รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวดั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ก
คำนำ
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 มีบทบาทภารกิจที่สาคัญในการศึกษาวิเคราะห์
สถานการณ์และสภาพแวดล้อม เพ่ือคาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ทางสังคมและผลกระทบ รวมทั้ง
ให้ข้อเสนอแนะ การพัฒนาสังคมและจัดทายุทธศาสตร์ในพื้นที่กลุ่มจังหวัด ในการดาเนินการจัดทารายงาน
สถานการณ์ทางสังคมน้ัน ต้องมีข้อมูลที่มีคุณภาพ มีความถูกต้องชัดเจนและสามารถนา ข้อมูลไปใช้
ประกอบการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัด ตลอดจนใช้เป็น
ข้อมูลในการประกอบการจัดบริการทางสังคมและการแก้ไขปัญหาสังคมได้ถูกต้อง ตรงตามความต้องการและ
สภาพปัญหาทางสงั คมของแตล่ ะพื้นที่ได้
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ได้รวบรวมข้อมูลสถานการณ์ทางสังคม วิเคราะห์ สรุปผล
และจัดทารูปเล่มรายงานสถานการณ์ทางสังคมระดับกลุ่มจังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในเขตพื้นที่
รับผิดชอบได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ และ
จังหวัดยโสธร ซ่ึงเป็นการนาเสนอข้อมูลพื้นฐานทางสังคม ข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย และสถานการณ์เชิงประเด็น
ในพืน้ ทก่ี ลุ่มจังหวัด
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 หวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงานสถานการณ์ทางสังคม
กลมุ่ จงั หวัดประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 เลม่ น้ี จะเปน็ ประโยชน์ต่อหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องและผู้สนใจทั่วไป
ในการวิเคราะห์และเฝ้าระวังสถานการณ์ทางสังคม ตลอดจนนาไปใช้ประกอบการกาหนดนโยบายเพ่ือการ
ป้องกนั และแก้ไขปัญหาทางสงั คมให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาทางสงั คมท่ีเกิดขึน้ ได้ต่อไป
สานักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 4
สานกั งานปลดั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์
สิงหาคม 2563
สานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4 สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ข
บทสรปุ ผบู้ รหิ ำร
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบ
ของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 (จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์
จงั หวัดสรุ ินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดยโสธร) จดั ทาขน้ึ เพื่อรวบรวมขอ้ มลู สถานการณ์ทางสังคมที่สาคัญ
รวมถึงสถานการณ์กลุ่มเป้าหมายตามภารกิจของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
โดยมีการนาเสนอขอ้ มูลในรปู แบบเชิงพรรณนาและเชิงสถิติ เพื่อแสดงสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์
เพ่ือจัดเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ประมวลผล วิเคราะห์สถานการณส์ ภาพแวดลอ้ ม ผลกระทบ และคาดการณ์แนวโน้ม
ของสถานการณ์ทางสังคม และเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการดาเนินงานการจัดทาแผนงานโครงการกิจกรรม
ด้านการพฒั นาสังคมในระดบั กลุ่มจงั หวัด สรุปได้ดังน้ี
กลุ่มจังหวัดในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 มีพื้นท่ีรวมทั้งหมด
64,719.77 ตารางกิโลเมตร หรอื ประมาณ 40,449,847 ไร่ จังหวัดท่มี พี น้ื ทม่ี ากทสี่ ดุ ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา
20,493.964 ตารางกิโลเมตร รองลงมาคือจังหวัดชัยภูมิ มีพื้นท่ี 12,778.3 ตารางกิโลเมตร เขตการปกครอง
ท้องที่ในกลุ่มจังหวัด ประกอบด้วยจังหวัด 6 จังหวัด 119 อาเภอ 1,043 ตาบล 13,544 หมู่บ้าน การปกครอง
ท้องถ่ินในกลุ่มจังหวัด ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 6 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง
12 แห่ง เทศบาลตาบล 264 แห่ง และองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล 881 แห่ง
มีประชากรรวมท้ังหมดจานวน 8,682,452 คน แบ่งเป็นเพศชาย 4,292,892 คน เพศหญิง 4,389,560 คน
โดยจานวนประชากรอายุระหว่าง 0 – 17 ปี รวม 1,792,354 คน ประชากรอายุระหว่าง 18 – 25 ปี รวม
975,492 คน ประชากรอายุระหว่าง 26 -59 ปี รวม 4,458,726 คน และประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป รวม
1,455,880 คน ซง่ึ มจี านวนกลุม่ เป้าหมายดงั น้ี
1) กลุ่มเด็ก หรือประชากรที่มีอายุต่ากว่า 18 ปี ปี พ.ศ. 2562 มีจานวนรวม 1,792,354 คน และ
มีแนวโน้มว่าจานวนประชากรเด็กลดลงอย่างต่อเนื่อง จังหวัดนครราชสีมาเป็นจังหวัดที่มีจานวนประชากรเด็ก
มากทสี่ ุด และจังหวดั สรุ นิ ทร์กับจังหวัดศรสี ะเกษเป็นสองจังหวดั ท่ีมีจานวนประชากรเด็กใกลเ้ คยี งกนั
2) กลุ่มเยาวชน หรือประชากรที่มีอายุระหว่าง 18 ปี – 25 ปีบริบูรณ์ ในพ้ืนท่ีในปี พ.ศ. 2562
มีจานวนท้ังหมด 975,492 คน และมีแนวโน้มว่าจานวนประชากรเยาวชนลดลงอย่างต่อเนื่อง จังหวัดยโสธร
เป็นจังหวัดที่มีจานวนประชากรเยาวชนต่าท่ีสุด ส่วนจังหวัดนครราชสีมาเป็นจังหวัดที่มีจานวนประชากร
เยาวชนมากทีส่ ุด
3) กลมุ่ สตรี ประชากรสตรที มี่ ีอายุระหว่าง 25 – 59 ปี ท่ีอยู่ในพื้นท่ีในปี พ.ศ. 2562 มีจานวนท้ังหมด
4,429,487 คน มีแนวโน้มว่าจานวนประชากรสตรีเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ือง เม่ือพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด
พบวา่ จงั หวัดยโสธรเปน็ จังหวัดที่มจี านวนประชากรสตรีต่าท่ีสุด สว่ นจังหวัดนครราชสมี าเป็นจังหวัดที่มีจานวน
ประชากรสตรีมากที่สุด
4) กลุ่มผู้สูงอายุ หรือประชารที่มีอายุ 60 ปี ข้ึนไป ท่ีอยู่ในพ้ืนท่ี ในปี พ.ศ. 2562 มีจานวน
ท้งั หมด 1,455,880 คน มแี นวโนม้ วา่ จานวนประชากรสงู อายุจะเพม่ิ ข้ึนอยา่ งต่อเน่ือง จังหวัดยโสธรเป็นจังหวัด
สานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4 สานกั งานปลัดกระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ค
ทมี่ จี านวนประชากรผู้สงู อายตุ ่าที่สดุ สว่ นจังหวดั นครราชสมี าเปน็ จังหวดั ท่ีมจี านวนประชากรผู้สูงอายุมาก และ
จังหวัดสรุ ินทร์กบั จงั หวัดศรสี ะเกษเป็นสองจงั หวัดทมี่ ีจานวนประชากรผู้สงู อายุใกลเ้ คียงกัน
5) กลุ่มคนพิการ คนพิการที่อยู่ในพื้นท่ี ในปี พ.ศ. 2562 มีจานวนรวม 364,651 คน และจากข้อมูล
ประชากรคนพิการ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จังหวัดยโสธรเป็นจังหวัดท่ีมีจานวนประชากรคนพิการ
ตา่ ท่สี ดุ ส่วนจงั หวัดนครราชสีมาเปน็ จังหวดั ทมี่ จี านวนประชากรคนพิการมากท่ีสุด
6) คนยากจน จานวนคนจนท่ีอยู่ในพื้นที่ ในปี พ.ศ. 2561 มีจานวนรวม 1,197,400 คน และ
มีแนวโน้มว่าจานวนประชากรคนจนเพิ่มข้ึน จังหวัดยโสธรเป็นจังหวัดท่ีมีจานวนประชากรคนจนต่าที่สุด
ส่วนจังหวดั นครราชสีมาเป็นจังหวดั ทมี่ จี านวนประชากรคนจนมากท่สี ุด 375,200 คน
จานวนการจดทะเบียนสมรส ท่อี ยู่ในพืน้ ที่ ในปี พ.ศ. 2562 มีจานวนรวม 33,871 คู่ และมีแนวโน้มว่า
จานวนการจดทะเบียนสมรสลดลง จังหวัดยโสธรเป็นจังหวัดที่มีจานวนการจดทะเบียนสมรสต่าที่สุด
และจังหวัดนครราชสมี าเปน็ จังหวดั ท่มี จี านวนการจดทะเบยี นสมรสมากท่ีสุด 12,272 คู่
จานวนสถานศึกษาในกลุ่มจังหวัด สถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
5,109 แห่ง เอกชน 515 แห่ง และ อาชีวศึกษา 54 แห่ง สานักพุทธศาสนาแห่งชาติ 39 แห่ง การศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 509 แห่ง รวมมีจานวนสถานศึกษาท้ังหมด 6,226 แห่ง โดยจังหวัด
นครราชสีมามีจานวนสถานศกึ ษารวมมากทีส่ ดุ 1,848 แห่ง รองลงมา คอื จังหวดั สุรนิ ทร์ 1,080 แหง่
จานวนหน่วยบริการสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จาแนกตามระดับของสถานพยาบาล
ปี พ.ศ. 2563 ในกลุ่มจังหวัดมีหน่วยบริการรวมท้ังหมด 1,603 แห่ง แบ่งเป็น โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) 4 แห่ง
โรงพยาบาลท่ัวไป (รพท.) 9 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) 107 แห่ง สาธารณสุขอาเภอ (สสอ.) 119 แห่ง
โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบล (รพ.สต.) 1,322 แหง่ และภาคเอกชน 42 แหง่
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจงั หวดั ตอ่ หัวประชากร ตามราคาประจาปี พ.ศ. 2561 ในกล่มุ จังหวัด พบว่าจังหวัด
นครราชสีมามผี ลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวัดต่อหัวประชากรสูงสุด คือ 117,517 บาทต่อปี อยู่ในอันดับ 2 ของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ รองลงมา คือ จังหวัดศรีสะเกษ 73,958 บาทต่อปี อยู่ในอับดับ 9 ของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยจังหวัดที่มีผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อหัวประชากรต่าท่ีสุด คือ จังหวัดยโสธร
60,055 บาทตอ่ ปี
มีจานวนองค์กรภาคีเครือข่ายท้ังหมด 5,466 แห่ง ประกอบด้วย องค์กรสวัสดิการชุมชน 676 แห่ง
องค์กรสาธารณะประโยชน์ 402 แห่ง องค์กรคนพิการ 103 แห่ง สภาองค์กรชุมชน 1,128 แห่ง ศูนย์พัฒนา
คุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ ( ศพอส.) 222 แห่ง กองทุนสวัสดิการชุมชน 785 แห่ง ศูนย์พัฒนา
ครอบครวั ในชุมชน (ศพค.) 947 แห่ง สภาเด็กและเยาวชน 1,203 แห่ง และมีจานวนอาสาสมัครพัฒนาสังคม
และความมั่นคงมนษุ ย์ (อพม.) 44,632 คน
สานกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 4 สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์
รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จังหวัดประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ง
สารบญั หน้า
ก
คานา ข–ค
บทสรปุ ผบู้ ริหาร ง
สารบญั จ
สารบญั ตาราง ฉ
สารบญั แผนภมู ิ 1
สว่ นที่ 1 บทนา 1
2
1.1 หลักการและเหตผุ ล 3
1.2 วตั ถุประสงค์ 3
สว่ นท่ี 2 ขอ้ มลู พ้นื ฐานของกลมุ่ จงั หวัด 4
2.1 ที่ต้ังและอาณาเขต 5
2.2 ข้อมลู การปกครอง 6
2.3 ข้อมูลประชากร 6
2.4 ดา้ นการศึกษา 8
2.5 ดา้ นศาสนา และวฒั นธรรม 9
2.6 ดา้ นสาธารณสุข 13
2.7 ดา้ นเศรษฐกจิ และรายได้ 14
2.8 ขอ้ มูลองค์กรภาคีเครอื ขา่ ย 14
ส่วนที่ 3 ข้อมูลสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จงั หวดั 14
3.1 สถานการณท์ างสงั คมเชิงกลุ่มเป้าหมาย 15
16
3.1.1 กลมุ่ เด็ก 17
3.1.2 กลุ่มเยาวชน 18
3.1.3 กล่มุ สตรี 19
3.1.4 กล่มุ ผู้สูงอายุ 20
3.1.5 กลมุ่ คนพิการ 21
3.1.6 กลุม่ ผดู้ อ้ ยโอกาส (คนจน) 22
3.1.7 ครอบครัว 28
3.2 สถานการณท์ างสงั คมเชงิ ประเดน็ 38
3.3 สถานการณ์ทางสังคมที่เกิดจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด - 19 41
สว่ นที่ 4 การคาดการณแ์ นวโน้มสถานการณท์ างสงั คมกลุ่มจงั หวดั
ส่วนที่ 5 บทสรุปและข้อเสนอแนะ
เอกสารอ้างองิ
สานักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4 สานกั งานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวดั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 จ
สำรบัญตำรำง หน้า
3
ตารางท่ี 1 พนื้ ท่ีกลุ่มจงั หวดั 5
ตารางท่ี 2 จานวนเขตการปกครองกลมุ่ จงั หวัด 5
ตารางที่ 3 จานวนประชากรแยกตามชว่ งอายุของกลุม่ จงั หวัด จาแนกตามเพศ 6
ตารางที่ 4 สถานศึกษาในระบบ นอกระบบ จาแนกรายจงั หวดั 7
ตารางท่ี 5 จานวนพระภิกษุ สามเณร ในศาสนาพุทธ 8
ตารางที่ 6 จานวนหนว่ ยบรกิ ารสงั กัดสานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 9
ตารางท่ี 7 จานวนแพทยต์ ่อประชากรของกลุ่มจังหวัด 9
ตารางที่ 8 ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั ตอ่ หวั ประชากร 10
ตารางท่ี 9 อัตราขยายตัวของ GPP 11
ตารางท่ี 10 รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือนต่อครวั เรือน 12
ตารางที่ 11 หนสี้ ินเฉลีย่ ต่อครวั เรือน จาแนกตามวตั ถุประสงค์การกยู้ ืม 13
ตารางท่ี 12 จานวนองค์กรภาคีเครือขา่ ย 14
ตารางท่ี 13 จานวนประชากรเดก็ 15
ตารางที่ 14 จานวนประชากรเยาวชน 16
ตารางท่ี 15 จานวนสตรี 17
ตารางที่ 16 จานวนผูส้ งู อายุ 18
ตารางท่ี 17 จานวนคนพกิ าร 19
ตารางที่ 18 จานวนคนจน 20
ตารางท่ี 19 จานวนการจดทะเบียนสมรส 21
ตารางที่ 20 จานวนคดยี าเสพติด 23
ตารางท่ี 21 ผลกระทบจากสถานการณ์โควิด - 19 24
ตารางที่ 22 อาชพี ของผู้ได้รบั ผลกระทบจากสถานการณโ์ ควิด - 19 25
ตารางที่ 23 การต้องการความชว่ ยเหลอื 29
ตารางที่ 24 การคาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณ์จานวนเด็ก 30
ตารางที่ 25 การคาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณจ์ านวนเยาวชน 31
ตารางที่ 26 การคาดการณ์แนวโนม้ สถานการณจ์ านวนสตรี 32
ตารางท่ี 27 การคาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณ์ครอบครวั จากการจดทะเบยี นสมรส 33
ตารางท่ี 28 การคาดการณ์แนวโนม้ สถานการณ์ผสู้ งู อายุ 34
ตารางที่ 29 การคาดการณ์แนวโนม้ สถานการณ์คนพกิ าร 35
ตารางท่ี 30 การคาดการณแ์ นวโน้มสถานการณ์คนจน 37
ตารางท่ี 31 การคาดการณ์แนวโนม้ สถานการณ์คดียาเสพติด
สานกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 4 สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ฉ
สำรบญั แผนภูมิ หน้ำ
3
แผนภมู ทิ ี่ 1 อาณาเขตพืน้ ที่ 15
แผนภมู ทิ ี่ 2 แนวโน้มจานวนประชากรเด็ก 16
แผนภมู ิท่ี 3 แนวโนม้ จานวนเยาวชน 17
แผนภูมิท่ี 4 แนวโน้มจานวนสตรี 18
แผนภูมทิ ี่ 5 แนวโน้มจานวนผูส้ งู อายุ 19
แผนภูมทิ ี่ 6 แนวโนม้ จานวนคนพิการ 20
แผนภูมิท่ี 7 แนวโนม้ จานวนคนจน 21
แผนภมู ิท่ี 8 แนวโนม้ จานวนการจดทะเบียนสมรส 22
แผนภมู ิที่ 9 แนวโน้มจานวนคดียาเสพติด 23
แผนภูมทิ ่ี 10 ผลกระทบจากสถานการณโ์ ควิด - 19 24
แผนภูมทิ ี่ 11 อาชีพของผ้ไู ด้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด - 19 25
แผนภูมทิ ่ี 12 การต้องการความชว่ ยเหลือ 30
แผนภูมิท่ี 13 ประมาณการแนวโน้มสถานการ์จานวนเด็ก 31
แผนภูมทิ ี่ 14 ประมาณการแนวโน้มสถานการ์จานวนเยาวชน 32
แผนภมู ิท่ี 15 ประมาณการแนวโนม้ สถานการ์จานวนสตรี 33
แผนภมู ิท่ี 16 ประมาณการแนวโน้มสถานการ์จานวนครอบครวั จากการจดทะเบยี นสมรส 34
แผนภูมทิ ่ี 17 ประมาณการแนวโน้มสถานการจ์ านวนผู้สงู อายุ 35
แผนภูมทิ ี่ 18 ประมาณการแนวโน้มสถานการจ์ านวนคนพิการ 36
แผนภูมทิ ่ี 19 ประมาณการแนวโนม้ สถานการจ์ านวนคนจน 37
แผนภูมทิ ี่ 20 ประมาณการแนวโนม้ สถานการจ์ านวนคดียาเสพตดิ
สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 4 สานักงานปลดั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1
สว่ นท่ี 1
บทนา
1.1 หลกั การและเหตผุ ล
ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546
มีสาระสาคัญเก่ียวข้องกับการบูรณาการ โดยกาหนดว่า “ในกรณีที่ภารกิจใดมีความเกี่ยวข้องกับหลายส่วน
ราชการหรอื เป็นภารกจิ ทใ่ี กลเ้ คียงหรือตอ่ เนือ่ งกนั ใหส้ ่วนราชการท่เี ก่ียวขอ้ งน้ันกาหนดแนวทางปฏิบัติราชการ
เพื่อให้เกิดการบริหารราชการแบบบูรณาการร่วมกัน โดยมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ” (มาตรา 10
วรรค 1) ในทางปฏิบัติแม้ว่าจะมีความพยายามในการบริหารแบบบูรณาการในภารกิจท่ีมีความสาคัญ
หลายเร่อื ง แต่ยังเกิดปญั หาความซ้าซ้อนในการปฏิบัติในหลายๆภารกิจ เป็นผลให้เป็นการส้ินเปลืองทรัพยากร
เป็นอย่างมาก การปฏิรูปงบประมาณประเทศจาก “ระบบงานงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ ” สู่
“ระบบงบประมาณเชิงพ้ืนที่”(Arae-Based Budgeting : ABB) ซึ่งเป็นแนวคิดของการทางบประมาณแบบ
มีส่วนร่วม (Participatory Budgeting) โดยมีการฟังเสียงประชาชนในพื้นท่ี มีกระบวนการทาแผนพัฒนาจาก
ล่างขึ้นบนตั้งแต่แผนชุมชนจนถึงแผนจังหวัด และให้หน่วยงานทั้งภูมิภาคและท้องถิ่นร่วมกันกลั่นกรอง
ทาให้งบประมาณสามารถใช้ให้ตรงกับปัญหาความต้องการของคนในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ซึ่งเป็นทั้งกระบวนการเพิ่มประสิทธิภาพประสิทธิผลการใช้งบประมาณแผ่นดิน การมีส่วนร่วมของประชาชน
ในการบริหารจัดการตนเอง การสร้างความโปร่งใสและธรรมาภิบาล การควบคุมพฤติกรรมนักการเมือง
โดยประชาชนในพน้ื ทแี่ ละการบรู ณาการการทางานของหน่วย Function และหน่วย Area ที่อยู่ในพื้นท่ีร่วมกัน
ซ่ึงตามแผนปฏริ ปู กาหนดให้เริ่มต้งั แตป่ งี บประมาณ 2548
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 - 11 (สสว.1 - 11) เป็นส่วนราชการส่วนกลางท่ีตั้งอยู่ใน
สว่ นภมู ภิ าค โดยมีอานาจหน้าท่ี คือ ขอ้ 1 พฒั นางานดา้ นวิชาการเกี่ยวกบั การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนุษย์ให้สอดคล้องกับพื้นที่และเปูาหมาย ข้อ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านวิชาการองค์ความรู้ข้อมูล
สารสนเทศ ให้คาปรึกษาแนะนาแก่หน่วยงานบริการกลุ่มเปูาหมายในพื้นที่ให้บริการ ในความรับผิดชอบ
ของกระทรวง รวมทั้ง องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หน่วยงานที่เก่ียวข้อง องค์กรภาคเอกชนและประชาชน
ข้อ 3 ศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อมเพื่อคาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ทางสังคมและ
ผลกระทบ รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะการพัฒนาสังคมและการจัดยุทธศาสตร์ในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัด ข้อ 4 สนับสนุน
การนิเทศงาน ติดตามประเมินผลการดาเนินงานเชิงวิชาการตามนโยบายและภารกิจของกระทรวงในพื้น ที่
กลุ่มจังหวัด มีหน้าท่ีเป็นกลไกขับเคลื่อนภารกิจของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
นอกจากน้กี ระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ได้มอบหมายให้สานักงานส่งเสริมและสนับสนุน
วิชาการ ทาหน้าท่ีเชื่อมโยงประสานนโยบายระหว่างหน่วยงานส่วนกลางกับส่วนภูมิภาคในการแปลงนโยบาย
ข้อมูลสารสนเทศ องค์ความรู้ และแผนต่างๆ ของกระทรวงฯ ให้เกิดการบูรณาการการปฏิบัติงาน
ของหน่วยงานสังกัดกระทรวงฯ ในส่วนภูมิภาค ให้เหมาะสมกับบริบทพ้ืนที่ และมีการปฏิบัติงานเป็นไปอย่าง
มปี ระสทิ ธภิ าพ จึงตระหนกั ถึงความจาเป็นท่ีจะต้องขับเคลื่อนให้เกิดการบูรณาการโครงการด้านสังคมเชิงพ้ืนที่
สานกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 4 สานกั งานปลัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์
รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 2
ในระดับพื้นที่จังหวัดและกลุ่มจังหวัด ท้ังในส่วนของแผนปฏิบัติงานและแผนคาของบประมาณเชิงพื้นที่
เพ่ือตอบสนองความต้องการของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดในการบูรณาการการดาเนินงานพัฒนาสังคมและ
สวสั ดิการสงั คมทส่ี อดคลอ้ งกับพืน้ ท่ีและยทุ ธศาสตร์อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล
ดว้ ยเหตนุ ี้ จงึ เปน็ ทม่ี าของการจดั ทารายงานสถานการณ์ทางสังคมและคาดการณ์แนวโน้มสถานการณ์
ทางสังคมในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัดตามความรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ท่ีครอบคลุม
พ้ืนที่ 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ
และจังหวดั ยโสธร
1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อรวบรวม วิเคราะห์ และจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคมที่เกิดขึ้นในพื้นที่
กลุ่มจงั หวัดของสานักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 4
1.2.2 เพ่ือคาดการณ์แนวโน้มสถานการณ์ทางสังคมและผลกระทบในพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดของสานักงาน
ส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4
1.2.3 เพ่ือเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาทางสังคมในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัดของสานักงานส่งเสริม
และสนบั สนุนวิชาการ 4
1.3 วธิ กี ารดาเนนิ งาน
ในปีงบประมาณ 2563 สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 - 11 ได้ตกลงร่วมกันและ
มอบหมายให้สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 3 เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการดาเนินการเพ่ือ
จัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคม โดยไดม้ ีการจดั ประชมุ เพ่ือการขับเคล่อื นงาน ดงั น้ี
1) การประชุมการจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัดประจาปี 2563 วันท่ี 2 มิถุนายน
2563 ผา่ นระบบประชมุ ทางไกลออนไลน์ Web Conference เพื่อกาหนดรปู แบบและขอบเขตการดาเนินงาน
2) สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 – 11 รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิท่ีเกี่ยวข้อง
ประมวลวเิ คราะห์ขอ้ มลู จดั ทารูปเล่มรายงานสถานการณท์ างสงั คม และเผยแพร่
3) การประชุมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียนการจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด
ประจาปี 2563 วันท่ี 17 สงิ หาคม 2563 ผ่านระบบประชมุ ทางไกลออนไลน์ Web Conference
1.4 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รบั
1) มีข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมระดับพื้นท่ีที่ครอบคลุมทุกกลุ่มเปูาหมาย สามารถใช้ประโยชน์
ในการปอู งกัน และแกไ้ ขปญั หาสังคมได้
2) หน่วยงานระดับท้องถ่ินและระดับจังหวัด สามารถนาข้อมูลในพื้นที่ไปใช้ในการกาหนดนโยบาย
แผนงาน โครงการ ในการคุ้มครองปูองกัน และแก้ไขปัญหาทางสังคมในระดับพื้นที่ และหน่วยงานระดับ
กระทรวง สามารถนาข้อมูลในภาพรวมไปใช้ประโยชน์วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาทางสังคมที่สาคัญและ
กาหนดนโยบายแผนงานในการปอู งกนั และแก้ไขปัญหาสังคมภาพรวมต่อไป
สานักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4 สานกั งานปลดั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวัดประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 3
ส่วนท่ี 2
ขอ้ มลู พื้นฐานของกลุม่ จงั หวดั
2.1 ท่ตี ัง้ และอาณาเขต
กลุ่มจังหวัดในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ประกอบด้วย
จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดยโสธร
มีพ้ืนท่ีรวมทั้งหมดประมาณ 64,719.77 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 40,449,847 ไร่ จังหวัดที่มีพื้นที่
มากทีส่ ดุ ได้แก่ จังหวัดนครราชสมี า 20,493.96 ตารางกโิ ลเมตร รองลงมาคือจังหวัด ชัยภูมิ มีพ้ืนท่ี 12,778.30
ตารางกโิ ลเมตร จงั หวัดท่ีมพี น้ื ทนี่ อ้ ยที่สดุ ไดแ้ ก่ จงั หวัดยโสธร มพี น้ื ท่ี 4,161.66 ตารางกิโลเมตร
ตารางที่ 1 : พื้นท่กี ลุ่มจังหวัด
จงั หวดั พืน้ ที่ อนั ดับระดบั ในกลุ่มจงั หวดั
ตารางกิโลเมตร ไร่
นครราชสีมา 20,493.96 12,808,728 1
2
ชยั ภูมิ 12,778.30 7,986,429 3
5
บุรีรมั ย์ 10,321.88 6,451,178 4
6
สรุ ินทร์ 8,124.05 5,077,535
ศรีสะเกษ 8,839.90 5,524,937
ยโสธร 4,161.66 2,601,040
รวม 64,719.77 40,449,847
ที่มา : กระทรวงมหาดไทย www.pad.moi.go.th ข้อมลู ณ สงิ หาคม 2563
แผนภมู ิที่ 1 อาณาเขตพนื้ ที่
อาณาเขตพืน้ ท่ี
ยโสธร นครราชสีมา
ศรีสะเกษ 6% 32%
14%
สรุ นิ ทร์
12%
บรุ ีรัมย์ ชัยภมู ิ
16% 20%
สานักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 4 สานกั งานปลดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวัดประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 4
เขตพน้ื ที่ติดต่อ ทิศเหนือ ตดิ ต่อกับจงั หวัดขอนแก่น มหาสารคาม และร้อยเอด็
ทศิ ตะวันออก ติดตอ่ กับจงั หวดั อานาจเจรญิ อบุ ลราชธานี
ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั ปราจนี บุรี สระแกว้ และราชอาณาจักรกมั พชู า
ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ กบั จังหวัดเพชรบรู ณ์ ลพบรุ ี สระบรุ ี และจังหวัดนครนายก
2.2 ข้อมูลการปกครอง
เขตการปกครองท้องที่ในกล่มุ จงั หวดั
- จังหวดั 6 จงั หวดั
- อาเภอ 119 อาเภอ
- ตาบล 1,043 ตาบล
- หม่บู า้ น 13,544 หมบู่ า้ น
เขตการปกครองท้องถ่นิ ในกลุ่มจงั หวัด
- องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัด 6 แหง่
- เทศบาลนคร 1 แห่ง
- เทศบาลเมอื ง 12 แห่ง
- เทศบาลตาบล 264 แห่ง
- องค์การบริหารส่วนตาบล 881 แห่ง
สานักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 4 สานกั งานปลัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์
รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จังหวัดประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 5
ตารางที่ 2 : จานวนเขตการปกครองกลุ่มจงั หวดั (หน่วย : แห่ง)
จานวนองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ
จังหวัด อาเภอ ตาบล หม่บู า้ น อบจ. ทน. ทม. ทต. อบต. รวม
นครราชสมี า 32 289 3,743 1 1 4 85 243 344
ชัยภูมิ 16 123 1,617 1 - 1 35 106 143
บุรีรมั ย์ 23 188 2,546 1 - 3 59 146 209
สรุ นิ ทร์ 17 158 2,120 1 - 1 27 144 173
ศรสี ะเกษ 22 206 2,633 1 - 2 35 179 217
ยโสธร 9 79 885 1 - 1 23 63 88
รวม 119 1,043 13,544 6 1 12 264 881 1,174
ทมี่ าขอ้ มลู : กรมการปกครองและกรมสง่ เสรมิ การปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ กระทรวงมหาดไทย ณ วันที่ 20 เมษายน 2563
2.3 ข้อมูลด้านประชากร
จากข้อมูลของสานักบริหารการทะเบียนกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ปี 25 62 พบว่า
กลุม่ จงั หวัดมีประชากรจานวนท้ังหมด 8,682,452 คน เป็นเพศชาย 4,292,892 คน เพศหญิง 4,389,560 คน
โดยจานวนประชากรอายุระหว่าง 0 – 17 ปี รวม 1,792,354 คน ประชากรอายุระหว่าง 18 – 25 ปี
รวม 975,492 คน ประชากรอายุระหว่าง 26 -59 ปี รวม 4,458,726 คน และประชากรอายุ 60 ปีข้ึนไป
รวมท้งั หมด 1,455,880 คน
ตารางท่ี 3 : จานวนประชากรแยกตามช่วงอายุของกลุ่มจังหวดั จาแนกตามเพศ (หน่วย : คน)
จงั อายุ 0-17 ปี อายุ 18-25 ปี อายุ 26-59 ปี อายุ 60 ปีข้ึนไป
หวดั
ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ รวม
นคร
ราชสมี า 271,616 256,736 528,352 146,357 137,984 284,341 667,234 686,800 1,354,034 202,231 251,157 453,388
ชยั ภมู ิ
114,703 108,394 223,097 59,108 58,352 117,460 289,121 290,761 579,882 92,449 110,788 203,237
บุรีรัมย์ 176,540 166,356 342,896 92,878 90,648 183,526 398,945 399,083 798,028 113,726 137,480 251,206
สรุ ินทร์ 151,000 143,160 294,160 79,335 82,516 161,851 349,497 344,397 693,894 100,440 123,924 224,364
ศรี 155,236 147,010 302,246 84,247 85,406 169,653 378,711 371,567 750,278 105,165 127,442 232,607
สะเกษ 52,346 49,257 101,603 28,113 30,548 58,661 142,217 140,393 282,610 41,677 49,401 91,078
ยโสธร
รวม 921,441 870,913 1,792,354 490,038 485,454 975,492 2,225,725 2,233,001 4,458,726 655,688 800,192 1,455,880
ท่มี า : ระบบทางการทะเบียน – ระบบสถิตทิ างการทะเบียนกรมการปกครอง ข้อมูล ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2562
สานกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 4 สานกั งานปลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวดั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 6
2.4 ด้านการศกึ ษา
จานวนสถานศึกษาในกลุ่มจังหวัด ในระบบ สถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) 5,109 แห่ง เอกชน 515 แห่ง และ อาชีวศึกษา 54 แห่ง จานวนสถานศึกษานอกระบบ
สานักพุทธศาสนาแห่งชาติ 39 แห่ง การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) 509 แห่ง
รวมมีจานวนสถานศึกษาทั้งหมด 6,226 แห่ง โดยจังหวัดนครราชสีมามีจานวนสถานศึกษารวมมากที่สุด
1,848 แห่ง รองลงมา คอื จังหวดั สรุ ินทร์ 1,080 แหง่ และจงั หวดั ยโสธร มีจานวนสถานศกึ ษาน้อยท่สี ุด 458 แห่ง
ตารางท่ี 4 สถานศึกษาในระบบ นอกระบบ จาแนกรายสงั กัด รายจงั หวดั (หนว่ ย : แห่ง)
รายการสถานศึกษา
ในระบบ นอกระบบ รวม
กศน. 1,848
จังหวดั สพฐ. เอกชน อาชวี ศึกษา สานักพุทธ
นครราชสีมา 1,325 324
ศาสนาแห่งชาติ
179 12 8
ชัยภมู ิ 729 100 12 6 3 850
บุรีรมั ย์ 910 116 5 6 5 1,042
สุรนิ ทร์ 838 51 8 8 175 1,080
ศรสี ะเกษ 900 27 10 9 2 948
ยโสธร 407 42 7 2 - 458
รวม 5,109 515 54 39 509 6,226
ที่มา : สารสนเทศเพ่ือการศึกษา สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ข้อมูล ณ สิงหาคม 2563
2.5 ศาสนา และวัฒนธรรม
ภาคอีสานเป็นภูมิภาคท่ีมีความหลากหลายทางศิลปวัฒนธรรมและประเพณี แตกต่างกันไปในแต่ละ
ท้องถิ่นแต่ละจังหวัด ศิลปวัฒนธรรมเหล่านี้เป็นตัวบ่งบอกถึงความเชื่อ ค่านิยม ศาสนาและรูปแบบการ
ดาเนินชีวิต ตลอดจนอาชีพของคนในท้องถ่ินน้ันๆได้เป็นอย่างดี สาเหตุที่ภาคอีสานมีความหลากหลายทาง
ศิลปวัฒนธรรมประเพณีส่วนหน่ึงอาจจะเป็นผลมาจากการเป็นศูนย์รวมของประชากรหลากหลายเช้ือชาติ
และมีการติดต่อสังสรรค์กับประชาชนในประเทศใกล้เคียง จนก่อให้เกิดการแลกเปล่ียนทางวัฒนธรรมข้ึน
เช่น ประชาชนชาวอีสานแถบจังหวัดเลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อุบลราชธานี อานาจเจริญ ท่ีมี
พรมแดนตดิ ตอ่ กบั ประเทศลาว ประชาชนของทั้งสองประเทศมีการเดินทางไปมาหากัน ทาให้เกิดการถ่ายทอด
และแลกเปล่ียนศิลปวัฒนธรรมและประเพณีระหว่างกัน ซึ่งเราจะพบว่าชาวไทยอีสานและชาวลาว
แถบลุ่มแมน่ า้ โขง มีศลิ ปวัฒนธรรมประเพณีทคี่ ลา้ ยๆกนั และรูปแบบการดาเนินชีวิตก็มีความคล้ายคลึงกันด้วย
รวมท้ังชาวเวยี ดนามทอ่ี พยพเขา้ มาในช่วงสงครามเวียดนาม ก็ได้นาเอาศิลปวัฒนธรรมของเวียดนามเข้ามาด้วย
สานักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 4 สานกั งานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์
รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 7
ถึงแมป้ จั จบุ นั ชาวเวียดนามเหล่าน้จี ะไดป้ รบั ตัวเข้ากับวัฒนธรรมของท้องถิ่นอีสาน (เพื่อให้การดารงชีวิตเป็นไป
อย่างราบรื่น) โดยเฉพาะชาวเวียดนามท่ีเป็นวัยรุ่นในปัจจุบันได้รับการศึกษาท่ีดีเหมือนกับชาวไทยทุกประการ
จนแทบแยกไม่ออกว่าเป็นคนไทยอีสานหรือคนเวียดนามกันแน่ ส่วนใหญ่ก็จะชื่นชอบวัฒนธรรมตะวันตก
จนลืมวัฒนธรรมอันดีงามของตัวเอง แต่ก็ยังมีชาวเวียดนามบางกลุ่มส่วนใหญ่เป็นคนสูงอายุยังคงยึดมั่นกับ
วัฒนธรรมของตนเองอยอู่ ย่างมั่นคง ท่านสามารถศึกษารูปแบบการดาเนินชีวิตแบบเวียดนามได้ตามชุมชนชาว
เวียดนามในจังหวัดที่กล่าวมา ส่วนประชาชนท่ีอยู่ทางจังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ นครราชสีมา มีการ
ติดต่อกันกับประชาชนชาวกัมพูชาก็จะรับเอาวัฒนธรรมของกัมพูชามาประยุกต์ใช้ ซ่ึงส่วนใหญ่แล้ววัฒนธรรม
ประเพณขี องคนท้งั สองเชอ้ื ชาตกิ ็มคี วามคลา้ ยคลึงกนั อยูแ่ ล้ว จะเห็นได้อย่างชดั เจนวา่ ภาคอีสานเป็นภูมิภาคท่ีมี
ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและวัฒนธรรมต่างๆ ก็มีความแตกต่างกันตามแต่ละท้องถิ่นและแตกต่างจาก
ภูมิภาคอ่ืนๆของไทยอย่างเห็นได้ชัด ทั้งวัฒนธรรมทางด้านการดารงชีวิตและวัฒนธรรมที่เก่ียวข้องกับศาสนา
ซึ่งเราสามารถสังเกตรูปแบบวัฒนธรรมท่ีดีงามของชาวอีสานผ่านทางประเพณีต่างๆท่ีชาวอีสานจัดขึ้นซ่ึง
สามารถถา่ ยทอดวัฒนธรรมอสี านได้เปน็ อย่างดี
ภาคอสี านเป็นพ้ืนท่ที ่ีเป็นอารยธรรมโบราณ ประชากรที่อาศัยอยู่ส่วนมากเป็นคนไทยเช้ือสายลาวและ
เชือ้ สายเขมร มคี ตินิยมผูกแนน่ อย่กู ับประเพณีโบราณมกี ารรักษา สืบเน่อื งตอ่ กนั มา จึงเป็นถ่ินแดนที่เต็มไปด้วย
กลิ่นอายของวฒั นธรรมประเพณี ที่ผสมผสานความเชื่อถือในเรื่องของการนับถือผี และคติทางพระพุทธศาสนา
เข้าด้วยกัน โดยในปี พ.ศ. 2561 ในกลุ่มจังหวัดนครชัยบุรินทร์ศรีโสธร มีจานวนพระภิกษุ สามเณร รวม
53,387 รูป พระภิกษุ 48,678 รูป สามเณร 4,709 รูป แบ่งเป็น มหานิกาย 49,059 รูป ธรรมยุต 4,328 รูป
ดังตารางท่ี 5
ตารางที่ 5 จานวนพระภกิ ษุ สามเณร ในศาสนาพทุ ธ พ.ศ. 2561
จานวนพระภกิ ษุ สามเณร ในศาสนาพทุ ธ พ.ศ. 2561
รวม มหานกิ าย ธรรมยตุ
จงั หวดั พระภกิ ษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร
นครราชสมี า 15,446 1,349 14,195 1,238 1,251 111
ชัยภมู ิ 6,197 760 5,495 725 702 35
บรุ ีรัมย์ 9,011 743 8,433 707 578 36
สุรินทร์ 6,231 467 5,592 458 639 9
ศรสี ะเกษ 8,795 1,074 8,506 955 289 119
ยโสธร 2,998 316 2,493 262 505 54
รวม 48,678 4,709 44,714 4,345 3,964 364
ที่มา: สานักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ ณ พ.ศ. 2561
สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 4 สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 8
2.6 ด้านสาธารณสขุ
2.6.1 จานวนหน่วยบริการสงั กดั สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข
จานวนหน่วยบริการสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จาแนกตามระดับ
ของสถานพยาบาล ปี 2563 ในกลุ่มจังหวัด หน่วยบริการสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
รวมท้ังหมด 1,603 แห่ง แบ่งเป็น โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) 4 แห่ง โรงพยาบาลท่ัวไป (รพท.) 9 แห่ง
โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) 107 แห่ง สาธารณสุขอาเภอ (สสอ.) 119 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล
(รพ.สต.) 1,322 แหง่ และภาคเอกชน 42 แห่ง ดงั ตารางที่ 6
ตารางที่ 6 จานวนหน่วยบริการสงั กดั สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ จาแนกตามระดบั ของ
สถานพยาบาล ปี 2563 (หน่วย : แหง่ )
จังหวดั ภาครัฐ
โรงพยาบาล โรงพยาบาล โรงพยาบาล สาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริม ภาคเอกชน
ศูนย์ (รพศ.) ท่ัวไป ชมุ ชน อาเภอ สขุ ภาพตาบล 28
( รพท.) (รพช.) (สสอ.) (รพ.สต.) 1
6
นครราช 1 3 29 32 353
2
สีมา 5
42
ชยั ภมู ิ 0 2 14 16 167
บุรีรมั ย์ 1 1 21 23 224
สรุ ินทร์ 1 1 15 17 211
ศรสี ะเกษ 1 1 20 22 255
ยโสธร 0 18 9 112
รวม 4 9 107 119 1,322
ทีม่ า : HDC Report กระทรวงสาธารณสขุ ขอ้ มูล ณ เดือนมถิ นุ ายน 2563
2.6.2 จานวนบุคลากรแพทย์
บุคลากรแพทย์ในกลุ่มจังหวัดมีจานวน 9,840 คน โดยจังหวัดนครราชสีมามีจานวนบุคลากร
แพทย์มากที่สุดจานวน 2,993 คน รองลงมาจังหวัดศรีสะเกษ มีจานวนบุคลากรแพทย์ 2,530 คน
และจงั หวัดยโสธร มีจานวนบุคลากรแพทย์น้อยที่สดุ จานวน 548 คน ซึ่งกลุ่มจังหวัดในพื้นท่ีมีจานวนประชากร
ทง้ั หมด 8,682,461 คน อัตราส่วนจานวนแพทย์ต่อประชากรกลุม่ จงั หวดั คิดเป็น 1 ต่อ 882 คน ดังตารางท่ี 7
สานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 4 สานักงานปลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์
รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 9
ตารางท่ี 7 จานวนแพทย์ต่อประชากรของกลุ่มจงั หวัด (หนว่ ย : คน)
จงั หวดั แพทย์ ประชากร แพทย์ตอ่ ประชากร
นครราชสมี า 2,993 2,620,119 1: 875
1: 1,172
ชยั ภูมิ 959 1,123,676 1: 806
1:1,605
บุรีรัมย์ 1,954 1,575,656 1:575
1: 974
สุรินทร์ 856 1,374,269 1: 882
ศรสี ะเกษ 2,530 1,454,789
ยโสธร 548 533,952
รวม 9,840 8,682,461
ท่มี า :HDC Report กระทรวงสาธารณสุข ขอ้ มลู ณ สงิ หาคม 2563
2.7 ด้านเศรษฐกิจและรายได้
2.7.1 ผลติ ภัณฑจ์ ังหวัดต่อหัว (GPP per capita)
ผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว (GPP per capita) ในกลุ่มจังหวัด พบว่าจังหวัดนครราชสีมามี
ผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัวมากที่สุด จานวน 117,517 บาท อยู่ในอันดับ 2 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
รองลงมา คือ จังหวดั ศรีสะเกษจานวน 73,958 บาท อยใู่ นอบั ดบั 9 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยจังหวัด
ท่ีมีผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัวต่าท่ีสุด คือ จังหวัดยโสธร 60,055 บาท เป็นอันดับสุดท้ายของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนอื ดังตารางที่ 8
ตางรางท่ี 8 ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั ต่อหวั ประชากร ตามราคาประจาปี พ.ศ. 2561
ลาดบั จังหวดั ผลิตภัณฑม์ วลรวมจงั หวดั ต่อหัว (บาท)
ปี พ.ศ. 2561 อนั ดบั ในภาค
1 นครราชสมี า 117,517 2
2 ชัยภูมิ 69,730 13
3 บุรรี มั ย์ 67,142 15
4 สรุ ินทร์ 70,556 12
5 ศรีสะเกษ 73,958 9
6 ยโสธร 60,055 20
ทีม่ า : ผลติ ภณั ฑ์ภาคและจงั หวดั แบบปรมิ าณลกู โซ่ พ.ศ. 2561 สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ
สานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4 สานักงานปลดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวดั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 10
2.7.2 อัตราขยายตวั ของผลติ ภณั ฑ์จงั หวดั ต่อหัว (GPP per capita)
อัตราขยายตัวของผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว (GPP per capita) ในกลุ่มจังหวัดรับผิดชอบ พบว่า
จังหวัดชัยภูมิ มีอัตราขยายตัวเพ่ิมข้ึนมากที่สุด 3.4 รองลงมา คือ จังหวัดยโสธร อัตราการขยายตัวเพ่ิมขึ้น
2.2 และจังหวัดมีอัตราขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดน้อยท่ีสุดคือ จังหวัดศรีสะเกษ อัตราการ
ขยายตวั ติดลบ - 1.4 ดงั ตารางท่ี 9
ตารางท่ี 9 อัตราขยายตวั ของ GPP
จงั หวัด อตั ราขยายตัวท่ีแท้จริง
พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561
นครราชสีมา 4.4 5.5
ชัยภูมิ 1.6 5.0
บุรรี ัมย์ 1.6 3.1
สรุ นิ ทร์ 2.0 2.3
ศรสี ะเกษ 2.8 1.4
ยโสธร 0.2 2.4
ท่ีมา : ผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัด แบบปริมาณลูกโซ่ ฉบับ พ.ศ. 2561 สานักงานสภาพัฒนาการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ
2.7.3 รายไดเ้ ฉลยี่ ตอ่ เดอื นต่อครวั เรือน
รายได้เฉล่ียต่อเดือนต่อครัวเรือนในปี พ.ศ. 2560 ของกลุ่มจังหวัดเฉล่ีย 19,630 บาท
จังหวัดชัยภูมิมีรายได้โดยเฉล่ียต่อเดือนต่อครัวเรือนมากท่ีสุด คือ 25,543.60 บาท รองลงมาจังหวัด
นครราชสีมา 24,428.92 บาท จังหวัดสุรินทร์ 18,188.90 บาท จังหวัดศรีสะเกษ 17,484.66 บาท
จังหวัดยโสธร 16,752.27 บาท และจังหวัดบุรีรัมย์ มีรายได้โดยเฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือนน้อยท่ีสุด
15,381.62 บาท หากพิจารณาแนวโนม้ รายไดเ้ ฉลี่ยต่อครัวเรือนของกลุ่มจังหวัดพบว่า ในช่วงปี พ.ศ. 2558 ถึง
พ.ศ. 2560 มแี นวโนม้ รายไดล้ ดลงเกอื บทกุ จงั หวัด ยกเว้นจังหวดั ชยั ภมู ิมแี นวโน้มรายไดเ้ พิ่มขึน้ ดังตารางที่ 10
สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 4 สานกั งานปลดั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 11
ตารางที่ 10 รายไดโ้ ดยเฉลี่ยต่อเดือนตอ่ ครวั เรอื น พ.ศ. 2552 – 2560 (หน่วย:บาท)
จังหวัด 2552 2554 2556 2558 2560
นครราชสีมา 19,158.06 19,399.40 22,479.20 26,376.30 24,428.92
ชยั ภมู ิ 12,380.01 15,794.30 18,641.00 23,829.50 25,543.60
บุรรี ัมย์ 13,734.00 17,315.80 15,624.40 18,479.60 15,381.62
สุรนิ ทร์ 11,310.49 18,287.40 21,351.00 20,314.60 18,188.90
ศรสี ะเกษ 10,666.24 13,943.90 16,207.20 18,792.50 17,484.66
ยโสธร 11,813.45 16,766.80 14,418.40 19,517.90 16,752.27
ทีม่ า : รายไดโ้ ดยเฉลี่ยต่อเดอื นต่อครวั เรือน รายจงั หวดั พ.ศ. 2552-2560 สานักงานสถิตแิ หง่ ชาติ
2.7.4 หนสี้ ินเฉล่ยี ต่อครวั เรือน จาแนกตามวัตถุประสงค์ของการกยู้ ืม
- หนส้ี ินเฉล่ยี ตอ่ ครัวเรอื นท้งั สิน้ ในกล่มุ จงั หวัด 185,295.51 บาท พบวา่ จงั หวัดท่ีมหี นส้ี นิ
เฉล่ียต่อครัวเรือนมากท่ีสุดคือจังหวัดสุรินทร์มีหน้ีสินเฉลี่ยต่อครัวเรือน 251,796.15 บาท รองลงมาจังหวัด
นครราชสีมา 223,238.94 บาท จังหวัดที่มีหนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือนท้ังสิ้นน้อยท่ีสุด คือ จังหวัดยโสธร มีหน้ีสิน
เฉลยี่ ตอ่ ครวั เรอื น 121376.78 บาท
- หน้สี นิ เฉลี่ยตอ่ ครวั เรือนเพ่ือใช้จ่ายในครวั เรือน 84,153.07 บาท พบวา่ จงั หวัดนครราชสีมา
มีหน้ีสินเฉลี่ยเพื่อใช้จ่ายในครัวเรือนมากท่ีสุด 504,918.39 บาท และจังหวัดบุรีรัมย์มีหนี้สินเฉลี่ยเพ่ือใช้จ่าย
ในครวั เรือนน้อยทส่ี ดุ 71,607.34 บาท
- หนีส้ ินเฉลีย่ ต่อครวั เรอื นเพื่อใช้ทาธุรกจิ ท่ไี มใ่ ช่การเกษตร 24,129.66 บาท พบวา่ จังหวดั
สรุ นิ ทร์มีหน้ีสินเฉลย่ี ตอ่ ครัวเรอื นเพ่ือใช้ทาธุรกจิ ที่ไม่ใชก่ ารเกษตรมากท่ีสุด 36,147.88 บาท และจังหวัดยโสธร
มีหน้สี นิ เฉลยี่ ต่อครวั เรือนเพื่อใช้ทาธรุ กิจทไ่ี ม่ใช่การเกษตร น้อยที่สดุ 8,531.78 บาท
- หนส้ี ินเฉลี่ยตอ่ ครัวเรอื นเพอื่ ใชท้ าการเกษตร 37,599.55 บาท พบวา่ จังหวัดชัยภมู มิ ีหนส้ี ิน
เฉล่ียตอ่ ครัวเรือนเพือ่ ใช้ทาการเกษตรมากที่สุด 64,000.14 บาท และจังหวัดยโสธรมีหนี้สินเฉล่ียต่อครัวเรือน
เพือ่ ใชท้ าการเกษตรนอ้ ยท่สี ุด 20,168.42 บาท
- หนสี้ นิ เฉลี่ยตอ่ ครวั เรือนเพอ่ื ใช้ในการศกึ ษา 2,731.16 บาท จงั หวัดศรสี ะเกษมหี นี้สินเฉลีย่
ตอ่ ครัวเรือนเพือ่ ใช้ในการศึกษามากท่สี ุด 6,514.41 บาท และจังหวัดชัยภูมิมีหน้ีสินเฉล่ียต่อครัวเรือนเพ่ือใช้ใน
การศึกษานอ้ ยทีส่ ุด 608.75 บาท
- หนี้สินเฉลีย่ ตอ่ ครวั เรอื นเพือ่ ใชซ้ อ้ื /เช่าซื้อบา้ นและที่ดิน 41,147.52 บาท จังหวัดสรุ นิ ทรม์ ี
หนส้ี ินเฉล่ยี ตอ่ ครัวเรอื นเพื่อใช้ซือ้ /เช่าซื้อบ้านและที่ดินมากที่สุด 104,826.75 บาท และจังหวัดยโสธรมีหน้ีสิน
เฉลย่ี ต่อครัวเรอื นเพอ่ื ใชซ้ อื้ /เชา่ ซือ้ บา้ นและท่ีดินน้อยทีส่ ดุ 11,362.52 บาท
สานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4 สานักงานปลดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์
รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จังหวดั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 12
ตารางท่ี 11 หน้สี นิ เฉลย่ี ตอ่ ครวั เรือน จาแนกตามวตั ถุประสงค์การกยู้ ืม พ.ศ. 2552 – 2560 (หนว่ ย : บาท)
จงั หวดั วัตถุประสงคก์ ารกู้ยืม 2552 2554 2556 2558 2560
นครราชสีมา หน้สี ินท้ังส้ิน 134,654.00 116,108.40 170,703.40 245,760.10 223,238.94
49,505.00 51,403.00 74,166.60 110,108.50 100,361.50
เพื่อใช้จ่ายในครัวเรอื น 19,679.00 16,690.70 7,709.50 10,801.90 13,236.53
เพอ่ื ใชท้ าธุรกจิ ทไ่ี ม่ใช่การเกษตร
เพื่อใช้ทาการเกษตร 23,956.00 30,399.00 32,622.50 88,505.60 50,727.66
เพื่อใชใ้ นการศกึ ษา 2,015.00 3,228.90 2,039.90 1,350.10 3,871.14
เพอ่ื ใชซ้ ือ้ /เช่าซอ้ื บา้ นและที่ดิน 35,587.00 14,221.00 52,254.70 33,731.60 55,024.41
อน่ื ๆ 3,912.00 165.80 1,910.20 1,262.30
17.71
ชยั ภูมิ หนสี้ ินทง้ั ส้ิน 103,092.00 105,133.60 164,134.90 155,901.80 194,195.09
54,350.00 37,744.20 79,125.40 69,624.50 71,821.93
เพื่อใช้จา่ ยในครวั เรอื น 4,327.00 7,499.10 7,997.50 23,450.60 30,435.54
24,401.00 31,196.90 40,783.90 42,883.30 64,000.14
เพอ่ื ใชท้ าธุรกิจท่ีไมใ่ ช่การเกษตร 3,202.00 1,574.60 461.70 475.80 608.75
เพอื่ ใช้ทาการเกษตร 16,762.00 25,729.00 35,147.00 16,186.10 27,328.73
เพอื่ ใชใ้ นการศกึ ษา 1,389.90 619.40 3,281.50
เพื่อใช้ซื้อ/เช่าซอ้ื บ้านและท่ดี ิน 51.00 0.00
อน่ื ๆ
บรุ ีรมั ย์ หนีส้ ินทง้ั ส้ิน 117,943.00 161,894.90 117,814.40 159,766.10 131,638.13
เพื่อใช้จา่ ยในครัวเรอื น 46,845.00 75,833.50 62,672.40 69,193.10 71,607.34
เพื่อใช้ทาธุรกจิ ที่ไมใ่ ช่การเกษตร 6,314.00 7,568.60 6,366.40 9,871.80 10,856.72
เพื่อใช้ทาการเกษตร 25,152.00 19,465.10 20,738.70 38,528.20 21,822.89
เพอ่ื ใชใ้ นการศึกษา 5,377.00 7,786.40 1,300.80 1,913.50 1,718.36
สรุ นิ ทร์ เพอ่ื ใชซ้ อ้ื /เชา่ ซอ้ื บ้านและทด่ี ิน 29,965.00 47,160.30 19,015.30 39,276.60 23,555.59
อ่นื ๆ 4,291.00 4,081.00 7,720.80 983.00 2,077.22
หนีส้ ินทั้งสิ้น 118,378.00 196,381.10 187,497.50 246,348.30 251,796.15
เพอ่ื ใช้จา่ ยในครวั เรอื น 36,185.00 94,025.90 33,991.70 141,769.50 80,632.49
เพื่อใช้ทาธรุ กิจทไี่ มใ่ ช่การเกษตร 10,540.00 16,423.90 11,658.00 6,552.60 36,147.88
เพอ่ื ใชท้ าการเกษตร 23,886.00 27,355.40 39,088.10 48,348.70 27,097.83
ศรีสะเกษ เพื่อใชใ้ นการศึกษา 5,878.00 2,721.20 12,354.70 3,430.70 2,686.25
เพื่อใชซ้ ื้อ/เชา่ ซ้ือบ้านและทีด่ ิน 38,526.00 53,282.30 77,717.60 41,528.80 104,826.75
อน่ื ๆ 3,361.00 2,572.50 12,687.30 4,718.00
หนส้ี ินทง้ั สิ้น 88,342.00 112,525.50 191,056.90 135,277.40 404.94
เพอ่ื ใชจ้ า่ ยในครวั เรือน 34,383.00 57,345.90 88,411.90 92,184.40 189,527.94
เพื่อใชท้ าธรุ กจิ ทไ่ี มใ่ ช่การเกษตร 8,161.00 11,752.30 17,709.60 5,963.70 100,169.12
เพอ่ื ใช้ทาการเกษตร 34,818.00 30,698.10 33,009.30 30,965.20 15,569.49
เพอ่ื ใช้ในการศึกษา 2,720.00 142.30 2,843.70 274.40 41,780.32
เพ่อื ใช้ซอื้ /เช่าซอ้ื บา้ นและที่ดิน 7,409.00 12,405.40 48,854.10 5,685.50 6,514.41
อ่นื ๆ 851.00 181.50 228.20 204.20 24,787.09
707.52
สานกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 4 สานกั งานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวัดประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 13
จังหวดั วัตถปุ ระสงค์การกยู้ ืม 2552 2554 2556 2558 2560
ยโสธร หนี้สินท้ังสิ้น 85,676.00 165,082.40 63,643.20 123,720.30 121,376.78
เพอ่ื ใช้จา่ ยในครวั เรือน 33,444.00 106,283.30 47,911.90 68,170.90 80,326.01
เพื่อใชท้ าธรุ กิจท่ไี มใ่ ช่การเกษตร 14,264.00 37,633.60 1,185.00 30,393.60 8,531.78
เพ่อื ใชท้ าการเกษตร 14,568.00 6,540.90 9,083.20 18,995.80 20,168.42
เพอ่ื ใช้ในการศึกษา 733.00 2,380.50 90.10 1,012.30 988.04
เพ่อื ใช้ซอ้ื /เช่าซือ้ บา้ นและทดี่ นิ 22,148.00 12,244.10 5,373.00 5,147.70 11,362.52
อ่ืนๆ 519.00 0 0 0 0
ทีม่ า : หนี้สนิ เฉล่ียตอ่ ครัวเรอื น จาแนกตามวัตถปุ ระสงคข์ องการก้ยู มื พ.ศ.2552-2560 สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ
2.8 ข้อมูลองคก์ รภาคเี ครอื ขา่ ย
มีจานวนองค์กรภาคีเครือข่ายท้ังหมด 5,466 แห่ง ประกอบด้วย องค์กรสวัสดิการชุมชน 676 แห่ง
องค์กรสาธารณะประโยชน์ 402 แห่ง องค์กรคนพิการ 103 แห่ง สภาองค์กรชุมชน 1,128 แห่ง ศูนย์พัฒนา
คุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ ( ศพอส.) 222 แห่ง กองทุนสวัสดิการชุมชน 785 แห่ง ศูนย์พัฒนา
ครอบครัวในชุมชน (ศพค.) 947 แห่ง สภาเด็กและเยาวชน 1,203 แห่ง และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและ
ความมนั่ คงมนษุ ย์ ( อพม.) 44,632 คน ดังตารางท่ี 12
ตารางที่ 12 จานวนองค์กรภาคเี ครือข่าย
องคก์ ร นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรมั ย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ ยโสธร รวม
องค์กรสวัสดิการชมุ ชน 92 114 139 95 166 70 676
องค์กรสาธารณะประโยชน์ 77 75 89 38 86 37 402
องค์กรคนพิการ 7 1 9 30 50 6 103
87 1,128
สภาองค์กรชุมชน 332 142 189 162 216 15 222
ศูนย์พฒั นาคุณภาพชวี ติ และ 96 33 23 25 30 72 785
ส่งเสริมอาชพี ผสู้ งู อายุ 87 947
กองทนุ สวสั ดิการชมุ ชน 132 101 196 95 189 87 1,203
13,506 44,632
ศูนย์พัฒนาครอบครัว 200 142 184 159 175
ในชมุ ชน 366 142 208 172 228 13,967 50,098
สภาเด็กและเยาวชน
อาสาสมัครพัฒนาสังคมและ 4,323 7,323 7,380 4,552 7,548
ความมนั่ คงมนษุ ย์ 5,625 8,073 8,417 5,328 8,688
รวม
ทม่ี า : สานกั งานพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั ข้อมลู ณ เมษายน 2563
สานักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 4 สานกั งานปลดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวดั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 14
ส่วนท่ี 3
สถานการณ์ทางสงั คมกลุ่มจังหวดั
3.1 สถานการณ์ทางสังคมเชิงกลุม่ เปา้ หมาย
ข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมตามกลุ่มเปูาหมายโดย ได้ดาเนินการรวบรวมข้อมูลย้อนหลังใน
ช่วงระยะเวลา 10 ปี ในช่วงปี พ.ศ. 2553 – 2562 จากเว็บไซต์ของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
(www.dopa.go.th) เว็บไซต์สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและ สังคม
(www.nso.go.th) และเว็บไซต์กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ โดยมีผลจากการวิเคราะห์
สถานการณ์ทางสงั คมของแตล่ ะกลมุ่ เปูาหมาย ดังตอ่ ไปน้ี
3.1.1 กลมุ่ เด็ก
ประชากรเด็ก หรือบุคคลท่ีมีอายุต่ากว่า 18 ปี ท่ีอยู่ในพื้นท่ีความรับผิดชอบของสานักงาน
ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ในปี พ.ศ. 2562 มีจานวนรวม 1,792,354 คน และจากข้อมูลประชากรเด็ก
โดยรวมระหว่างปี พ.ศ. 2553 – 2562 แสดงให้เห็นแนวโน้มว่าจานวนประชากรเด็กลดลงอย่างต่อเนื่อง
ดังตารางที่ 13 และถ้าพิจารณารายจังหวัด พบว่า ประชากรเด็กลดลงในทุกๆ ปีทั้ง 6 จังหวัดเช่นเดียวกับ
ภาพรวม ดังตารางท่ี 13 และแผนภูมิที่ 2 นอกจากนั้น เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด พบว่าจังหวัด
ยโสธรเป็นจังหวัดที่มีจานวนประชากรเด็กต่าที่สุด และยังคงมีแนวโน้มลดต่าลงตามลาดับทุกๆปี ส่วนจังหวัด
นครราชสมี าเป็นจังหวัดที่มีจานวนประชากรเด็กมากท่ีสุด แต่ก็มีแนวโน้มลดต่าลงตามลาดับทุกๆปีด้วยเช่นกัน
และจงั หวัดสรุ นิ ทรก์ ับจงั หวดั ศรีสะเกษเป็นสองจงั หวัดท่มี ีจานวนประชากรเด็กใกลเ้ คียงกนั
ตารางท่ี 13 จานวนประชากรเดก็
จานวนประชากรเด็ก จาแนกตามจงั หวดั รายปี (หนว่ ย:คน)
จังหวดั พ.ศ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562
นครราชสีมา 611,640 604,546 597,650 587,543 577,229 564,977 554,546 546,929 538,002 528,352
ชัยภมู ิ 262,319 258,181 254,860 250,301 245,171 239,660 234,982 231,244 227,065 223,097
บรุ รี มั ย์ 404,408 399,007 392,998 385,809 377,674 369,290 362,078 356,080 349,950 342,896
สุรนิ ทร์ 352,616 346,799 341,627 334,311 326,915 319,327 312,168 306,416 300,065 294,160
ศรสี ะเกษ 366263 360,108 353,723 345,802 337,747 329,520 321,947 315,310 308,517 302,246
ยโสธร 125440 122,951 120,602 117,676 114,476 111,320 108,557 106,243 103704 101603
รวม 2,122,686 2,091,592 2,061,460 2,021,442 1,979,212 1,934,094 1,894,278 1,862,222 1,827,303 1,792,354
ทม่ี า : สานกั บรหิ ารการทะเบียน กรมการปกครอง ข้อมลู ณ วนั ท่ี 24 พฤษภาคม 2563
สานักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 4 สานักงานปลัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 15
แผนภูมทิ ่ี 2 แนวโนม้ จานวนประชากรเด็ก
3.1.2 กล่มุ เยาวชน
ประชากรเยาวชน หรือบุคคลที่มีอายุระหว่าง 18ปี – 25 ปีบริบูรณ์ ท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีความ
รับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ในปี พ.ศ. 2562 มีจานวนรวม 975,492 คน และ
จากข้อมูลประชากรเยาวชนโดยรวมระหว่างปี พ.ศ. 2553 – 2562 แสดงให้เห็นแนวโน้มว่าจานวนประชากร
เยาวชนลดลงอย่างต่อเนื่อง ดังตารางที่ 14 และถ้าพิจารณารายจังหวัด พบว่า ประชากรเยาวชนลดลง
ในทุกๆ ปีท้ัง 6 จังหวัดเช่นเดียวกับภาพรวม นอกจากนั้นเม่ือพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด พบว่าจังหวัด
ยโสธรเป็นจังหวัดที่มีจานวนประชากรเยาวชนต่าท่ีสุด และยังคงมีแนวโน้มลดต่าลงตามลาดับทุกๆปี
ส่วนจังหวัดนครราชสีมา เป็นจังหวัดท่ีมีจานวนประชากรเยาวชนมากที่สุด แต่ก็มีแนวโน้มลดต่าลงตามลาดับ
ทุกๆ ปีด้วยเชน่ กนั และ จังหวัดสรุ นิ ทร์กับจังหวดั ศรสี ะเกษ เป็นจังหวัดทม่ี ีประชากรเยาวชนใกลเ้ คยี งกัน
ตารางท่ี 14 จานวนประชากรเยาวชน จาแนกตามจังหวัดรายปี (หนว่ ย : คน)
จังหวัด พ.ศ.2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556 พ.ศ.2557 พ.ศ.2558 พ.ศ.2559 พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 พ.ศ.2562
นครราชสมี า 299,670 297,940 297,363 297,947 300,371 301,402 298,850 294,433 290,154 284,341
ชัยภมู ิ 128,653 127,765 127,641 128,016 128,455 128,332 127,227 124,333 120,761 117,460
บุรรี ัมย์ 182,781 182,491 183,509 186,222 190,412 193,559 193,815 190,678 186,632 183,526
สุรินทร์ 166,221 164,896 164,728 166,933 170,134 172,835 171,614 168,533 165,859 161,851
ศรสี ะเกษ 172,305 172,200 173,427 175,562 177,239 178,488 178,000 176,436 173,543 169,653
ยโสธร 63,567 63,296 63,098 63,086 63,267 63,402 63,051 61,474 60,442 58,661
รวม 1,013,197 1,008,588 1,009,766 1,017,766 1,029,878 1,038,018 1,032,557 1,015,887 997,391 975,492
ทม่ี า : สานกั บริหารการทะเบยี น กรมการปกครอง ข้อมูล ณ วันที่ 24 พฤษภาคม 2563
สานักงานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 4 สานกั งานปลัดกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวัดประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 16
แผนภมู ทิ ่ี 3 แนวโน้มจานวนเยวชน
3.1.3 กล่มุ สตรี
ประชากรสตรีท่ีมีอายุระหว่าง 25 – 59 ปี ท่ีอยู่ในพื้นที่ความรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริม
และสนับสนนุ วชิ าการ 4 ในปี พ.ศ. 2562 มีจานวนรวม 4,429,487 คน และจากข้อมูลประชากรสตรี โดยรวม
ระหว่างปี พ.ศ. 2553 – 2562 แสดงให้เห็นแนวโน้มว่าจานวนประชากรสตรีเพิ่มขึ้น ดังตารางที่ 15 และ
ถ้าพิจารณากลุ่มจังหวัด พบว่า ประชากรสตรีเพ่ิมขึ้นในทุกๆ ปีทั้ง 6 จังหวัดเช่นเดียวกับภาพรวม ดังตาราง
ที่ 15 และแผนภูมิที่ 4 นอกจากนั้น เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด พบว่า จังหวัดยโสธรเป็นจังหวัดท่ีมี
จานวนประชากรสตรีต่าที่สุด และยังคงมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นลงตามลาดับทุกๆ ปี ส่วนจังหวัดนครราชสีมาเป็น
จังหวัดท่ีมีจานวนประชากรสตรีมากท่ีสุด แต่ก็มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนตามลาดับทุกๆปีด้วยเช่นกัน ส่วนจังหวัด
บุรีรมั ย์ จังหวัดสรุ นิ ทร์ และจังหวัดศรสี ะเกษ มีจานวนประชากรสตรีใกลเ้ คยี งกนั
ตารางท่ี 15 จานวนสตรี จาแนกตามจังหวัดรายปี (หนว่ ย : คน)
จังหวดั พ.ศ.2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556 พ.ศ.2557 พ.ศ.2558 พ.ศ.2559 พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 พ.ศ.2562
นครราชสีมา 1,304,756 1,306,998 1,315,003 1,320,303 1,325,530 1,330,651 1,333,516 1,337,977 1,342,450 1,344,983
ชัยภมู ิ 566,277 566,751 569,711 570,973 571,837 572,565 573,223 574,111 574,843 574,457
บรุ ีรัมย์ 777,999 781,026 784,890 788,223 791,397 794,401 796,415 798,942 801,417 802,485
สุรินทร์ 690,336 689,755 692,854 694,160 695,942 697,538 698,551 699,778 700,688 700,583
ศรีสะเกษ 726,199 726,030 729,173 730,999 732,925 735,141 735,884 737,303 738,389 738,454
ยโสธร 268,575 268,547 269,294 269,301 269,048 269,073 269,067 269,130 269,024 268,525
รวม 4,334,142 4,339,107 4,360,925 4,373,959 4,386,679 4,399,369 4,406,656 4,417,241 4,426,811 4,429,487
ทม่ี า : สานักบรหิ ารการทะเบียน กรมการปกครอง ข้อมลู ณ วันที่ 24 พฤษภาคม 2563
สานักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ าการ 4 สานกั งานปลัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์
รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จังหวดั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 17
แผนภมู ทิ ี่ 4 แนวโน้มจานวนสตรี จาแนกตามรายจังหวัด
3.1.4 กล่มุ ผู้สูงอายุ
ประชากรสูงอายุท่ีมีอายุ 60 ปี ข้ึนไป ท่ีอยู่ในพื้นท่ีความรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและ
สนับสนุนวิชาการ 4 ในปี พ.ศ. 2562 มีจานวนรวม 1,455,880 คน และจากข้อมูลประชากรสูงอายุ โดยรวม
ระหว่างปี พ.ศ. 2553 – 2562 แสดงให้เหน็ แนวโน้มว่าจานวนประชากรสูงอายุเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง ดังตาราง
ที่ 16 และถา้ พจิ ารณารายจงั หวัด พบว่า ประชากรผู้สูงอายเุ พ่ิมข้ึนในทุกๆ ปีทั้ง 6 จังหวัดเช่นเดียวกับภาพรวม
ดังตารางที่ 16 และแผนภูมิท่ี 5 นอกจากน้ัน เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด พบว่า จังหวัดยโสธรเป็น
จังหวัดท่ีมีจานวนประชากรผู้สูงอายุต่าที่สุด และยังคงมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนลงตามลาดับทุกๆ ปี ส่วนจังหวัด
นครราชสีมา เปน็ จังหวดั ท่ีมีจานวนประชากรผู้สูงอายุมากท่ีสุด มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนตามลาดับทุกๆ ปีด้วยเช่นกัน
และจังหวัดสรุ ินทร์กบั จังหวดั ศรสี ะเกษ เป็นสองจงั หวดั ท่มี ีจานวนประชากรผสู้ งู อายุใกล้เคยี งกัน
ตารางที่ 16 จานวนผู้สูงอายุ จาแนกตามจงั หวัดรายปี (หน่วย : คน)
จงั หวัด พ.ศ.2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556 พ.ศ.2557 พ.ศ.2558 พ.ศ.2559 พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 พ.ศ.2562
นครราชสีมา 308,608 321,198 336,276 362,246 376,813 388,663 400,496 417,303 435,347 453,388
ชยั ภมู ิ 140,808 146,464 153,164 162,581 168,952 175,463 181,589 188,874 195,784 203,237
บุรรี ัมย์ 174,513 181,269 189,812 202,701 210,520 217,388 223,999 233,177 242,102 251,206
สรุ ินทร์ 161,680 167,294 174,183 184,278 190,359 195,250 201,558 208,995 216,188 224,364
ศรสี ะเกษ 162730 169,174 176,504 186,533 192,698 198,927 205,689 214,738 223,307 232,607
ยโสธร 64326 66,731 69,275 72,689 75,121 77,783 80,946 84,309 87634 91,078
รวม 1,012,665 1,052,130 1,099,214 1,171,028 1,214,463 1,253,474 1,294,277 1,347,396 1,400,362 1,455,880
ทีม่ า : สานักบรหิ ารการทะเบียน กรมการปกครอง ข้อมูล ณ วนั ท่ี 24 พฤษภาคม 2563
สานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 4 สานกั งานปลดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวัดประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 18
แผนภมู ทิ ่ี 5 แนวโน้มจานวนผูส้ ูงอายุ จาแนกตามรายจังหวัด
3.1.5 กลมุ่ คนพิการ
ประชากรคนพกิ าร ทอี่ ยู่ในพ้ืนท่ีความรบั ผดิ ชอบของสานักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ 4
ในปี พ.ศ. 2562 มีจานวนรวมทั้งหมด 364,651 คน และจากข้อมูลประชากรคนพิการโดยรวมระหว่างปี
พ.ศ. 2553 – 2562 แสดงให้เห็นแนวโน้มว่าจานวนประชากรคนพิการเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่อง ดังตารางท่ี 17
และถ้าพิจารณารายจังหวัด พบว่า ประชากรคนพิการเพ่ิมข้ึนในทุกๆ ปีท้ัง 6 จังหวัดเช่นเดียวกับภาพรวม
ดังตารางท่ี 17 และแผนภูมิที่ 6 นอกจากน้ัน เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด พบว่า จังหวัดยโสธรเป็น
จังหวัดที่มีจานวนประชากรคนพิการต่าท่ีสุด แต่ยังคงมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนลงตามลาดับทุกๆ ปี ส่วนจังหวัด
นครราชสีมาเป็นจังหวัดที่มีจานวนประชากรคนพิการมากที่สุด และก็มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นตามลาดับทุกๆ ปีด้วย
เช่นกนั และจงั หวดั ชัยภมู กิ ับจังหวดั ศรสี ะเกษ เปน็ สองจังหวดั ทมี่ ีจานวนประชากรคนพิการใกล้เคยี งกนั
ตารางท่ี 17 จานวนคนพิการ จาแนกตามจงั หวดั รายปี (หนว่ ย : คน)
จงั หวดั พ.ศ.2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556 พ.ศ.2557 พ.ศ.2558 พ.ศ.2559 พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 พ.ศ.2562
นครราชสมี า 35,945 43,246 48,067 54,488 60,216 66,741 71,049 79,846 84,770 87,741
ชัยภมู ิ 27,585 30,030 32,874 38,918 44,047 49,924 51,586 57,422 58,734 59,974
บรุ ีรัมย์ 36,557 39,639 45,935 50,712 54,941 56,785 61,975 67,734 71,061 72,307
สุรนิ ทร์ 33,451 45,453 47,730 52,388 56,298 59,748 58,074 60,936 63,277 65,764
ศรีสะเกษ 29,719 34,483 36,867 40,139 44,082 47,209 47,191 52,507 56,302 58,198
ยโสธร 13,471 15,838 17,049 18,011 19,010 19,491 18,457 20,061 20,306 20,667
รวม 176,728 208,689 228,522 254,656 278,594 299,898 308,332 338,506 354,450 364,651
ท่ีมา : กรมสง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ คนพกิ าร ข้อมลู วนั ที่ 24 พฤษภาคม 2563
สานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ 4 สานักงานปลดั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวดั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 19
แผนภมู ิท่ี 6 แนวโนม้ จานวนคนพกิ าร จาแนกตามรายจังหวดั
3.1.6 กลุ่มคนจน
ประชากรคนจน ท่ีอยู่ในพื้นที่ความรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4
ในปี พ.ศ. 2561 มีจานวนรวม 1,197,400 คน และจากข้อมูลประชากรคนพิการ โดยรวมระหว่างปี
พ.ศ. 2558 – 2561 แสดงให้เห็นแนวโน้มว่าจานวนประชากรคนคนจนเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ือง ดังตารางท่ี 18
และถ้าพิจารณารายจังหวัด พบว่าจานวนคนจนมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนทั้ง 6 จังหวัดเช่นเดียวกับภาพรวม
ดังตารางท่ี 18 และภาพที่ 7 นอกจากน้ัน เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด พบว่า จังหวัดยโสธรเป็น
จังหวดั ทมี่ ีจานวนประชากรคนจนต่าที่สุดในปี 2561 และยังคงมีแนวโน้มลดลงตามลาดับทุกๆ ปี ส่วนจังหวัด
นครราชสีมาเปน็ จงั หวัดทมี่ ีจานวนประชากรคนจนมากที่สดุ ในปี 2561 แตก่ ม็ ีแนวโนม้ เพม่ิ ขึ้น
ตารางที่ 18 จานวนคนจน จาแนกตามจงั หวดั รายปี (หน่วย : คน)
จงั หวดั พ.ศ.2552 พ.ศ.2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556 พ.ศ.2557 พ.ศ.2558 พ.ศ.2559 พ.ศ.2560 พ.ศ.2561
นครราชสมี า 415.5 560.7 368.8 403.2 437.2 427.0 288.8 223.8 338.5 375.2
ชัยภมู ิ 350.0 259.1 228.6 157.0 152.0 90.9 54.0 54.8 31.7 81.4
บุรรี ัมย์ 606.7 418.5 428.0 400.5 320.2 492.8 292.8 304.3 261.8 261.1
สุรินทร์ 291.0 191.2 290.5 206.2 121.0 160.6 109.0 104.0 149.8 193.5
ศรสี ะเกษ 637.5 589.1 378.0 378.9 202.3 140.6 31.3 112.0 86.4 225.5
ยโสธร 175.4 127.9 158.2 112.9 99.5 70.9 83.7 80.6 73.5 60.8
รวม 2,476.0 2,146.5 1,851.9 1,658.7 1,332.1 1,382.8 859.5 879.6 941.8 1,197.4
ที่มา : สานกั งานสถติ ิแห่งชาติ ขอ้ มลู สบื คน้ วันท่ี 24 พฤษภาคม 2563
สานกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 4 สานักงานปลดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์
รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 20
แผนภมู ทิ ี่ 7 แนวโน้มจานวนคนจน จาแนกตามรายจงั หวัด
3.1.7 ครอบครัว
จานวนครอบครวั จากการจดทะเบียนสมรส ที่อยู่ในพ้นื ทค่ี วามรบั ผิดชอบของสานักงานส่งเสริม
และสนับสนนุ วิชาการ 4 ในปี พ.ศ. 2562 มจี านวนรวม 33,871 คู่ และจากขอ้ มูลจานวนการจดทะเบียนสมรส
โดยรวมระหว่างปี พ.ศ. 2553 – 2562 แสดงให้เห็นแนวโน้มว่าจานวนการจดทะเบียนสมรสลดลง ดังตาราง
ท่ี 19 และถ้าพิจารณารายจังหวัด พบว่า จานวนการจดทะเบียนสมรส มีแนวโน้มลดลง ทั้ง 6 จังหวัด
เชน่ เดยี วกบั ภาพรวม ดงั ตารางที่ 19 และแผนภมู ทิ ่ี 8 นอกจากนน้ั เม่อื พจิ ารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด พบว่า
จังหวัดยโสธรเป็นจังหวัดที่มีจานวนการจดทะเบียนสมรสต่าที่สุด และยังคงมีแนวโน้มลดลงตามลาดับทุกๆ ปี
ส่วนจังหวัดนครราชสีมาเป็นจังหวัดท่ีมีจานวนการจดทะเบียนสมรสมากที่สุด แต่ก็มีแนวโน้มลดลงตามลาดับ
ทกุ ๆ ปี และจงั หวดั ชยั ภมู ิกับจงั หวัดสรุ ินทร์เป็นสองจังหวดั ทม่ี ีจานวนการจดทะเบยี นสมรสใกล้เคียงกนั
ตารางท่ี 19 จานวนการจดทะเบียนสมรส จาแนกตามจงั หวัดรายปี (หนว่ ย : คู)่
จังหวดั พ.ศ.2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556 พ.ศ.2557 พ.ศ.2558 พ.ศ.2559 พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 พ.ศ.2562
นครราชสมี า 10,725 11,110 11,223 10,060 10,680 10,580 11,028 10,741 11,201 12,272
ชัยภมู ิ 4,515 4,443 4,897 4,220 4,161 4,161 4,136 4,020 3,919 4,550
บรุ รี ัมย์ 7,248 6,414 6,106 5,073 5,031 5,031 4,900 4,720 4,905 5,401
สุรินทร์ 6,544 5,892 5,251 4,169 4,364 4,364 4,067 3,705 4,106 4,546
ศรีสะเกษ 6,764 5,406 5,071 4,707 4,678 4,678 4,607 4,422 4,529 5,143
ยโสธร 2,067 2,333 2,075 2,046 1,979 1,979 1,836 1,789 1,788 1,959
รวม 37,863 35,598 34,623 30,275 30,893 30,893 30,574 29,397 30,448 33,871
ทม่ี า : สานักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง สืบคน้ ณ วันที่ 24 พฤษภาคม 2563
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 4 สานกั งานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 21
แผนภมู ทิ ่ี 8 จานวนการจดทะเบียนสมรส จาแนกตามรายจังหวดั
3.2 สถานการณ์ทางสังคมเชิงประเด็น
จานวนคดยี าเสพติด
จานวนคดียาเสพติด ที่อยู่ในพ้ืนที่ความรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4
ในปี พ.ศ. 2561 มีจานวนรวมท้ังหมด 34,012 คดี และจากข้อมูลจานวนคดียาเสพติด โดยรวมระหว่างปี
พ.ศ. 2552 – 2561 แสดงให้เห็นแนวโน้มว่าจานวนคดียาเสพติดเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง ดังตารางที่ 20 และถ้า
พจิ ารณารายจังหวดั พบว่า จานวนคดยี าเสพตดิ เพมิ่ ขนึ้ ในทกุ ๆ ปีทง้ั 6 จงั หวัด เช่นเดียวกบั ภาพรวม ดังตาราง
ท่ี 20 และแผนภูมิท่ี 9 นอกจากน้ัน เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด พบว่า จังหวัดยโสธรเป็นจังหวัดที่มี
จานวนคดียาเสพติดต่าท่ีสุด แต่ยังคงมีแนวโน้มเพิ่มข้ึนตามลาดับทุกๆ ปี ส่วนจังหวัดนครราชสีมาเป็นจังหวัด
ท่ีมีจานวนคดียาเสพติดมากที่สุด แต่ก็มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนตามลาดับทุกๆ ปีด้วยเช่นกัน และจังหวัดบุรีรัมย์
จงั หวดั สรุ ินทร์ จงั หวดั ศรสี ะเกษ เป็นจงั หวัดทมี่ ีจานวนคดียาเสพติดใกลเ้ คยี งกัน
ตารางที่ 20 จานวนคดียาเสพตดิ จาแนกตามจังหวดั รายปี (หน่วย : คดี)
จังหวดั พ.ศ.2552 พ.ศ.2553 พ.ศ.2554 พ.ศ.2555 พ.ศ.2556 พ.ศ.2557 พ.ศ.2558 พ.ศ.2559 พ.ศ.2560 พ.ศ.2561
นครราชสมี า 2,987 6,087 10,474 6,276 10,048 6,561 9,300 6,702 7,185 8,607
ชัยภมู ิ 1,034 2,431 3,078 2,293 3,282 2,329 3,092 2,170 4,130 6,402
บรุ รี มั ย์ 645 1,828 2,199 2,162 4,690 3,078 3,750 3,028 3,394 5,136
สรุ นิ ทร์ 983 1,776 2,235 1,640 1,991 2,198 1,953 1,729 2,421 5,266
ศรสี ะเกษ 407 1,207 2,256 2,191 3,359 2,973 4,110 3,800 4,379 5,930
ยโสธร 578 1,175 2,293 1,882 2,628 1,599 1,402 1,965 1,928 2,671
รวม 6,634 14,504 22,535 16,444 25,998 18,738 23,607 19,394 23,437 34,012
ท่ีมา : สานักงานสถติ แิ ห่งชาติ ขอ้ มลู วนั ท่ี 24 พฤษภาคม 2563
สานกั งานส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการ 4 สานกั งานปลัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จังหวดั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 22
แผนภมู ทิ ่ี 9 จานวนคดยี าเสพตดิ จาแนกตามรายจงั หวดั
2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561
3.3 สถานการณ์ทางสังคมทีเ่ กดิ จากการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโควดิ - 19
สถานการณ์ทางสังคมที่เกิดจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโควิด - 19 ใน
ประเทศไทย จากข้อมูลกรมควบคุมโรค : ณ วันท่ี 17 สิงหาคม 2563 พบผู้ติดเช้ือเพ่ิมข้ึน จานวน 1 ราย
ยอดผู้ติดเชื้อสะสมรวมทั้งประเทศ 3,378 ราย รักษาตัวที่ รพ. 126 ราย รักษาหายแล้ว 3,194 ราย เสียชีวิต
58 ราย สถานการณ์ผู้ติดเชื้อโควิด - 19 ในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4
จากขอ้ มลู สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ณ วันท่ี 17 สิงหาคม 2563 พบผู้ติดเชื้อสะสม 53 ราย รักษาหายแล้ว
51 ราย เสียชีวิต 2 ราย แบ่งเป็น จังหวัดนครราชสีมา 19 ราย จังหวัดชัยภูมิ 3 ราย จังหวัดบุรีรัมย์ 13 ราย
จงั หวัดสุรนิ ทร์ 9 ราย จงั หวัดศรสี ะเกษ 8 ราย และจังหวัด ยโสธร 1 ราย
สานักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 4 สานกั งานปลัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวดั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 23
3.3.1 ผลกระทบจากสถานการณ์ โควิด – 19
กลุ่มเปูาหมายในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัดในเขตรับผิดชอบของ สสว.4 ท่ีได้รับผลกระทบจากการ
แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โควดิ – 19 ดงั น้ี กลุ่มเสยี่ ง 6 ราย ถกู เลิกจา้ ง 2,248 ราย ว่างงาน 21,477 ราย
รายไดล้ ดลง 43,893 ราย และ อ่นื ๆ 13,303 ราย ดงั ตารางท่ี 21 และ แผนภมู ิท่ี 10
ตารางที่ 21 ผลกระทบจากสถานการณ์โควดิ - 19
ผลกระทบจากสถานการณ์โควิด -19
กลมุ่ กลุ่มเสี่ยง ติดเชอ้ื ถกู เลกิ จ้าง วา่ งงาน รายไดล้ ดลง อ่ืนๆ
COVID-19
เด็ก 0 0 84 561 1,611 1,133
ผสู้ งู อายุ 0 0 137 3,099 8,981 2,075
เยาวชน 0 0 367 1,184 934 666
สตรี 2 0 739 7,025 8,684 3,041
ผ้พู ิการ 0 0 60 1,615 4,299 1,114
คนยากจน 2 0 397 4,997 11,460 3,727
ครอบครวั 2 0 464 2,996 7,924 1,547
รวม 6 0 2,248 21,477 43,893 13,303
แผนภมู ิท่ี 10 ผลกระทบจากสถานการณ์ โควดิ - 19 อื่นๆ
รายไดล้ ดลง
ครอบครัว วา่ งงาน
คนยากจน ถูกเลกิ จ้าง
ติดเชอื้ COVID-19
ผพู้ ิการ กลมุ่ เส่ยี ง
สตรี
เยาวชน
ผ้สู ูงอายุ
เดก็
0 2000 4000 6000 8000 10000 12000 14000
สานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 4 สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวดั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 24
3.3.2 อาชพี ของผทู้ ี่ไดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณ์โควดิ - 19
ผไู้ ดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณ์ โควดิ – 19 ในกลมุ่ จังหวัดทอี่ ยใู่ นความรบั ผิดชอบของ
สานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4 พบวา่ ส่วนใหญ่ ไม่มีอาชีพ/ว่างงาน 14,969 ราย คิดเป็น 43.58 %
รองลงมา ประกอบอาชีพรับจ้าง 8,574 ราย คิดเป็น 24.96 % และ ประกอบอาชีพ เกษตรกร (ทาไร่/ทานา/
ทาสวน/เลีย้ งสัตว์/ประมง) 4,117 ราย คดิ เป็น 12 % ดังตารางที่ 22 และแผนภูมทิ ี่ 11
ตารางที่ 22 อาชีพของผู้ไดร้ บั ผลกระทบจากสถานการณ์ โควิด - 19
อาชพี ของผ้ไู ดร้ บั ผลกระทบ จานวน รอ้ ยละ
43.58
ไม่มีอาชพี /ว่างงาน 14,969 7.61
5.69
นกั เรยี น/นักศึกษา 2,614 0.08
11.99
ค้าขาย/ธรุ กจิ สว่ นตวั 1,955 24.96
0.54
ภิกษุ/สามเณร/แมช่ ี 26 0.08
2.31
เกษตรกร (ทาไร/่ ทานา/ทาสวน/เลยี้ งสัตว/์ ประมง) 4,117 3.20
รับจา้ ง 8,574
ขา้ ราชการ/พนักงานของรฐั 184
พนกั งานรัฐวสิ าหกิจ 26
พนักงานบริษทั 791
อื่นๆ 1,097
แผนภมู ทิ ่ี 11 อาชีพของผูไ้ ดร้ ับผลกระทบจากสถานการณ์ โควิด - 19
00%% 2% 3% อาชีพของผไู้ ดร้ บั ผลกระทบ
25%
ไมม่ อี าชีพ/ว่างงาน
44% นักเรียน/นักศกึ ษา
ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว
12% 8% ภิกษุ/สามเณร/แมช่ ี
0% 6% เกษตรกร (ทาไร/่ นา/สวน/เลยี้ งสตั ว์/ประมง)
รับจา้ ง
ข้าราชการ/พนักงานของรฐั
พนักงานรัฐวิสาหกจิ
พนักงานบริษทั
อนื่ ๆ
สานกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 4 สานกั งานปลดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 25
3.3.3 การต้องการความชว่ ยเหลอื
จากผลกระทบของสถานการณ์ โควิด – 19 ในกลุ่มจังหวัดรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริม
และสนับสนุนวิชาการ 4 ผู้ได้รับผลกระทบมีความต้องการช่วยเหลือดังนี้ ต้องการความช่วยเหลือมากท่ีสุด
คอื ต้องการเงนิ อดุ หนนุ /เงินสงเคราะห์ จานวน 78,354 ราย รองลงมา ต้องการเงินซ่อมแซมบ้าน 17,408 ราย
ต้องการการจ้างงาน 14,478 ราย ต้องการการประกอบอาชีพ 14,379 ราย ต้องการเงินทุนประกอบอาชีพ
13,329 ราย และต้องการการจดั หาท่อี ยู่อาศยั 5,634 ราย
ตารางท่ี 23 การต้องการความชว่ ยเหลือ
การตอ้ งการความช่วยเหลือ
กลุ่ม เงินอดุ หนนุ / การประกอบ การ เงินทุนประกอบ เงนิ ซอ่ มแซม การจดั หา รวม
เงนิ สงเคราะห์ ทพ่ี ักอาศัย
เดก็ อาชีพ จ้างงาน อาชพี ปรับปรงุ ท่อี ยู่อาศัย 4,895
ผู้สงู อายุ 3,216 143 25,917
13,959 407 396 281 452 1,116
เยาวชน 5,147
สตรี 2,952 2,315 2,533 2,613 3,381 158 34,428
ผู้พิการ 18,785 1,339 13,277
คนยากจน 6,942 684 547 328 478 545 36,346
ครอบครวั 19,966 3,722 3,533 3,053 3,996 1,413 23,572
รวม 12,534 1,187 1,265 1,460 1,878 920 143,582
78,354 3,444 3,680 3,285 4,558 5,634
2,620 2,524 2,309 2,665
14,379 14,478 13,329 17,408
แผนภมู ทิ ี่ 12 การตอ้ งการความช่วยเหลอื เงนิ อดุ หนนุ /เงนิ สงเคราะห์
การประกอบอาชพี
25000 การจ้างงาน
เงนิ ทนุ ประกอบอาชีพ
การต้องการความชว่ ยเหลอื เงินซอ่ มแซมปรับปรุงทอ่ี ยู่อาศยั
การจัดหาท่พี ักอาศยั
20000
15000
10000
5000
0
เด็ก ผู้สงู อายุ เยาวชน สตรี ผูพ้ ิการ คนยากจน ครอบครวั
สานกั งานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 4 สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวดั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 26
3.3.4 บทบาท พม. ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโควิด – 19
บทบาทของหน่วยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ในเขตพื้นที่
รับผิดชอบของ สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โควดิ – 19 แบง่ เป็น 4 ดา้ นดงั น้ี
1) ด้านสาธารณสุข
1.1 บคุ ลากรปฏบิ ตั ติ นตามมาตรการฯ โดยเครง่ ครดั
1.2 การจัดทาสื่อประชาสัมพันธ์ เพ่ือให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูล วิธีการดูแลตนเองผ่าน
Facebook / Line กล่มุ ตา่ งๆ ของเครอื ข่าย และจดั ส่งเอกสารประชาสัมพันธ์ไปพรอ้ มด้วยหน้ากากผ้า
1.3 การใหค้ าปรึกษา ฟื้นฟู เยยี วยาจติ ใจทางโทรศพั ท์
2) ดา้ นเวชภณั ฑ์
2.1 การผลิตหน้ากากผ้าแจกจ่าย เพ่ือมอบให้ประชาชนที่มาติดต่อ ส่งให้กับครอบครัวผู้พิการ
ผสู้ ูงอายุ มอบให้ผู้วา่ ราชการจังหวัด รองผวู้ า่ ราชการจงั หวดั นาไปมอบให้ประชาชน ณ จุดคัดกรองของจังหวัด
2.2 ภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาชน บริจาคเงนิ จดั ซือ้ อปุ กรณ์ในการผลติ หน้ากากผ้า
3) ดา้ นการปอ้ งกัน
3.1 มีคาสง่ั แต่งตั้งคณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินในเชิงปูองกันหรือ
ยับย้ังของจังหวัดเฉพาะสถานการณ์โรคระบาดจากเช้ือไวรัสโควิด -19 เพื่อให้การใช้จ่ายเงินทดรองราชการ
ในเชงิ ปูองกนั หรือยับยงั้ ภัยพบิ ตั ิกรณฉี ุกเฉนิ เปน็ ไปอยา่ งมรี ะบบ
3.2 สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด มีคาสั่งแต่งตั้งคณะทางานชุด
ปฏบิ ัติการในภาวะวกิ ฤติ มีการสับเปล่ียนการปฏิบัติงานเปน็ ทมี
3.3 มีการปรับเวลาในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ี/งดการจัดประชุมท่ีมีผู้เข้าร่วมมากกว่า 50 คน
ข้นึ ไป/จัดโตะ๊ ทางานให้เว้นระยะห่างอยา่ งน้อย 1 เมตร/เจ้าหน้าที่ทุกคน ต้องสวมหน้ากากอนามัย/หน้ากากผ้า
ในเวลาปฏิบัติงาน และล้างมือทุกคร้ังท่ีสัมผัสอุปกรณ์ท่ีมีผู้สัมผัสเป็นจานวนมาก และจัดซื้อเฟสชิลท่ีเป็น
ลกั ษณะแว่นตา พกพาสะดวกและปลอดภัย เพ่อื มอบใหเ้ จา้ หนา้ ท่ี
3.4 จัดเจ้าหน้าที่เป็นชุดตรวจวัดอุณหภูมิและล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ ตั้งแต่หน้าอาคาร
การเว้นระยะห่างทุกจุดบริการ การทาความสะอาดอาคารสานักงานทุกวัน และทุกจุดที่มีการสัมผัส เช่น โต๊ะ
เก้าอ้ี เครื่องโทรศัพท์ ห้องน้า ห้องประชุม ไมค์ในห้องประชุม ฯลฯ ในการน้ี สานักงานพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์จังหวัด และหน่วยงาน One Home ได้จัดเตรียมแผนรองรับสถานการณ์ฯ กรณีที่บุคลากรใน
หน่วยงานตดิ เชื้อ
3.5 ด้านการให้บริการแก่กลุ่มเปูาหมายจัดโต๊ะจุดคัดกรอง เพื่อบริการให้กลุ่มเปูาหมายโดย
เว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) มีการจัดวางเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ และจัดทาฉากก้ันแบบใส
ระหว่างการให้บริการ เพ่ือลดการเผชิญหน้าโดยตรง และห้ามบุคคลภายนอกเข้ามาในบริเวณสานักงาน
และปิดทางเข้าออกเหลอื ช่องทางเดียว โดยทุกคนตอ้ งผา่ นจดุ คัดกรองวดั ไข้ ลา้ งมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ก่อนเข้า
มาติดตอ่ หรือรบั บรกิ ารจากสานักงานฯ
สานกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 4 สานักงานปลดั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์
รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 27
4) มาตรการด้านการเยยี วยา
4.1 สารวจผู้ได้รับผลกระทบจากโรคติดต่อเช้ือไวรัสโควิด-19 โดยจะให้การช่วยเหลือเป็น
เงินสงเคราะห์ผู้มีรายได้น้อยและไร้ท่ีพ่ึง ให้คาปรึกษาแนะนา หรือการประสานหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือฝึก
อาชพี ผู้ไดร้ ับผลกระทบสามารถนาไปประกอบอาชพี ในอนาคตได้
4.2 สานักงานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ ไดใ้ หก้ ารช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม
ตามสภาพปัญหาและความต้องการท่ีไดร้ บั แจ้งทุกราย ท้ังนี้เป็นการดาเนินงานแบบบูรณาการร่วมกับหน่วยงาน
ท่ีเกี่ยวข้อง ทั้งระดับจังหวัด อาเภอ และในพื้นท่ี ได้แก่ การช่วยเหลือเป็นเงินสงเคราะห์ครอบครัวผู้มีรายได้
น้อยและไร้ทพี่ ่ึง เพอ่ื บรรเทาความเดอื ดร้อน เคร่ืองอุปโภคบริโภค การฝึกอาชีพ การรับเข้าคุ้มครอง สวัสดิภาพ
เป็นต้น
สานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 4 สานักงานปลัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 28
ส่วนที่ 4
การคาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณ์ทางสงั คมกล่มุ จังหวดั
เครอื่ งมือหนงึ่ ทีค่ วรนามาใชใ้ นการช่วยให้ฝาุ ยบริหารและผทู้ ่ีเกี่ยวข้องกับการใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ
เพ่ือให้ทราบถึงสภาพการณการเปล่ียนแปลงและแนวโน้ม ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม และ ประชากร
เคร่ืองมือน้ัน คือ เทคนิควิธีการวิเคราะห์ทางสถิติ ซึ่งการวิเคราะห์สภาพการณ์การเปลี่ยนแปลงและแนวโน้ม
น้ันต้องอาศัยขอมูลเชิงปริมาณที่มีการเก็บรวบรวมโดยวิธีการทางทะเบียน หรือโดยวิธีการสารวจแจงนับ
(สามะโน) อย่างต่อเนื่องในระยะเวลา 5 ปีข้ึนไป ซ่ึงการคาดการณ์จานวนประชากร และสภาวการณ์
ทางเศรษฐกิจ และสงั คมในอนาคตจะเปน็ พ้นื ฐานสาคัญในการวางแผน ปรับเปลี่ยนนโยบาย รวมถึงการจัดสรร
งบประมาณเพ่ือรองรับจานวนประชากรกลุ่มเปูาหมายทางสังคม ตามการเปล่ียนแปลงท่ีจะเกิดข้ึนได้อย่าง
เหมาะสมและมปี ระสิทธภิ าพ
การคาดการณ์การเปล่ียนแปลงเป็นการประมาณการจานวนประชากรในอนาคตที่คาดการณ์ไดด้วย
วิธีการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น (Linear Regression Model) ที่อยู่ภายใต้ข้อสมมติว่า สภาพการ
เปลี่ยนแปลงในอดีตมีค่าค่อนข้างคงท่ี และการเปลี่ยนแปลงในอนาคตคงที่ตามลักษณะรูปแบบของข้อมูล
ที่สะทอ้ นออกมาเปน็ แนวโนมทม่ี องเห็นไดจ้ ากข้อมูลในอดตี
ตวั แบบการประมาณการณก์ ารเปลี่ยนแปลง ใช้สมการถดถอยหรอื สมการทานาย ดังน้ี
Yt = a + bXt
เมอ่ื Yt คือ ข้อมูลจานวนประชากรในปที ี่ t
X คือ ปีที่ t
; t = 0, 1, 2, 3, . . . นบั จากปีทเ่ี ริม่ ต้นมีข้อมลู
a คอื ค่าคงท่หี รือจุดตัดแกน Y ของสมการถดถอย
b คือ คาการเปลย่ี นแปลงประชากรเฉลย่ี ตอปี
; b เปน็ + แสดงวา่ มกี ารเปลีย่ นแปลงในแตล่ ะปีในลกั ษณะเพ่ิมขึน้
; b เปน็ - แสดงวา่ มกี ารเปลี่ยนแปลงในแตล่ ะปีในลกั ษณะลดลง
นอกจากน้ัน ในการบ่งบอกถึงความแม่นยาของสมการท่ีได้ สามารถใช้ค่า R2 เป็นค่าบ่งชี้ได้ ค่า R2
หรือ สัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (Determination coefficient) คือ ตัวสถิติที่ใช้วัดว่าตัวแบบสมการที่ได้นี้
มีความสมรูปกบั ข้อมูลมากน้อยอย่างไร ใช้บอกความผันแปรของข้อมูลท่ีสามารถอธิบายจากตัวแบบสมการน้ีกี่
เปอรเ์ ซน็ ต์ ทงั้ นคี้ า่ R2 จะมคี ่าระหวา่ ง 0 – 1 และการอา่ นความหมายจะอา่ นเปน็ เปอร์เซน็ ต์ (%)
ในการคาดการณ์แนวโน้มสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุน
วิชาการ 4 จึงใช้การคาดการณการเปลี่ยนแปลงเปน็ การประมาณการจานวนประชากรในอนาคตท่ีคาดการณ์ได
ดว้ ยวธิ กี ารวิเคราะห์การถดถอยเชงิ เส้น (Linear Regression Model) ดังน้ี
สานักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ าการ 4 สานักงานปลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จังหวดั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 29
4.1. กลมุ่ เดก็
จากข้อมูลท่ีรายงานสถานการณ์แนวโน้มจานวนเด็กในเขตพื้นท่ีความรับผิดชอบของสานักงาน
ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ในระหว่างปี พ.ศ. 2553 – 2562 ท่ีทราบแล้วว่ามีลักษณะแนวโน้มที่ลดลง
ในแต่ละปี ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาสมการทานายจานวนเด็กในเขตกลุ่มจังหวัดรับผิดชอบของสานักงาน
ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ระหว่างปี พ.ศ. 2563 – 2565 จึงมีแนวโน้มท่ีลดลงตามตัวแบบของสมการ
ทานายที่วิเคราะห์ได้ ดังตารางท่ี 24 และ แผนภูมิท่ี 13 โดยพบว่า จานวนเด็กในจังหวัดนครราชสีมาจะมี
อัตราการลดลงในแต่ละปีมากที่สุดในกลุ่มจังหวัด โดยประมาณการว่าจะลดลงเฉลี่ยปีละ 9,577 คน
(b = – 9,577.26) รองลงมาคือ จังหวัดศรีสะเกษ ที่มีอัตราเฉล่ียลดลงประมาณปีละ 7,328 คน
(b = – 7,328.16) และจังหวัดที่มีจานวนเด็กลดลงในอัตราต่อปีต่าสุด คือ จังหวัดยโสธร โดยคาดว่าจะมีอัตรา
ลดลงเฉล่ยี ประมาณปีละ 2,737 คน (b = – 2,736.79)
ท้ังนี้ พบว่าตัวแบบสมการที่ใช้ทานายจานวนเด็กของจังหวัดนครราชสีมาเป็นตัวแบบท่ีมีความ
แม่นยาในการคาดการณ์ได้ต่าสุด คือ มีความสามารถในการทานายได้แม่นยา 99.6% (R2 = 0.996)
ส่วนตัวแบบสมการทานายจานวนเด็กของจังหวัดอ่ืนๆ มีความแม่นยาสูง โดยมีความแม่นยาอยู่ระหว่าง
99.7 – 99.8 % โดยจังหวัดที่มตี วั แบบการทานายทีแ่ มน่ ยาใกลเ้ คียงกนั คอื จงั หวดั ชยั ภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ และ
ศรีสะเกษ มคี วามแมน่ ยาในการคาดการณ์ 99.8% (R2 = 0.998)
ตารางท่ี 24 การคาดการณ์แนวโนม้ สถานการณจ์ านวนเด็ก จาแนกตามจงั หวดั รายปี (หนว่ ย : คน)
การคาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณจ์ านวนเดก็ จาแนกตามจงั หวดั รายปี (หน่วย:คน)
จงั หวัด สมการทานาย ณ เวลา t R2 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
นครราชสมี า จานวนเดก็ t = 614,239.07 – 9,577.26Xt 0.996 518,466 508,889 499,312
ชัยภูมิ จานวนเด็กt = 262,879.58 – 4,487.02Xt 0.998 218,009 213,522 209,035
บรุ ีรัมย์ จานวนเดก็ t = 405,687.38 - 7,037.42Xt 0.998 335,313 328,276 321,238
สรุ นิ ทร์ จานวนเด็กt = 353,530.78 – 6,686.75Xt 0.998 286,663 279,977 273,290
ศรสี ะเกษ จานวนเด็กt = 367,095.03 – 7,328.16Xt 0.998 293,813 286,485 279,157
ยโสธร จานวนเด็กt = 125,572.75 – 2,736.79Xt 0.997 98,205 95,468 92,731
ปเี ร่มิ ต้น (t = 0) ณ ปี 2553
สานกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 4 สานกั งานปลัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวัดประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 30
แผนภูมทิ ่ี 13 ประมาณการแนวโน้มสถานการณ์จานวนเด็ก
ประมาณการแนวโน้มสถานการณ์จานวนเด็ก (หน่วย:คน)
ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
518,466
508,889
499,312
218,009
213,522
209,035
335,313
328,276
321,238
286,663
279,977
273,290
293,813
286,485
279,157
98,205
95,468
92,731
นครราชสีมา ชัยภูมิ บุ รี รั ม ย์ สุ ริ น ท ร์ ศ รี ส ะ เ ก ษ ยโสธร
4.2 กลมุ่ เยาวชน
จากข้อมลู ทีร่ ายงานสถานการณ์แนวโน้มจานวนเยาวชนในเขตพื้นทคี่ วามรับผิดชอบของสานักงาน
ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ในระหว่างปี พ.ศ. 2553 – 2562 ที่ทราบแล้วว่ามีลักษณะแนวโน้มที่ลดลง
ในแต่ละปี ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือหาสมการทานายจานวนเยาวชนในเขตรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริม
และสนับสนุนวิชาการ 4 ระหว่างปี พ.ศ. 2563 – 2565 จึงมีแนวโน้มท่ีลดลงตามตัวแบบของสมการทานาย
ท่ีวิเคราะห์ได้ ดังตารางที่ 25 และ แผนภูมิท่ี 14 โดยพบว่า จานวนเยาวชนในจังหวัดนครราชสีมาจะมีอัตรา
การลดลงในแต่ละปีมากที่สุดในกลุ่มจังหวัด โดยประมาณการว่าจะลดลงเฉลี่ยปีละ 3,380 คน
(b = – 3,380.31) และจังหวัดท่ีมีจานวนเยาวชนลดลงในอัตราต่อปีต่าสุด คือ จังหวัดยโสธร โดยคาดว่าจะมี
อัตราลดลงเฉลย่ี ประมาณปลี ะ 957 คน (b = – 956.77)
ทั้งนี้ พบว่าตัวแบบสมการท่ีใช้ทานายจานวนเยาวชนของจังหวัดชัยภูมิเป็นตัวแบบท่ีมีความ
แม่นยาในการคาดการณ์ได้สูงสุด คือ มีความสามารถในการทานายได้แม่นยา 91.6% (R2 = 0.916)
ส่วนตัวแบบสมการทานายจานวนเยาวชนของจังหวัดบุรีรัมย์มีความแม่นยาต่าสุด โดยมีความแม่นยาในการ
คาดการณ์ 60.2 % (R2 = 0.602)
ตารางที่ 25 การคาดการณ์แนวโน้มสถานการณจ์ านวนเยาวชน จาแนกตามจังหวัดรายปี (หน่วย:คน)
จังหวัด สมการทานาย ณ เวลา t R2 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
นครราชสมี า จานวนเยาวชนt = 303,375.95 – 3,380.31Xt 0.901 283,094 279,714 276,333
111,765
ชัยภมู ิ จานวนเยาวชนt = 130,183.86 – 2,302.34Xt 0.916 116,370 114,067 180,601
158,190
บรุ ีรัมย์ จานวนเยาวชนt = 193,938.05 – 1,667.08Xt 0.602 183,936 182,268 167,022
56,454
สรุ ินทร์ จานวนเยาวชนt = 173,144.14 – 1,869.25Xt 0.743 161,929 160,059
ศรสี ะเกษ จานวนเยาวชนt = 179,440.48 – 1,552.26Xt 0.739 170,127 168,575
ยโสธร จานวนเยาวชนt = 64,108.10 - 956.77Xt 0.888 58,367 57,411
สานักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 4 สานักงานปลัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวดั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 31
แผนภมู ทิ ่ี 14 ประมาณการแนวโนม้ สถานการณ์จานวนเยาวชน
ประมาณการแนวโน้มสถานการณ์จานวนเยาวชน (หน่วย:คน)
ปี 2563 ปี 2564
283,094
279,714
276,333
116,370
114,067
111,765
183,936
182,268
180,601
161,929
160,059
158,190
170,127
168,575
167,022
58,367
57,411
56,454
นครราชสีมา ชัยภูมิ บุ รี รั ม ย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ ยโสธร
4.3 กลุ่มสตรี
จากข้อมูลท่ีรายงานสถานการณ์แนวโน้มจานวนสตรีในเขตพื้นท่ีความรับผิดชอบของสานักงาน
ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ในระหว่างปี พ.ศ. 2553 – 2562 ท่ีทราบแล้วว่ามีลักษณะแนวโน้มที่เพ่ิมข้ึน
ในแตล่ ะปี ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เพ่ือหาสมการทานายจานวนสตรีในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริม
และสนับสนุนวิชาการ 4 ระหว่างปี พ.ศ. 2563 – 2565 จึงมีแนวโน้มที่เพิ่มข้ึนตามตัวแบบของสมการทานาย
ท่ีวิเคราะห์ได้ ดังตารางท่ี 26 และ แผนภูมิที่ 15 โดยพบว่าจานวนสตรีในจังหวัดนครราชสีมาจะมีอัตราการ
เพิ่มขึ้นในแต่ละปีมากที่สุดในกลุ่มจังหวัด โดยประมาณการว่าจะ เพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละ 4,666 คน
(b = + 4,665.67) และจังหวัดที่มีจานวนสตรีเพ่ิมข้ึนในอัตราต่อปีต่าสุด คือ จังหวัดยโสธร โดยคาดว่าจะมี
อัตราเพ่ิมขน้ึ เฉล่ยี ประมาณปลี ะ 844 คน (b = + 844)
ท้ังนี้ พบว่าตัวแบบสมการท่ีใช้ทานายจานวนสตรีของจังหวัดนครราชสีมาเป็นตัวแบบท่ีมีความ
แม่นยาในการคาดการณ์ได้สูงสุด คือ มีความสามารถในการทานายได้แม่นยา 98.8% (R2 = 0.988)
ส่วนตัวแบบสมการทานายจานวนสตรีของจังหวัดยโสธร มีความแม่นยาในการคาดการณ์ต่าสุดโดยมี
ความแมน่ ยา 0.7 % (R2 = 0.007)
ตารางที่ 26 การคาดการณ์แนวโน้มสถานการณจ์ านวนสตรี จาแนกตามจงั หวดั รายปี (หนว่ ย:คน)
จงั หวัด สมการทานาย ณ เวลา t R2 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
นครราชสมี า จานวนสตรtี = 1,305,221.15 + 4,665.67Xt 0.988 1,351,878 1,356,544 1,361,209
ชัยภมู ิ จานวนสตรtี = 567,118.20 + 968.13Xt 0.918 576,800 577,768 578,736
บรุ รี มั ย์ จานวนสตรtี = 779,148.11 + 2,793.64Xt 0.986 807,085 809,878 812,672
สุรนิ ทร์ จานวนสตรtี = 690,069.15 + 1,322.08Xt 0.958 703,290 704,612 705,934
ศรสี ะเกษ จานวนสตรtี = 726,113.45 + 1,541.39Xt 0.962 741,527 743,069 744,610
ยโสธร จานวนสตรtี = 268,920.44 + 8.44Xt 0.007 269,005 269,013 269,022
สานักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 4 สานกั งานปลดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 32
แผนภมู ทิ ่ี 15 ประมาณการแนวโน้มสถานการณจ์ านวนสตรี
ประมาณการแนวโน้มสถานการณ์จานวนสตรี (หน่วย:คน)
ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
1,351,878
1,356,544
1,361,209
576,800
577,768
578,736
807,085
809,878
812,672
703,290
704,612
705,934
741,527
743,069
744,610
269,005
269,013
269,022
นครราชสีมา ชัยภูมิ บุ รี รั ม ย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ ยโสธร
4.4 ครอบครัว
จากข้อมูลที่รายงานสถานการณ์แนวโน้มครอบครัวจากจานวนการจดทะเบียนสมรสในเขตพ้ืนท่ี
ความรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ในระหว่างปี พ.ศ. 2553 – 2562 ที่ทราบแล้ว
วา่ มีลกั ษณะแนวโน้มลดลงในแตล่ ะปี ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อหาสมการทานายจานวนการจดทะเบียนสมรส
ในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ระหว่างปี พ.ศ. 2563 – พ.ศ. 2565
จึงมแี นวโน้มลดลงตามตัวแบบของสมการทานายทวี่ เิ คราะห์ได้ ดังตารางท่ี 27 และ แผนภูมทิ ่ี 16 โดยพบวา่
จานวนการจดทะเบียนสมรสในจังหวัดนครราชสีมาเป็นจังหวัดเดียวที่มีอัตราการเพ่ิมข้ึน โดยประมาณการว่า
จะเพมิ่ ขน้ึ เฉลยี่ ปลี ะ 91 คน (b = + 90.63) ในขณะท่ีจังหวดั อนื่ ๆมแี นวโนม้ ลดลง
ทงั้ น้ี พบว่าตวั แบบสมการที่ใชท้ านายจานวนการจดทะเบียนสมรสของจังหวัดสุรินทร์เป็นตัวแบบ
ท่ีมีความแม่นยาในการคาดการณ์ได้สูงสุด คือ มีความสามารถในการทานายได้แม่นยา 60.6% (R2 = 0.607)
ส่วนตัวแบบสมการทานายจานวนการจดทะเบียนสมรสของจังหวัดนครราชสีมามีความแม่นยาต่าสุด โดยมี
ความแมน่ ยา 22.5% (R2 = 0.225)
ตารางท่ี 27 การคาดการณ์แนวโน้มสถานการณค์ รอบครวั จากการจดทะเบยี นสมรส (หนว่ ย : ค)ู่
จงั หวัด สมการทานาย ณ เวลา t R2 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
นครราชสมี า จานวนการจดทะเบียนสมรสt = 10,554.16 + 90.63Xt 0.225 11,460 11,551 11,642
ชัยภูมิ จานวนการจดทะเบยี นสมรสt = 4,520.11 - 48.42Xt 0.248 4,036 3,987 3,939
บุรีรมั ย์ จานวนการจดทะเบยี นสมรสt = 6,427.49 - 209.91Xt 0.585 4,328 4,118 3,909
สุรินทร์ จานวนการจดทะเบยี นสมรสt = 5,751.35 - 233.45Xt 0.607 3,417 3,183 2,950
ศรสี ะเกษ จานวนการจดทะเบียนสมรสt = 5,662.49 - 147.11Xt 0.415 4,191 4,044 3,897
ยโสธร จานวนการจดทะเบียนสมรสt = 2,171.84 - 41.50Xt 0.592 1,757 1,715 1,674
สานักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 4 สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวดั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 33
แผนภูมทิ ี่ 16 ประมาณการแนวโน้มสถานการณจ์ านวนครอบครวั จากการจดทะเบียนสมรส
ประมาณการแนวโน้มสถานการณ์จานวนการจดทะเบียนสมรส (หน่วย:คู่)
ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
11,460
11,551
11,642
4,036
3,987
3,939
4,328
4,118
3,909
3,417
3,183
2,950
4,191
4,044
3,897
1,757
1,715
1,674
นครราชสีมา ชัยภูมิ บุ รี รั ม ย์ สุ ริ น ท ร์ ศ รี ส ะ เ ก ษ ยโสธร
4.5 ผสู้ งู อายุ
จากข้อมูลที่รายงานสถานการณ์แนวโน้มจานวนผู้สูงอายุในเขตพ้ืนท่ีความรับผิดชอบของ
สานกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ในระหว่างปี พ.ศ. 2553 – 2562 ที่ทราบแล้วว่ามีลักษณะแนวโน้ม
ที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือหาสมการทานายจานวนผู้สูงอายุ จึงมีแนวโน้มที่เพิ่มข้ึนตาม
ตัวแบบของสมการทานายที่วิเคราะห์ได้ ดังตารางที่ 28 และ แผนภูมิท่ี 17 โดยพบว่า จานวนผู้สูงอายุใน
จังหวดั นครราชสมี าจะมีอัตราการเพม่ิ ขนึ้ ในแต่ละปีมากทีส่ ุดในกลุ่มจังหวัด โดยประมาณการว่าจะเพ่ิมข้ึนเฉลี่ย
ปีละ 15,962 คน (b = + 15,962.41) และจังหวัดท่ีมีจานวนผู้สูงอายุเพ่ิมข้ึนในอัตราต่อปีต่าสุด คือ จังหวัด
ยโสธร โดยคาดว่าจะมีอัตราเพมิ่ ขนึ้ เฉล่ยี ประมาณปลี ะ 2,968 คน (b = + 2,967.83)
ท้ังน้ี พบว่าตัวแบบสมการท่ีใช้ทานายจานวนผู้สูงอายุของจังหวัดชัยภูมิเป็นตัวแบบที่มีความ
แม่นยาในการคาดการณ์ได้สูงสุด คือ มีความสามารถในการทานายได้แม่นยา 99.9% (R2 = 0.999)
และจังหวัดนครราชสมี า มีความแมน่ ยาตา่ สุด โดยมีความแม่นยา 99.5 %(R2 = 0.995)
ตารางที่ 28 การคาดการณ์แนวโน้มสถานการณผ์ ู้สูงอายุ จาแนกตามจงั หวัดรายปี (หน่วย:คน)
จังหวัด สมการทานาย ณ เวลา t R2 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
นครราชสีมา จานวนผู้สูงอายtุ = 308,202.95 + 15,962.41Xt 0.995 467,827 483,789 499,752
ชัยภมู ิ จานวนผู้สงู อายtุ = 140,350.16 + 6,964.76Xt 0.999 209,998 216,963 223,927
บุรีรัมย์ จานวนผู้สงู อายtุ = 174,387.20 + 8,507.00Xt 0.997 259,457 267,964 276,471
สรุ ินทร์ จานวนผสู้ ูงอายtุ = 161,400.22 + 6,892.15Xt 0.997 230,322 237,214 244,106
ศรีสะเกษ จานวนผู้สูงอายtุ = 161,853.67 + 7,652.67Xt 0.997 238,380 246,033 253,686
ยโสธร จานวนผ้สู ูงอายtุ = 63,633.96 + 2,967.83Xt 0.997 93,312 96,280 99,248
สานักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 4 สานกั งานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 34
แผนภมู ทิ ่ี 17 ประมาณการแนวโนม้ สถานการณจ์ านวนผู้สูงอายุ
ประมาณการแนวโน้มสถานการณ์จานวนผู้สูงอายุ (หน่วย:คน)
ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
467,827
483,789
499,752
209,998
216,963
223,927
259,457
267,964
276,471
230,322
237,214
244,106
238,380
246,033
253,686
93,312
96,280
99,248
นครราชสีมา ชัยภูมิ บุ รี รั ม ย์ สุ ริ น ท ร์ ศ รี ส ะ เ ก ษ ยโสธร
4.6 คนพิการ
จากข้อมูลท่ีรายงานสถานการณ์แนวโน้มจานวนคนพิการในเขตพื้นท่ีความรับผิดชอบของ
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ในระหว่างปี พ.ศ. 2553 – 2562 ท่ีทราบแล้วว่ามีลักษณะแนวโน้ม
เพิ่มขึ้นในแต่ละปี ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู เพอื่ หาสมการทานายจานวนคนพิการ จึงมีแนวโน้มที่เพิ่มข้ึนตามตัวแบบ
ของสมการทานายท่ีวิเคราะห์ได้ ดังตารางที่ 29 และ แผนภูมิที่ 18 โดยพบว่าจานวนคนพิการในจังหวัด
นครราชสีมาจะมีอัตราการเพ่ิมข้ึนในแต่ละปีมากท่ีสุดในกลุ่มจังหวัด โดยประมาณการว่าจะเพ่ิมข้ึนเฉล่ียปีละ
5,891 คน (b = + 5,890.52) และจังหวัดที่มีจานวนคนพิการเพ่ิมข้ึนในอัตราต่อปีต่าสุด คือ จังหวัดยโสธร
โดยคาดวา่ จะมีอัตราเพิ่มขนึ้ เฉล่ยี ประมาณปีละ 684 คน (b = + 684.36)
ท้ังน้ี พบว่าตัวแบบสมการท่ีใช้ทานายจานวนคนพิการของจังหวัดนครราชสีมาเป็นตัวแบบที่มี
ความแม่นยาในการคาดการณ์ได้สูงสุด คือ มีความสามารถในการทานายได้แม่นยา 99.6 % (R2 = 0.996)
สว่ นตวั แบบสมการทานายจานวนคนพิการของจังหวัดยโสธรมีความแม่นยาต่าสุด โดยมีความแม่นยา 84.6 %
(R2 = 0.846)
ตารางที่ 29 การคาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณค์ นพกิ าร จาแนกตามจงั หวดั รายปี (หนว่ ย:คน)
จงั หวดั สมการทานาย ณ เวลา t R2 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
นครราชสมี า จานวนคนพิการt = 36,703.58 + 5,890.52Xt 0.996 95,609 101,499 107,390
ชยั ภมู ิ จานวนคนพกิ ารt = 27,135.31 + 3,994.24Xt 0.977 67,078 71,072 75,066
บรุ ีรัมย์ จานวนคนพิการt = 37,046.45 + 4,159.58Xt 0.990 78,642 82,802 86,962
สุรนิ ทร์ จานวนคนพกิ ารt = 40,617.64 + 3,043.17Xt 0.885 71,049 74,093 77,136
ศรีสะเกษ จานวนคนพิการt = 30,718.96 + 3,100.16Xt 0.989 61,721 64,821 67,921
ยโสธร จานวนคนพิการt = 15,156.49 + 684.36Xt 0.846 22,000 22,684 23,369
สานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4 สานกั งานปลดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จังหวัดประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 35
แผนภมู ทิ ่ี 18 ประมาณการแนวโนม้ สถานการณ์จานวนคนพิการ
ประมาณการแนวโน้มสถานการณ์จานวนคนพิการ (หน่วย:คน)
ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
95,609
101,499
107,390
67,078
71,072
75,066
78,642
82,802
86,962
71,049
74,093
77,136
61,721
64,821
67,921
22,000
22,684
23,369
นครราชสีมา ชัยภูมิ บุ รี รั ม ย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ ยโสธร
4.7 กลมุ่ คนยากจน
จากขอ้ มลู ทรี่ ายงานสถานการณ์แนวโน้มจานวนคนจนในเขตพ้ืนที่ความรับผิดชอบของสานักงาน
ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ในระหว่างปี พ.ศ. 2552 – 2561 ท่ีทราบแล้วว่ามีลักษณะแนวโน้มที่ลดลง
ในแตล่ ะปี ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลเพ่ือหาสมการทานายจานวนคนจนจึงมีแนวโน้มลดลงตามตัวแบบของสมการ
ทานายทวี่ ิเคราะหไ์ ด้ ดงั ตารางท่ี 30 และ แผนภูมิที่ 19 โดยพบว่า จานวนคนจนในจังหวัดศรีสะเกษจะมีอัตรา
การลดลงในแตล่ ะปมี ากท่สี ุดในกล่มุ จังหวัด โดยประมาณการว่าจะลดลงเฉล่ียปีละ 58,550 คน (b = - 58.55)
และจังหวัดท่ีมีจานวนคนจนลดลงในอัตราต่อปีต่าสุด คือ จังหวัดยโสธร โดยคาดว่าจะมีอัตราลดลงเฉลี่ย
ประมาณปีละ 11,610 คน (b = - 11.61)
ทัง้ น้ี พบวา่ ตวั แบบสมการทีใ่ ช้ทานายจานวนคนจนของจังหวัดชัยภูมิเป็นตัวแบบท่ีมีความแม่นยา
ในการคาดการณ์ได้สูงสุด คือ มีความสามารถในการทานายได้แม่นยา 84.7 % (R2 = 0.847) ส่วนตัวแบบ
สมการทานายจานวนคนจนของจังหวัดนครราชสีมามีความแม่นยาต่าสุด โดยมีความแม่นยา 36.6 %
(R2 = 0.366)
ตารางที่ 30 การคาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณค์ นจน จาแนกตามจงั หวัดรายปี (หน่วย:พันคน)
จังหวัด สมการทานาย ณ เวลา t R2 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
นครราชสมี า จานวนคนยากจนt = 465.56 - 18.16Xt 0.366 284 266 248
ชยั ภมู ิ จานวนคนยากจนt = 289.09 - 31.81Xt 0.847 0 00
บุรีรัมย์ จานวนคนยากจนt = 514.35 -30.15Xt 0.662 213
สุรินทร์ จานวนคนยากจนt = 245.78 - 14.25Xt 0.408 103 183 153
ศรสี ะเกษ จานวนคนยากจนt = 541.66 - 58.55Xt 0.709 0 89 75
ยโสธร จานวนคนยากจนt = 156.58 - 11.61Xt 0.821 40 00
29 17
สานกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 4 สานกั งานปลัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 36
แผนภูมทิ ่ี 19 ประมาณการแนวโน้มสถานการณ์จานวนคนจน
ประมาณการแนวโนม้ สถานการณจ์ านวนคนจน (หน่วย: พนั คน)
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
284
266
248
0
0
0
213
183
153
103
89
75
0
0
0
40
29
17
นครราชสีมา ชัยภมู ิ บุรรี ัมย์ สุรินทร์ ศรสี ะเกษ ยโสธร
4.8 จานวนคดียาเสพตดิ
จากข้อมูลท่ีรายงานสถานการณ์แนวโน้มจานวนคดียาเสพติดในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของ
สานกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ในระหว่างปี พ.ศ. 2552 – 2561 ท่ีทราบแล้วว่ามีลักษณะแนวโน้ม
ท่ีเพ่ิมข้ึนในแต่ละปีผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาสมการทานายจานวนคดียาเสพติดในเขตสานักงานส่งเสริม
และสนบั สนนุ วชิ าการ 4 ระหว่างปี พ.ศ. 2562 – 2564 จึงมีแนวโน้มท่ีเพ่ิมข้ึนตามตัวแบบของสมการทานายท่ี
วิเคราะห์ได้ ดังตารางที่ 31 และแผนภูมิท่ี 20 โดยพบว่า จานวนคดียาเสพติดในจังหวัดศรีสะเกษจะมีอัตรา
การเพิ่มข้ึนในแต่ละปีมากท่ีสุดในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัด โดยประมาณการว่าจะเพ่ิมข้ึนเฉล่ียปีละ 515 คดี
(b = + 515.16) รองลงมาคือ จังหวัดบุรีรัมย์ ที่มีอัตราเฉล่ียเพิ่มข้ึนประมาณปีละ 356 คดี (b = + 355.62)
และจังหวัดที่มีจานวนคดียาเสพติดเพ่ิมขึ้นในอัตราต่อปีต่าสุด คือ จังหวัดยโสธร โดยคาดว่าจะมีอัตราเพิ่มขึ้น
เฉล่ยี ประมาณปลี ะ 121 คดี (b = + 121.21)
ทั้งนี้ พบว่าตัวแบบสมการที่ใช้ทานายจานวนคดียาเสพติดของจังหวัดศรีสะเกษเป็นตัวแบบที่มี
ความแม่นยาในการคาดการณ์ได้สูงสุด คือ มีความสามารถในการทานายได้แม่นยา 92.8 % (R2 = 0.928)
ส่วนตวั แบบสมการทานายจานวนคดียาเสพติดของจงั หวัดนครราชสมี ามีความแม่นยาต่าสุด โดยมีความแม่นยา
13.6 % (R2 = 0.136)
สานักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 4 สานกั งานปลดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลมุ่ จังหวัดประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 37
ตารางที่ 31 การคาดการณแ์ นวโนม้ สถานการณค์ ดียาเสพตดิ จาแนกตามจังหวดั รายปี (หน่วย:คด)ี
จงั หวัด สมการทานาย ณ เวลา t R2 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
นครราชสมี า จานวนคดtี = 6,195.67 + 272.67Xt 0.136 8,922 9,195 9,468
ชยั ภมู ิ จานวนคดtี = 1,466.58 + 346.12Xt 0.527 4,928 5,274 5,620
บรุ รี มั ย์ จานวนคดtี = 1,390.69 + 355.62Xt 0.636 4,947 5,303 5,658
สรุ ินทร์ จานวนคดtี = 1,082.53 + 252.59Xt 0.448 3,608 3,861 4,114
ศรสี ะเกษ จานวนคดtี = 742.96 + 515.16Xt 0.928 5,895 6,410 6,925
ยโสธร จานวนคดtี = 1,266.67 + 121.21Xt 0.317 2,479 2,600 2,721
แผนภูมทิ ่ี 20 ประมาณการแนวโนม้ สถานการณ์จานวนคดยี าเสพติด
ประมาณการแนวโน้มสถานการณ์จานวนคดียาเสพติด (หน่วย: คดี)
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
8,922
9,195
9,468
4,928
5,274
5,620
4,947
5,303
5,658
3,608
3,861
4,114
5,895
6,410
6,925
2,479
2,600
2,721
นครราชสีมา ชัยภูมิ บุ รี รั ม ย์ สุ ริ น ท ร์ ศ รี ส ะ เ ก ษ ยโสธร
สานักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ าการ 4 สานกั งานปลดั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์
รายงานสถานการณท์ างสังคมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 38
ส่วนที่ 5
บทสรปุ และขอ้ เสนอแนะ
5.1 บทสรุป
กลุ่มจังหวัดในเขตพ้ืนท่ีรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 มีพื้นที่รวมท้ังหมด
ประมาณ 64,719.77 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 40,449,847 ไร่ จังหวัดนครราชสีมาท่ีมีพ้ืนที่มากที่สุด
20,493.964 ตารางกิโลเมตร รองลงมาคือจังหวัดชัยภูมิ มีพื้นที่ 12,778.3 ตารางกิโลเมตร เขตการปกครอง
ท้องที่ในกลุ่มจังหวัด ประกอบด้วยจังหวัดท้ังหมด 6 จังหวัด 119 อาเภอ 1,043 ตาบล 13,544 หมู่บ้าน
การปกครองท้องถ่ินในกลุ่มจังหวัด ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 6 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง
เทศบาลเมือง 12 แห่ง เทศบาลตาบล 264 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตาบล 881 แห่ง มีประชากรรวม
ทั้งหมดจานวน 8,682,452 คน แบ่งเป็นเพศชาย 4,292,892 คน เพศหญิง 4,389,560 คน โดยจานวนประชากร
อายุระหว่าง 0 – 17 ปี รวม 1,792,354 คน ประชากรอายุระหว่าง 18 – 25 ปี รวม 975,492 คน
ประชากรอายุระหว่าง 26 -59 ปี รวม 4,458,726 คน และประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป รวม 1,455,880 คน
จานวนสถานศึกษาในกลุ่มจังหวัด สถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 5,109 แห่ง
เอกชน 515 แห่ง และ อาชีวศึกษา 54 แห่ง สานักพุทธศาสนาแห่งชาติ 39 แห่ง การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย 509 แห่ง รวมมีจานวนสถานศึกษาท้ังหมด 6,226 แห่ง โดยจังหวัดนครราชสีมามี
จานวนสถานศึกษารวมมากท่ีสุด 1,848 แห่ง รองลงมา คือ จังหวัดสุรินทร์ 1,080 แห่ง มีจานวนหน่วยบริการ
สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จาแนกตามระดับของสถานพยาบาลปี พ.ศ. 2563 ในกลุ่มจังหวัด
มีหน่วยบริการรวมทั้งหมด 1,603 แห่ง แบ่งเป็น โรงพยาบาลศูนย์ (รพศ.) 4 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป (รพท.)
9 แห่ง โรงพยาบาลชุมชน (รพช.) 107 แห่ง สาธารณสุขอาเภอ (สสอ.) 119 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตาบล (รพ.สต.) 1,322 แห่ง และภาคเอกชน 42 แห่ง มีจานวนองค์กรภาคีเครือข่ายทั้งหมด 5,466 แห่ง
ประกอบด้วย องค์กรสวัสดิการชุมชน 676 แห่ง องค์กรสาธารณะประโยชน์ 402 แห่ง องค์กรคนพิการ
103 แห่ง สภาองค์กรชุมชน 1,128 แห่ง ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ ( ศพอส.)
222 แห่ง กองทุนสวัสดิการชุมชน 785 แห่ง ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) 947 แห่ง สภาเด็กและ
เยาวชน 1,203 แห่ง และมจี านวนอาสาสมคั รพัฒนาสงั คมและความม่นั คงมนุษย์ (อพม.) 44,632 คน
สถานการณท์ างสงั คมเชงิ กลมุ่ เป้าหมาย
1) กลุ่มเด็ก หรือประชากรท่ีมีอายุต่ากว่า 18 ปี ปี พ.ศ. 2562 มีจานวนรวม 1,792,354 คน และ
มีแนวโน้มว่าจานวนประชากรเด็กลดลงอย่างต่อเนื่อง จังหวัดนครราชสีมาเป็นจังหวัดท่ีมีจานวนประชากรเด็ก
มากทสี่ ุด และจงั หวัดสุรนิ ทรก์ บั จังหวดั ศรีสะเกษเป็นสองจังหวดั ทม่ี ีจานวนประชากรเดก็ ใกลเ้ คยี งกัน
2) กลุ่มเยาวชน หรือประชากรที่มีอายุระหว่าง 18 ปี – 25 ปีบริบูรณ์ ในพ้ืนที่ในปี พ.ศ. 2562
มีจานวนทั้งหมด 975,492 คน และมีแนวโน้มว่าจานวนประชากรเยาวชนลดลงอย่างต่อเน่ือง จังหวัดยโสธร
เป็นจังหวัดท่ีมีจานวนประชากรเยาวชนต่าท่ีสุด ส่วนจังหวัดนครราชสีมาเป็นจังหวัดท่ีมีจานวนประชากร
เยาวชนมากท่ีสดุ
สานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 4 สานักงานปลัดกระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์
รายงานสถานการณ์ทางสงั คมกลมุ่ จังหวัดประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 39
3) กลมุ่ สตรี ประชากรสตรีทีม่ อี ายุระหว่าง 25 – 59 ปี ที่อยู่ในพื้นท่ีในปี พ.ศ. 2562 มีจานวนท้ังหมด
4,429,487 คน มีแนวโน้มว่าจานวนประชากรสตรีเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบรายจังหวัด
พบว่า จงั หวดั ยโสธรเป็นจงั หวดั ทีม่ จี านวนประชากรสตรตี ่าที่สดุ สว่ นจงั หวดั นครราชสีมาเป็นจังหวัดท่ีมีจานวน
ประชากรสตรมี ากทีส่ ุด
4) กลุ่มผู้สูงอายุ หรือประชากรที่มีอายุ 60 ปี ข้ึนไป ที่อยู่ในพ้ืนที่ ในปี พ.ศ. 2562 มีจานวน
ทั้งหมด 1,455,880 คน มีแนวโน้มว่าจานวนประชากรสูงอายุจะเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง จังหวัดยโสธรเป็น
จังหวัดที่มีจานวนประชากรผู้สูงอายุต่าท่ีสุด ส่วนจังหวัดนครราชสีมาเป็นจังหวัดท่ีมีจานวนประชากรผู้สูงอายุ
มากท่สี ุดและจังหวดั สรุ นิ ทร์กับจงั หวัดศรีสะเกษเป็นสองจงั หวดั ท่มี ีจานวนประชากรผู้สูงอายุใกล้เคยี งกัน
5) กลุ่มคนพิการ คนพิการที่อยู่ในพ้ืนท่ี ในปี พ.ศ. 2562 มีจานวนรวม 364,651 คน และจากข้อมูล
ประชากรคนพิการ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จังหวัดยโสธรเป็นจังหวัดท่ีมีจานวนประชากรคนพิการ
ต่าที่สดุ ส่วนจงั หวดั นครราชสมี าเปน็ จงั หวดั ทมี่ ีจานวนประชากรคนพกิ ารมากทส่ี ุด
6) คนยากจน จานวนคนจนที่อยู่ในพ้ืนท่ี ในปี พ.ศ. 2561 มีจานวนรวม 1,197,400 คน และ
มีแนวโน้มว่าจานวนประชากรคนจนเพิ่มข้ึนใน 3 ปีหลัง จังหวัดยโสธรเป็นจังหวัดท่ีมีจานวนประชากรคนจน
ตา่ ทสี่ ุดส่วนจังหวดั นครราชสมี าเปน็ จงั หวดั ทม่ี จี านวนประชากรคนจนมากที่สดุ 375,200 คน
7) ครอบครัว จากจานวนการจดทะเบียนสมรส ท่ีอยู่ในพ้ืนท่ี ในปี พ.ศ. 2562 มีจานวนรวม 33,871 คู่
และมแี นวโน้มว่าจานวนการจดทะเบียนสมรสลดลง จังหวัดยโสธรเป็นจังหวัดที่มีจานวนการจดทะเบียนสมรส
ต่าท่ีสดุ และจังหวดั นครราชสีมาเป็นจงั หวดั ท่มี ีจานวนการจดทะเบียนสมรสมากทีส่ ดุ 12,272 คู่
สถานการณ์ทางสงั คมเชิงประเดน็
จากข้อมูลที่รายงานสถานการณ์แนวโน้มจานวนคดียาเสพติดในเขตพ้ืนท่ีความรับผิดชอบของ
สานกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ในระหว่างปี พ.ศ. 2552 – 2561 ท่ีทราบแล้วว่ามีลักษณะแนวโน้ม
ที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาสมการทานายจานวนคดียาเสพติดในเขตสานักงานส่งเสริม
และสนับสนุนวิชาการ 4 ระหว่างปี พ.ศ. 2562 – 2564 จึงมีแนวโน้มที่เพ่ิมขึ้น จานวนคดียาเสพติดในจังหวัด
ศรีสะเกษจะมีอัตราการเพ่ิมขึ้นในแต่ละปีมากท่ีสุดในกลุ่มจังหวัด รองลงมาคือ จังหวัดบุรีรัมย์ ท่ีมีอัตราเฉล่ีย
เพิ่มข้นึ ประมาณปลี ะ 356 คดี และจังหวดั ท่มี จี านวนคดียาเสพติดเพิ่มขึ้นในอัตราต่อปีต่าสุด คือ จังหวัดยโสธร
โดยคาดว่าจะมีอัตราเพิม่ ขึน้ เฉลย่ี ประมาณปลี ะ 121 คดี
สานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4 สานกั งานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวัดประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 40
5.2 ขอ้ เสนอแนะ
1) จากสถิติจานวนคนพิการในกลุ่มจังหวัดทีมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนทุกปี ส่งผลให้มีกลุ่มคนพิการมากขึ้น
ดงั นน้ั หน่วยงานที่ดาเนินงานด้านคนพกิ ารควรมกี ารเตรียมความพร้อมในการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพให้กับคน
พกิ าร รวมถงึ การมีระบบสวัสดกิ ารทางสงั คมท่ีทว่ั ถึงกลุ่มเปาู หมาย มีการนาเทคโนโลยี นวัตกรรมเพ่ือคนพิการ
มาใช้ เพ่ืออานวยความสะดวกในการดาเนินชีวิต เพื่อให้สังคมไทยเป็นสังคมท่ีมีระบบสวัสดิการท่ีดี
แก่กลมุ่ เปาู หมาย คนพกิ ารมคี ณุ ภาพชวี ติ ท่ีดี สามารถใชช้ ีวิตประจาวันได้อยา่ งปกติและมคี วามสุข
2) การดาเนนิ นโยบายด้านครอบครวั จากสถิติที่มีอัตราการจดทะเบียนสมรสที่ลดลง เป็นปัจจัยหน่ึงที่
ส่งผลกระทบต่อระบบทางสังคมทาให้ครอบครัวลดลง ส่งผลต่อจานวนอัตราการเกิดของประชากรเด็ก
น้อยลงตาม ดังนั้นรัฐบาลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการดาเนินการด้านการส่งเสริมให้มีการจดทะเบียน
สมรสและการมีบุตร มีระบบสวัสดิการสาหรับผู้มีบุตรและทารกแรกเกิด เพื่อจูงใจให้ประชาชนในประเทศ
จดทะเบยี นสมรสและมบี ุตร ซ่งึ จะสง่ ผลใหส้ งั คมมีประชากรชว่ งวัยตา่ งๆ ทสี่ มดุล
3) การดาเนินนโยบายด้านผู้สูงอายุ จากสถิติการเพ่ิมจานวนประชากรของผู้สูงอายุและการก้าวเข้าสู่
สังคมผสู้ ูงอายขุ องประเทศไทย รัฐบาลควรมีนโยบายเพ่อื รองรบั สังคมผอู้ ายุมากขึ้น เช่น ด้านสวัสดิการผู้สูงอายุ
ด้านการส่งเสริมอาชีพรายได้ให้กับผู้สูงอายุ ด้านการส่งเสริมสุขภาพอนามัยของผู้สูงอายุเพื่อปูองกันโรค
ท่ีเกิดกับผู้สูงอายุ รวมถึงการเตรียมความพร้อมให้กับประชาชนท่ีก้าวเข้าสู่วัยสูงอายุให้มีความพร้อมใน
ดา้ นสขุ ภาพและด้านสังคม และผู้สูงอายุเองเป็นกลุ่มประชากรที่มีทักษะ มีองค์ความรู้ ดังนั้นควรมีการส่งเสริม
ในเรอื่ งการรวบรวม ภูมปิ ัญญา องคค์ วามรู้ ของผ้สู งู อายุ เพ่ือไมใ่ ห้องคค์ วามรเู้ หล่านนั้ สญู หายไป
4) จากสถิติคดียาเสพติดในกลุ่มจังหวัดท่ีจานวนเพิ่มข้ึนทุกปี เนื่องจากกลุ่มจังหวัดในเขตพื้นท่ี
รับผิดชอบเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในพื้นท่ีใก้ลชายแดน บางจังหวัดมีชายแดนติดกับประเทศเพ่ือนบ้าน
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) และกัมพูชา จึงง่ายต่อการลักลอบลาเลียงยาเสพติด
เขา้ มา ดงั นั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการดาเนินการทางนโยบายด้านยาเสพติดท้ังในด้านมาตรการการปูอง
การและแกไ้ ขปัญหา และมาตรการดา้ นการปราบปรามท่ีเขม็ งวด
5) จานวนคนจน จากสถติ ิที่พบวา่ ในชว่ ง 3 ปหี ลัง ตั้งแต่ ปี 2559 – 2561 มีจานวนคนจนเพิ่มมากข้ึน
ดังน้ันการส่งเสริมและกระตุ้นเศรษฐกิจ การส่งเสริมการลงทุน การจ้างงานในพื้นที่ จึงเป็นทางเลือกหนึ่งท่ี
จะทาให้ประชาชนไดม้ ีรายได้เลย้ี งชีพ มคี ุณภาพชวี ิตทดี่ ีข้นึ และพ้นจากเส้นความยากจน
สานกั งานสง่ เสริมและสนับสนุนวชิ าการ 4 สานกั งานปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์
รายงานสถานการณท์ างสงั คมกลมุ่ จังหวดั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 41
เอกสารอา้ งองิ
1) กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย (2562) ระบบสถติ ิทางการทะเบยี น ณ เดอื น ธันวาคม 2562
สืบคน้ เม่อื เดือนเมษายน 2563 จากเวบ็ ไซต์https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statINTERNET/#/
2) สานักงานสถิติแห่งชาติ สถิติรายได้และรายจ่ายของครัวเรือน สืบค้นเมื่อ เดือนเมษายน 2563
จากเวบ็ ไซตh์ ttp://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/08.aspx
3) ส า นัก ง าน ส ถิติ แ ห่ง ช าติ ส า ขา บั ญชี ป ระ ช าช า ติ สื บ ค้น เมื่ อ เ ดื อน เ มษ า ยน 25 6 3
จากเว็บไซต์ http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/08.aspx
4) สานักงานสถิติแห่งชาติ สาขายุติธรรม ความมั่นคง สืบค้นเมื่อ เดือนเมษายน 2563
จากเว็บไซต์ http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/08.aspx
5 ) ส า นั ก ง า น ส ถิ ติ แ ห่ ง ช า ติ ส ถิ ติ สุ ข ภ า พ สื บ ค้ น เ มื่ อ เ ดื อ น เ ม ษ า ย น 2 5 6 3
จากเวบ็ ไซต์ http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/08.aspx
6 ) ส า นั ก ง า น ส ถิ ติ แ ห่ ง ช า ติ ส ถิ ติ ก า ร ศึ ก ษ า สื บ ค้ น เ มื่ อ เ ดื อ น เ ม ษ า ย น 2 5 6 3
จากเว็บไซต์ http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/08.aspx
7) สานักงานสถิติแห่งชาติ สถิติศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม สืบค้นเม่ือ เดือนเมษายน 2563
จากเว็บไซต์ http://statbbi.nso.go.th/staticreport/page/sector/th/08.aspx
8 ) ส า นั ก บ ริ ห า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ก ลุ่ ม จั ง ห วั ด ภ า ค ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ ต อ น ล่ า ง 1
แ ผ น พัฒ น า กลุ่ มจั งหวั ดภาค ตะวั น ออกเฉี ยงเหนือตอน ล่ าง 1 สื บค้นเม่ือ สิงหาคม 2563
จากเว็บไซต์ http://www.osmnortheast-s1.moi.go.th/plan_develop.php
9) สานักบรหิ ารการปกครองท้องที่ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ข้อมูลทางการปกครอง
สบื ค้นเมอื่ เดือนเมษายน 2563 จาก https://multi.dopa.go.th/pab/main/web_index
10) Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข (2561) จานวนหนว่ ยงานสาธารณสขุ
สืบค้นเมอ่ื เมษายน 2563 จาก https://hdcservice.moph.go.th /phpcat_id=b4106183b2f2915d
สานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 4 สานักงานปลดั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์