The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการความรู้ชุมชนเข้มแข็ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การจัดการความรู้ชุมชนเข้มแข็ง

การจัดการความรู้ชุมชนเข้มแข็ง



คานา

สํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 จังหวัดนครราชสีมา เป็นราชการส่วนกลาง ท่ีต้ังอยู่ใน
สว่ นภมู ภิ าค โดยมอี ํานาจหน้าท่ีในการพัฒนาการด้านวิชาการเกี่ยวกบั การพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ให้สอดคล้องกันพื้นท่ีและเป้าหมาย พร้อมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านวิชาการ องค์ความรู้ข้อมูล
สารสนเทศ ให้คําปรึกษาแนะนําแก่หน่วยงานบริการกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ให้บริการในความรับผิดชอบ
ของกระทรวง รวมทั้งองค์ปกครองส่วนท้องถ่ินหน่วยงานที่เก่ียวข้อง องค์กรภาคเอกชน และประชาชน
นอกจากนี้ สสว.4 ได้ขับเคลื่อนการดําเนินงานโครงการศูนย์บริการวิชาการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการ
สังคมในระดบั พืน้ ท่ี เพื่อแลกเปลย่ี นความรู้ดา้ นการพัฒนาสงั คมและการจัดสวสั ดกิ ารสังคมที่จะส่งผลให้เกิด
การปรบั เปล่ยี นวิธีการทํางานและพัฒนางานด้านการพัฒนาสังคมท่ีสามารถตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลง
และลดความเหลื่อมลํ้าของสังคม เพ่ือให้ผู้สนใจได้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้ และสามารถนําไป
ประยุกต์ใช้ในหน่วยงานได้ และหน่วยงานมีระบบในการบริหารการเรียนรู้ เพ่ือรองรับการเป็นองค์กรแห่ง
การเรียนรู้และเพ่ือให้เกิดการถอดบทเรียนความสําเร็จและจัดการองค์ความรู้ในพ้ืนท่ีต้นแบบที่สามารถ นํา
องคค์ วามรไู้ ปประยกุ ต์ใชใ้ นพื้นท่ีอื่นได้

สํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 มีบทบาทในการขับเคลื่อนการดําเนินงานบูรณาการ
สร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ร่วมกับ สํานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดทีม.พม.จังหวัด
(One.Home) ในการสนับสนุนการดําเนินงานการวิเคราะห์ข้อมูลและสังเคราะห์ปัญหาในระดับพ้ืนท่ี
เพ่ือพัฒนาพื้นที่ต้นแบบในการแก้ไขปัญหาความยากจนเชิงบูรณาการโดยร่วมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ
ภาคเอกชน และประชาสังคม เพ่ือให้ชุมชนสามารถจัดการตนเองทั้งด้านข้อมูล แผนบริหารจัดการ กลไก
ขับเคลื่อนทุนทางสังคมได้อย่างมีคุณภาพ ซ่ึงส่งผลให้ชุมชนมีเศรษฐกิจที่ดี ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง
มั่นคง ยั่งยืน ชุมชนมีภูมิต้านทานต่อปัจจัยกระทบต่างๆ ภายใต้การบูรณาการความร่วมมือและสนับสนุน
ของภาคีเครือข่ายและภาคส่วนต่างๆ ทางสังคม ซึ่งการขับเคลื่อนสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง จะดําเนินการ
ในพ้ืนที่ทั้ง 76 จังหวัด โดยสํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการการ 4 จะดําเนินการในเขตรับผิดชอบ
ไดแ้ ก่ จงั หวัดนครราชสีมา จังหวดั ชัยภมู ิ จังหวัดบรุ รี ัมย์ จังหวดั สุรินทร์ จังหวดั ศรสี ะเกษ และจงั หวัดยโสธร

สํานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 4
สํานักงานปลดั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์

กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์
ปีงบประมาณ พ.ศ.2564



สารบัญ

เรื่อง หนา้

คานา ก
สารบญั ข
บทท่ี 1 1
ความเป็นมา 2
แนวความคดิ 3
บทท่ี 2 5
นิยามศัพทท์ สี่ ําคญั 11
บทท่ี 3
การขบั เคลื่อนการบรู ณาการสรา้ งเสริมชุมชนเข้มแข็ง 15
บทที่ 4
สรปุ ผลการถอดบทเรยี นการดาํ เนินงานโครงการบรู ณาการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเข้มแขง็ 19
ตาํ บลโนนแดง อาํ เภอโนนแดง จังหวดั นครราชสมี า
บทท่ี 5 22
สรปุ ผลการถอดบทเรียนการดาํ เนินงานโครงการบูรณาการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แขง็
ตําบลโนนสาํ ราญ อําเภอเมืองชัยภมู ิ จงั หวดั ชัยภูมิ 26
บทท่ี 6
สรปุ ผลการถอดบทเรยี นการดาํ เนินงานโครงการบูรณาการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็ง 29
ตําบลตาจง อาํ เภอละหานทราย จังหวัดบุรีรัมย์ 33
บทท่ี 7 38
สรุปผลการถอดบทเรยี นการดําเนนิ งานโครงการบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แขง็ 39
ตาํ บลตะเคียน อําเภอกาบเชงิ จงั หวัดสุรนิ ทร์
บทท่ี 8
สรปุ ผลการถอดบทเรยี นการดําเนินงานโครงการบรู ณาการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แข็ง
ตาํ บลจานแสนไชย อําเภอหว้ ยทับทนั จังหวดั ศรีสะเกษ
บทท่ี 9
สรุปผลการถอดบทเรยี นการดาํ เนินงานโครงการบูรณาการสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแขง็
ตาํ บลบากเรอื อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
บทที่ 10 การวเิ คราะห์
บทท่ี 11 การนาไปใช้ประโยชน์
ทป่ี รกึ ษาและคณะผจู้ ดั ทา

บทที่ 1

1.1 ความเปน็ มา
1.1.1 ยทุ ธศาสตร์ นโยบาย และแผนทเี่ กี่ยวข้อง
1) รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 ประกาศ ณ 6 เมษายน พ.ศ.2560 มาตรา.43.

บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิ (1) อนุรักษ์ ฟื้นฟู.หรือส่งเสริมภูมิปัญญาศิลปวัฒนธรรมขนบธรรมเนียม และ
จ า รี ต ป ร ะเ พณี อั น ดี งา ม ของท้ องถ่ิ น แล ะของช า ติ . (4 ). จั ด ให้ มี ร ะบ บ ส วั ส ดิ กา ร ของชุ มช น ม า ต ร . 7 1 .
รัฐพึงเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวอันเป็นองค์ประกอบพื้นฐานท่ีสาคัญของสังคมจัดให้ประชาชน
มีท่ีอยู่อาศัยอย่างเหมาะสม ส่งเสริมและพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพที่แข็งแรง
และมีจิตใจเข้มแข็ง รวมตลอดทั้งส่งเสริมและพัฒนาการกีฬาให้ไปสู่ความเป็นเลิศและเกิดประโยชน์สูงสุด
แกป่ ระชาชน รฐั พงึ ส่งเสรมิ และพฒั นาทรัพยากรมนุษยใ์ ห้เป็นพลเมอื งทีด่ มี คี ณุ ภาพและความสามารถสูงขึ้น
รัฐพงึ ใหค้ วามช่วยเหลือเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการผู้ยากไร้ และผู้ด้อยโอกาส ให้สามารถดารงชีวิต
ได้อย่างมีคุณภาพ และคุ้มครองปูองกันมิให้บุคคลดังกล่าวถูกใช้ความรุนแรงหรือปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม
รวมตลอดทั้งให้การบาบัด ฟ้ืนฟูและเยียวยาผู้ถูกกระทาการดังกล่าวในการจัดสรรงบประมาณรัฐพึงคานึงถึง
ความจาเป็นและความตอ้ งการท่แี ตกต่างกนั ของเพศ วยั และสภาพของบุคคล ทั้งน้ี เพอื่ ความเปน็ ธรรม

2) ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) กาหนดวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความ
มั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
หรอื เป็นคตพิ จน์ ประจาชาติว่า “มั่นคง มง่ั คั่ง ยงั่ ยืน” โดยยุทธศาสตร์ที่เก่ียวข้องกับกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม และแผนการปฏิรูปประเทศด้านสังคม
เป็นหนึ่งใน 11 ด้านของการปฏิรูปประเทศ ได้สรุปประเด็นหลักท่ีต้องดาเนินการปฏิรูปใน 5 เร่ือง ได้แก่
1) การออม สวัสดกิ ารและการลงทนุ เพ่ือสงั คม 2) การช่วยเหลือและเพ่ิมขีดความสามารถกลุ่มผู้เสียเปรียบ
ในสังคม 3) การจัดการข้อมูลและองค์ความรู้ทางสังคม 4) การพัฒนาระบบสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง และ
5) การสร้างการมีส่วนร่วม การเรียนรู้ การรับรู้ และการส่งเสริมกิจกรรมทางสังคม นอกจากนี้ นโยบาย
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ได้ให้ความสาคัญกับการพัฒนาระบบสวัสดิการสังคม
การบูรณาการทางานร่วมกันภายในกระทรวงและภาคีเครือข่าย การพัฒนาทักษะบุคลากร การพัฒนา
ระบบฐานขอ้ มลู และการสง่ เสรมิ สนบั สนุนการทางานของภาคีเครอื ข่ายในพน้ื ที่

3) แผนการปฏริ ูปประเทศการปฏริ ปู ประเทศด้านสังคม เป็นหน่ึงใน.11.ด้านของการปฏิรูปประเทศ
ซ่ึงคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านสังคม พบประเด็นหลักที่ต้องได้เร่งดาเนินการปฏิรูป ใน 5 เรื่องสาคัญ
ได้แก่ 1) การออม สวัสดิการและการลงทุนเพื่อสังคม.2).การช่วยเหลือและเพิ่มขีดความสามารถ
กลุม่ ผูเ้ สียเปรียบในสังคม 3) การจัดการขอ้ มูลและองคค์ วามร้ทู างสงั คม 4). การพัฒนาระบบสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
และ 5) การสร้างการมสี ว่ นร่วม การเรยี นรูก้ ารรับรู้ และการส่งเสริมกิจกรรมทางสังคม

4) นโยบายกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ให้ความสาคัญกับการยกระดับ
คุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางให้หลุดพ้นจากความเปราะบาง ตลอดจนยกระดับการทางานของกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ จากการดูแล/ช่วยเหลือรายบุคคลเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต
กลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน.เนื่องด้วยการแก้ปัญหาดังกล่าวจาเป็นต้องอาศัยการแก้ปัญหาในระดับ
ครัวเรอื นและพัฒนาคุณภาพชีวติ ในทกุ มิติไปพร้อมกนั ท้งั มิติสงั คม เศรษฐกจิ สุขภาพ และสภาพแวดล้อม

2

โดยจาเป็นต้องอาศัยการบูรณาการการทางานจากทุกภาคส่วนร่วมกันขับเคลื่อนภารกิจ .ในการพัฒนา
คุณภาพชีวิตกลุม่ เปราะบางให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จึงได้จัดทาโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง
รายครวั เรือนเพ่อื ใหห้ นว่ ยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ใช้เป็นแนวทาง
ในการพฒั นาคุณภาพชวี ิตกลุ่มเปราะบางรายครวั เรอื นใหม้ ีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน บรรเทาภาวะของความเปราะบาง
และสามารถดารงชีวิตดว้ ยตนเองไดอ้ ย่างย่งั ยนื

1.2 แนวความคิด
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11.(สสว.1.-.11).เป็นส่วนราชการส่วนกลาง

ที่ตั้งอยู่ในส่วนภูมิภาค มีอานาจหน้าท่ีในการพัฒนางานด้านวิชาการเก่ียวกับการพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษย์ ให้สอดคล้องกับพ้ืนท่ีและเปูาหมาย ส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านวิชาการองค์ความรู้
ข้อมูลสารสนเทศให้คาปรึกษาแนะนาแก่หน่วยงานบริการกลุ่มเปูาหมายในพื้นท่ีให้บริการในความรับผิดชอบ
ของกระทรวง รวมท้งั องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินหน่วยงานที่เกี่ยวข้ององค์กรภาคเอกชนและประชาชน ศึกษา
วิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อมเพ่ือคาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ทางสังคมและผลกระทบ
รวมท้ังให้ข้อเสนอแนะการพัฒนาสังคมและการจัดทายุทธศาสตร์ในพื้นที่กลุ่มจังหวัด สนับสนุนการนิเทศงาน
ตดิ ตามประเมนิ ผลการดาเนนิ งานเชิงวิชาการตามนโยบายและภารกิจของกระทรวงในพื้นที่กลุ่มของจังหวดั

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ได้มอบหมายให้สานักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 1.-.11.เป็นกลไกขับเคล่ือนนโยบายและวิชาการจากส่วนกลางไปสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่
ให้เป็นรูปธรรมจึงได้พัฒนาศูนย์บริการวิชาการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคมให้เป็นศูนย์กลาง
การพัฒนาศักยภาพคน การจัดการองค์ความรู้ การให้คาปรึกษาวิชาการที่ครบวงจร เป็นหน่วยเคล่ือนท่ี
ทางวิชาการเชิงรุกเพ่ือส่งเสริมสนับสนุนวิชาการแก่หน่วยงานทุกกลุ่มเปูาหมายในความรับผิดชอบ
ของกระทรวง อาสาสมคั ร และภาคีเครือข่ายที่เก่ียวข้อง เพ่ือให้เกิดการขับเคลื่อนงานด้านการพัฒนาสังคม
และจัดสวัสดิการสังคม ที่เป็นระบบและเหมาะสมกับบริบทพื้นที่ รวมทั้งพัฒนาให้มีแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ
เพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้พัฒนาการจัดบริการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม ส่งผลให้เกิดการพัฒนา
วิธีการทางานทั้งเชิงมิติพื้นท่ี เชิงประเด็น และเชิงกลุ่มเปูาหมายอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากขึ้น
สอดคล้องรับกับสถานการณส์ งั คมวิถีใหมโ่ ดยไม่ทงิ้ ใครไวข้ ้างหลงั

สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 - 11 มีบทบาทในการขับเคล่ือนการดาเนินงาน
บูรณาการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเข้มแขง็ รว่ มกับ สานักงานพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์จังหวัด ทีม.พม.จังหวัด.
(One.Home).ในการสนับสนุนการดาเนินงานการวิเคราะห์ข้อมูลและสังเคราะห์ปัญหาในระดับพ้ืนที่
วิเคราะหข์ อ้ มลู ปัญหาในชุมชนและจดั ทาแผนพัฒนาร่วมกับชุมชน มีกลไก คือ คณะทางานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
ในพ้ืนที่เปูาหมาย ร่วมกันกาหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาและจัดทาแผนการช่วยเหลือ/แผนพัฒนา
คุณภาพชีวิตรายครัวเรือนในพ้ืนที่ชุมชนเข้มแข็ง เพ่ือพัฒนาพื้นที่ต้นแบบในการแก้ไขปัญหาความยากจน
เชิงบูรณาการโดยร่วมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาสังคม เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการตนเอง
ทั้งด้านข้อมูล แผนบริหารจัดการ กลไกขับเคล่ือนทุนทางสังคมได้อย่างมีคุณภาพ ซ่ึงส่งผลให้ชุมชน
มีเศรษฐกิจท่ีดี ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง มั่นคง ยั่งยืน ชุมชนมีภูมิต้านทานต่อปัจจัยกระทบต่างๆ
ภายใต้การบูรณาการความร่วมมอื และสนบั สนนุ ของภาคเี ครอื ขา่ ยและภาคสว่ นตา่ งๆ ทางสงั คม ซ่ึงการขับเคล่ือน
การสร้างเสริมชุมชนเขม้ แขง็ จะดาเนนิ การในพน้ื ทที่ ั้ง 76 จังหวัด โดยสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4
จะดาเนินการในเขตรับผิดชอบ ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์
จังหวดั ศรสี ะเกษ และจงั หวดั ยโสธร

3

บทท่ี 2
นยิ ามศพั ท์ท่ีสาคัญ

2.1 ชุมชนเข้มแข็ง หมายถึง ชมุ ชนท่ีสามารถจัดการกันเองทั้งด้านข้อมูล แผนบริหารจัดการ
กลไกขับเคลอ่ื นทุนทางสังคมได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ส่งผลให้ชมุ ชนมีเศรษฐกิจดี ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง
มั่นคง ยั่งยืน ชุมชนมีภูมิต้านทานต่อปัจจัยกระทบต่างๆ ภายใต้การบูรณการความร่วมมือและสนับสนุน
ของภาคเี ครือข่ายและภาคสว่ นต่างๆ ทางสังคม

2.2 การบูรณาการความร่วมมือและสนับสนุนของภาคีเครือข่าย หมายถึง การประสาน
ความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม เพ่ือสนับสนุนให้ชุมชนแก้ไขปัญหาและ
พฒั นาชุมชนอยา่ งมเี สรภี าพตามสทิ ธิและหน้าท่ีของชุมชนที่มีเปูาหมายหลักในการตอบสนองความต้องการ
ร่วมกันของประชาชน โดยสอดคล้องกับวิถีการดาเนินชีวิต ค่านิยม ประเพณี และทัศนคติของบุคคล
ใ น ชุ ม ช น . เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ ชุ ม ช น ร่ ว ม มื อ . ร่ ว ม ด า เ นิ น ก า ร . ติ ด ต า ม ป ร ะ เ มิ น ผ ล แ ล ะ ร่ ว ม รั บ ผิ ด ช อ บ
หรอื ร่วมใช้ประโยชน์จากการดาเนนิ งาน

2.3 บทบาทหนา้ ท่ีของกระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์ (พม.)
มีส่วนในการสนับสนุนให้เกิดคณะทางาน และเกิดการประชุมหรือทาประชาคมร่วมกัน

รวมทั้งสนับสนุนข้อมูลต่างๆ และวางระบบรูปแบบการจัดเก็บข้อมูล วิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลและ
จัดเวทปี ระชาคม เพือ่ แก้ไขปัญหารว่ มกันในพืน้ ท่แี ละไม่ได้มีกฎหมายกาหนดเปน็ ทางการแตเ่ ป็นภารกิจงาน

2.4 บทบาทของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ หมายถึง มีบทบาทเป็นผู้แทน
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในการขับเคล่ือนและสนับสนุนการดาเนินงาน
การวิเคราะห์ข้อมูลและสังเคราะห์ปัญหาในระดับพื้นที่และบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง เพื่อพัฒนา
พื้นที่ตน้ แบบและขยายผลต่อไป

2.5 แผนการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง หมายถึง แผนบูรณาการระหว่างหน่วยงาน
ภาคีเครือข่ายด้านสังคมในระดับพื้นที่ เพ่ือปูองกัน แก้ไข ฟ้ืนฟู และพัฒนาปัญหาด้านสังคมในระดับพ้ืนที่
นาสกู่ ารพัฒนาให้เกดิ ชุมชนเขม้ แขง็ มน่ั คงและยง่ั ยนื

2.6 พื้นท่ีเป้าหมาย (ชุมชน) หมายถึง พ้ืนท่ีในระดับชุมชน ท่ีผ่านการคัดเลือกโดยการประชุม
ทมี One.Home.จังหวดั โดยท่ีสานกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11.จัดทาข้อเสนอข้อมูลสถานการณ์
วเิ คราะห์ข้อมลู จากฐานข้อมลู TPMAP (ระบบบริหารจัดการข้อมูลการพฒั นาคนแบบชี้เปูา).วิเคราะห์ข้อมูล
ตามระบบ.TPMAP.5.ดา้ น ดังน้ี 1) ดา้ นสุขภาพ 2) ด้านการศกึ ษา 3) ด้านรายได้ 4) ด้านความเป็นอยู่ และ
5) ด้านการเขา้ ถึงบรกิ ารรัฐ.เพ่ือจาแนกครัวเรอื นเปาู หมายระดบั ชมุ ชนเปน็ 3 ระดับ เขยี ว เหลือง แดง

2.7 ภาคีเครือข่าย หมายถึง กลุ่มบุคคลในชุมชน ซ่ึงรวมตัวกันด้วยความสมัครใจ
เป็นอาสาสมัครทางานด้านสังคมในชุมชนนั้นๆ ได้แก่ อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
(อพม.) สภาเด็กและเยาวชน กลุ่มสตรี กลุ่มผู้สูงอายุ อาสาสมัครแรงงาน (อสร.) และอาสาสมัคร
สาธารณสขุ (อสม.)

2.8 กลไก วิธีการทางาน หมายถึง กระบวนการทางานเพื่อเชื่อมโยงกันระหว่างหน่วยงาน
ในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์ (พม.) และหนว่ ยงานภาคีเครือข่ายที่เก่ียวข้อง
ในการขบั เคลื่อนงานร่วมกนั เพื่อนาไปสเู่ ปาู หมายท่ีกาหนด

4

2.9 Thai People Map and Analytics Platform (TPMAP) คือ ระบบบริหารจัดการ
ข้อมลู การพฒั นาคนแบบชีเ้ ปูา (Thai People Map and Analytics Platform) ซึ่งได้รับการพัฒนาต่อยอด
จากระบบบริหารจัดการข้อมูลคนจนแบบชี้เปูา ( Thai.Poverty.Map.and.Analytics.Platform)
ให้สามารถครอบคลุมปัญหาท่ีกว้างข้ึน เช่น เด็กแรกเกิด การศึกษา ผู้สูงอายุ การพัฒนาสภาพที่อยู่อาศัย
โดยยังคงความสามารถของระบบเดิมในการช้ีเปูาความยากจนไว้ ด้วย.TPMAP.จึงสามารถใช้ระบุปัญหา
ความยากจนในระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชน ท้องถิ่น/ท้องท่ี จังหวัด ประเทศ หรือปัญหาความยากจน
รายประเด็น ซึ่งทาให้การแก้ปัญหาตรงกับกลุ่มเปูาหมายมากข้ึนและสามารถออกแบบนโยบาย โครงการ
ในการแก้ปญั หาให้ตรงกับความต้องการหรอื สภาพปญั หาได้

หลักการทางานของ.TPMAP.คืออาศัยข้อมูลจากหลายแหล่งมายืนยันซึ่งกันและกัน
โดยในปัจจุบันใช้สมมติฐานว่าคนท่ีได้รับการสารวจว่าจน (survey-based) และยังมาลงทะเบียนว่าจนอีกด้วย
(register-based).น่าจะเป็นคนจนเปูาหมายท่ีต้องการความช่วยเหลือเร่งด่วน ดังน้ัน.TPMAP.จึงต้ังต้น
โดยใช้ข้อมูลความจาเปน็ พืน้ ฐาน.(จปฐ.) จากกรมการพฒั นาชุมชน และขอ้ มูลผู้ลงทะเบียนสวัสดิการแห่งรัฐ
จากกระทรวงการคลัง มายืนยันซ่ึงกันและกัน หรืออีกนัยหนึ่ง "คนจนเปูาหมาย" ใน.TPMAP.ก็คือคนจน
ใน จปฐ. ท่ไี ปลงทะเบยี นสวัสดิการแหง่ รัฐ

TPMAP.ใช้วิธีการคานวณดัชนีความยากจนหลายมิติ (Multidimensional.Poverty.Index:.MPI).ซึ่งคิดค้นโดย
Oxford.Poverty & Human Development Initiative และUnited Nation Development Programmer
ซ่ึง สศช. ได้นามาปรับใช้กับประเทศไทย โดยดัชนีความยากจนหลายมิติ หรือ.MPI.อาศัยหลักการท่ีว่า
คนจนคือผู้ท่ีมีคุณภาพชีวิตต่ากว่าเกณฑ์คุณภาพชีวิตท่ีดีในมิติต่างๆ ซ่ึง.TPMAP.พิจารณาจาก 5 มิติ ได้แก่
ด้านสขุ ภาพ ดา้ นการศึกษา ด้านการเงิน ดา้ นความเปน็ อยู่ และด้านการเขา้ ถงึ บริการ

5

บทที่ 3
การขับเคล่อื นการบูรณาการสรา้ งเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง

3.1 วตั ถุประสงค์
1. เพ่อื สนบั สนนุ ให้ชมุ ชนแก้ปัญหาและพัฒนาอย่างมีเสรภี าพ
2. เพือ่ พัฒนาศักยภาพกลุม่ เปาู หมายและเครือขา่ ยในพ้ืนที่
3. เพื่อบรู ณาการความรว่ มมือให้เกิดกิจกรรมในการพัฒนากล่มุ เปูาหมายให้ชว่ ยตนเองได้
4. เพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ประสบปัญหารายครัวเรือนให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน โดยคานึงถึง

การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ในทุกมติ ิ ท้ังมิติเศรษฐกจิ สังคม สุขภาพ และสภาพแวดล้อม

3.2 เป้าหมาย
1. ภาคีเครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาสังคมในพ้ืนท่ี 6 จังหวัดในเขตรับผิดชอบ

ของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์
จังหวดั สรุ ินทร์ จงั หวดั ศรีสะเกษ และจงั หวัดยโสธร

2. กลุ่มเปูาหมายผู้ประสบปัญหาความยากจนรายครัวเรือนจานวน 6.พ้ืนท่ี ใน 6 จังหวัดในเขต
รบั ผิดชอบของสานักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ.4

3. บุคลากรสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ทีม พม.จังหวัด (One.Home).
ในพืน้ ท.ี่ 6.จังหวัดในเขตรบั ผิดชอบของสานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4

3.3 พน้ื ที่ดาเนนิ การของสานกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4 จานวน 6 พน้ื ที่ ได้แก่
1. ตาบลโนนแดง อาเภอโนนแดง จังหวัดนครราชสมี า
2. ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมืองชัยภมู ิ จงั หวดั ชยั ภมู ิ
3. ตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จงั หวดั บรุ รี ัมย์
4. ตาบลตะเคียน อาเภอกาบเชิง จงั หวัดสุรินทร์
5. ตาบลจานแสนไชย อาเภอหว้ ยทับทัน จังหวัดศรสี ะเกษ
6. ตาบลบากเรือ อาเภอมหาชนะชัย จังหวดั ยโสธร

3.4 กระบวนการดาเนินงาน ดังน้ี
3.4.1 กระบวนการท่ี 1
1) การคดั เลอื กพน้ื ทแ่ี ละการกาหนดแผนบูรณาการ
1.1) สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 จัดประชุมเพ่ือช้ีแจงสร้างความเข้าใจ

แนวทางในการดาเนินงานการขับเคล่ือนการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ให้กับ ทีม.พม..จังหวัด.(One.Home).
ในพื้นท่ีรบั ผิดชอบ

1.2) ทีม พม.จังหวัด.(One.Home).ร่วมกาหนดพ้ืนที่สร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งและกาหนด
ขอบเขตในการศกึ ษาชุมชน

1.3) ร่วมกาหนดแผนบูรณาการของทมี พม. จงั หวดั (One Home)

2) เกณฑก์ ารคัดเลือกพน้ื ท่ี
2.1) พ้ืนที่ทีม่ เี ครอื ข่ายทางสังคมทเี่ ข้มแข็ง

6

2.2) เป็นพื้นท่ีบูรณาการตามภารกิจหลัก / ยุทธศาสตร์ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมน่ั คงของมนษุ ยข์ องทมี พม. จงั หวัด (One Home) ดงั นี้

2.2.1) การเสรมิ สรา้ งชมุ ชนเข้มแข็ง
2.2.2) การพฒั นาแกนนาสภาเด็กและเยาวชน ให้มที ักษะในศตวรรษที่ 21
2.2.3) การพัฒนากลุ่มเปาู หมายด้านสตรีและครอบครัว
2.2.4) การพฒั นาและส่งเสริมให้ผู้ประสบภาวะยากลาบากและไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้
2.2.5) การเตรียมความพร้อมด้านความรู้ ความเข้าใจของประชากร ก่อนวัยสูงอายุ
(อายุ 25-59 ปี)
2.2.6) การทาให้คนพิการท่ีตกหล่นและไม่ได้รับสิทธิ/สวัสดิการจากรัฐได้รับสิทธิ /
สวสั ดิการจากการมีบตั รประจาตวั คนพกิ าร
2.2.7) การพฒั นาตาบลต้นแบบชุมชนเขม้ แข็งของสถาบนั พัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.)
2.3) พืน้ ทเ่ี ปาู หมายในการดาเนินการ ตอ้ งไมซ่ า้ กบั พื้นที่ตาบลสร้างสขุ (Social Smart City) ในปี 2563
2.4) เป็นพื้นท่ีท่ีมีแผนพัฒนาชุมชนท้องถ่ิน โดยต้องมีแผนพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม
สิ่งแวดล้อมสขุ ภาพ การพฒั นาคนในชุมชน เป็นตน้

3) ผลทไี่ ด้รบั พน้ื ทีเ่ ปาู หมายอย่างน้อย 1 ชุมชน ตอ่ 1 จงั หวัด รวม 76 ชมุ ชน / 76 จังหวัด

3.4.2 กระบวนการท่ี 2 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู เพอ่ื จัดทาแผน
1) การกรองข้อมูล เพื่อค้นหาครัวเรือนเปูาหมายที่ประสบปัญหาเพ่ือกาหนดครัวเรือน

เปูาหมายทีจ่ ะช่วยเหลอื และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ โดยใชข้ อ้ มลู จากแหลง่ ข้อมูลตา่ งๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ไดแ้ ก่
1.1).ฐานข้อมลู ในระบบของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ได้แก่
- ระบบริหารจดั การข้อมลู การพัฒนาคนแบบช้ีเปูา.(Thai.people.Map.and.Analysis

Platform : TPMAP)
- ผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม (เงนิ อดุ หนนุ 11 ระเบยี บ)
- Social Map
-.ข้อมูลในพื้นท่ีโดยการชี้เปูาจาก ผู้นาชุมชนและอาสาสมัครพัฒนาสังคมและ

ความมนั่ คงของมนุษย์
2) การวิเคราะห์ขอ้ มลู
2.1) สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 – 11 จัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคม

ของพน้ื ทเี่ ปาู หมาย
2.2) ประสานชุมชนเพื่อศึกษาข้อมูลพ้ืนฐาน วิเคราะห์ประเด็นปัญหาทางสังคมในระดับชุมชน

ศึกษาข้อมูลกลุ่มเปูาหมายรายครัวเรือน และข้อมูลการให้ความช่วยเหลือของทีม.พม..จังหวัด (ทีม One.Home)
และนาข้อมูลกลุ่มเปูาหมายรายครัวเรือน มาวิเคราะห์ตามระบบ.TPMAP.5.ด้าน ดังนี้ 1) ด้านสุขภาพ
2) ด้านการศึกษา 3) ด้านรายได้ 4) ดา้ นความเปน็ อยู่ และ 5) ด้านการเขา้ ถึงบริการรัฐเพ่ือจาแนกครัวเรือน
ระดบั ชมุ ชน เปน็ 3 ระดบั (เขียว ตกเกณฑ์ = 1 ดา้ น, เหลือง = ตกเกณฑ์ 2 - 3 ดา้ น , แดง = ตกเกณฑ์ 4 – 5 ดา้ น

2.3) กาหนดครวั เรอื นเปาู หมายท่ีจะพัฒนา ไม่นอ้ ยกวา่ 35 ครัวเรอื น ในปี 2564
2.4) ประสานคณะทางานสร้างเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง จดั ทาแผนสรา้ งเสริมชุมชนเข้มแขง็ ระยะ 3 ปี
(2564 - 2566) ระบุจานวนพื้นที่ และเปาู หมายแล้วเสรจ็ ในภาพรวม

7

3.4.3 กระบวนการที่ 3 กลไกการขบั เคลื่อนสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
มีกลไกการขบั เคลอื่ นงานใน 2 ระดับ ดังนี้
1) ระดับจังหวัด ให้ใช้ คณะกรรมการแก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการจังหวัด

(สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด เป็นคณะกรรมการและเลขานุการ โดยสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์จงั หวดั รว่ มเป็นคณะกรรมการ)

2) ระดับชุมชน สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 ประสานสานักงานพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด ร่วมกับทีม พม. จังหวัด (One.Home) และภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในพื้นท่ี
จัดประชุมเพือ่ ช้ีแจงแนวทางการขบั เคล่ือนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแขง็ ในพื้นที่ชมุ ชนเปูาหมายทีค่ ัดเลือกไว้

2.1) นาเสนอข้อมูลพื้นฐานทางสงั คม / รายงานสถานการณ์ทางสงั คมของพืน้ ท่ีเปูาหมาย
2.2) นาเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู จาก.TPMAP
2.3) พิจารณาแต่งตั้งคณะทางานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง (สานักงานพัฒนาสังคมและ
ความม่นั คงของมนษุ ยจ์ งั หวัด เสนอให้ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ลงนามแต่งตงั้ )
องคป์ ระกอบ
1) นายอาเภอ (ท่ีปรกึ ษา)
2) หวั หน้าหนว่ ยงาน One Home พม. ในจังหวัด (ท่ปี รกึ ษา)
3) ผู้อานวยการสานกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ (ท่ีปรกึ ษา)
4) นายกเทศมนตรี / นายกองค์การบริหารส่วนตาบล (ประธานคณะทางาน)
5) ผู้แทนภาครัฐทเี่ กย่ี วขอ้ งในพ้ืนที่ (คณะทางาน)
6) ผู้แทนทอ้ งที่ / ทอ้ งถ่นิ ในพ้นื ท่ี (คณะทางาน)
7) ผู้แทนภาคประชาสังคม / ศาสนาทเ่ี ก่ียวข้องในพ้นื ท่ี (คณะทางาน)
8) ผู้แทนภาคเอกชนท่เี กีย่ วขอ้ งในพ้นื ท่ี (คณะทางาน)
9) ผแู้ ทนกลไกทีห่ นว่ ย พม. จัดต้ังในพ้นื ที่ (คณะทางาน)
10) ประธานอาสาสมคั รพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ตาบล (คณะทางาน)
11) เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่รับผิดชอบงานด้านสังคม (เลขานุการและ
คณะทางาน)
12) อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ท่ีได้รับการคัดเลือก (ผู้ช่วยเลขานุการ
และคณะทางาน)
หน้าที่
1) จัดทาแผนสรา้ งเสริมชมุ ชนเขม้ แขง็ ระยะ 3 ปี (2564 - 2566) และกาหนดแนวทางการบูรณาการ
2) ดาเนินการขบั เคลอื่ นกิจกรรมโครงการตา่ งๆ ภายใตก้ ารบรู ณาการทกุ มิติใหบ้ รรลเุ ปูาหมาย
3) ให้คาปรึกษา แนะนา ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานแก้ไขปัญหาและพัฒนาศักยภาพ
ภายใต้การมสี ่วนรว่ มของชุมชน
4) สรปุ และเสนอรายงานผลการดาเนนิ งาน
5) ดาเนินการอน่ื ๆ ตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

8

3.4.4 กระบวนการท่ี 4 บูรณาการดาเนนิ งานระดับพ้นื ที่
1) ทีมพม. จังหวดั (One.Home) จัดประชุมคณะทางานสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเข้มแขง็
1.1) เพ่ือนาเสนอข้อมูลจาก.TPMAP.5.ดา้ น (ดา้ นสุขภาพ/ดา้ นการศึกษา/ดา้ นรายได้/ด้านความเป็นอยู่/

ด้านการเข้าถึงบรกิ ารรฐั ).เพ่อื จาแนกครัวเรือนเปูาหมายระดับชุมชนเป็น 3 ระดับ (เขียว = ตกเกณฑ์ 1 ด้าน,
เหลอื ง = ตกเกณฑ์ 2-3 ดา้ น และแดง = ตกเกณฑ์ 4-5 ด้าน) และขอ้ มลู กลมุ่ เปาู หมายรายครวั เรอื น ที่ไม่ทับซ้อน
กับขอ้ มลู TPMAP ของพื้นทเี่ ปาู หมาย

1.2) ขอ้ มูลพื้นฐานทางสังคม และวเิ คราะห์ประเดน็ ปญั หาดา้ นสังคมที่นา่ สนใจ อาทิ การตั้งครรภ์
ไมพ่ ึงประสงค์, การดแู ลผสู้ งู อาย,ุ คนไทยตกหล่นไม่มีสถานะทางทะเบียน และความยากจน

1.3) ร่วมคัดเลือกครัวเรือนเปูาหมาย และจัดทาแผนสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง เพื่อแก้ไขปัญหา
ผปู้ ระสบปัญหาทางสงั คมรายครัวเรือน และพฒั นาศักยภาพชมุ ชน โดยใช้

1.3.1) แผนปฏิรูปด้านสงั คม 5 ประเดน็
- ประเด็นที่ 1 การออม สวัสดิการ และการลงทุนเพอ่ื สังคม
- ประเดน็ ท่ี 2 การช่วยเหลอื และเพม่ิ ขดี ความสามารถ กลมุ่ ผ้เู สียเปรียบในสงั คม
- ประเดน็ ท่ี 3 การจัดการขอ้ มลู และองคค์ วามรู้ทางสงั คม
- ประเด็นท่ี 4 การพฒั นาระบบสร้างชมุ ชนเขม้ แขง็
- ประเด็นท่ี 5 การสร้างการมีส่วนร่วม การเรียนรู้ การรับรู้และการส่งเสริม

กจิ กรรมทางสงั คม
1.3.2) แนวคดิ Productive Welfare (Case Manager / สมดุ พกครอบครัว)
1.3.3) แนวคดิ บวร (บา้ น, วัด, โรงเรียน)
1.3.4) แนวคดิ โคกหนองนาโมเดล
1.3.5) แนวคดิ การขจัดความยากจนแบบตรงเปาู หมาย กรณศี กึ ษาประเทศจีน (ดอื งัน ฮาตี)
1.3.6) แนวคดิ สวัสดิการสังคม 7 ด้าน (การศึกษา / สุขภาพอนามัย / ที่อยู่อาศัย /การทางาน

และการมรี ายได้ / ความมั่นคงทางสังคม / บริการสังคม / นันทนาการ)
2) คณะทางานสร้างเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แข็ง ดาเนินการตามแผนบูรณาการเพ่ือแก้ไขปัญหาผู้ประสบปัญหา

ทางสงั คมรายครัวเรือน และพัฒนาศกั ยภาพชมุ ชน รว่ มกนั ระหว่างภาคเี ครือขา่ ยทุกภาคส่วน
3) ทีม พม.จังหวัด (One.Home) และคณะทางานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ถอดบทเรียนและ

สรุปการดาเนนิ งาน พร้อมผลการแก้ไขปญั หา/พัฒนาศกั ยภาพ
4) สานกั งานสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ าการ ติดตาม นเิ ทศการดาเนินงานตามแผนสร้างเสรมิ ชมุ ชนเขม้ แข็ง
5) สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด รายงานผลการดาเนินงานสร้างเสริม

ชุมชนเข้มแข็ง (2 ส่วน ประกอบด้วย ผลการดาเนินงานพัฒนาศักยภาพชุมชน และผลการแก้ไขปัญหาของ
ประชาชนในชุมชน) ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด ประธานคณะกรรมการแก้ไขปัญหาความยากจน แบบบูรณาการจังหวัด
และสง่ รายงานผลการดาเนินงานฯ ให้สานกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ

6) สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-11 ถอดบทเรียนความสาเร็จการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง
ทุกชุมชนในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ และคัดเลือกพ้ืนท่ี Best.Practice.เขตละ 1 พื้นที่ พร้อมจัดทาข้อเสนอ
การสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง เพ่ือเป็นนโยบายขับเคล่ือนในชุมชนทั่วประเทศระยะต่อไป เสน อต่อ
รัฐมนตรวี ่าการกระทรวง พม.

9

3.4.5 กระบวนการท่ี 5 เกณฑ์การประเมิน
1) การบรู ณาการภารกจิ หลกั /ยุทธศาสตรข์ องกระทรวง พม. ในพ้ืนท่ีเป้าหมาย
1.1) การสรา้ งเสริมชมุ ชนเขม้ แขง็ (สป.พม.)
1.2) ร้อยละความสาเรจ็ ของแกนนาสภาเด็กและเยาวชนท่ีผ่านการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21

และสามารถขับเคลอ่ื นกิจกรรมพัฒนาสังคมได้ (ดย.)
1.3) ความสาเรจ็ ในการพฒั นาศกั ยภาพสตรแี ละครอบครัว โดยใช้ Learning Center

ของศูนยเ์ รยี นรูก้ ารพัฒนาสตรีและครอบครัว (สค.)
1.4) ความสาเร็จในการใช้ฐานข้อมูล เพ่ือใหก้ ลุ่มเปูาหมาย เขา้ ถงึ บรกิ ารทางสังคม (พส.)
1.5) ความสาเรจ็ ในการสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจ เรอ่ื งการเตรยี มความพร้อมก่อนวยั สูงอายุ (ผส.)
1.6) ร้อยละของคนพกิ ารทต่ี กหล่นและไมไ่ ดร้ บั สิทธิ/สวัสดิการจากรัฐ ได้รับสิทธิ/ สวัสดิการจาก

การมบี ตั รประจาตวั คนพกิ าร (พก.)
1.7) การพัฒนาตาบลต้นแบบชุมชนเข้มแข็งของสถาบันพฒั นาองคก์ รชุมชน (พอช.)

2) ขอบเขตการประเมิน : ประเมินผลจากผลการดาเนินงานตวั ชี้วดั ของทุกกรมและนามาคานวณ
เป็นค่าเฉล่ยี คะแนน ซง่ึ จะรบั คา่ คะแนนเท่ากนั ทุกกรม

- สตู รคานวณ ผลรวมการดาเนินงานของตวั ช้ีวดั หลักตามภารกจิ หลักของกระทรวง พม. X 100
7

3) เกณฑ์การประเมิน
- คะแนนท่ี 1 ร้อยละ 70 ของความสาเรจ็ ตามภารกจิ หลกั / ยุทธศาสตร์ของกระทรวง พม.
- คะแนนที่ 2 ร้อยละ 75 ของความสาเร็จตามภารกจิ หลัก / ยทุ ธศาสตรข์ องกระทรวง พม.
- คะแนนท่ี 3 ร้อยละ 80 ของความสาเรจ็ ตามภารกิจหลัก / ยุทธศาสตร์ของกระทรวง พม.
- คะแนนท่ี 4 รอ้ ยละ 85 ของความสาเรจ็ ตามภารกิจหลัก / ยทุ ธศาสตรข์ องกระทรวง พม.
- คะแนนท่ี 5 รอ้ ยละ 90 ของความสาเรจ็ ตามภารกิจหลัก / ยทุ ธศาสตรข์ องกระทรวง พม.

4) ระดับความสาเร็จในการสรา้ งเสริมชุมชนเขม้ แข็ง
4.1) ผลการดาเนินงานพัฒนาศักยภาพชมุ ชนของคณะทางานสร้างเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง
4.2) ผลการแก้ไขปัญหาของประชาชนในชมุ ชน

5) เกณฑ์การคัดเลอื ก Best Practice สสว. ละ 1 พ้ืนที่ รวม 11 พน้ื ที่
5.1) ครวั เรือนเปาู หมาย พิจารณาครวั เรือนทีพ่ น้ จากความยากจน พิจารณาจากเกณฑ์พ้ืนฐาน 6 ด้าน

และเกณฑ์อนื่ ๆ ประกอบตามบริบทของพ้นื ท่ตี ามความเหมาะสม ดงั น้ี
- ครัวเรือนมีอาชีพที่สร้างรายได้สูงข้ึนก่อนเข้าร่วมโครงการ และรายได้น้อยมากกว่ารายได้

ตามเสน้ ความยากจนของจังหวดั นน้ั ๆ
- ครัวเรือนมีท่ีอยู่อาศัยท่ีมั่นคง (อาศัยได้นานมากกว่า 5 ปีขึ้นไป) เหมาะสมตามสภาพ

ของสมาชกิ ในครัวเรือน เช่น ห้องนอน ห้องน้า ท่เี หมาะสมสาหรับเด็กหญิง/คนพิการ / ผู้สูงอายุ และมีเคร่ืองเรือน
เครอ่ื งใช้ เครือ่ งครัวทีจ่ าเปน็ อย่างเหมาะสมตามอตั ภาพ

10

- ครัวเรือนมีอาหารเพียงพอต่อการบริโภคทุกวัน และมีแหล่งอาหารสารองในครัวเรือน
ทเ่ี หมาะสมตามอตั ภาพ (เช่น แหลง่ อาหารโปรตีน และพืชผกั สวนครัว เป็นตน้ )

- ครัวเรอื นมีเครื่องนุ่งห่มที่เหมาะสมแก่อัตภาพ กรณีที่มีนักเรียน / นักศึกษา ต้องมีชุดนักเรียน
ครบตามท่ีสถาบนั การศกึ ษากาหนด และมีวัสดุอุปกรณก์ ารเรียนท่ีจาเป็นครบตามท่ีสถาบันการศึกษากาหนด /
ท่ีจาเป็นตอ้ งใช้เพื่อการศกึ ษา

- สมาชิกในครัวเรือนมีการจัดทาแผนการรักษา และดูแลสุขภาพตามอาการของโรค โดยมี
หนว่ ยงานด้านสาธารณสุขกากบั ดแู ลใหไ้ ด้รบั การรักษาพยาบาล และการดแู ลอย่างเหมาะสม

- สมาชิกในครัวเรือนได้รับการศึกษาข้ันพื้นฐาน และหรือได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้
ที่เป็นภูมิคมุ้ กันชีวติ ไดต้ ามสมควรแก่อตั ภาพ

5.2) มกี ารบนั ทกึ ขอ้ มลู ผลการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปัญหาทางสังคมรายครัวเรือนของหน่วยงานต่างๆ
ในระบบฐานข้อมลู TPMAP

5.3) พ้ืนที่ชุมชนเข้มแขง็
1) ชุมชนมีการจัดทาฐานขอ้ มลู ชมุ ชน
2) ชุมชนมกี ารจดั ทาแผน
3) ชุมชนมีกลไกการขบั เคลื่อนทนุ ทางสงั คม
4) ชุมชนได้รบั การแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจและสังคม

แผนผังกระบวนการขบั เคล่อื นงาน

11

บทท่ี 4
สรุปผลการถอดบทเรยี นการดาเนนิ งานโครงการบูรณาการสร้างเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็ง

ตาบลโนนแดง อาเภอโนนแดง จังหวัดนครราชสมี า

4.1 การวิเคราะหส์ ภาพปัญหาในพนื้ ที่
4.1.1 การยา้ ยถน่ิ ฐานคนในวัยทางาน คนหน่มุ สาวไปทางานในเมืองและตา่ งประเทศ
4.1.2 ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตรเพียงอย่างเดียว ทาให้ขาดรายได้ช่วงหลัง

เกบ็ เก่ยี วผลผลติ ทางการเกษตร
4.1.3 การย้ายถิ่นฐานไปทางานต่างจังหวัดของวัยทางาน ส่งผลให้ผู้สูงอายุอาศัยอยู่ตามลาพัง/ผู้สูงอายุ

ต้องเลีย้ งดหู ลานตามลาพัง/ผู้สูงอายุถกู ทอดทิ้ง
4.1.4 ประชาชนส่วนใหญ่ไม่สามารถรวมกลุ่มเพ่ือดาเนินการด้านเศรษฐกิจในรูปแบบของกลุ่มอาชีพ

ท่ีเข้มแข็งได้ เน่ืองจากต้องออกไปทางานนอกบ้าน ไม่มีความรู้ด้านอาชีพนั้นๆ ไม่มีทุนทรัพย์ในการลงทุน
เปน็ ตน้

4.1.5 เยาวชนท่ีจบการศึกษาแล้วต้องไปทางานในเมืองหรือต่างจังหวัด เนื่อง จากในพ้ืนท่ี
ไมม่ สี ถานประกอบกิจการขนาดใหญ่ และไมม่ ีโรงงานในพื้นท่ี

4.1.6 ไม่มตี ลาดรองรับสินค้าทางการเกษตรในพื้นที่ จงึ ต้องไปขายสนิ คา้ ในพืน้ ทขี่ ้างเคียง
4.2 การกรองข้อมูลครวั เรือนเปราะบาง

4.2.1 ฐานขอ้ มลู ทีน่ ามาวิเคราะห์
1) ขอ้ มลู ในระบบของตาบลสร้างเสริมสวสั ดิการสงั คมปี 2562-2563 (Social Map / Family Data /

เงนิ อุดหนุนของศูนยค์ มุ้ ครองคนไรท้ ีพ่ ึ่งจังหวัดนครราชสมี า / จปฐ. / บตั รสวัสดกิ ารแหง่ รัฐ) รวมจานวน 445 ราย
2) ขอ้ มลู ใน TP-Map จานวน 41 ราย
3) ผูน้ าชมุ ชนคน้ หาและเสนอเพิ่มเตมิ จานวน 65 ราย

4.2.2 คณะทางานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งจังหวัดนครราชสีมา ร่วมกันกรองข้อมูล เพ่ือให้ได้ครัวเรือน
เปราะบางทางสังคมท่ีเดือดร้อนต้องช่วยเหลือเร่งด่วน และช่วยเหลือตามภารกิจกระทรวง พม. จานวน 2 คร้ัง
(วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2564 และ วันท่ี 5 มนี าคม 2564)

1) ฐานข้อมลู ตาบลสร้างเสริมสวัสดิการสังคม จานวน 108 ราย
2) ข้อมูลใน TP-Map จานวน 9 ราย
3) ผ้นู าชมุ ชนคน้ หาและเสนอเพิม่ เตมิ จานวน 65 ราย
4.2.3 สรปุ การคัดกรองครวั เรือนเปราะบางทน่ี ามาแก้ไขปญั หารายครวั เรือนในพ้ืนที่ จานวน 35 ครัวเรือน
1) อยูใ่ นฐานข้อมูลตาบลสรา้ งเสริมสวสั ดิการสงั คม จานวน 24 ครวั เรือน
2) อยู่ในฐานข้อมลู ท่ผี ้นู าชุมชนเพ่มิ เตมิ จานวน 10 ครวั เรือน
3) อยู่ในฐานข้อมูลท้ังตาบลสร้างเสริมสวัสดิการสังคมและ TPMAP จานวน 1 ครัวเรือน (สาหรับ
ครัวเรือนจานวน 8 ราย ศูนย์คุ้มครองคนไร้ท่ีพ่ึงจังหวัดนครราชสีมา ช่วยเหลือตามภารกิจกระทรวง พม. คือ
เงนิ สงเคราะหค์ รอบครัวผมู้ ีรายได้น้อยและผ้ไู รท้ ่ีพ่งึ )

4.3 สภาพปญั หากลุ่มเปา้ หมายรายครัวเรือน
4.3.1 ดา้ นรายไดแ้ ละการมีงานทา จานวน 35 ครวั เรอื น
4.3.2 ด้านสุขภาพ จานวน 9 ครัวเรอื น

12

4.3.3 ดา้ นความเปน็ อยู่ (ท่ีอยู่อาศัย) จานวน 10 ครัวเรือน
4.3.4 ด้านการศึกษา จานวน 11 ครวั เรือน
4.3.5 ด้านการเข้าถงึ บรกิ ารของภาครัฐ (ไม่มี)

4.4 ผลการชว่ ยเหลอื รายครัวเรอื น
4.4.1 ดา้ นการมีงานทาและรายได้
1) เงินสงเคราะห์คนไร้ที่พ่ึงและผู้มีรายได้น้อย จานวน 35 ครัวเรือน โดย ศูนย์คุ้มครองคนไร้ท่ีพึ่ง

จงั หวัดนครราชสีมา
2) เงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจน จานวน 3 ครัวเรือน โดย สานักงานพัฒนาสังคมและ

ความมน่ั คงของมนุษย์จงั หวัดนครราชสมี า
3) เงินทุนประกอบอาชีพผู้พิการ จานวน 3 ครัวเรือน โดย สานักงานพัฒนาสังคมและ

ความมนั่ คงของมนษุ ย์จังหวัดนครราชสีมา
4).เมล็ดพันธุ์ผัก/ต้นพันธ์ุมะพร้าว/พันธุ์ไก่/พันธุ์ปลา จานวน 35 ครัวเรือน โดย สานักงาน

พัฒนาชมุ ชนอาเภอโนนแดง/สานักงานเกษตรอาเภอโนนแดง/สานักงานปศสุ ัตว์อาเภอโนนแดง
4.4.2 ด้านสขุ ภาพ
1) ดูแลสุขภาพผู้มีโรคประจาตัว/ผู้พิการติดเตียง/ผู้ปุวยเร้ือรังในครอบครัว.จานวน 9 ครัวเรือน

โดย อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) / โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบล /โรงพยาบาลโนนแดง
2) การติดตามเยี่ยมเยียนและให้บริการด้านสุขภาพ ผู้พิการ/ผู้สูงอายุ/ผู้ปุวย ตามภารกิจของ

อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจาหมู่บา้ น จานวน 14 ครวั เรอื น โดย อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมบู่ า้ น.(อสม.)
4.4.3 ดา้ นการศึกษา
1) เงนิ ทุนการศกึ ษาสาหรับเด็กในครอบครัวยากจน จานวน 15 ครัวเรือน โดย กองทุนส่งเสริม

ความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)
2) รถจักรยานสาหรับนักเรียนยากจนและพื้นท่ีห่างไกล จานวน 15 ครัวเรือน โดย บริษัท เดจีไอ

เงนิ ทุนหลักทรัพย์
4.4.4 ด้านความเป็นอยู่ (ทีอ่ ย่อู าศัย)
1) ซอ่ มแซมทีอ่ ยูอ่ าศัยและปรับปรุงที่อยู่อาศัยให้เอื้อต่อการดารงชีวิตของผู้สูงอายุ จานวน 1 ครัวเรือน

โดย สานักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษยจ์ ังหวัดนครราชสีมา
2) ซอ่ มแซม/ต่อเติมบ้านผู้พิการ จานวน 2 หลัง โดย กองทุนสลากกินแบ่งรฐั บาล
3) ซ่อมแซมบ้านผพู้ กิ าร จานวน 1 หลงั โดย มนษุ ยล์ อ้ เอเชีย
4).ให้คาแนะนาในการปรับสภาพแวดล้อมและที่อยู่อาศัยให้ถูกสุขลักษณะ.จานวน 4 ครัวเรือน

โดย โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลโนนแดง/หน่วยงาน พม.ในพ้ืนท/่ี อบต.โนนแดง/ทต.โนนแดง
4.4.5 ดา้ นการเขา้ ถึงบริการของรฐั ผู้ประสบปญั หาในพืน้ ท่ี เข้าถงึ สิทธิและสวสั ดิการอย่างทวั่ ถึง

4.5 โครงการ/กิจกรรมท่ดี าเนนิ การในพ้นื ที่
4.5.1 โครงการบูรณาการเพื่อพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ กลุม่ เปราะบางรายครัวเรือน.(ตาบลสร้างเสรมิ ชุมชนเข้มแข็ง)

โดย สานกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 4/สานักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ จังหวัดนครราชสีมา
4.5.2 โครงการตาบลสร้างเสริมสวสั ดิการสังคม ปี 2564 โดย ศูนยค์ ุ้มครองคนไร้ทพี่ ่ึงจังหวัดนครราชสีมา
4.5.3 โครงการอบรมนวัตกรทางสังคมในชุมชน โดย ศนู ย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดนครราชสีมา

13

1) กิจกรรมจัดระเบียบคนขอทานและคนไรท้ ่ีพ่งึ โดย ศูนย์คุ้มครองคนไร้ท่ีพึ่งจังหวัดนครราชสมี า
2) กจิ กรรมรถพุ่มพวงห่วงใย ให้กาลังใจช่วงโควิด โดย อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์.
(อพม.).โนนแดง (เย่ียมยามถามไถ่)/ ศูนย์คุ้มครองคนไร้ท่ีพึ่งจังหวัดนครราชสีมาและ อาสาสมัครพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนษุ ย์ (อพม.) โนนแดง
3) กิจกรรมบรกิ ารตัดผมเคลือ่ นท่ชี ว่ งโควิด โดย อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
(อพม.) ตาบลโนนแดง

4.6 ปัญหาอุปสรรค
4.6.1 สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา (โควิด-19) ทาให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมและ

ขบั เคลอ่ื นงานตามแผนท่ีกาหนดได้
4.6.2 บุคลากรภาครัฐมีภารกิจหลายด้าน โดยเฉพาะภารกิจประจาภายใต้บทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน

ทาใหม้ ขี ้อจากัดเรื่องเวลา แกไ้ ขโดยให้เครือขา่ ยผู้นาในพื้นท่เี ป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนงาน
4.6.3 การลงพ้ืนที่เก็บข้อมูลกลุ่มเปราะบาง จานวน 35 ครัวเรือน เฉพาะสานักงานส่งเสริมและ

สนับสนุนวิชาการ 4 ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พ่ึงจังหวัดนครราชสีมา และสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์จังหวัดนครราชสีมา ซ่ึงมีคณะทางานบางส่วนไม่ได้ลงเยี่ยมกลุ่มเปูาหมาย ทาให้มองไม่เห็นสภาพ
ของปัญหา ไม่ได้เห็นสภาพจริง มีข้อจากัดในการจัดทาแผนช่วยเหลือโดยเฉพาะการกาหนด แผนระยะกลาง
ระยะยาว ในขณะเดียวกันเมื่อกลุ่มเปูาหมายกลุ่มเปราะบางต้องการพัฒนาอาชีพซึ่งต้องการความรู้เฉพาะทาง
แต่ทีมท่ีลงพื้นทเ่ี ป็นนักสังคมสงเคราะห์ไมส่ ามารถสนับสนนุ ได้

4.7 ปัจจัยความสาเรจ็
4.7.1 มีผ้นู าชมุ ชนและเครอื ข่ายทีเ่ ขม้ แข็ง ผนู้ าท้องท่ี ผูน้ าทอ้ งถิ่น สามารถทางานรว่ มกนั อยา่ งมเี อกภาพ
4.7.2 ทีม One.Home.จังหวัดนครราชสีมา ทางานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสานักงาน

สง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 4 ให้คาแนะนาและขับเคลอ่ื นงานร่วมกนั
4.7.3.มีนายอาเภอเป็นประธานคณะทางานขับเคลื่อนการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในพ้ืนที่

ตาบลโนนแดง ทาให้การบูรณาการหนว่ ยงานในพื้นท่ที าได้อย่างราบรื่น
4.7.4 ผูบ้ ริหารองค์กรปกครองท้องถ่นิ มองขา้ มตวั ตน ไมย่ ึดติด กรณีบางความช่วยเหลือไม่ได้ประสาน

ผ่ า น อ ง ค์ ก ร ป ก ค ร อ ง ส่ ว น ท้ อ ง ถ่ิ น แ ล ะ ยิ น ดี ใ ห้ ผู้ น า ชุ ม ช น ป ร ะ ส า น ต ร ง กั บ ห น่ ว ย ง า น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง
โดยยึดประโยชน์สูงสุดของชาวบ้านเป็นสาคัญ และพร้อมท่ีจะสนับสนุนหากผู้นาชุมชนต้องการ เช่น
ด้านการประสานงาน ดา้ นเอกสาร

4.7.5 มีประธานอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ตาบลโนนแดงเป็นประธาน
ระดับอาเภอ และทางานด้านนี้มาต่อเน่ืองทาให้มีความเข้าใจ รู้ช่องทาง มีข้อมูล มีประสบการณ์ รวมถึง
มีจิตสาธารณะ มุง่ มั่น ต้งั ใจ ยดึ ประโยชนข์ องชาวบา้ นเปน็ หลัก

4.7.6 การใหค้ วามสาคัญกบั การคัดกรองกลุ่มเปูาหมาย และลงพื้นท่ี เพื่อให้เห็นสภาพจริงก่อนกาหนด
แผนการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตให้กบั กล่มุ เปูาหมาย สง่ ผลใหเ้ กิดการพัฒนาอยา่ งยัง่ ยนื

4.7.7 แนวทางการพัฒนากลุ่มเปูาหมายในพื้นที่เน้นแนวคิด บวร (บ้าน/วัด/โรงเรียน) ทาให้เกิดการ
บรู ณาการอย่างย่งั ยนื และใชเ้ ครื่องมอื สมดุ พกครอบครวั ในการจัดเก็บขอ้ มูล

14

4.8 ขอ้ ค้นพบ
4.8.1 กลุ่มเปูาหมายที่ร่วมกันพิจารณาได้รับการช่วยเหลือท้ังหมดและสามารถต่อยอด

ไม่ไดห้ ยุดอยู่แค่การสงเคราะห์ สามารถพฒั นาคุณภาพชีวติ อย่างย่ังยนื ได้
4.8.2.กลุ่มเปราะบาง กลุ่มเปูาหมายได้รับการช่วยเหลือพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างเป็นรูปธรรม

ที่สาคัญไมเ่ พียงเป็นการช่วยเหลอื แค่เฉพาะหน้าแต่มีแผนระยะกลาง ระยะยาว ที่จะเกิดการพฒั นาอย่างย่ังยืนตอ่ ไป
4.8.3 เกดิ ศรัทธาผ้นู า เน่ืองจากกระบวนการเอ้ือใหช้ ่วยคนได้จริง ประชาชนจึงเกิดความเช่อื ม่ัน
4.8.4.ความม่ันใจในการขับเคลื่อนงานในรูปแบบของการบูรณาการเกิดประสิทธิภาพเอ้ือให้เกิด

การทางานร่วมกนั ต่อไปในอนาคต
4.8.5 เกิดคนตน้ แบบในการแกไ้ ขปญั หาพฒั นาคุณภาพชวี ติ อยา่ งเปน็ รปู ธรรมใช้ขยายผลได้
4.8.6 พ้นื ท่ีจัดการตนเองหลายๆ ครง้ั หลายๆ ปญั หา พื้นท่ีจะบริหารจัดการด้วยตนเองก่อน นอกจาก

เกนิ ความสามารถจะประสานความรว่ มมือหน่วยงานทีเ่ กยี่ วข้อง
4.8.7 ผู้นาชมุ ชนให้ความร่วมมือทางานร่วมกันเป็นเอกภาพท้ังผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยอาสาสมัครพัฒนาสังคม

และความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) และอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมบู่ ้าน (อสม.) มีความกระตอื รือร้น

4.9 ข้อเสนอแนะ
4.9.1 ควรมีการขยายวิธีคิด (mind set) จิตอาสา มีการสร้างผู้นารุ่นใหม่ คนรุ่นใหม่เพื่อเป็นกลไก

ขับเคล่ือนงานด้านสังคมต่อไป
4.9.2 การกาหนดพื้นท่ีเปูาหมายดาเนินการ หากเป็นพ้ืนท่ีเดียวกันกับพ้ืนท่ีสร้างเสริมสวัสดิการสังคม

ที่ขบั เคล่ือนโดยศูนย์คุม้ ครองคนไร้ที่พงึ่ ได้ จะทาให้การขับเคล่ือนงานมีประสิทธิภาพเนื่องจากมีความพร้อม
ดา้ นผ้นู า และข้อมูล

4.9.3 การบูรณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง เน้นให้เกิดการทางานร่วมกัน จึงมีหลาย
หน่วยงานเข้ามาร่วมคิด วิเคราะห์ คัดกรองข้อมูลกลุ่มเปราะบาง ควรมีการมอบหมายบทบาทให้ชัดเจน
โดยเฉพาะหนว่ ยงานหลกั ที่จะรับผดิ ชอบในแตล่ ะประเดน็

4.9.4 การพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางที่เป็นกรณีเฉพาะ หรือประเด็นท่ีมีหน่วยงานรับผิดชอบ
โดยเฉพาะ ควรประสานหนว่ ยงานรบั ผิดชอบหลักในประเดน็ นั้นร่วมลงพ้นื ทีไ่ ปพรอ้ มกนั

15

บทท่ี 5
สรุปผลการถอดบทเรยี นการดาเนนิ งานโครงการบูรณาการสรา้ งเสริมชุมชนเขม้ แข็ง

ตาบลโนนสาราญ อาเภอเมืองชยั ภมู ิ จงั หวดั ชัยภมู ิ

5.1 การวิเคราะห์สภาพปญั หาในพ้ืนท่ี
5.1.1 การพ่ึงพารายไดจ้ ากเศรษฐกจิ ภาคการเกษตรซึง่ ต้องพง่ึ พาธรรมชาติ
5.1.2 ปญั หาว่างงานหลังฤดูเก็บเก่ียว คนในชุมชนยงั ขาดความรู้ในการทาอาชีพเสริมเพ่ิมรายได้
5.1.3 สินคา้ แปรรูปทางการเกษตรไมม่ ีตลาดรองรบั เพยี งพอและไมม่ คี ณุ ภาพทสี่ ามารถแข่งขันได้
5.1.4 ขาดการพัฒนาความรู้ด้านเทคโนโลยีการตลาดการบริหารจัดการของผู้ประกอบหัตถกรรม

พน้ื บ้านและสนิ คา้ พ้นื เมอื ง
5.1.5 การย้ายถิ่นฐานไปทางานต่างจังหวัด เนื่องจากความยากจน ทาให้เกิดภาวะครอบครัว

แหว่งกลาง/ครอบครวั ข้ามร่นุ /ผู้สูงอายุถูกทอดทงิ้ ให้อยูต่ ามลาพัง
5.1.6 ปัญหาวา่ งงานหลงั ฤดูเก็บเกี่ยว คนในชุมชนยังขาดความรู้ในการทาอาชีพเสริมเพิ่มรายได้

5.2 การกรองข้อมลู ครัวเรือนเปราะบาง
5.2.1 ฐานข้อมลู ท่นี ามาวเิ คราะห์
1) ข้อมูลใน TPMAP จานวน 70 ราย
2).ข้อมูลการสงเคราะห์ ปีงบประมาณ.พ.ศ. 2563 – 5 กุมภาพันธ์ 2564 ที่จัดเก็บ

โดย สานกั งานพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์จังหวัดชัยภูมิ จานวน 59 ราย ดังนี้
- เงนิ สงเคราะหผ์ ู้ประสบปญั หาทางสงั คมกรณีฉกุ เฉนิ จานวน 13 ราย
- เงินสงเคราะหค์ รอบครัวผูม้ ีรายได้น้อยและผ้ไู รท้ ีพ่ ึ่ง จานวน 40 ราย
- เงินสงเคราะหแ์ ละฟื้นฟสู มรรถภาพคนพกิ าร จานวน 6 ราย

3) ข้อมูล Social Map จานวน 45 คน
4) ขอ้ มูลผ้ปู ระสบปญั หาทางสงั คมจัดเกบ็ ขอ้ มลู โดย อบต.โนนสาราญ จานวน 46 ราย ดังนี้

- เด็กและเยาวชนท่อี าศยั อยใู่ นครอบครอบยากไร้ จานวน 25 ราย
- ราษฎร์ผู้ยากไร้ จานวน 21 ราย
5.2.2 คณะทางานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งตาบลโนนสาราญ ร่วมกันกรองข้อมูลเพื่อค้นหาครัวเรือน
เปูาหมายที่ประสบปัญหาเพื่อกาหนดครัวเรือนเปูาหมายที่จะช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพชีวิต
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จานวน 40 ราย

5.3 สภาพปญั หากลุ่มเป้าหมายรายครวั เรือน
5.3.1 ดา้ นรายไดแ้ ละการมีงานทา จานวน 40 ครัวเรอื น
5.3.2 ดา้ นสขุ ภาพ จานวน 29 ครวั เรือน
5.3.3 ด้านความเป็นอยู่ (ท่ีอยอู่ าศัย) จานวน 17 ครวั เรอื น
5.3.4 ด้านการศกึ ษา จานวน 10 ครวั เรือน
5.3.5 ดา้ นการเข้าถงึ บรกิ ารของภาครฐั จานวน 9 ครัวเรอื น

16

5.4 ผลการช่วยเหลอื รายครัวเรอื น
5.4.1 ดา้ นการมีรายได้และการมีงานทา
1) เงินสงเคราะห์ครอบครัวผู้มีรายได้น้อย.จานวน 29 ครัวเรือน โดย ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พ่ึง

จงั หวดั ชัยภูมิ
2) เงนิ สงเคราะหผ์ ู้สงู อายใุ นภาวะยากลาบาก จานวน 11 ครวั เรือน โดย สานกั งานพัฒนาสังคม

และความมน่ั คงของมนุษย์จงั หวดั ชยั ภูมิ
3) เงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจน.จานวน 11 ราย โดย.สานักงานพัฒนาสังคมและ

ความมน่ั คงของมนษุ ย์จังหวัดชยั ภูมิ
4).วางแผนส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ จานวน 33 ครัวเรือน โดย.สานักงานพัฒนาสังคมและ

ความม่นั คงของมนษุ ย์จงั หวดั ชัยภูมิ / องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลโนนสาราญ
5) แนะนาทุนประกอบอาชพี คนพกิ ารและผู้สูงอายุ จานวน 33 ครวั เรอื น โดย สานกั งานพฒั นาสังคม

และความม่ันคงของมนษุ ย์จังหวดั ชยั ภูมิ
5.4.2 สขุ ภาพ
1) การติดตามดูแลด้านสุขภาพ จานวน 29 ครัวเรือน โดย ทีม Long Term Care (LTC) /

องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลโนนสาราญ
2) ดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายตุ ดิ เตียงในชมุ ชน จานวน 122 ราย โดย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล /

อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจาหม่บู า้ น (อสม.) / ทีม Long Term Care (LTC)
3) ค่าพาหนะผปู้ วุ ยที่ยากไร้ จานวน 1 ราย โดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบล / องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัด
4) เข้ารับการประเมินสุขภาพจิต จานวน 3 ราย โดย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล /

โรงพยาบาลชัยภมู ิ
5) มอบรถวิลแชร์ จานวน 5 ราย โดย กองทุนฟ้ืนฟคู นพิการ จงั หวดั ชัยภูมิ

5.4.3 ด้านการศกึ ษา
1) วางแผนเร่ืองทุนการศึกษาสาหรับเด็กในครอบครัวยากจน จานวน 11 ราย.โดย.สานักงาน

พฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์จังหวดั ชัยภมู ิ / องค์การบรหิ ารสว่ นตาบล / โรงเรยี นในพ้ืนท่ี
2) วางแผนสถาบันเพาะกล้าคุณธรรม เพื่อให้ได้รับการศึกษาและสามารถพัฒนาตนเองได้

โดย สานกั งานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ ังหวัดชัยภูมิ
5.4.4 ดา้ นความเปน็ อยู่ (ทีอ่ ยู่อาศัย)
1) โครงการบา้ นพอเพยี ง จานวน 1 ราย โดย สถาบันพฒั นาองคก์ รชุมชน (พอช.)
2) วางแผนซอ่ มแซมบา้ นผู้สูงอายุและคนพิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จานวน 17 หลัง

โดย สานักงานพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ยจ์ ังหวัดชัยภูมิ / องค์การบริหารส่วน / สถาบันพัฒนา
องค์กรชมุ ชน (พอช.) / กิ่งกาชาดอาเภอ

5.4.5 ด้านการเขา้ ถึงบรกิ ารของรัฐ
1) ให้คาแนะนาปรึกษาการลงทะเบียนเพ่ือขอรับเงินอุดหนุนเพื่อการเล้ียงดูเด็กแรกเกิด

จานวน 70 ราย.โดย.สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดชัยภูมิ / องค์การบริหารส่วน
ตาบลโนนสาราญ

2) ให้คาแนะนาเงินกู้ประกอบอาชีพผู้สูงอายุ/คนพิการ จานวน 40 ครัวเรือน โดย สานักงาน
พฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษยจ์ ังหวดั ชยั ภูมิ / องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลโนนสาราญ

17

3) ให้คาแนะนาการทาบัตรประจาตัวคนพิการ จานวน 65 ราย โดย.สานักงานพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนษุ ยจ์ ังหวัดชัยภูมิ / องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลโนนสาราญ

4) ให้คาแนะนาบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ.จานวน 9 ครัวเรือน โดย สานักงานพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนษุ ย์จังหวัดชยั ภมู ิ / องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลโนนสาราญ

5) ให้คาแนะนาเงินสงเคราะหป์ ระเภทต่างๆ จานวน 40 ครัวเรือน โดย สานักงานพัฒนาสังคม
และความม่นั คงของมนุษยจ์ ังหวดั ชัยภูมิ / องค์การบริหารสว่ นตาบลโนนสาราญ

5.5 โครงการ/กจิ กรรมที่ดาเนนิ การในพืน้ ท่ี
5.5.1 โครงการการขับเคล่ือนการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งตาบลโนนสาราญ โดย สานักงานพัฒนาสังคม

และความมั่นคงของมนษุ ย์จังหวดั ชัยภูมิ
5.5.2 โครงการวันผู้สูงอายุ ส่งเสริมให้ประชาชนได้เข้าร่วมกิจกรรม โดย องค์การบริหารส่วนตาบล

โนนสาราญ
5.5.3 โครงการกีฬาศูนย์เด็กเล็ก ส่งเสริมให้เด็กได้ออกกาลังกาย รู้ แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย

โดยองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลโนนสาราญ

5.6 ปัญหา อุปสรรค
5.6.1 สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา (โควิด-19) ทาให้ไม่สามารถจัดกิจกรรม

และขบั เคลอ่ื นงานตามแผนท่กี าหนดได้
5.6.2 การกาหนดเง่ือนไขการคัดเลือกพ้ืนท่ีไม่ให้ซ้าพื้นที่เดิม ซ่ึงตาบลสร้างเสริมสวัสดิการสังคม

ของศูนย์คุ้มครองคนไรท้ พ่ี ง่ึ จงั หวัดชัยภมู ิ ใชพ้ ืน้ ทเี่ ดิมในการดาเนินงาน ส่งผลให้การบูรณาการความร่วมมือ
ของ ทมี One Home ไม่เกิด Impact ต่อพนื้ ทีเ่ ทา่ ทค่ี วร

5.6.3 ยังไม่มีการขับเคลื่อนศูนย์ปฏิบัติการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัด (ศจพ.จ.) ท่ีเด่นชัด ส่งผลให้การบูรณาการร่วมกับ 12 กระทรวง ยังไม่เห็น
เป็นรปู ธรรม

5.7 ปัจจยั ความสาเร็จ
5.7.1 ทีมบริหารมีความรู้ความสามารถ ให้ความสาคัญกับงานด้านพัฒนาคุณภ าพชีวิตและ

การพัฒนาสงั คม มีเจ้าหนา้ ทที่ ้องถิน่ ทมี่ คี วามต้ังใจ มุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน ยอมรับนโยบาย และให้ความร่วมมือ
ในการดาเนนิ งาน

5.7.2 หน่วยงานภาครัฐ/ภาคีเครือข่าย/ผู้นาชุมชน/อาสาสมัคร ในพ้ืนท่ีทางานร่วมกันเป็นทีมเดียวกัน
และมเี ปาู หมายเดียวกนั มคี วามเขม้ แข็ง และมีส่วนรว่ มสนับสนุนในการดาเนนิ งาน

5.7.3 มีการวางแผน/มีความรับผิดชอบ/มีความยืดหยุ่น/มีการปรับแผนงานเพ่ือให้ได้เปูาหมาย
ทกี่ าหนดไว้รว่ มกนั

5.7.4 ผู้ปฏิบัติงาน/ผนู้ าชมุ ชนมีกระบวนการสร้างพลังได้เอง/มแี รงบันดาลใจ/มีทัศนคตทิ ่ีดี
5.7.5 มีทุนทางสังคมในพื้นที่ เช่น ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) / ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต
และส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ (ศพอส.) /ศูนย์ประสานงานคนพิการ/กองทุนสวัสดิการชุมชนท่ีเป็นต้นแบบ
ของจังหวดั /กล่มุ อาชพี /โรงเรยี นผู้สงู อายุ

18

5.8 ข้อคน้ พบ
5.8.1 มุ่งเน้นพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปูาหมายเปราะบางรายครัวเรือนให้ความสาคัญกับปัญหา

ข้อเทจ็ จริงท่สี อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของกลุ่มเปาู หมาย
5.8.2 อปท./อาสาสมัคร/เครือข่าย มีส่วนร่วมในการคิด วางแผน ร่วมดาเนินการ มีความสามัคคี

มคี วามรบั ผดิ ชอบ มคี วามเสียสละ มีทศั นคติที่ดี มีจิตอาสา และรู้จกั บทบาทหนา้ ทข่ี องตน
5.8.3 การขับเคล่ือนงานบูรณาการเอื้อให้เกิดการเรียนรู้การทางานร่วมกัน เข้าใจวัฒนธรรมองค์กร

แต่ละหน่วยส่งผลให้เกิดความเข้าใจในข้อจากัดของแต่ละฝุาย นาไปสู่การหาแนวทางแก้ไขหรือขับเคลื่อน
ให้บรรลเุ ปาู หมายรว่ มกนั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี

5.8.4 สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ทาหน้าท่ีเป็นพ่ีเล้ียงคอยให้คาแนะนา/ปรึกษา/
สนบั สนุนการขับเคลือ่ นงานเป็นอยา่ งดี

5.9 ขอ้ เสนอแนะ
5.9.1 การบูรณาการความร่วมมอื ของ 12 กระทรวง ในการขบั เคลอ่ื นโครงการฯ จะทาใหเ้ กิด Impact

ตอ่ สังคมให้เหน็ ไดอ้ ย่างชัดเจน.รวมถงึ สามารถเป็น.M o d e l .ในการแก้ไขปัญหาความยากจนปัญหาสังคมปรับเปลี่ยน
สูก่ ารชว่ ยเหลือและพฒั นาในระดับบคุ คล/ระดบั ครัวเรอื น.กา้ วสสู่ วสั ดกิ ารสังคมได้อยา่ งแทจ้ รงิ

5.9.2 ควรมีการทบทวนและสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจร่วมกนั ในการขบั เคล่ือนโครงการฯ ของหน่วยงาน
12 กระทรวงในพนื้ ท่ี (คณะกรรมการ ศจพ.จ)

5.9.3 ทาอย่างไรถึงจะเปล่ียนภาพลักษณ์ของกระทรวง พม..จากหน่วยงานช่วยเหลือสงเคราะห์
เป็นหน่วยงานแห่งการพฒั นาคุณภาพชวี ติ เน้นการช่วยเหลือที่คานึงถงึ ความยัง่ ยนื เป็นหลัก

5.9.4.สร้างพื้นท่ีให้เหมือนการมีกล้วยไม้บนต้นไม้ท่ีจะเก้ือหนุนกันไม่เหมือนกาฝากท่ีคอยดูดน้าเลี้ยง
เบียดเบยี นตน้ ไม้

19

บทท่ี 6
สรปุ ผลการถอดบทเรียนการดาเนินงานโครงการบูรณาการสรา้ งเสริมชุมชนเขม้ แข็ง

ตาบลตาจง อาเภอละหานทราย จงั หวัดบรุ ีรมั ย์

6.1 การวเิ คราะหส์ ภาพปัญหาในพน้ื ที่
6.1.1 การพง่ึ พารายไดจ้ ากเศรษฐกิจภาคการเกษตรซงึ่ ต้องพง่ึ พาธรรมชาติ
6.1.2 การขาดทกั ษะ/ทนุ ในการประกอบอาชีพ/ขาดการสง่ เสรมิ อาชพี ทต่ี ่อเน่ือง
6.1.3 การย้ายถิ่นฐานไปทางานต่างจังหวัด เนื่องจากความยากจน ทาให้เกิดภาวะครอบครัว

แหว่งกลาง/ครอบครัวขา้ มรุ่น /ผสู้ ูงอายุถูกทอดทง้ิ ใหอ้ ยู่ตามลาพัง
6.1.4 การอยูใ่ นสภาพแวดล้อมท่ีอยู่อาศัยมาเหมาะสม/ไม่ถูกสขุ ลักษณะ
6.1.5 การไม่มีกรรมสทิ ธใิ์ นท่ีดินทากินและที่ดนิ อยู่อาศยั

6.2 การกรองข้อมูลครวั เรือนเปราะบาง
6.2.1 ฐานข้อมูลท่นี ามาวเิ คราะห์
1) ขอ้ มูลใน TP-Map จานวน 12 ราย
2) ข้อมลู Social Map จานวน 740 คน
6.2.2 คณะทางานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งตาบลตาจง ร่วมกันกรองข้อมูลเพื่อค้นหาครัวเรือน

เปูาหมายท่ีประสบปัญหาเพื่อกาหนดครัวเรือนเปูาหมายที่จะช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพชีวิ ต
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จานวน 43 ราย

6.3 สภาพปัญหากลุ่มเป้าหมายรายครวั เรือน
6.3.1 ดา้ นรายได้และการมีงานทา จานวน 42 ครัวเรือน
6.3.2 ด้านสขุ ภาพ จานวน 34 ครัวเรือน
6.3.3 ด้านความเปน็ อยู่ (ทีอ่ ยู่อาศยั ) จานวน 28 ครวั เรอื น
6.3.4 ดา้ นการศกึ ษา จานวน 2 ครวั เรอื น
6.3.5 ดา้ นการเขา้ ถึงบรกิ ารของภาครฐั จานวน 6 ครวั เรอื น
1) ไม่มบี ตั รสวัสดิการแหง่ รฐั จานวน 5 ครวั เรอื น
2) ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร์ จานวน 1 ครวั เรือน

6.4 ผลการชว่ ยเหลือรายครัวเรอื น
6.4.1 ด้านรายไดแ้ ละการมีงานทา
1) เงินสงเคราะห์ฯ กรณีฉุกเฉิน จานวน 42 ครัวเรือน โดย.สานักงานพัฒนาสังคมและ

ความมัน่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั บรุ รี มั ย์
2) เงินสงเคราะห์คนไรท้ พ่ี ง่ึ และผมู้ รี ายได้นอ้ ย จานวน 3 ครัวเรอื น โดย ศูนย์คุ้มครองคนไร้ท่ีพ่ึง

จังหวัดบรุ รี มั ย์
3) เงนิ สงเคราะห์ผู้สูงอายุในภาวะยากลาบาก จานวน 1 ครัวเรือน โดย สานักงานพัฒนาสังคม

และความมั่นคงของมนุษยจ์ งั หวัดบุรีรัมย์
4) เงินกองทุนคุ้มครองเด็ก จานวน 1 ครวั เรอื น โดย บา้ นพกั เด็กและครอบครัวจงั หวดั บุรีรัมย์

20

6.4.2 ด้านสุขภาพ
1) ดูแลสุขภาพผสู้ ูงอายุตดิ เตยี งในครอบครัว จานวน 5 ครัวเรือน โดย อาสาสมัครพัฒนาสังคม

และความม่นั คงของมนุษย์ (อพม.) และอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมูบ่ า้ น (อสม.)
2) เยี่ยมเยียนให้คาปรึกษาด้านการดูแลสุขภาพ การกินอาหาร การออกกาลังกายเบ้ืองต้น

จานวน 34 ครวั เรอื น โดย โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบล / อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) /
สานักงานสาธารณสขุ อาเภอ (สสอ.)

3) ให้คาปรึกษาการดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิต จานวน 1 ครัวเรือน โดย โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตาบล / อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมบู่ ้าน (อสม.) / สานักงานสาธารณสุขอาเภอ (สสอ.)

6.4.3 ดา้ นการศกึ ษา
- การช่วยเหลือเงินจากกองทุนคุ้มครองเด็ก จานวน 1 ครัวเรือน โดย สานักงานพัฒนาสังคม

และความม่นั คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั บรุ รี ัมย์ / บ้านพักเด็กและครอบครวั จังหวดั บุรรี ัมย์

6.4.4 ดา้ นความเป็นอยู่ (ที่อยู่อาศัย) อยูร่ ะหว่างดาเนินการ
1) ซอ่ มแซมที่อยอู่ าศัยและปรบั ปรงุ ท่อี ย่อู าศัยให้เอื้อต่อการดารงชีวิตของผู้สูงอายุ จานวน 28 ครัวเรือน

โดย สานกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จังหวัดบุรรี ัมย์ / สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน(พอช.) /
โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบล / หน่วยงาน พม. ในพนื้ ท่ี / เทศบาลตาบล

2) ให้คาแนะนาในการปรับสภาพแวดล้อมและท่ีอยู่อาศัยให้ถูกสุขลักษณะ จานวน 28 ครัวเรือน
โดย โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบล / หน่วยงาน พม. ในพน้ื ที่ / เทศบาลตาบล

3) ด้านการเข้าถึงบริการของรัฐ จานวน 2 ครัวเรือน ข้ึนทะเบียนผู้มีบัตรคนพิการและย่ืนเอกสาร
เพ่ือรับเบ้ียผู้สงู อายุ โดย เทศบาลตาบล / สานกั งานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษยจ์ ังหวดั บุรรี ัมย์

6.5 โครงการ/กจิ กรรมท่ดี าเนนิ การในพน้ื ท่ี
6.5.1 โครงการบูรณาการเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ กลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน (ตาบลสร้างเสริมชุมชน

เขม้ แขง็ )
6.5.2 โครงการโรงเรียนครอบครัวตาบลตาจง โดย เทศบาลตาบลตาจง / สานักงานพัฒนาสังคมและ

ความมน่ั คงของมนุษยจ์ ังหวดั บรุ รี ัมย์
- กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมส่งเสรมิ บทบาทพอ่ แม่ ผู้ปกครองในการดแู ลเด็กปฐมวัย (0-6ป)ี
- กจิ กรรมที่ 2 กจิ กรรมส่งเสริมสัมพนั ธภาพครอบครวั

6.5.3 โครงการสร้างชีวิตใหม่ให้สตรีและครอบครัว (104 วัน) โดย เทศบาลตาบลตาจง/ศูนย์เรียนรู้/
ฝึกอาชีพสตรศี รีสะเกษ

6.6 ปัญหา อปุ สรรค
6.6.1 สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา (โควิด-19) ทาให้ไม่สามารถจัดกิจกรรม

และขบั เคล่อื นงานตามแผนท่ีกาหนดได้
6.6.2 อปท.และหน่วยงานในพื้นที่ มีภารกิจเร่งด่วนที่ต้องร่วมกันปูองกันและแก้ไขปัญหาการระบาด

ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ทาให้การขับเคลื่อนโครงการต้องหยุดชะงักชั่วคราว หรือดาเนินการได้
ไม่เปน็ ไปตามแผน

21

6.6.3 การเชื่อมต่อแผนการพัฒนาคุณภาพชีวิตกับศูนย์ปฏิบัติการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจังหวัด (ศจพ.จ.) จังหวัดบุรีรัมย์ สานักงานพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนษุ ย์จังหวัดบรุ รี ัมย์ ไมไ่ ด้เปน็ เลขาโดยตรง ทาใหม้ ขี ้อจากัดในการผลักดนั ตอ่

6.7 ปัจจัยความสาเรจ็
6.7.1 ความเขม้ แข็งของภาคีเครอื ข่ายในพื้นท่แี ละการมีสว่ นร่วมการบรู ณาการ และการพ่งึ พาตนเอง

ของคนในชุมชน
6.7.2 นโยบายของผู้บริหาร อปท. ซงึ่ ให้ความสาคญั กบั การพัฒนาคุณภาพชีวิต
6.7.3 กลไกคณะทางานมีความชัดเจนในบทบาทหน้าท่ี และการมอบหมายภารกิจ ส่งผลให้เกิดการ

ขบั เคลอ่ื นงานได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
6.7.4 ทกุ คนมคี วามตัง้ ใจ ชดั เจนในสิ่งทด่ี าเนนิ การ และสามารถทาได้ตามกรอบเวลาทกี่ าหนด
6.7.5 การสนบั สนนุ เชิงนโยบาย จากกระทรวง และระดับจงั หวัด ส่งผลให้การดาเนนิ งานเป็นไปอยา่ งราบรนื่
6.7.6 การให้ความร่วมมือ และการมีส่วนร่วมของเครือข่าย ผู้นาชุมชนในพ้ืนที่ โดยเฉพาะกลุ่มอาสาสมัคร

อาสาสมคั รพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.) ใหค้ วามรว่ มมอื เป็นอย่างดี

6.8 ข้อค้นพบ
6.8.1 การมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ท้ังภาครัฐ ภาคประชาสังคม ภาคประชาชน อพม.ในพื้นที่

ซง่ึ มจี ติ อาสาให้ความรว่ มมือและชว่ ยเหลือกลุ่มเปูาหมายดว้ ยความเต็มใจและเตม็ ที่
6.8.2 ความร่วมมือจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการสนับสนุนทรัพยากรต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น

บคุ ลากร สถานท่ี ยานพาหนะ หรือการประสานงานตา่ งๆ
6.8.3 แผนพัฒนาคุณภาพชีวติ กลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน ที่เกิดจากความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย

จะเปน็ กลไกสาคัญท่จี ะทาให้กลุม่ เปูาหมายหลดุ พน้ จากความยากจนและมีคุณภาพชวี ติ ทดี่ ีข้ึนอย่างยง่ั ยนื

6.9 ข้อเสนอแนะ
6.9.1 อยากให้มีการบรู ณาการ 12 กระทรวง เกิดข้ึนในระดับปฏิบัติการได้อย่างจริงจัง เพ่ือให้เกิดการ

พฒั นาไดท้ กุ มิติ
6.9.2 การเลือกพื้นทเี่ ปาู หมายทีม่ ีศกั ยภาพจะเกิดการพัฒนาที่มีประสิทธิภาพ นาไปส่คู วามยั่งยืน
6.9.3 ควรมีการเช่ือมร้อยภาคเอกชน ภาคธรุ กจิ ระดบั พน้ื ที่ รว่ มทา CSR
6.9.4 การพัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ควรใช้กลไกการขับเคล่ือนโดยชุมชนบริหาร

จัดการตนเองและภาครฐั ใหก้ ารสนับสนนุ หรือหนนุ เสรมิ
6.9.5 การน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชน

จะทาใหก้ ารสรา้ งชุมชนเข้มแขง็ มคี วามย่ังยนื อยา่ งแท้จรงิ

22

บทที่ 7
สรปุ ผลการถอดบทเรียนการดาเนินงานโครงการบูรณาการสร้างเสรมิ ชุมชนเขม้ แข็ง

ตาบลตะเคียน อาเภอกาบเชิง จังหวัดสรุ ินทร์

7.1 การกรองข้อมลู ครัวเรือนเปราะบาง
7.1.1 ประสานกบั ทีมผนู้ าและคณะผูบ้ ริหารจัดการประชมุ โดยมนี ายอาเภอเป็นประธานเพื่อวางแผน
7.1.2 ร่างคณะทางานออกคาสั่งแต่งตั้งคณะทางานโดยนายกอบต.ตะเคียนเป็นประธานใช้ช่ือว่า

คณะทางานสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเข้มแขง็
7.1.3 รวบรวมข้อมูลจากแหลง่ ต่างๆ ดงั น้ี
- กลมุ่ เปูาหมายในฐานข้อมูล TPMAP จานวน 20 ครัวเรอื น
- กลุ่มเปูาหมายในฐานขอ้ มลู ของศูนย์คมุ้ ครองคนไร้ทพี่ ึ่งจงั หวัดสุรนิ ทร์ จานวน 88 ครวั เรอื น
- กลุม่ เปาู หมายจากในพ้นื ที่ จานวน 4 ครัวเรือน
7.1.4 ประชุมคณะทางานขับเคล่ือนการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในพ้ืนที่ตาบลตะเคียน เพื่อพิจารณา

และคดั กรองข้อมูล เมอ่ื วันท่ี 22 กุมภาพันธ์ 2564 จานวน 40 ครัวเรือน

7.2 การวเิ คราะหส์ ภาพปัญหาในพน้ื ท่ี
7.2.1 ครวั เรือนยากจน/รายได้ไม่เพียงพอ
7.2.2 ไม่ไดป้ ระกอบอาชีพ
7.2.3 สุขภาพไม่แข็งแรง ต้องติดตามอย่างต่อเน่อื ง (ผสู้ งู อายุ,ผพู้ ิการ)
7.2.4 ไม่มีทนุ การศกึ ษา
7.2.5 มปี ัญหาเก่ียวกบั พฒั นาการ/พฤติกรรม
7.2.6 ซ่อมแซมทีอ่ ยอู่ าศัย
7.2.7 ไมม่ ีกรรมสทิ ธิ์ในที่อยอู่ าศยั

7.3 สภาพปัญหากลมุ่ เป้าหมายรายครวั เรอื น จานวน 40 ครวั เรอื น
7.3.1 ดา้ นรายไดแ้ ละการมีงานทา จานวน 28 ครัวเรอื น
7.3.2 ดา้ นสุขภาพ จานวน 21 ครัวเรอื น
7.3.3 ด้านการศึกษา จานวน 21 ครัวเรือน
7.3.4 ด้านที่ความเป็นอยู่ (ทีอ่ ยอู่ าศยั ) จานวน 21 ครวั เรือน
7.3.5 ดา้ นบรกิ ารของรัฐ

7.4 ผลการช่วยเหลือรายครัวเรือน
7.4.1 ดา้ นรายไดแ้ ละการมีงานทา
1) เงินสงเคราะห์ครอบครัวผู้มีรายได้น้อยและไร้ที่พึ่ง จานวน 40 ครัวเรือน โดย ศูนย์คุ้มครอง

คนไร้ท่พี ง่ึ จังหวดั สรุ นิ ทร์
2) เงนิ สงเคราะหเ์ ด็กในครอบครวั ยากจน จานวน 30 ครวั เรือน โดย บ้านพักเด็กและครอบครัว

จงั หวดั สุรนิ ทร์
3) เงนิ สงเคราะหผ์ ูต้ ดิ เช้ือเอดส์ จานวน 1 ราย โดย ศนู ยค์ ุ้มครองคนไรท้ พี่ ่งึ จังหวดั สรุ นิ ทร์
4) เงนิ สงเคราะห์ด้านเงินทุนประกอบอาชพี จานวน 3 ราย โดย ศูนย์คมุ้ ครองคนไรท้ ี่พึง่ จงั หวัดสุรินทร์

23

7.4.2 ดา้ นสุขภาพ
1) ใหค้ าปรึกษาด้านการดูแลสุขภาพสาหรับผู้สูงอายุ.คนพิการ.จานวน.4 ราย โดย.โรงพยาบาล

สง่ เสริมสุขภาพตาบล / อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บา้ น (อสม.)
2) สนับสนุนกายอุปกรณ์ (เตียง,รถเข็น).จานวน.3.ราย โดย.สานักงานพัฒนาสังคมและ

ความม่นั คงของมนษุ ย์จงั หวดั สุรินทร์ / โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลบ้านสกล / โรงพยาบาลกาบเชิง /
องค์การบริหารส่วนตาบลตะเคียน

3) การดูแลผู้สูงอายุติดเตียง จานวน 8 ราย โดย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลตะเคียน /
โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลบ้านสกล / องคก์ ารบริหารส่วนตาบลตะเคียน / อาสาสมัครบริบาลท้องถิ่น /
ทมี ดูแลสขุ ภาพระยะยาว (Long Term Care : LTC)

4) การรับ-ส่ง ผู้ปุวยติดเตียง ฟอกไต จานวน 1 ราย โดย องค์การบริหารส่วนตาบลตะเคียน /
โรงพยาบาลกาบเชงิ

7.4.3 ด้านการศกึ ษา
1) เงินทนุ การศึกษาสาหรบั เด็กในครอบครวั ยากจน จานวน 5 ครัวเรือน โดย โรงเรยี นในพน้ื ท่ี
2) เงนิ สงเคราะหค์ รอบครวั อุปถัมภ์ จานวน 3 ครัวเรอื น โดย บ้านพักเด็กและครอบครวั จังหวัดสุรินทร์

7.4.4 ดา้ นท่ีอยู่อาศยั
1) ซอ่ มแซมบา้ นผู้พิการ จานวน 3 หลัง โดย สานกั งานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

จงั หวดั สรุ ินทร์ / องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลตะเคยี น
2) ซ่อมบ้านผู้สูงอายุ จานวน 1 หลัง โดย สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

จังหวดั สรุ นิ ทร์ / องค์การบรหิ ารส่วนตาบลตะเคียน / โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบล
3) ให้คาแนะนาในการปรับสภาพที่อยู่อาศัย และสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัย จานวน.2.หลัง

โดย สานกั งานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสุรินทร์ / โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล /
องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลตะเคยี น / ก่งิ กาชาดอาเภอกาบเชงิ / โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านสกล /
โรงเรียนบ้านสกล / โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนท่านผู้หญิงสุประภาดา เกษมสันต์ / วัดบ้านสกล /
ตารวจตรวจคนเข้าเมือง

4) สร้างบ้านธารน้าใจ จานวน 1 หลัง โดย สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
จงั หวัดสรุ นิ ทร์ / โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบล / องคก์ ารบริหารส่วนตาบลตะเคียน / กิ่งกาชาดอาเภอกาบเชิง /
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล บ้านสกล / โรงเรียนบ้านสกล / โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน
ทา่ นผหู้ ญงิ สุประภาดา เกษมสนั ต์ / วดั บา้ นสกล / ตารวจตรวจคนเขา้ เมือง

7.4.5 ด้านบรกิ ารของรัฐ
1) ให้คาแนะนาและคาปรึกษาเร่ืองเงินอุดหนุนเด็กแรกเกิด จานวน 15 ราย โดย บ้านพักเด็ก

และครอบครัวจังหวัดสรุ นิ ทร์ / สานักงานพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษยจ์ ังหวัดสุรินทร์
2) ให้คาแนะนาเก่ียวกบั การทาบัตรสวสั ดิการแห่งรฐั จานวน 5 ครวั เรือน โดย สานักงานพัฒนาสังคม

และความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัดสุรนิ ทร์ / องค์การบรหิ ารส่วนตาบลตะเคยี น
3) ให้คาแนะนาเกี่ยวกับเงินกู้คนพิการ / เงินกู้ผู้สูงอายุ จานวน 20 ครัวเรือน โดย สานักงาน

พฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษยจ์ ังหวดั สรุ นิ ทร์ / องค์การบริหารสว่ นตาบลตะเคียน
. 4) เบยี้ ยังชพี ผพู้ ิการ จานวน 5 ราย โดย องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลตะเคยี น

24

.5) บัตรประจาตวั ผู้พิการ/ต่อบตั รผูพ้ กิ าร จานวน 10 ราย โดย องค์การบรหิ ารส่วนตาบลตะเคยี น

7.5 โครงการ/กจิ กรรมที่ดาเนินการในพน้ื ที่
ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดสุรินทร์ได้ดาเนิน “โครงการตาบลสร้างเสริมสวัสดิการสังคม

ประจาปี 2564” โดยบูรณาการร่วมกับการขับเคลื่อนการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งในพ้ืนที่ตาบลตะเคียน
อาเภอกาบเชงิ จังหวัดสุรินทร์ โดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี

กิจกรรมท่ี 1 เวทีจุดประกายขายความคิด ดาเนินการเม่ือวันที่ 25 มีนาคม 2564
ณ หอ้ งประชมุ องค์การบรหิ ารส่วนตาบลตะเคียน อาเภอกาบเชิง จงั หวดั สรุ ินทร์

กิจกรรมท่ี 2 เวทีทบทวนบทเรียน ดาเนินการเม่ือวันที่ 21 เมษายน 2564
ณ ห้องประชุมองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลตะเคียน อาเภอกาบเชงิ จงั หวัดสุรนิ ทร์

7.6 ปญั หา อุปสรรค
7.6.1 สถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19).ทาให้การลงพื้นท่ี

การประชุมการจัดกิจกรรม ไม่เป็นไปตามแผนที่กาหนด ประกอบกับผู้นาชุมชน องค์การบริหารส่วนตาบล
ทาใหบ้ างภารกิจตอ้ งทาในเวลาจากัด

7.6.2 การบูรณาการความร่วมมอื ในการชว่ ยเหลือกลุ่มเปราะบาง ระหว่าง 12 กระทรวง 1 หน่วยงาน
ยังไม่มคี วามชดั เจนในการขบั เคลอื่ นงาน

7.6.3 ประเด็นท่ีเจ้าหน้าที่ใช้สอบถามกลุ่มเปูาหมายค่อนข้างเข้าใจยาก ทาให้ไม่เห็นปัญหาท่ีชัดเจน
7.6.4 กลมุ่ เปูาหมายยงั ไมค่ ่อยมคี วามพร้อมหรือความสนใจการการเขา้ ร่วมกจิ กรรม

7.7 ปัจจยั ความสาเรจ็
7.7.1 ผู้นาชุมชน เครือข่าย และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ประจาหมู่บ้าน

(อพม.) ทาบทบาทชเี้ ปาู ร่วมกันเกบ็ ขอ้ มลู สมดุ พกครอบครัว ตดิ ตามการช่วยเหลือ ในพน้ื ที่ ไดอ้ ยา่ งมงุ่ ม่นั
7.7.2 ได้รบั การสนับสนนุ จากสานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 4 อยา่ งต่อเนื่อง ตลอดการดาเนนิ งาน
7.7.3 ไดร้ ับความรว่ มมอื จากหนว่ ยงานบูรณาการ 12 กระทรวง ในพื้นที่
7.7.4 มีกระบวนการคัดกรองข้อมูลทดี่ ี ทาใหไ้ ด้ขอ้ มลู ที่ครอบคลุมและมปี ระสิทธภิ าพ
7.7.5 ความร่วมมือของทุกหน่วยงาน โดยเฉพาะทีม One.Home พม.จังหวัดสุรินทร์ เป็นกลไกทาให้

ทุกหนว่ ยงานมคี วามรว่ มมอื รว่ มใจกนั พฒั นา มงุ่ ไปในทศิ ทางเดียวกนั

7.8 ขอ้ ค้นพบ
7.8.1 การขับเคลื่อนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งในพ้ืนที่ตาบลตะเคียน เกิดการช่วยเหลือ

กลุ่มเปราะบางไดจ้ ริงและเป็นรูปธรรม ทาให้คนในชมุ ชนเกิดแรงบันดาลใจที่จะร่วมสร้างสรรค์พัฒนาชุมชน
ท้องถิ่นต่อไป

7.8.2 ได้ช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางหลากหลายและสอดคล้องกับความต้องการ เนื่องจากแต่ละ
ครอบครวั มภี าวะการณป์ ระสบปญั หาทีต่ า่ งกันออกไป

7.8.3 ครอบครัวผู้ประสบปัญหาสามารถพ่ึงพาตนเองในระดับพ้ืนฐานได้ จานวน 1 ครอบครัว
ซ่งึ ถือเป็นครอบครัวต้นแบบ

7.8.4 การดาเนินการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง เป็นการดาเนินงานสวนกระแสกับงานนโยบาย
ของรัฐบาล ทาให้กลุ่มเปาู หมายไมส่ ามารถใหค้ วามรว่ มมือต่างๆ ไดเ้ ต็มท่ี

25

7.9 ข้อเสนอแนะ
7.9.1 การเตรียมความพร้อมการบูรณาการความร่วมมือในการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบาง ระหว่าง 12 กระทรวง

ให้มคี วามชดั เจน
7.9.2 ควรมีค่าตอบแทนให้อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ประจาหมู่บ้าน.(อพม.)

ในการลงพนื้ ท่เี ก็บสมดุ พกครอบครัว
7.9.3 การเก็บข้อมลู จากสมดุ พกครอบครัว ควรมีระบบประมวลข้อมูล เพื่อจะได้ความละเอียดและเห็นปัญหา

อย่างชดั เจนขน้ึ โดยระบบควรแสดงขอ้ มูลทีแ่ บ่งสีตามระดับของปญั หา
7.9.4 ควรมกี ารตอ่ ยอดการดาเนนิ โครงการฯ เพอื่ ให้เกิดการพฒั นาอยา่ งต่อเน่อื ง
7.9.5 ควรมีการอบรมอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ประจาหมู่บ้าน.(อพม.).เพิ่มเติม

เกีย่ วกบั ใช้สมดุ พกครัวเรอื น.(ให้ความรู้เก่ียวกบั การบันทกึ ข้อมลู การจดั เก็บขอ้ มูล)

26

บทท่ี 8
สรุปผลการถอดบทเรยี นการดาเนนิ งานโครงการบรู ณาการสรา้ งเสริมชมุ ชนเขม้ แข็ง

ตาบลจานแสนไชย อาเภอห้วยทับทนั จังหวดั ศรสี ะเกษ

8.1 การวิเคราะห์สภาพปัญหาในพื้นที่
8.1.1 ขาดแคลนน้าในการอุปโภค-บริโภคและการประกอบอาชีพ ไม่มีแหล่งน้าดิบในการผลิต

น้าประปา
8.1.2 ประชากรวัยแรงงานมักย้ายถ่ินฐานเข้าไปทางานทก่ี รุงเทพฯ
8.1.3 กลุม่ อาชีพ เม่ือได้ผลผลิตแล้ว ไมส่ ามารถหาสถานท่ีนาไปจาหน่ายได้
8.1.4 ระบบสาธารณูปโภคไม่เพียงพอต่อความต้องการของประชาชน
8.1.5 ปัญหายาเสพติดในพ้นื ทท่ี ่ไี มส่ ามารถควบคุมได้

8.2 การกรองข้อมูลครวั เรือนเปราะบาง
8.2.1 ครวั เรือนจาก TPMAP จานวน 4 ครวั เรือน จาก 26 ครวั เรอื น
8.2.2 ครวั เรือนจาก Social Map จานวน 14 ครัวเรอื น จาก 78 ครวั เรือน
8.2.3 ครวั เรือนจาก ทต.จานแสนไชย จานวน 23 ครวั เรอื น จาก 121 ครัวเรอื น
8.2.4 คณะทางานสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งตาบลจานแสนไชย ร่วมกันกรองข้อมูลเพื่อค้นหาครัวเรือน

เปูาหมายท่ีประสบปัญหาเพ่ือกาหนดครัวเรือนเปูาหมายที่จะช่ว ยเหลือและพัฒนาคุณภาพชีวิต
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จานวน 41 ราย

8.3 สภาพปัญหากล่มุ เป้าหมายรายครวั เรือน
8.3.1 ด้านรายได้และการมีงานทา จานวน 41 ครัวเรอื น
8.3.2 ด้านสุขภาพ จานวน 30 ครัวเรือน
8.3.3 ด้านความเป็นอยู่ (ทอ่ี ยู่อาศยั ) จานวน 14 ครัวเรือน
8.3.4 ด้านการศึกษา จานวน 2 ครวั เรือน
8.3.5 ดา้ นการเขา้ ถึงบริการของภาครฐั จานวน 2 ครวั เรือน
1) ไมม่ นี า้ ประปา จานวน 1 ครัวเรือน
2) ไมม่ ีบัตรประจาตัวประชาชน จานวน 1 ครวั เรอื น

8.4 ผลการชว่ ยเหลอื รายครวั เรือน
8.4.1 ดา้ นการมีงานทาและรายได้
1) เงินสงเคราะห์ครอบครัวผู้มีรายได้น้อยและผู้ไร้ที่พึ่ง จานวน 40 ครัวเรือน โดย.สานักงาน

พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดศรีสะเกษ / ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดศรีสะเกษ /
สถานคุ้มครองคนไรท้ ี่พึง่ ปรือใหญ่

2) ใหค้ าปรึกษาแนะนาในการประกอบอาชีพ จานวน 40 ครัวเรอื น โดย สานักงานพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์จังหวดั ศรีสะเกษ

3).ฝึกอาชีพตามโครงการสร้างชีวิตใหม่ให้สตรีและครอบครัว .จานวน.30.ครัวเรือน
โดยศนู ยเ์ รียนรกู้ ารพฒั นาสตรีและครอบครัวภาคตะวันออกเฉยี งเหนือจงั หวัดศรสี ะเกษ

4) ฝึกอาชพี ระยะส้นั 5 วัน หลักสูตรปกั แส่ว.จานวน 20 ครัวเรือน โดย.ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรี
และครอบครัวภาคตะวันออกเฉยี งเหนือจังหวัดศรสี ะเกษ

27

5) แนะนาการอบรมพัฒนาฝีมือแรงงานด้านช่างยนต์และช่างก่อสร้าง จานวน 1 ครัวเรือน
โดย ศนู ย์พัฒนาฝมี อื แรงงานจังหวัดศรสี ะเกษ

8.4.2 ดา้ นสขุ ภาพ
1) ดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ จานวน 30 ครัวเรือน โดย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล /

อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) / อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) /
เทศบาลตาบล

2) ใหค้ าปรกึ ษาด้านการดูแลสขุ ภาพ จานวน 40 ครวั เรือน โดย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล /
อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) / อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.) /
เทศบาลตาบล

3) ใหค้ าแนะนาการบาบัดสรุ า จานวน 1 ครวั เรือน => โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลจานแสนไชย /
อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหม่บู า้ น (อสม.)

8.4.3 ด้านการศกึ ษา
1) มอบเงนิ สงเคราะหเ์ ดก็ ในครอบครัวยากจน จานวน 2 ครัวเรือน โดย สานักงานพัฒนาสังคม

และความมนั่ คงของมนษุ ย์จังหวัดศรีสะเกษ / บ้านพกั เด็กและครอบครวั จังหวัดศรสี ะเกษ
2) แนะแนวการเข้าถึงระบบการศึกษาทีต่ ้องการ จานวน 2 ครวั เรอื น โดย หนว่ ยงาน พม. ในพน้ื ท่ี
3) การสง่ เสริมพฒั นาเด็กโดยเข้าร่วมสภาเด็กและเยาวชน จานวน 1 ครัวเรือน โดย หน่วยงาน พม. ในพื้นที่ /

โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล / อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) / เทศบาลตาบลจานแสนไชย
4) เสรมิ สรา้ งพฒั นาการเด็กพิการ จานวน 1 ครวั เรือน โดย ศนู ย์การศึกษาพเิ ศษจงั หวัดศรีสะเกษ
5) นาข้อมูลเข้ากองทุนคุ้มครองเด็ก.จานวน.1.ครัวเรือน.โดย.สานักงานพัฒนาสังคมและ

ความม่ันคงของมนุษยจ์ ังหวดั ศรสี ะเกษ
8.4.4 ดา้ นความเปน็ อยู่ (ท่ีอยูอ่ าศัย)
1) สรา้ งบ้าน 238 ปี “เฮอื นดี ... ศรสี ะเกษไม่ท้งิ กัน” จานวน 6 ครัวเรือน โดย จังหวัดศรีสะเกษ /

หน่วยงาน พม. ในพื้นท่ี / เทศบาลตาบล
2) ซอ่ มแซมบา้ นผพู้ กิ าร จานวน 1 ครัวเรือน โดย หนว่ ยงาน พม. ในพ้นื ที่
3) ซอ่ มแซมบ้านผู้สูงอายุ จานวน 1 ครวั เรอื น โดย หนว่ ยงาน พม. ในพนื้ ท่ี
4) ให้คาแนะนาในการปรับปรุงสภาพและที่อยู่อาศัยให้ถูกสุขลักษณะ จานวน 41 ครัวเรือน

โดย โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบล / หน่วยงาน พม. ในพนื้ ท่ี / เทศบาลตาบล
8.4.5 ด้านการเข้าถึงบริการของรัฐ
1) ประสานเรื่องบัตรประชาชน จานวน 1 ครัวเรือน โดย อาเภอห้วยทับทัน/ เทศบาลตาบล /

หนว่ ยงาน พม. ในพน้ื ที่
2) ประสานการเขา้ ถงึ สาธารณปู โภค (น้าประปา) จานวน 1 ครัวเรือน โดย การประปาห้วยทับทัน /

เทศบาลตาบล / อาสาสมัครพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ (อพม.) / ผูน้ าชมุ ชน

28

8.5 โครงการ/กิจกรรมทดี่ าเนนิ การในพืน้ ที่
8.5.1 โครงการ “พัฒนาเพ่ือการแบ่งปันที่ย่ิงใหญ่ Shift and Share” ประจาปี 2564 ในพื้นที่ตาบล

สร้างเสรมิ สวสั ดิการสังคม โดย ศูนยค์ ุม้ ครองคนไรท้ ่พี ่งึ จงั หวัดศรสี ะเกษ
8.5.2 โครงการเสริมสร้างศักยภาพเครือข่ายในการคุ้มครองเด็กและเยาวชน ประจาปีงบประมาณ 2564

โดย บา้ นพักเดก็ และครอบครวั จังหวัดศรสี ะเกษ
8.5.3 โครงการสร้างชีวิตใหม่ให้สตรีและครอบครัว โดย.ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัว

จงั หวดั ศรีสะเกษ
8.5.4 โครงการฝึกอาชีพระยะสนั้ .5.วนั หลกั สูตรปกั แส่ว โดย ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารพฒั นาสตรีและครอบครัว

จงั หวดั ศรีสะเกษ

8.6 ปัญหา อุปสรรค
8.6.1 สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด-19) และมีการติดเชื้อในพื้นที่

เทศบาลตาบลจานแสนไชย ทาใหก้ ารขบั เคล่อื นงานทาไดไ้ ม่เตม็ ที่
8.6.2 โครงการฝึกอาชพี มีผเู้ รียนเป็นจานวนมาก ทาใหว้ ทิ ยากรดูแลไม่ทวั่ ถึง

8.7 ปจั จัยความสาเร็จ
8.7.1 นายอาเภอห้วยทับทัน นายกเทศมนตรีให้การสนับสนุน ทางานร่วมกันอย่างบูรณาการทาให้

เจา้ หนา้ ท่แี ละผรู้ ับผดิ ชอบในสว่ นของการปฏบิ ตั ิงานสามารถทางานได้บรรลเุ ปาู หมาย
8.7.2 ผู้นามีความมุ่งหวัง มุ่งมั่นที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับคนในตาบลจานแสนไชย สามารถชี้เปูา

และระบปุ ญั หาใหก้ บั คณะทางานเพื่อดาเนินการช่วยเหลอื ได้

8.8 ข้อคน้ พบ
8.8.1 การมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาครัฐ ภาคประชาสังคม ภาคประชาชน อาสาสมัคร

พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.) ในพื้นท่ี ซึ่งมีจิตอาสาให้ความร่วมมือและช่วยเหลือ
กลุ่มเปูาหมายดว้ ยความเต็มใจและเต็มที่

8.8.2 อปท. ให้ความร่วมมือในการสนับสนุนทรัพยากรต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นบุคลากร สถานท่ี ยานพาหนะ
หรือการประสานงานเป็นอย่างดี

8.8.3 แผนพฒั นาคุณภาพชีวติ กลุม่ เปราะบางรายครวั เรือน ท่ีเกิดจากความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย
จะเปน็ กลไกสาคญั ทจ่ี ะทาใหก้ ลุ่มเปาู หมายหลุดพ้นจากความยากจนและมีคุณภาพชวี ิตที่ดีข้ึนอย่างย่งั ยนื

8.9 ข้อเสนอแนะ
8.9.1 อยากให้มีการขับเคลือ่ นโครงการบรู ณาการสรา้ งเสริมชุมชนเข้มแข็งเทศบาลตาบลจานแสนไชย

ต่อไปอยา่ งตอ่ เน่ือง
8.9.2 ท้องท่ี ท้องถ่ิน ผู้นาชุมชน ควรสารวจข้อมูลผู้ประสบปัญหาทางสังคม วิเคราะห์ กาหนด

แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตไวเ้ พอื่ บาบัดทกุ ข์ บารุงสขุ ให้กบั ประชาชนในเทศบาลตาบลจานแสนไชย
8.9.3 การเลือกพัฒนาชุมชนเข้มแข็งไม่จาเป็นต้องมุ่งเน้นท่ีครอบครัวเปูาหมาย เน่ืองจากบริบทของ

แต่ละหน่วยงานอาจจะสามารถพัฒนาชุมชนได้ในระดับกว้าง ผู้ท่ีได้รับประโยชน์อาจจะมากกว่าครอบครัว
ผดู้ อ้ ยโอกาสทีร่ ะบุไว้ เช่น การสร้างอาชีพในระดบั ชุมชน การกวดขนั ยาเสพตดิ ในพืน้ ท่ี

29

บทท่ี 9
สรปุ ผลการถอดบทเรียนการดาเนนิ งานโครงการบรู ณาการสรา้ งเสรมิ ชมุ ชนเข้มแข็ง

ตาบลบากเรือ อาเภอมหาชนะชยั จังหวดั ยโสธร

9.1 การวิเคราะหส์ ภาพปัญหาในพนื้ ท่ี
9.1.1 ปัญหาท่ีอยอู่ าศัยไมป่ ลอดภัย ไมม่ ่นั คง
9.1.2 ผสู้ ูงอายุอาศัยอยู่ตามลาพงั
9.1.3 กลุม่ เปาู หมายเป็นกลมุ่ เดก็ ผสู้ งู อายุ ผูพ้ ิการ และผปู้ ุวยตดิ เตียง
9.1.4 รายได้ไมเ่ พียงพอ ว่างงาน ได้รับผลกระทบจาก Covid-19
9.1.5 มีหนส้ี ิน
9.1.6 ครอบครวั แหวง่ กลาง
9.1.7 มารดาเลยี้ งเดีย่ ว
9.1.8 ความรนุ แรงในครอบครวั
9.1.9 เด็กตดิ เกมส์
9.1.10 ปญั หาสรุ า/ยาเสพติด

9.3 การได้มาซงึ่ ข้อมลู กลมุ่ เปราะบาง
9.2.1 จากเวที “จุดประกายขายความคิด การบรู ณาการขับเคลื่อนการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งภายใต้

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวติ กลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน” วันท่ี 14 กมุ ภาพันธ์ 2564 โดยการเสนอของเครือข่าย
จากโรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล อาสาสมคั รฯ และผู้นาชมุ ชน จานวน 8 หมู่บ้าน จาก 11 หมู่บ้าน
มจี านวนผ้ปู ระสบปัญหา ควรได้รับการช่วยเหลือ จานวน 37 ครัวเรือน (ซึ่งตรงกับฐานข้อมูล Social Map
ตาบลบากเรอื จานวน 3 คน จาก 143 คน)

9.2.2 เครือข่าย อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.) อาสาสมัครสาธารณสุข
ประจาหมู่บ้าน (อสม.) ผู้นาชุมชน (3 หมู่บ้าน ม.4, ม.5, ม.6) ท่ีไม่ได้เข้าร่วมประชุม วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2564
ขอเสนอเพิม่ เตมิ จานวน 19 ครัวเรือน

9.2.3 ฐานข้อมูลจาก TPMAP จานวน 9 ราย (ให้การช่วยเหลือ 4 ราย) รวมกลุ่มเปราะบางในพื้นที่
ตาบลบากเรือ อาเภอมหาชนะชัย ท่ีต้องดาเนินการขับเคลื่อนในโครงการตาบลสร้างเสริมสวัสดิการสังคม
การบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง ภายใต้โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน
จานวน 60 ครัวเรอื น (เดมิ 65 ครวั เรือน)

9.2.4 จัดประชุมทีม พม. One.Home.เพ่ือพิจารณาให้การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม
ในวันท่ี 2 เมษายน 2564 ณ บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดยโสธร ซ่ึงพิจารณาให้การช่วยเหลือ
เป็นเงินสงเคราะห์ผู้มีรายได้น้อยและไร้ท่ีพึ่งของศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พ่ึง (จานวน 2,000 บาท 28 ราย /
จานวน 3,000 บาท 32 ราย) และพิจารณากาหนดกลุ่มเปูาหมายท่ีจะพัฒนา จานวน 35 ครัวเรือน
ในปีงบประมาณ 2564

30

9.3 สภาพปัญหากล่มุ เปา้ หมายรายครวั เรอื น
9.3.1 ดา้ นรายไดแ้ ละการมงี านทา จานวน 35 ครัวเรอื น
9.3.2 ดา้ นสขุ ภาพ จานวน 17 ครวั เรอื น
9.3.3 ดา้ นการศกึ ษา จานวน 13 ครัวเรอื น
9.3.4 ดา้ นความเปน็ อยู่ (ท่ีอยอู่ าศยั ) จานวน 21 ครัวเรอื น
9.3.5 ด้านการเขา้ ถงึ บริการรฐั จานวน 9 ครัวเรอื น

9.4 ผลการช่วยเหลอื รายครัวเรอื น
9.4.1 ด้านรายได้และการมีงานทา
เงินสงเคราะห์ครอบครัวผู้มีรายได้น้อยและผู้ไร้ท่ีพ่ึง จานวน 35 ครัวเรือน โดย ศูนย์คุ้มครองคนไร้ท่ีพึ่ง

จงั หวดั ยโสธร
9.4.2 ดา้ นสุขภาพ
1) ดูแลสุขภาพคนพิการติดเตียงในครอบครัว จานวน 3 ครัวเรือน โดย โรงพยาบาลส่งเสริม

สขุ ภาพตาบล / อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจาหมบู่ า้ น (อสม.) ตาบลบากเรอื
2) ให้คาปรึกษาด้านการดูแลสุขภาพ การรับประทานอาหาร การออกกาลังกายของผู้สูงอายุ

ท่ีอยู่เพียงลาพัง จานวน 12 ครัวเรือน โดย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล /อาสาสมัครสาธารณสุข
ประจาหม่บู า้ น (อสม.) / สานักงานสาธารณสขุ อาเภอ / องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ งานด้านสาธารณสุข

3) การสนับสนุนรถสามล้อมือโยก จานวน 2 ครัวเรือน โดย สานักงานพัฒนาสังคมและ
ความมน่ั คงของมนษุ ย์จังหวดั ยโสธร

9.4.3 ด้านการศกึ ษา
เงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจน จานวน 13 ครัวเรือน โดย สานักงานพัฒนาสังคมและ

ความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ยโสธร
9.4.4 ด้านความเปน็ อยู่ (ท่ีอยอู่ าศัย)
ให้คาแนะนาในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมท่ีอยู่อาศัย จานวน 21 ครัวเรือน โดย องค์การ

บริหารส่วนตาบลบากเรือ / โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล / หน่วยงาน พม. ในพ้ืนที่ /อาสาสมัคร
พฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.) / อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมบู่ ้าน (อสม.) ตาบลบากเรอื

9.4.5 ด้านการเข้าถงึ บริการของรัฐ
1) จดั ทาบัตรประจาตัวผพู้ กิ าร จานวน 3 ราย โดย องค์การบรหิ ารส่วนตาบลบากเรือ
2) ให้คาปรึกษาด้านสิทธิสาหรับผู้พิการ/ผู้สูงอายุ.โดย.องค์การบริหารส่วนตาบลบากเรือ /

สานกั งานพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์จงั หวดั ยโสธร
3) ให้คาปรึกษาเร่ืองเงินอุดหนุนเด็กแรกเกิด จานวน 1 ครัวเรือน โดย องค์การบริหารส่วนตาบล

บากเรือ / สานักงานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัดยโสธร

9.5 ผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมที่ดาเนนิ การในพ้ืนท่ี
9.5.1 โครงการบรู ณาการเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน ตาบลสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง

โดย สานกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 4 / สานกั งานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดยโสธร
/ หน่วยงาน พม. ในพ้นื ท่ี

31

9.5.2 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพร้อมและซักซ้อมการอพยพคนพิการในสถานการณ์
ภัยพบิ ัติ โดย สานกั งานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ ังหวดั ยโสธร

9.5.3 โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสตรีพิการ ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 โดย สานกั งานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษยจ์ งั หวดั ยโสธร

9.5.4 โครงการธนาคารเวลาจงั หวดั ยโสธร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 25654 โดย สานักงานพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์จงั หวดั ยโสธร

9.5.5 โครงการส่งเสริมทักษะชีวิตและทักษะอาชีพด้วยภูมิปัญญาท้องถ่ิน โดย บ้านพักเด็กและ
ครอบครัวจงั หวดั ยโสธร

9.5.6 โครงการ “สภาเด็กและเยาวชนตาบลบากเรือรู้ทันภัยสื่อออนไลน์” โดย บ้านพักเด็กและ
ครอบครัวจังหวัดยโสธร

9.5.7 โครงการสนบั สนุนการรวมกล่มุ ประกอบอาชีพ 110 วนั ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดย องค์การ
บริหารส่วนตาบลบากเรือ / ศนู ย์เรียนรกู้ ารพฒั นาสตรีและครอบครัวจังหวัดศรีสะเกษ

9.5.8 โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชนให้ยั่งยืนตามแนวทาง
ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง โดย องค์การบริหารสว่ นตาบลบากเรอื /สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานจงั หวดั ยโสธร

9.5.9 โครงการสร้างเสริมพลังกลุ่มเปราะบางเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตในครอบครัวและชุมชน
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 โดย สนง.พมจ.ยโสธร

9.6 ปัญหาอุปสรรค
9.6.1 สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทาให้มีการลงพ้ืนที่ได้ไม่เต็มที่ มีข้อจากัดในการ

จดั ประชมุ จัดกจิ กรรม และการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตกล่มุ เปาู หมายเปราะบาง
9.6.2 มีความติดขดั ในการประสานงานกบั หนว่ ยงานภาคที ส่ี ามารถเสรมิ หนุนในด้านอาชพี การสร้างรายได้
9.6.3 บางโครงการ/กจิ กรรมไมส่ ามารถดาเนินการได้เน่ืองจากตอ้ งมีการคืนงบประมาณ

9.7 ปัจจยั ความสาเร็จ
9.7.1 องค์การบริหารส่วนตาบลบากเรือ มีการสารวจจัดเก็บข้อมูลกลุ่มเปราะบางในตาบลบากเรือ

ที่เป็นปัจจุบันและสามารถนาข้อมูลดังกล่าวมาใช้วางแผนบูรณาการการพัฒนาคุณภาพชีวิตรายครัวเรือน
ร่วมกบั หน่วยงาน ระดบั อาเภอ และระดับจังหวัดได้

9.7.2 ตาบลบากเรือ เคยเป็นพื้นท่ีเปูาหมายในการดาเนินโครงการของหน่วยงานสังกัดกระทรวง
การพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยม์ าอย่างต่อเน่ือง เช่น เป็นตาบลต้นแบบ ปี 2558 และ ปี 2559
ท่ขี บั เคลือ่ นโดยศูนยพ์ ัฒนาสงั คมฯ หรอื ศนู ยค์ ุม้ ครองคนไรท้ ่พี ง่ึ จังหวัดยโสธร (ในปจั จบุ ัน)

9.7.3 เครือข่าย อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.) อาสาสมัครสาธารณสุข
ประจาหมบู่ า้ น (อสม.) ผู้นาชุมชน เป็นกลไกหลักที่จะเป็นผู้ประสาน เชื่อมโยง ช่วยเหลือ ซึ่งเป็นส่วนสาคัญมาก
ในการบูรณาการขบั เคล่ือนการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ กลุ่มเปราะบาง

9.7.4 มีบุคลากรให้ข้อมูลในพ้ืนท่ีอย่างชัดเจน เช่น นางสุนีรัตน์ เลิศชัยโฆษิตกุล ผู้อานวยการ
กองสวัสดกิ ารสังคม

9.7.5 การทางานร่วมกันของทีม One.Home.พม.จังหวัดยโสธร กับภาคีเครือข่าย ได้แก่ องค์การ
บรหิ ารสว่ นตาบลบากเรือ อาสาสมคั รพัฒนาสังคมฯ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมบู่ ้าน (อสม.)

32

ผู้นาชุมชน มีการบูรณาการทางานร่วมกันอย่างเข้มแข็งมีความเป็นทีม มีการวางระบบการทางานได้
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

9.8 ข้อค้นพบ
9.8.1 การบูรณาการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็งจะขับเคลื่อนไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ พ้ืนท่ีตาบล

เปูาหมายควรมีองค์ประกอบ ดังนี้ พื้นที่มีทุนทางสังคม ผู้นาเข้มแข็ง มีความร่วมมือของทีมอาสา จิตอาสา
ในพน้ื ท่กี ารบริหารจัดการ มกี ารตดั สนิ ใจร่วมกันในรูปแบบคณะกรรมการในทุกระดับ ทาให้การขับเคลื่อนงาน
พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ กลมุ่ เปราะบางมีความตอ่ เน่ือง ทันเวลา และสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของชุมชน

9.8.2 การพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปูาหมายเปราะบาง หากจะให้ย่ังยืนต้องพัฒนาให้ครบทุกมิติ
โดยเฉพาะด้านรายได้ กิจกรรมอย่างการ เช่น กิจกรรมการฝึกอบรมสานกระติบข้าวจากต้นกก ซึ่งเป็น
ตัวอย่างที่ดีของการพัฒนาท่ีใช้ทุนทางสังคม ประกอบด้วย กลุ่มเปูาหมายในพ้ืนที่ วัสดุท้องถ่ิน ในการ
การดาเนินงานท่สี อดคล้องกบั บริบทและความต้องการ เพื่อเปน็ การเพ่มิ มลู คา่ และต่อยอดสนิ คา้ ได้

9.8.3 ผู้นาชุมชน อาสาสมัครในพื้นที่ มุ่งมั่นให้ความร่วมมือ เป็นฟันเฟืองท่ีสาคัญมีผลต่อความสาเร็จ
ในการขับเคล่อื นงานรว่ มกัน

9.8.4 ความเป็นนา้ หน่ึงใจเดยี วกนั ทางานร่วมกัน ยึดประโยชน์ร่วมกันเป็นหลัก ทาให้การขับเคล่ือนงาน
มีพลงั

9.8.5 องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มีความสาคัญอย่างยิ่งในเร่ืองการสารวจจัดเก็บข้อมูล
กล่มุ เปราะบางในพ้นื ท่ีให้เป็นปัจจุบนั และสามารถนาขอ้ มลู มาใช้วางแผนบูรณาการการพัฒนาคุณภาพชีวิต
รายครวั เรอื นได้เอง

9.8.6 ผู้นาชุมชน อาสาสมัครในพ้ืนที่ (อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ (อพม.) /
อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) เป็นผู้ชี้เปูาเฝูาระวัง สอดส่องดูแลกลุ่มเปราะบางได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ เน่ืองจากเป็นผู้ใกล้ชิดกลุ่มเปราะบาง มีข้อมูล มีความเข้าใจ สามารถดาเนินการช่วยเหลือ
สง่ ต่อใหห้ น่วยงานภาคเี ครอื ขา่ ยท่เี กี่ยวข้องได้อยา่ งรวดเรว็ และทันต่อเหตุการณ์

9.9 ขอ้ เสนอแนะ
9.9.1 ชุมชนมีส่วนร่วมที่สาคัญเป็นอย่างมากในการร่วมขับเคล่ือน การพัฒนาคุณภาพชีวิต จึงจาเป็น

ท่ีจะต้องมีผู้นาท่ีเข้มแข็งมีความรู้ความเข้าใจที่จะเป็นผู้ประสาน เช่ือมโยง ช่วยเหลือ กลุ่มเปราะบางในชุมชน
ร่วมกับทมี ระดับจังหวัด และอาเภอ

9.9.2 ควรมงี บประมาณในการสนับสนนุ การจัดประชุม จานวน 2 เวที
9.9.3 ทุกสว่ นราชการในพ้นื ที่ต้องแปลงนโยบายมาสกู่ ารปฏบิ ัติ และต้องรว่ มบูรณาการกนั อย่างต่อเนอ่ื ง
9.9.4 หน่วยงานภาครัฐมีภารกิจประจา บางคร้ังไม่สามารถเข้าร่วมกระบวนการวางแผนและพัฒนา
คุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางครัวเรือนได้ ผู้นาชุมชนควรรับบทบาทเป็นส่ือกลางในการประสานงานส่งต่อ
ข้อมูลให้ อปท. และหนว่ ยงานตา่ งๆ เน่อื งจากเป็นผ้ใู กลช้ ดิ กบั กล่มุ เปาู หมาย
9.9.5 ในปแี รกการดาเนินงานการบูรณาการฯ ที่ต้องมีหลายภาคส่วนเข้ามาร่วมกันขับเคลื่อน ส่งผล
ให้กระบวนการในการช่วยเหลือของภาคีเครือข่ายหลายแห่งยังไม่ครอบคลุม ควรดาเนินการอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพชีวติ กลมุ่ เปูาหมายเปราะบางเกิดขึ้นได้อย่างย่ังยืน

33

บทที่ 10
บทวเิ คราะห์

10.1 การเสริมสรา้ งความเข้มแข็งของชุมชน
อาศัยอยู่บนพื้นฐานของกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนโดยในแต่ละชุมชนจะมี

การพัฒนาไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชนในมิติต่างๆ เช่น.มิติทางด้านเศรษฐกิจ มิติทางด้า น
ทรัพยากรธรรมชาติ มิติทางด้านสังคม และมิติทางด้านวัฒนธรรม ซึ่งในการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนนั้น
อาจพัฒนาความเข้มแข็งได้เพียงบางมิติเท่าน้ัน เนื่องจากเงื่อนไขและกระบวนการท่ีนาไปสู่ความเข้มแข็ง
ในแต่ละมิติของแตล่ ะชุมชนมีความแตกต่างกัน.โดยชมุ ชนท่มี ีความเข้มแข็งตอ้ งมีลกั ษณะทส่ี าคญั ดังนี้ คอื

1) สมาชิกของชุมชนมีความเชื่อม่ันในศักยภาพของตนและชุมชนที่จะแก้ไขปัญหาและพัฒนาชีวิต
ความเปน็ อยูข่ องตนเอง

2) สมาชกิ ของชุมชนพรอ้ มทีจ่ ะรว่ มกันจัดการกับปญั หาของตนและชมุ ชน
3) มีกระบวนการของชุมชนท่ีมีการเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องจนเป็นวิถีของชุมชน ภายใต้การ
สนับสนุนของผู้นาองค์กรชุมชน.ในลักษณะเปิดโอกาสให้กับสมาชิกทั้งมวลเข้ามามีส่วนร่วม โปร่งใส และ
พร้อมที่จะให้ตรวจสอบ
4) สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมในการประเมินสถานการณ์ของชุมชนกาหนดวิสัยทัศน์ร่วม ร่วมคิด
ตัดสนิ ใจ ดาเนินงาน ติดตามและประเมนิ ผลการแกป้ ัญหาและการพัฒนาของชุมชนผ่านกระบวนการชมุ ชน
5) สมาชกิ ชุมชนเกดิ การเรียนร้ผู ่านการเข้าร่วมในกระบวนการของชมุ ชน
6) มีแผนของชุมชนท่ีประกอบด้วยการพัฒนาทุกๆ ด้านของชุมชน.ที่มุ่งการพ่ึงตนเอง
เอื้อประโยชน์ต่อสมาชิกชุมชนทุกๆ คนและมุ่งหวังการพัฒนาชุมชนที่ยัง่ ยืน
7) การพ่ึงความช่วยเหลือจากภายนอก เป็นการพ่ึงเพื่อให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ในที่สุด
ไมใ่ ช่การพ่ึงพาตลอดไป
8) มีเครือข่ายความร่วมมือกับภาคีการพัฒนา.อาจเป็นหมู่บ้านชุมชนอ่ืนๆ.ท้องถ่ินภาคราชการ
องค์กรเอกชน นกั ธรุ กิจ นักวชิ าการ และอนื่ ๆ.ในลักษณะของการมคี วามสัมพนั ธท์ ีเ่ ท่าเทียมกนั
ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน.เพื่อเป็นฐานรองรับการแก้ไขปัญหาและการพัฒนา
ท้ังทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมพร้อมกันทุกด้าน หน่วยงาน
ท้ังภาครัฐและเอกชน รวมไปถึงภาคีการพัฒนาต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก จึงต้องผนึกกาลังดาเนินงาน
การเสริมความเข้มแข็งให้กับชุมชนในการแก้ไขปัญหาต่างๆ.ได้ด้วยตนเอง.ด้วยการกระตุ้น และสร้าง
กระบวนการทางานแบบมีส่วนร่วม รวมทั้งการสร้างสภาพแวดล้อมให้ชุมชนร่วมกันคิด ร่วมกันทาและ
มีการเรียนรู้เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน อันจะนาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนในระยะยาว ทั้งนี้มีกิจกรรมหลัก
ที่ดาเนินการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ได้แก่การส่งเสริมกระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ของชุมชนเพื่อเผชิญปัญหาวิกฤต โดยพัฒนาศักยภาพให้คนในชุมชนรวมกลุ่มกัน ร่วมคิด ร่วมทา
ร่วมรับผิดชอบ และร่วมรักษาผลประโยชน์ของชุมชนด้วยตนเอง รวมท้ังให้ความสาคัญกับการปรับวิธีคิด
และวิธีการทางานของบุคลากรภาครัฐจากการเป็นผู้ส่ังการเป็นผู้สนับสนุนในการจัดการและแก้ไขปัญหา
ของชุมชนเอง.และการส่งเสริมกระบวนการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของชุมชนในลักษณะ “ร่วมคิด ร่วมทา
และรว่ มเรยี นรู้” เพื่อส่งเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งของชุมชน ประกอบดว้ ยกระบวนการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ

34

ชุมชนได้มีการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์เพ่ือการพัฒนาอาชีพและเศรษฐกิจชุมชน การพัฒนา
สวัสดิการสังคมและสวัสดิภาพของชุมชนการฟ้ืนฟูอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน
การค้นหาศักยภาพและการพัฒนาภูมิปัญญาท้องถ่ิน ตลอดจนการจัดทาแผนความต้องการของชุมชน
รวมทงั้ การสรา้ งประชาคมภายในชมุ ชนและการสร้างเครือข่ายของชมุ ชน

10.2 การพัฒนาคุณภาพชีวิตผปู้ ระสบปญั หารายครวั เรือน
ในปัจจุบันจาเป็นต้องอาศัยการแก้ปัญหาแบบบูรณาการเพื่อการมองปัญหาให้รอบด้าน

ในทุกมิติท้ังมิติเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพและสภาพแวดล้อม เน่ืองด้วยการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน
จาเป็นต้องวิเคราะห์ให้เห็นถึงสาเหตุ/ท่ีมาของปัญหา โดยสาเหตุของปัญหาอาจไม่ได้มาจากมิติทางสังคม
แต่เพียงอย่างเดียว.แต่ยังคาบเก่ียวกับมิติอื่นๆ จึงจาเป็นต้องอาศัยการให้ความสาคัญกับการบูรณาการ
การแก้ปัญหาและความร่วมมือจากหลายภาคส่วนเพื่อให้การดาเนินการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง
เกิดความยั่งยืน โดยมองภาพการแก้ปัญหาในระดับรายครัวเรือนและชุมชน ซ่ึงมีปัจจัยเส่ียงท่ีเกี่ยวข้อง
ในหลายมติ ิ ดังนี้

1) มิติเศรษฐกิจ.ความเปราะบางในครัวเรือนกระจุกตัวมากขึ้นในครัวเรือนท่ีมีหนี้
ปัญหาสาคัญของการเป็นหน้ีคือความไม่สอดคล้องกันของรายรับและรายจ่ายที่มีร ายจ่ายมากกว่ารายได้
ส่งผลให้ครัวเรอื นตอ้ งเปน็ หนต้ี ามมา.การแก้ปัญหาความยากจนน้ันจาเป็นต้องวิเคราะห์หาสาเหตุพร้อมกับ
การพัฒนาสวัสดิการและคุณภาพชีวิตของประชาชนไปพร้อมกัน ซ่ึงกลุ่มเปูาหมายท่ีเป็นกลุ่มเปราะบาง
ถอื เปน็ กล่มุ เปูาหมายหลักท่มี ีความจาเป็นเร่งดว่ นทค่ี วรให้ความสาคัญในระดับต้นๆ ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
แบบบูรณาการ.เพอื่ การยกระดับความช่วยเหลือใหเ้ กดิ ความยัง่ ยืนในระยาว.เพ่ือใหผ้ ู้ประสบปญั หา สามารถ
พึ่งพาตนเองได้

2) มิติสังคม นอกจากความเปราะบางของครัวเรือนยังเกี่ยวข้องกับมิติทางเศรษฐกิจ
ในเรือ่ งรายได้ หนส้ี ิน ทรพั ย์สิน การออม ตลอดจนพฤติกรรมการใช้ชีวิตและการบริหารจัดการทางการเงิน
ความเปราะบางของครัวเรือนยังเก่ียวข้อง และมีสาเหตุมาจากมิติทางสังคมด้วยเช่นกัน ปัญหาสังคม
กับลักษณะความเปราะบางของครัวเรือนน้ันมีด้วยกันหลายรูปแบบ อาทิ ครอบครัวขยายที่พักอาศัย
คับแคบต้องทากิจกรรมทุกอย่างรวมกัน เด็กอาจเรียนรู้ส่ิงที่ผู้ใหญ่ทาก่อนวัยอันควร ปัญหาเด็กถูกทิ้ง และ
โรคเอดส์ พ่อเลี้ยงข่มขืนลูกเลี้ยง ถูกหลอก ถูกข่มขืน รังแก ทาร้าย การค้ามนุษย์ การล่วงละเมิดทางเพศ
เด็กและสตรี มีความอ่อนแอถูกล่วงละเมิดท้ังในและนอกครอบครัว.ในโรงเรียน.ที่ทางาน.และระหว่าง
เดินทางครอบครัวขาดการส่ือสารและดูแลกัน พ่อแม่ดิ้นรนทางานทิ้งลูกให้อยู่บ้าน ไม่ได้รับการอบรม
นอกจากน้ยี งั รวมถงึ ความเปราะบางต่อปัญหาของวยั รุ่นทุกประเภท เชน่ เกมส์ ยาเสพตดิ เพศสมั พนั ธ์ เปน็ ตน้

3) มิติสุขภาพ การมีสุขภาพกายและใจท่ีดีเป็นองค์ประกอบสาคัญในการดาเนินชีวิต
หากครัวเรือน มีสมาชิกที่มีปัญหาสุขภาพย่อมเกิดความเส่ียงที่จะทาให้ครัวเรือนเกิดความเปราะบางข้ึนได้
เนื่องจากปญั หาสขุ ภาพท่เี กิดข้ึนกับบุคคล โดยเฉพาะกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ จะยิ่งส่งผลกระทบต่อ
กลุ่มคนดังกล่าวในการใช้ชีวิตประจาวัน.การทางาน.การประกอบอาชีพและหารายได้และหากเป็นปัญหา
สุขภาพที่เรื้อรังหรือมีภาวะติดเตียงร่วมด้วยแล้วจะย่ิงทวีความรุนแรงของความเปราะบางข้ึนไปอีก ปัญหา
สุขภาพดังกล่าวท่ีเกิดขึน้ กบั กล่มุ เปราะบางสง่ ผลกระทบที่ตามมาในเร่ืองของค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
ทตี่ อ่ เนอ่ื ง บางรายอาจไมส่ ามารถประกอบอาชพี หรือทางานได้ตามปกติเกิดเป็นปัญหาค่าใช้จ่ายและหนี้สิน
ความเครียด และเกดิ ผลต่อสุขภาพจติ ตามมา

35

4) มติ ิสภาพแวดล้อม ในมิติของสภาพแวดล้อมกับความเปราะบางของครัวเรือนนั้นเก่ียวข้อง
ตัง้ แตเ่ รือ่ งของท่อี ยู่อาศยั และสภาพแวดล้อมในการใช้ชีวิตประจาวัน โดยลักษณะทางครัวเรือน ขนาดท่ีอยู่อาศัย
และลักษณะที่อยู่อาศัยล้วนส่งผลต่อความเปราะบางของครัวเรือนในพ้ืนท่ี กลุ่มเปราะบางบางกลุ่มไม่มี
ท่ีอยู่อาศัยเป็นของตนเองอยู่ในพื้นที่สาธารณะหรือมีที่อยู่อาศัยท่ีไม่ม่ันคงไม่เหมาะสมต่อการพักอาศัย
ตลอดจนอาศยั อยรู่ ่วมกบั ผูอ้ ื่น เปน็ ตน้

ในการขจัดความยากจนในสังคมไทยให้หมดไปจะเกิดข้ึนไม่ได้ ถ้าหากมีครัวเรือนจานวนมาก
ยังคงเปราะบางอยู่ ความเปราะบางเป็นแนวคิดท่ีมีความเป็นพลวัตรมากกว่าความยากจน จากข้างต้น
จะเหน็ ได้ว่า ความเปราะบางของครัวเรือนน้ันมีปัจจัยเสี่ยงท่ีเก่ียวข้องในหลายมิติ ทั้งมิติทางด้านเศรษฐกิจ
สังคม สุขภาพ และสภาพแวดลอ้ ม โดยสามารถสรุประดับของปจั จยั เสีย่ งได้ 3 ระดบั ดังน้ี

1) ระดับที่ได้รับผลกระทบต่อปัจเจกบุคคลและครัวเรือน.(Micro).เช่น.ความเจ็บปุวย ความพิการ
ความชราภาพ เป็นต้น

2) ระดับที่ได้รับผลกระทบต่อครัวเรือนและชุมชน (Meso) เช่น โรคระบาด ภัยแล้ง น้าท่วม
ไฟไหม้ การจลาจลและมลพิษตา่ งๆ

3) ระดับที่ได้รับผลกระทบต่อประชากรท้ังประเทศ (Macro) ซ่ึงความเสี่ยงที่ครัวเรือน
ต้องเผชิญเป็นระยะเวลานาน หรือความเสี่ยงที่มีผลกระทบสูง ย่อมส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของครัวเรือน
ผู้ประสบปัญหา ทั้งนี้เราสามารถปูองกันความเปราะบางในระดับบุคคลและครัวเรือนได้ โดยต้องถือเป็น
ภารกิจเร่งด่วนที่ต้องอาศัยการบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการพัฒนาคุณภาพชีวิ ตผู้ประสบ
ปญั หารายครวั เรอื น เพ่ือแกไ้ ขปญั หา กาจดั ความยากจน ให้ประชาชนอยู่ดีมีสุข สร้างความม่ันคงและยั่งยืน
ให้กบั คนในชมุ ชนต่อไป

36

10.3 การวิเคราะห์ SWOT Analysis
สภาพปัญหาในพื้นที่ เพื่อวางแผนกลยุทธ์และวิเคราะห์สถานการณ์กระบวนการทางาน

รวมทง้ั สร้างโอกาสความสาเรจ็ ผา่ นการวิเคราะหป์ ัจจัย 4 ประการ ได้แก่ Strength (จุดแข็ง), Weakness
(จุดออ่ น), Opportunities (โอกาส) และ Threats (อุปสรรค) โดยสามารถวเิ คราะห์ไดด้ ังน้ี

Strength (จุดแข็ง) Weakness (จุดออ่ น)

-.มีผู้นาชุมชนและเครือข่ายท่ีเข้มแข็ง ผู้นาท้องที่ - การประกอบอาชีพทางการเกษตรเพียงอย่างเดียว

ผนู้ าท้องถน่ิ สามารถทางานร่วมกนั อย่างมีเอกภาพ ทาให้ขาดรายได้ช่วงหลังเก็บเก่ียวผลผลิตทาง

- ผู้บริหารให้ความร่วมมือและยึดประโยชน์สูงสุดของ การเกษตร

ชาวบ้านเป็นสาคัญ และพร้อมท่ีจะสนับสนุนหากผู้นา -.ไม่สามารถรวมกลุ่มเพื่อดาเนินการด้านเศรษฐกิจ

ชมุ ชนต้องการ ในรูปแบบของกลุ่มอาชีพท่ีเข้มแข็งได้ เน่ืองจากไม่มี

- ประชาชนในพ้ืนที่ให้ความสนใจและให้ความร่วมมือ ทุนทรัพย์ในการลงทนุ เป็นตน้

ในการดาเนินโครงการ - ไม่มีตลาดรองรับสินค้าทางการเกษตรในพ้ืนท่ี

จงึ ต้องไปขายสินค้าในพ้ืนทขี่ ้างเคยี ง

Opportunities (โอกาส) Threats (อปุ สรรค)

-.แ น ว ท า ง ก า ร พั ฒ น า ก ลุ่ ม เ ปู า ห ม า ย ใ น พ้ื น ท่ี - การย้ายถิ่นฐานคนในวัยทางาน คนหนุ่มสาว

เน้นแนวคิด บวร (บ้าน/วัด/โรงเรียน) ทาให้เกิด ไปทางานในตา่ งจงั หวดั ต่างประเทศ

การบูรณาการอย่างย่ังยืน และใช้เครื่องมือสมุดพก -.การย้ายถ่ินฐานของวัยทางาน ส่งผลให้ผู้สูงอายุ

ครอบครวั ในการจดั เก็บขอ้ มูล อาศัยอยู่ตามลาพัง/ผู้สูงอายุต้องเล้ียงดูหลาน

-.หลายหน่วยงานของภาครัฐมีแนวการพัฒนา ตามลาพงั /ผสู้ ูงอายุถกู ทอดทง้ิ

ในทศิ ทางเดียวกัน ที่ให้ความสนใจต่อการแก้ไขปัญหา

ความยากจนและคณุ ภาพชวี ิต

10.4 ขอ้ เสนอ
10.4.1 ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย
1) ควรมีการถ่ายทอดนโยบายไปสู่หน่วยงานระดับพ้ืนท่ี โดยให้มีความเข้าใจในการทางาน

ร่วมกัน เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจในทิศทางเดียวกันในการขับเคลื่อนการบูรณาการสร้างเสริมชุมชน
เข้มแข็งและสามารถไปถ่ายทอดให้กบั พน้ื ทแ่ี ละภาคเี ครือข่ายทเ่ี กยี่ วข้องไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

2) ควรมีการประสานงานขอความร่วมมือกับหน่วยงานที่มีเครือข่ายในระดับท้องถ่ิน
(ระดับอาเภอ./.ตาบล).ให้มีการทางานร่วมกัน หรือมีการจัดต้ังหน่วยงานเฉพาะในการบริหารจัดการ
เพ่ือให้เกดิ ความคลอ่ งตัวในการขบั เคลื่อนงานในระยะยาว

3) ควรมีการสนบั สนนุ งบประมาณในการดาเนินการโครงการฯ โดยให้มีกิจกรรมเพื่อพัฒนา
คุณภาพชวี ติ อย่างตอ่ เนื่อง

4) ควรมีระบบในการบันทึกข้อมูลและสามารถแบ่งปันข้อมูลให้ทุกหน่วยท่ีร่วมดาเนินงาน
ได้ทราบรว่ มกัน

37

5) ควรมีการผลักดันนโยบายเกี่ยวกับพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางให้เป็นนโยบาย
ระดับประเทศ.มีแผนการพัฒนาในระยะยาว.โดยสนับสนุนการดาเนินงานในภารกิจของทุกหน่วยงาน
บรู ณาการรว่ มกนั ในการจดั สวสั ดิการสงั คม (องค์รวม) แกก่ ล่มุ เปราะบางในพน้ื ท่ี

10.4.2 ขอ้ เสนอแนะเชิงปฏบิ ัติ
1) ควรจัดเก็บข้อมูลครัวเรือนให้ครบถ้วนและครอบคลุม และ ตรวจสอบข้อมูล

กลุ่มเปูาหมายครัวเรือนใหถ้ ูกตอ้ ง
2) คณะทางานภาคีเครือข่าย ควรบูรณาการร่วมกันทั้งข้อมูล โครงการ การดาเนินงาน

บุคลากร งบประมาณ เพ่ือให้เกิดเครือข่ายการประสานงานพลังในการทางานร่วมกันอย่างเข้มแข็ง
และการมีส่วนร่วมวิเคราะห์ข้อมูลให้ถูกต้อง เพื่อนาไปใช้แก้ไขปัญหาในพ้ืนที่ได้ตรงกับสภาพปัญหาและ
ความต้องการ

3) ควรมีการอบรมและถ่ายทอดองค์ความรู้แก่เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานในทุกระดับเพ่ือพัฒนา
ทกั ษะกระบวนการด้านสังคมสงเคราะห์ และด้านการพัฒนาสังคมในทุกๆ ด้าน อาทิ การค้นหาข้อเท็จจริง
วิเคราะห์ข้อมลู

4) ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชน ผู้นาชุมชน และภาคสังคมเห็นความสาคัญของ
ปญั หารว่ มกัน และมีสว่ นรว่ มในการแกไ้ ขปัญหาทกุ ขนั้ ตอน โดยมีเปูาหมายในการพัฒนาร่วมกนั

10.4.3 ผลทคี่ าดว่าจะได้รบั
1) เกิดการมีส่วนร่วมในการบูรณาการของภาคีเครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค

ประชาสังคมในการชว่ ยเหลือผูป้ ระสบปัญหารายครัวเรือนใหค้ รอบคลุมทกุ มติ ิ
2) กลุ่มเปูาหมายสามารถเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการ รวมทั้งพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ประสบปัญหา

และให้ครอบครวั มัน่ คงมีความสุข สามารถพ่งึ พาตนเองได้อยา่ งยั่งยืน
3) กลุม่ เปูาหมายผ้ปู ระสบปญั หาได้รับการแก้ไขปญั หาและพัฒนาคณุ ภาพชีวิต
4) ชุมชนมีการจัดทาฐานข้อมูลชุมชน ชุมชนมีการจัดทาแผน ชุมชนมีกลไกการขับเคล่ือน

ทนุ ทางสังคม
10.4.4 ตวั ชว้ี ัดความสาเรจ็
4.1 มีแนวทางในการทางานเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มผู้ประสบปัญหารายครัวเรือน

ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยคานึงถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตในทุกมิติ ท้ังมิติด้านรายได้และการมีงานทา
มิติดา้ นสขุ ภาพ มิตดิ า้ นการศกึ ษา มติ ิด้านความเปน็ อยู่ และมิติด้านการเขา้ ถงึ บริการรฐั

4.2 ประชาชนในชุมชนไดร้ ับการแก้ไขปญั หาและพัฒนาคุณภาพชีวิต สามารถพึ่งพาตนเองได้
และเกิดรปู แบบชุมชนเข้มแข็ง อย่างน้อยจังหวัดละ 1 ชุมชน และนาเสนอ.Best.practice สสว..ละ 1 ชุมชน
เพอ่ื นาไปพฒั นาตอ่ ยอดการดาเนนิ งานในพนื้ ทอ่ี ่ืนได้

38

การนาไปใช้ประโยชน์

1) สามารถนารูปแบบการสร้างเสริมชุมชนเข้มแข็ง เพ่ือนาไปพัฒนาต่อยอดการดาเนินงาน
ในพืน้ ที่อ่นื ต่อไป

2) .มีแ น วท าง ใ นการ ท าง าน เ พ่ือการ พัฒ น าคุณภ า พชี วิต กลุ่ม ผู้ ปร ะส บ ปัญ หา ร าย ครั ว เรื อน
ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยคานึงถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตในทุกมิติ ท้ังมิติด้านรายได้และการมีงานทา
มิตดิ ้านสขุ ภาพ มิติดา้ นการศึกษา มติ ดิ ้านความเป็นอยู่ และมิติด้านการเข้าถึงบรกิ ารรัฐ

3) เกิดการมีส่วนร่วมในการบูรณาการของภาคีเครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม
ในการชว่ ยเหลือผูป้ ระสบปญั หารายครัวเรือนให้ครอบคลุมทุกมิติ

4) ประชาชนในชุมชนได้รับการแก้ไขปัญหา/พัฒนาคุณภาพชีวิต/เข้าถึงสิทธิและสวัสดิการ
สามารถพึ่งพาตนเองได้

39

ขอขอบคุณ

ทป่ี รึกษา ผูอ้ านวยการสานกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 4

นางรชธร พูลสทิ ธิ์

คณะผู้จัดทา

กลมุ่ การวิจัยและการพัฒนาระบบเครอื ขา่ ย สานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 4

1. นางสาวขนษิ ฐา ตรากลาง หัวหนา้ กลุ่มการวจิ ยั และการพฒั นาระบบเครอื ขา่ ย
2. นางสาวปยิ ะนนั ท์ โอปนพันธุ์ นักพัฒนาสงั คมปฏบิ ตั ิการ
3. นางสาวชุตภิ า บุตรสนิ ธ์ นกั พัฒนาสงั คมปฏิบตั ิการ
4. นางสาวอารยา จ่าโนนสงู นักพฒั นาสังคม
5. นางสาวณภัทร แสวงผล พนกั งานบริการ
6. นางฉววี รรณ สังกัดกลาง พนกั งานบริการ


Click to View FlipBook Version