

2. วัตถุประสงค์
เพือให้บุคลากรหน่วยงาน พม. ในเขตพื นทีรบั ผิดชอบ ได้ทราบ

กระบวนการการจัดตังสภาเด็กและเยาวชนการทํางานของบ้านพักเด็กและ
ครอบครวั จังหวัด เพือให้เกิดการเชือมโยงการทํางานร่วมกันของหน่วยงาน
พม.

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหนวยงาน พม. ดานเดก็ และเยาวชน 26
สํานักงานสงเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 5

3. บุคคลเป้ าหมาย
ข้าราชการและเจ้าหน้าทีหน่วยงาน พม. ในเขตพื นทีรับผิดชอบ

สํานักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 5 จํานวน 30 คน

๔. วธิ ีการและกิจกรรมทีดําเนนิ การ
1) ทําหนังสือเชญิ ประชุมไปยังหน่วยงานเพือแจ้งกําหนดการอบรม
2)จัดอบรมให้กับผู้เข้ารับการอบรม
3)ประเมนิ ความพึงพอใจ และประเมินคุณภาพของการเรียนรู้
4)จัดทําสรุปผลการอบรม

5. ระยะเวลาดาํ เนนิ การ
ระหว่างวันที 29 – 30 มนี าคม 2561

6. สถานทีดําเนินการ
โรงแรมปัญจดารา อําเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา

7. ผู้รับผิดชอบโครงการ
งานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการพัฒนาสังคม กลุ่มการวจิ ัยและ

การพัฒนาระบบเครอื ข่าย
8. ผลทีคาดว่าจะได้รับ

บุคลากรหน่วยงาน พม. ในเขตพื นทีรบั ผดิ ชอบได้เรยี นรู้และ
แลกเปลียนการทํางานร่วมกัน พร้อมทังทราบกระบวนการ การจัดตังสภา
เด็กและเยาวชน

โครงการพฒั นาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดานเด็กและเยาวชน 27
สํานักงานสงเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 5

กาํ หนดการ
การจัดอบรมโครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานของหน่วยงาน พม.ด้าน

เด็กและเยาวชน
ระหว่างวันที 29 - 30 มีนาคม 2561

ณ โรงแรมปัญจดารา อําเภอเมืองนครราชสีมา จงั หวดั นครราชสีมา
วันที 29 มนี าคม 2561
เวลา08.00–08.30น - ลงทะเบียน ณ โรงแรมปัญจดารา อําเภอเมือง

นครราชสีมา จงั หวัดนครราชสีมา
เวลา08.30–09.00น - พิธีเปิ ดการจัดอบรมโครงการพัฒนาศักยภาพการ

ทํางานของหน่วยงาน พม. ด้านเด็กและเยาวชน
- ชี แจงวตั ถปุ ระสงค์

โดย นายประทานทมุ พงษ์ หวั หน้างานสง่ เสริมและ
สนับสนุนวิชาการพัฒนาสังคม
- ประธานกล่าวเปิ ดการจัดเวทีฯ
โดย นายมาโนช แม้นอินทร์ ผู้อํานวยการ
สํานกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 5
เวลา09.00–10.30น. - ทบทวนพระราชบัญญัติ ส่งเสริมพัฒนาเด็กและ
เยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และทีแก้ไขเพิม
(ฉบบั ที 2) พ.ศ. 2560
โดย นางสาวพนา นาคราช มูลนธิ ิสถาบันวจิ ยั เพือ
พัฒนาท้องถินอีสาน

โครงการพฒั นาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดานเด็กและเยาวชน 28
สํานักงานสงเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 5

เวลา 10.30 – 12.00 น. - การบรรยาย และกิจกรรม “วิเคราะห์การทํางาน
ด้านเด็กและเยาวชน ของหน่วยงาน พม.
โดย นางสาวพนา นาคราช มูลนิธิสถาบนั วิจัยเพือ
พัฒนาท้องถินอีสาน

เวลา 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวนั
เวลา 13.00 – 17.00 น. - การสนทนากลุ่มย่อย “กระบวนการทํางาน

หน่วยงาน พม. ด้านเด็กและเยาวชน”
โดย นางสาวพนา นาคราช มูลนธิ ิสถาบนั วจิ ัยเพือ
พฒั นาท้องถินอีสาน
วันที 30 มีนาคม 2561
เวลา 09.00 – 12.00 น. - การนําเสนอผลการสัมมนากลุ่มย่อย พร้อม
สอดแทรกความรู้
โดย นางสาวพนา นาคราช มูลนิธิสถาบันวจิ ัยเพือ
พัฒนาท้องถินอีสาน
เวลา 12.00 – 13.00 น. รบั ประทานอาหารกลางวนั
เวลา 13.00 – 16.00 น. - การแลกเปลียนเติมเต็มความรู้
โดย นางสาวพนา นาคราช มูลนิธิสถาบันวิจัยเพือ
พฒั นาท้องถินอีสาน
เวลา 16.00 – 16.30 น. - สรุปผลการจดั อบรมฯ และกล่าวปิ ด
โดย นายประทาน ทุมพงษ์ หวั หน้างานส่งเสรมิ และ
สนับสนุนวิชาการ พัฒนาสังคม
หมายเหตุ : 1. กําหนดการอาจเปลียนแปลงได้ตามความเหมาะสม
2. พักรับประทานอาหารว่างและเครอื งดมื
- ภาคเช้า เวลา 10.30 – 10.45 น.
- ภาคบ่าย เวลา 14.30 – 14.45 น.

โครงการพฒั นาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดา นเดก็ และเยาวชน 29
สํานักงานสงเสริมและสนบั สนุนวิชาการ 5

แบบประเมนิ

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานของหนว่ ยงาน พม. ด้านเด็กและเยาวชน

ระหว่างวันที 29 – 30 มนี าคม 2561

ณ ห้องเมขลา ชั น1 โรงแรมปัญจดารา อําเภอเมอื งนครราชสีมา

จังหวัดนครราชสีมา

*****************************************

คําอธิบาย แบบประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานของหน่วยงาน พม. ด้าน

เด็กและเยาวชน มีจํานวน 2 ตอน ขอความร่วมมอื ผู้ตอบแบบประเมินในการตอบ

แบบให้ครบทัง 2 ตอน เพือประโยชนใ์ นการนําไปปรบั ปรุงและพัฒนากระบวนการ

ดําเนินงานต่อไป

ตอนที 1 ข้อมูลทั วไป

คําชี แจง โปรดทําเครืองหมาย ลงในช่อง  หน้าคําตอบของท่าน

1. เพศ

 ชาย  หญิง

2. อายุ

 ตํากว่า 20 ปี  20-30 ปี  31-40 ปี

 41-50 ปี  51 ปี ขึ นไป

3. การศกึ ษา

 มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า  อนุปริญญาหรือเทียบเท่า

 ปรญิ ญาตรี  สูงกว่าปริญญาตรี  อืนๆ

................................................

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหนวยงาน พม. ดา นเดก็ และเยาวชน 30
สํานักงานสงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5

ตอนที 2 ระดบั ความพึงพอใจ
คําชี แจง โปรดทําเครืองหมาย ลงในช่องทีตรงกบั ความคิดเห็นของทา่ นเพียงระดับเดียว

ระดับความพงึ พอใจ

ประเภท มาก มาก ปาน น้อย น้อย
ทีสุด (4) กลาง (2) ทีสุด

(5) (3) (1)

ด้านวิทยากร

1. การเตรียมประเด็น/เนื อหาสาระ/

ความรู ้ ประกอบการบรรยาย

2. การเตรยี มเอกสาร/สือประกอบการ

บรรยาย

3. เปิดโอกาสให้ผู้เข้าอบรมได้ซักถาม

เป็นระยะๆ อย่างเหมาะสม

4. ตอบข้อซกั ถามหรือข้อสงสัยใดๆ ได้

อย่างฉะฉานและตรงประเด็น

ด้านสถานที

5. สถานทีจดั งานมีสภาพแวดล้อมและ

บรรยากาศทีเหมาะสม

6. ความสะดวกในการเดินทางมายงั

สถานทีจดั งาน

7. การประสานงานจากเจ้าหน้าที

ดําเนนิ งาน

8. ระยะเวลาในการจดั อบรมมีความ

เหมาะสม

9. คุณภาพอาหารมีความสะอาดและ

เหมาะสม

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดานเดก็ และเยาวชน 31
สํานกั งานสงเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 5

ระดับความพึงพอใจ

ประเภท มาก มาก ปาน น้อย น้อย
ทีสุด (4) กลาง (2) ทีสุด

(5) (3) (1)

ด้านหลักสูตร

10. การนําเสนอเนื อหาอย่างเป็นลําดับ

ขันตอนและมีความน่าสนใจ

11. การสง่ เสริมความรู้ความเข้าใจด้าน

กฎหมายและพรบ. (เด็กและเยาวชน)

12. การเชอื มโยงเนื อหาทีนําไปสูก่ าร

นําไปปฏิบัติอย่างเป็ นรูปธรรม

ด้านการนําไปใช้

13. สามารถนําความรู้ไปเผยแพร่และ

ถา่ ยทอดได้

14. สามารถนําความรู้ทีได้รับไป

ประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติงานได้

15. สามารถนําความรู้ทีได้รบั ไปพฒั นา

และต่อยอดกับการปฏิบัติงานได้

ข้อเสนอแนะเพิมเติม
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..................................................................................................................
..............................................................................

ขอขอบคุณในความร่วมมือทีท่านได้เสียสละเวลาให้ข้อมลู ทีเป็นประโยชน์

โครงการพฒั นาศักยภาพการทํางานหนวยงาน พม. ดา นเด็กและเยาวชน 32
สํานักงานสงเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 5

ภาพกจิ กรรม

โครงการพัฒนาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดา นเด็กและเยาวชน 33
สาํ นักงานสงเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 5

ภาพกิจกรรม

โครงการพฒั นาศักยภาพการทํางานหนวยงาน พม. ดานเดก็ และเยาวชน 34
สํานักงานสงเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 5

ภาพกิจกรรม

โครงการพฒั นาศักยภาพการทํางานหนวยงาน พม. ดานเด็กและเยาวชน 35
สาํ นกั งานสงเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 5

เอกสารอ้างอิง
กัลยาณมิตร.จริต6 (อปุ นิสัย 6 ประการ)(ออนไลน์) สืบค้น
จาก www.kalyanamitra.org/th/article_detail.php?i=15408
(17 พฤษภาคม 2561)
กระตุกต่อมคดิ เพือพัฒนาความคดิ เพิมความรู้ สร้างสรรคภ์ มู ิ
ปัญญา.เด็กกับเทคโนโลยี ความพอดีอยู่ทีไหน(ออนไลน)์ สืบค้นจาก
www.okmd.or.th/bbl/documents/699/(17 พฤษภาคม2561)

โครงการพฒั นาศักยภาพการทํางานหนว ยงาน พม. ดา นเด็กและเยาวชน 36
สาํ นักงานสงเสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 5


Click to View FlipBook Version