เวทวี ชิ าการ 4 ภาคเวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
28 – 29 พฤษภาคม 2562
โรงแรมเจริญธานี
อาเภอเมือง
จงั หวดั ขอนแกน่
>>> page 17
การสร้างรายได้ให้ผูส้ งู อายุ
เพอื่ พฒั นาศักยภาพ
ส่ยู ุค 4.0
» การนาเสนอผลงานทางวชิ าการ เอกสารวิชาการ สสว.5
» เวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ ที่ 001/2562
เพื่อขบั เคลื่อนงานดา้ นสงั คม สานกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 5
และความมนั่ คงของมนุษย์ สานกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 6
ในระดบั พ้ นื ที่ สานักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 7
» คน้ หาและกาหนดประเด็น
ในเชิงนโยบายสูก่ ารจดั งาน
Thailand Social Expo 2019
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ)
2 เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ)
สสว.5 6 และ 7
3
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 ก
คานา
งานเวทีวิชาการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ภายใต้ช่ืองาน “การสร้าง
รายได้ให้ผู้สูงอายุ เพื่อพัฒนาศักยภาพสู่ยุค 4.0” ซ่ึงได้จัดข้ึนในระหว่างวันท่ี 28 - 29 พฤษภาคม
2562 ณ โรงแรมเจริญธานี อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่นเป็นการบูรณาการร่วมกันของสานักงาน
สง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 5, 6 และ 7 ในเขตภาคอีสาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอผลงานทาง
วิชาการ เวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้เพื่อขับเคล่ือนงานด้านสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ในระดับพ้ืนท่ี
รวมทัง้ ค้นหาและกาหนดประเดน็ ในเชิงนโยบายสู่การจัดงาน Thailand Social Expo 2019
การจัดงานในคร้ังนี้เปน็ ความร่วมมือระหว่าง สสว.5, 6 และ 7 ขอขอบคุณผู้เข้าร่วมเวทีวิชาการ
วิทยากร และผู้ร่วมเสวนา เป็นอย่างย่ิง ท่ีให้ความร่วมมือร่วมใจกันในการจัดงานเวทีวิชาการ 4 ภาค
ประจาปี 2562 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ภายใต้ช่ืองาน “การสร้างรายได้ให้ผู้สูงอายุ เพ่ือพัฒนา
ศกั ยภาพสู่ยุค 4.0” ในครั้งน้ีทาให้การจัดงานดังกล่าวสาเร็จลุล่วงได้ตามวัตถุประสงค์ทุกประการ ความ
คดิ เห็นและข้อเสนอแนะจากทุกท่าน จะนาไปปรับปรงุ แกไ้ ขในการจดั งานเวทีวิชาการครั้งตอ่ ไป
ขอขอบคุณ
คณะผจู้ ัดงานเวทีวชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ)
“การสร้างรายไดใ้ ห้ผ้สู ูงอายุ เพอ่ื พฒั นาศักยภาพสยู่ คุ 4.0”
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 ข
สารบัญ
คานา หน้า
เวทวี ิชาการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ)
“การสรา้ งรายได้ให้ผสู้ ูงอายุ เพื่อพฒั นาศักยภาพสู่ยคุ 4.0” ก
การเสวนาทางวิชาการ “การสร้างรายไดใ้ ห้ผู้สงู อายุ เพ่ือพฒั นาศักยภาพสู่ยุค 4.0” 1
การบรรยายนโยบายและแนวทางการขบั เคล่อื นงานผู้สูงอายขุ องประเทศไทย
การบรรยายการพัฒนาผลิตภณั ฑ์สู่ OTOP ตามโครงการคลังปญั ญาพัฒนาผลิตภณั ฑ์ 3
สู่ OTOP และโครงการส่งเสรมิ ความร่วมมอื ประชารัฐเพ่ือพัฒนาศักยภาพผ้สู ูงอายุ 7
การแสดงนทิ รรศการ 10
สรปุ ผลการจดั เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ) 14
ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะอ่ืนๆ 17
30
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 1
เวทีวิชาการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
“การสร้างรายได้ให้ผสู้ ูงอายุ เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพสู่ยุค 4.0”
“ถอื เป็นโอกาสอันดีท่ีภาคส่วนต่างๆ ได้ให้ความสาคัญกับกลุ่มผู้สูงอายุท่ีเป็นพลังอันสาคัญในการ
ขับเคล่ือนประเทศ เนื่องจากผลท่ีได้จากการจัดงานไม่ว่าจะเป็นแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
หรือข้อเสนอแนวทางการยกระดับรายได้ของผู้สูงอายุ จะเป็นประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนงานด้านการ
พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ทั้งในระดับพ้ืนที่และระดับประเทศ และจะนาไปสู่การทาให้ชุมชน
สังคม และประเทศชาติพัฒนาสู่ประเทศไทยที่มั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืนต่อไป” (เน้ือความบางส่วน จากคา
กล่าวเปิดในงานเวทีวิชาการ 4 ภาค ประจาปี 2562 “การสร้างรายได้ให้ผู้สูงอายุ เพื่อพัฒนาศักยภาพ
สยู่ ุค 4.0”
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5, 6 และ 7 เป็นหน่วยงานในสังกัดสานักงาน
ปลัดกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของ
มนุษย์ มบี ทบาทหนา้ ท่ีในการพัฒนางานด้านวิชาการ ส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านวิชาการ องค์ความรู้
ข้อมูลสารสนเทศ ให้คาปรึกษาแนะนาแก่หน่วยงานบริการกลุ่มเป้าหมายในพื้นท่ีให้บริการ และอยู่ใน
ความรับผิดชอบของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ รวมท้ังองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นหรือหน่วยงานที่เก่ียวข้อง โดยจัดงานเวทีวิชาการน้ีขึ้นเป็นประจาทุกปี เพื่อเป็นเวทีแลกเปล่ียน
เรียนรู้งานวิชาการการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เป็นการนาเสนองานวิชาการและ
นวัตกรรมทางสังคม ตลอดจนเผยแพร่องค์ความรู้และนวัตกรรมทางสังคม รวมถึงแนวคิดการพัฒนา
สังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ประกอบกับกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ได้
กาหนด “โครงการสาคัญตามยุทธศาสตร์ หรือ Flagship Project” จานวน 13 โครงการ เพื่อขับเคลื่อน
งานด้านสังคมให้ตอบโจทย์วิสัยทัศน์ “พม. เป็นผู้นาด้านสังคมของไทยและอาเซียน มุ่งสู่คนอยู่ดีมีสุขใน
สงั คมคุณภาพ”
โดยหน่ึงในนั้น คือ “โครงการ Conference ภายในประเทศและระหว่างประเทศ” อีกท้ังให้สอด
รับกับการที่ประเทศไทยเป็นประธานอาเซียน ในปี 2562 สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5, 6
และ 7 จึงร่วมกับทีม One Home จังหวัดขอนแก่น ภาคีเครือข่ายทั้งทางภาครัฐและเอกชน ร่วมกันจัด
งานเวทีวิชาการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ภายใต้หัวข้อ “การสร้างรายได้ให้
ผสู้ งุ อายุ เพอื่ พฒั นาศักยภาพส่ยู ุค 4.0” นีข้ ้ึนมา
เป็นองค์กรทางวิชาการศูนย์กลางในการเสริมสร้างเครือข่ายวิชาการ ในด้านการพัฒนาสังคม
และการจัดสวัสดิการสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายให้ได้รับการบริการที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับความต้องการ
ของกลุ่มเป้าหมาย ตลอดจนผลักดันผลการดาเนินงานข้อมูลทางวิชาการไปสู่การกาหนดนโยบายและ
ยทุ ธศาสตร์ และนาไปใช้ในการพฒั นาสงั คมและส่งเสริมสวัสดิการสังคมจากเป้าประสงค์ที่จะพัฒนาและ
ยกระดับการปฏิบัติงานของ สสว. จึงได้มีการกาหนดการจัดงานเวทีวิชาการ 4 ภาค ประจาปี 2562
(ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ) ของ สสว.5, 6 และ 7 ขึน้ ภายใต้ช่อื งานต่างๆ อาทิ เวทวี ชิ าการระดับเขต
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 2
ประจาปี 2554 “มหกรรม รวมพล สวัสดิการชุมชน คนอีสาน” เวทีวิชาการระดับเขต ประจาปี 2555
“การเตรียมความพร้อมอีสาน สู่ประชาคมอาเซียน” (E-san Asean) เวทีวิชาการระดับเขต ประจาปี
2562 “โฮมใจไทบา้ น อสี าน ส่อู าเซียน” เวทีวชิ าการระดับเขต ประจาปี 2557 “ฮักแพง เบง่ิ แยง ผูส้ งู วยั ”
สืบเน่ืองมาจากสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงของประชากรภายในประเทศท่ีมีอัตราส่วน
ของผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อการดารงชีวิตโดยรวมของประชาชนในพ้ืนที่ทั้งด้านการให้
การดูแลทางสุขภาพ เศรษฐกิจ อาชีพ และรายได้ รวมถึงการขาดกาลังแรงงานในการประกอบอาชีพ
ดังน้ัน สังคมท่ีมีประชากรเป็นผู้สูงอายุเป็นผู้รับภาระหน้าที่ในการดูแลครอบครัว และเลี้ยงดูบุตรหลาน
นอกจากนี้ผู้สูงอายุยังมีความต้องการในการดูแลทั้งสุขภาพ ร่างกาย และจิตใจมากยิ่งข้ึน ซึ่งจาก
สถ าน กา ร ณ์ดั ง ก ล่ าว จึง เ ป็น ท่ีม า ขอ ง ก า รจั ดง า น เ วที วิช า กา ร 4 ภ าค ป ร ะจ า ปี 2 5 6 2
(ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ภายใต้ชื่องาน “การสร้างรายได้ให้ผู้สูงอายุ เพื่อพัฒนาศักยภาพสู่ยุค 4.0”
โดยสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5, 6 และ 7 ในระหว่างวันท่ี 28 -29 พฤษภาคม 2562
ณ โรงแรมเจริญธานี อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ นาเสนอผลงานทางวิชาการ
เปน็ เวทแี ลกเปล่ียนเรียนรู้เพื่อขับเคล่ือนงานด้านการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ในระดับพื้นท่ี
และค้นหา กาหนดประเด็นเชิงนโยบาย สู่การจัดงาน Thailand Social Expo 2019 (เน้ือความบางส่วน
จากคากล่าวรายงานในงานเวทีวิชาการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) “การสร้าง
รายได้ใหผ้ ู้สูงอายุ เพอ่ื พฒั นาศักยภาพสูย่ ุค 4.0”
ภายในงานประกอบไปด้วย การนาเสนอผลงานทางวิชาการ การแสดงนิทรรศการมีชีวิต
การเสวนาทางวิชาการในหัวข้อ “การสร้างรายได้ให้ผู้สูงอายุ เพ่ือพัฒนาศักยภาพสู่ยุค 4.0” โดยมีผู้ร่วม
เสวนาจากผู้แทน สสว. สถาบันวิชาการ ผู้สูงอายุ และ CSR รวมท้ังการค้นหาและกาหนดประเด็น
เชิงนโยบายสู่การจัดงาน Thailand Social Expo 2019 โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ
อาสาสมัคร องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรภาคประชาชน ภาคประชาคมสังคม ภาครัฐตลอดจน
ภาคีเครอื ขา่ ยทด่ี าเนินการด้านผู้สูงอายุ จานวน 400 คน
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 3
เวทีเสวนาทางวชิ าการ “การสร้างรายได้ให้ผสู้ ูงอายุ เพ่ือพัฒนาศกั ยภาพสู่ยคุ 4.0”
การเสวนาทางวิชาการ “การสร้างรายได้ให้ผู้สูงอายุ เพื่อพัฒนาศักยภาพสู่ยุค 4.0” มีผู้เข้าร่วม
เวทเี สวนาทางวชิ าการ ดังต่อไปนี้
1. ดร.โสภณ ผลประพฤติ หวั หนา้ สาขาวิชาเทคโนโลยมี ลั ติมิเดยี
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
2. นายกาปัน่ ข่อยนอก (บา้ นแท่น) เครอื ขา่ ยจงั หวัดนครราชสีมา
3. นายพิสทุ ธิ์ อนุตรองั กลู นายกเทศมนตรีตาบลท่าพระ
4. ดร.สมหวัง อิ่มคาทนุ่ ประธานชมรมเสียงชุมชนคนอสี าน
โดยมีนายธนชัย อาจหาญ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เป็นผู้ดาเนินรายการ ซ่ึงประเด็นในการเสวนาทางวิชาการ “การสร้างรายได้ให้ผู้สูงอายุ เพ่ือพัฒนา
ศักยภาพสยู่ คุ 4.0” ประกอบดว้ ย
»»»» สถานการณผ์ สู้ งู อายุภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
»»»» แนวทางการพัฒนาหรอื สง่ เสรมิ ให้ผู้สงู อายุมีรายได้ สามารถพ่ึงพาตนเองได้
»»»» หน่วยงานภาครฐั หรือรัฐบาลควรกาหนดนโยบาย รูปแบบการสร้างรายได้
ในยคุ 4.0 เกย่ี วกบั การสร้างรายไดอ้ ย่างไร
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 4
ในการจัดงานเวทีวิชาการ 4 ภาค ประจาปี 2562 ภายใต้ช่ืองาน “การสร้างรายได้ให้ผู้สูงอายุ
เพื่อพัฒนาศักยภาพสู่ยุค 4.0” คร้ังนี้ มีผู้เข้าร่วมรับฟังการเสวนา ประกอบด้วย หัวหน้าส่วนราชการ
ขา้ ราชการ และเจา้ หนา้ ท่ี ในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เครือข่ายพัฒนา
สังคมและความม่ันคงของมนุษย์ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ตลอดจน
บุคคลท่ัวไป จานวนทั้งสิ้น 400 คน โดยต้องการให้ผู้เข้าร่วมเวทีได้รับรู้แนวคิดเก่ียวกับ สถานการณ์
ผู้สงู อายุภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ในปัจจุบันแนวทางการพัฒนาหรือส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีรายได้ สามารถ
พึ่งพาตนเองได้ และหน่วยงานภาครัฐหรือรัฐบาลควรมีการกาหนดนโยบาย และรูปแบบในการสร้าง
รายได้ให้กับผู้สูงอายุในยุค 4.0 เพ่ือสามารถนาไปปรับใช้และพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อไป ซึ่งสามารถ
สรปุ เน้อื หาสาระจากเวทเี สวนาดงั กล่าว ในประเด็นสาคญั ได้ดงั ต่อไปนี้
»»» สถานการณ์ผสู้ ูงอายุภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื »»»
จานวนประชากรผู้สูงอายุมีจานวนเพ่ิมมากขึ้น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกาลังก้าวเข้าสู่สังคม
ผู้สูงอายุและจะก้าวสู่สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์ ตามเกณฑ์การแบ่งระดับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของ
องค์การสหประชาชาติ (UN) ระดับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ คือสังคมหรือประเทศที่มีสัดส่วนประชากร
อายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 10 และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ หากสัดส่วนประชากรเกิน
ร้อยละ 20 ของประชากรท้ังประเทศ ซึ่งจากรายงานระบบสถิติทางทะเบียน กรมการปกครอง
กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2561 พบว่า ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีประชากรทั้งหมด 22,015,239 คน
เป็นชาย 10,939,575 คน เป็นหญิง 11,075,664 คน และมีจานวนประชากรผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป
จานวนทง้ั สิ้น 3,386,357 คน คดิ เป็นร้อยละ 15.38 ของประชากรภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ
จากปัญหาความเสื่อมถอยของร่างกายทาให้ผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพร่างกายโรคเร้ือรังต่างๆ
ข้อจากัดในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวันล้วนส่งผลในการดาเนินชีวิตในปัจจุบัน ซ่ึงแต่ละช่วงวัยจะมีความ
แตกต่างกัน โดยวัยต้น(60 - 69 ปี) ซึ่งสามารถทางานและช่วยเหลือตนเองได้อยู่ วัยกลาง(70-79 ปี)
เป็นวยั ที่ร่างกายเริม่ เสือ่ มถอยลงมากขนึ้ และเรมิ่ ตระหนักในการใชช้ ีวิตบนั้ ปลาย วยั ปลาย(80 ปขี ้นึ ไป )
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 5
อยู่ในภาวะพ่งึ พงิ ซง่ึ อดตี ท่ผี ่านมารายไดห้ ลักของผู้สูงอายุส่วนใหญ่มาจากบุตรหลาน แต่ต่อมาแนวโน้มที่
คนไทยมีบุตรนอ้ ยลง การยา้ ยถ่นิ ของวัยแรงงานทาให้โอกาสท่ผี ู้สูงอายจุ ะเส่ียงต่อความยากจน
อย่างไรก็ตามการที่ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีข้ึนและมีอายุยืนยาวขึ้นทาให้ความสามารถในการทางาน
หลัง 60 ปี มีมากขึ้น ข้อมูลจากการสารวจภาวะการทางานหรือการสารวจแรงงานในปี พ.ศ. 2561
สานักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า มีจานวนผู้สูงอายุที่ทางาน 4.36 ล้านคน (ร้อยละ 36.9) จากจานวน
ผูส้ ูงอายุท้ังสิน้ 11.80 ล้านคน ส่วนใหญ่อยูใ่ นภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 1.59 ล้านคน
ดังน้ัน ผู้สูงอายุจึงถือเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า เปี่ยมล้นไปด้วยประสบการณ์ชีวิตและองค์
ความรู้ ต่าง ๆ ที่เป็นรากฐานสาคัญในการสร้างความเข้มแข็งให้กับครอบครัว ชุมชน และสังคม จึงมี
ความจาเป็นอย่างย่ิงในการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุสู่การสร้างรายได้เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุพ่ึงพา
ตนเองไดแ้ ละส่งเสรมิ การดารงชวี ิตอย่างมีศกั ด์ศิ รี
สถานการณ์ทางสังคมและเศรษฐกิจของผู้สูงอายุไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สุขภาพการ
เส่ือมสภาพด้านร่างกายของผู้สูงอายุ ทาให้ประสิทธิภาพการทางานต่างๆ ลดความต้านทานต่อโรคลง
ผู้สูงอายุจึงเกิดปัญหาสุขภาพได้มากกว่าวัย ส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
ที่เกิดจากโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดในสมองตีบ อัมพาต/อัมพฤกษ์
และ โดยผู้สูงอายุเพศหญิง มีสัดส่วนการเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวสูงกว่าผู้สูงอายุ สุขภาพของผู้สูงอายุ
นอกจากจะเกดิ จากการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายแล้ว ยังเกดิ ไดจ้ ากการมีพฤติกรรมทีไ่ ม่เหมาะสมอีกด้วย
ส่วนเรื่องของรายได้ (ท่ีมาของรายได้) เกิดจากการทางานของผู้สูงอายุ เป็นองค์ประกอบ
อันแสดงให้เห็นถึงบทบาทของผู้สูงอายุในปัจจุบัน สะท้อนให้เห็นที่มาของรายได้ การพ่ึงพาตนเอง
และการหาเลี้ยงครอบครัว รวมถึงแสดงให้ ศักยภาพในการดารงชีวิต การใช้ชีวิตอย่างมีคุณค่า ไม่เป็น
ภาระแกบ่ ตุ รหลาน ปัจจุบันผู้สูงอายุจานวนมากยังคงทางานเพื่อหารายได้เลี้ยงดูตนเองและถึงแม้จะอายุ
เกนิ วยั เกษยี ณอายุแลว้ ก็ตาม การทผี่ ู้สงู อายมุ ีสว่ นรว่ มในกาลัง นับเป็นสิ่งท่ีดี ดังน้ันรัฐบาลและหน่วยงาน
ต่างๆ ควรให้การสนับสนุน ส่งเสริมผู้สูงอายุทางานต่อไป ตามความพร้อมและศักยภาพที่เหมาะสม
เพอื่ ผู้สงู อายจุ ะไดด้ ารงชีวิตอยู่อย่างมีความสุข มีคณุ ค่าท้ังต่อตนเอง ครอบครวั และสงั คม
ส่ิงท่ีสาคัญ คือ เรื่องของจิตใจ ซึ่งอาจหมายรวมถึงการสร้างคุณค่าและทัศนคติท่ีดีต่อตนเองและ
สังคม ซ่ึงอาจจะสรุปได้ว่าการดารงชีวิตอย่างมีคุณค่าของผู้สูงอายุจะนาพาความสุข ความมีชีวิตชีวา
ความหวงั และความภาคภูมิใจในตนเองมาสู่ตัวผู้สูงอายุในวันสุดท้ายของชีวิต อีกท้ังยังก่อให้เกิดประโยชน์แก่
บุคคลใกล้ชิด ผ้ทู ่ีเก่ยี วข้องกบั ผสู้ งู อายุ ตลอดจนชุมชนและสงั คมของผ้สู งู อายุ โดยการสร้างและพัฒนาให้กลุ่ม
ผสู้ งู อายุในตัว และไม่ปล่อยใหว้ ันเวลาทล่ี ว่ งเลยผา่ นไปเป็นเพียงการเพ่ิมความชราให้แก่ชีวิต แต่ควรเพิ่มความ
งดงามและคุณค่าให้แก่ชีวิตทุกขณะเม่ือวันเวลาล่วงผ่านไปด้วยการดาเนินงานผ่านกระบวนการต่างๆ ในชุมชน
สังคม หรือการบูรณาการร่วมกันกับหน่วยงานในท้องถ่ิน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อหนุน
เสริมใหก้ ลมุ่ ผสู้ ูงอายุไดเ้ ห็นคุณค่าและมที ัศนคตทิ ีด่ ตี ่อตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 6
»»» แนวทางการพัฒนาหรือส่งเสริมให้ผสู้ งู อายมุ ีรายได้ สามารถพึง่ พาตนเองได้ »»»
1. ส่งเสริมการสืบทอดภูมิปัญญา ระหว่างคนในชมุ ชนกับผสู้ ูงอายบุ นพื้นฐานวฒั นธรรมชุมชนและ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. สร้างฐานอาชีพในชมุ ชนโดยผสู้ ูงอายุมีส่วนร่วม
3. การสร้างกจิ กรรมดา้ นอาชีพทีห่ ลากหลายตามความถนัดเหมาะสมกับชว่ งวัยของผู้สูงอายุ
เพือ่ การพัฒนาตนเอง
4. ส่งเสริมความเข้มแขง็ กลุ่มอาชพี ใหผ้ ู้สูงอายุอยา่ งต่อเน่อื ง
5. ส่งเสรมิ แรงจงู ใจ และกาลงั ใจ ทัศนคติของผูส้ ูงอายุในการเปน็ ส่วนหนง่ึ ของกลุ่มอาชพี เพือ่
การพัฒนาทีย่ ่งั ยนื
6. การส่งเสริมให้ภาคธรุ กิจจา้ งงานผู้สูงอายุแบบยืดหยุ่นหรือจ้างงานในลกั ษณะชั่วคราวให้
เหมาะสมตามช่วงวยั
7. จัดทาฐานขอ้ มูลภมู ิปัญญาผ้สู ูงอายุ
»»» หน่วยงานภาครัฐหรือรัฐบาลควรกาหนดนโยบาย รูปแบบการสร้างรายได้ในยุค 4.0
เกยี่ วกับการสรา้ งรายได้อยา่ งไร »»»
1. หนว่ ยงานรฐั ควรมีมาตรการบริหารจัดการตลาดสาหรับการจาหน่ายสนิ ค้าของผู้สูงอายุอยา่ ง
ต่อเนอื่ ง
2. สง่ เสริมการสรา้ งมูลคา่ สินค้าโดยการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การพฒั นาผลิตภัณฑ์
ผสู้ ูงอายุ เช่น การจัดทา application จาหน่ายสนิ ค้าผู้สูงอายุ ,การจัดทา QR Code เผยแพร่ภมู ปิ ญั ญา
3. กาหนดมาตรการการสร้างรายไดใ้ หเ้ หมาะสมกับช่วงวยั ของผสู้ งู อายุ
4. สง่ เสริมการมีส่วนร่วมของคนทุกชว่ งวัยในการพัฒนาสนิ ค้าผู้สงู อายุ ตามหลัก 5P
ไดแ้ ก่ รว่ มคิด ร่วมวางแผน ร่วมดาเนินการ รว่ มประชาสมั พันธ์ ร่วมตดิ ตามประเมินผล
5. ส่งเสรมิ การสร้างตลาดออนไลน์สาหรับการจาหนา่ ยสินค้าผู้สงู อายุ
6. จดั ทาระบบฐานข้อมูลด้านขอ้ มูลความต้องการทางานและสินค้าของผู้สูงอายุ
7. ควรมีการสนบั สนุนเงินทุนประกอบอาชีพอย่างตอ่ เนื่อง
8. ออกกฎหมายการจ้างงานให้กบั ผู้สงู อายุ
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 7
การบรรยาย
นโยบายและแนวทางการขบั เคลื่อนงาน
ผู้สงู อายขุ องประเทศไทย
โดย รองอธบิ ดกี รมกจิ การผสู้ งู อายุ
(นางสาวแรมรงุ้ วรวธั )
»»» สถานการณ์สูงวยั ของโลก
ประชากรโลก ปี พ.ศ. 2560 มีประชากรอายุ 0 – 14 ปี ร้อยละ 26.0 ประชากรอายุ 15 – 59 ปี
ร้อยละ 61.3 และประชากรอายุ 60 ปีข้ึนไป ร้อยละ 12.7 ซึ่งจานวนประชากรโลกทั้งหมด 7,550 ล้านคน
มีจานวนผ้สู ูงอายุ 962 ลา้ นคน คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.7 (ที่มา รายงานสถานการณผ์ ู้สงู อายุไทย พ.ศ. 2560)
ประชากรอาเซยี น พ.ศ. 2560 มีประชากรรวมอาเซียน 647 ล้านค้น มีประชากรอายุ 0 – 14 ปี
ร้อยละ 26.2 ของประชากรอาเซียนทั้งหมด ประชากรอายุ 15 – 59 ปี ร้อยละ 63.9 ของประชากร
และประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 9.9 ซ่ึงสถานการณ์สังคมผู้สูงวัยในอาเซียน มีร้อยละของ
ประชากรสูงอายุ 60 ปีข้ึนไปสูงสุด 3 อัน ได้แก่ อันดับ 1 ประเทศสิงคโปร์ ร้อยละ 19.5 อันดับท่ี 2
ประเทศไทย ร้อยละ 17.1 และประเทศเวยี ดนาม รอ้ ยละ 11.1
โครงสร้างประชากรประเทศไทยทั้งประเทศ มีจานวนประชากรท้ังหมด 65.5 ล้านคน
ซึ่งมีประชากรวยั เดก็ อายุ 0 – 14 ปี รอ้ ยละ 17.5 ของประชากรท้งั หมด ประชากรวัยทางาน อายุ 15 – 59 ปี
รอ้ ยละ 65.4 ของประชากรทั้งหมด และวยั สูงอายุ อายุ 60 ปขี ึ้นไป รอ้ ยละ 17.1 ของประชากรท้ังหมด
(ท่ีมา : รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2560) ทั้งน้ีร้อยละของผู้สูงอายุจาแนกตามช่วงอายุ
จาแนกได้ดังน้ี วัยต้น (อายุ 60 – 69 ปี) ร้อยละ 57.4 วัยกลาง (อายุ 70 – 79 ปี) ร้อยละ 29
และวัยปลาย (อายุ 80 ปขี ้นึ ไป) ร้อยละ 13.6 (ทมี่ า : สานักงานสถติ แิ หง่ ชาติ 2560)
ความท้าทายของปัญหา โดยมีสภาพทั่วไปของปัญหาประกอบด้วย โครงสร้างของประชากร
ที่เปล่ียนแปลงทาให้ประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เศรษฐกิจและนวัตกรรมเทคโนโล ยีที่
เปล่ียนแปลงไป ปัญหาสุขภาพ เช่น การเจ็บป่วยเรื้อรัง ป่วยติดเตียง และเหงาซึมเศร้า ด้านที่อยู่อาศัย
เชน่ บา้ นไม่ปลอดภัย การบริการสาธารณะ และสภาพแวดล้อม ตลอดจนสังคมเปลี่ยนแปลง เช่น สังคม
ขาดความตระหนัก/เตรียมความพร้อม ครอบครัวขนาดเล็กลง และผู้สูงอายุอยู่ลาพังมากขึ้นและขาด
ผดู้ แู ล
ความเชื่อมโยง SDGs ยุทธศาสตร์ชาติ และยุทธศาสตร์ที่เก่ียวข้องกับภารกิจของกรมกิจการ
ผู้สูงอายุ การขับเคล่ือนมาตรการระเบียบวาระแห่งชาติ เร่ือง สังคมผู้สูงอายุ ซ่ึงมี 6Sustainable
4Change เพือ่ ใหผ้ สู้ งู อายมุ ีสุขภาพดี Healthy, Securety and Participation
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 8
ยุทธศาสตร์กรมกิจการผู้สูงอายุ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) วิสัยทัศน์ กรมกิจการ
ผู้สูงอายุ 20 ปี “ผู้สูงอายุมีหลักประกันในการดารงชีวิตที่ม่ันคงในทุกมิติและเป็นพลังในการขับเคล่ือน
สังคมไทย” ยุทธศาสตร์กรมกิจการผู้สูงอายุ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560 – 2564) วิสัยทัศน์กรมกิจการ
ผู้สูงอายุ 5 ปี “ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตท่ีดีเป็นพลังขับเคลื่อนสังคม” ซึ่งมีเป้าหมาย คือ 1) สังคมดี
2) มีอาชพี 3) มีเทคโนโลยีและนวัตกรรมสาหรบั ผสู้ ูงอายุ 4) สภาพแวดล้อมดี ทั้งน้ีต้องมีระบบคุ้มครอง
ทางสังคมสาหรับผู้สูงอายุ โดยมีการขับเคลื่อนมาตรฐานการดูแลผู้สูงอายุอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ
ปรับปรุงที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมแก่ผู้สูงอายุและคนทุกวัย และผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะ
ยากลาบาก ควรมีการเตรียมความพร้อมของประชากรเพ่ือวัยสูงอายุท่ีมีคุณภาพ ประกอบด้วย 1)
ส่งเสริมการออม ร่วมกับ กอช. พอช. และตลาดหลักทรัพย์ สง่ เสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุใน
โรงเรียนผู้สูงอายุ ขับเคลื่อนกิจกรรมใน ศพอส. เตรียมความพร้อมให้คนทุกวัย และขยายผลการตั้ง
โรงเรียนผู้สูงอายุ รวมถึงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ เช่น ส่งเสริมกิจกรรมโรงเรียน
ผู้สูงอายุ ส่งเสริมการถ่ายทอดภูมิปัญญาผู้สูงอายุสู่ชุมชน พัฒนาภูมิปัญญาผู้สูงอายุสู่ผลิตภัณฑ์ชุมชน
สนับสนนุ เงินทุนประกอบอาชพี โดยกองทุนผ้สู งู อายุ ขับเคล่อื นกจิ กรรมใน ศพอส. และส่งเสรมิ การเรียนรู้
มาตรการขบั เคลอ่ื นระเบยี บวาระแหง่ ชาติ เรือ่ ง สงั คมผู้สูงอายุ 6Sustainable 4Change
เป็นเปา้ หมายผู้สงู อายุไทยเป็น Active Ageing Healthy Security Participation ดังนี้
6Sustainable มาตรการหลกั ที่ 1 การพฒั นาคณุ ภาพชีวิตผู้สูงอายแุ ละคนทุกวัย
S1 การสรา้ งระบบคุม้ ครองและสวัสดิการผสู้ งู อายุ (พม.)
»» มชี ุมชนตน้ แบบการดูแลคุ้มครองผู้สูงอายุทัง้ ในเขตเมือง และชนบท
»» สดั สว่ นของสถานประกอบการธุรกิจดแู ลผูส้ งู อายผุ ่านเกณฑม์ าตรฐาน
S2 การทางานและการสรา้ งรายได้สาหรบั ผู้สูงอายุ (รง.)
»» ผู้สงู อายุท่ีต้องการทางานใหม้ ีงานทาเพม่ิ ขน้ึ
»» มกี ารกาหนดงาน อาชพี และระยะเวลาท่ีเหมาะสมกับผู้สูงอายุ
»» สร้างผลิตภัณฑ์สนิ ค้าท่ีเป็นแบรนด์ของผู้สงู อายุ
S3 ระบบสขุ ภาพเพ่อื รองรบั สงั คมผู้สูงอายุ (สธ.)
»» ผูส้ ูงอายุท่ีตอ้ งการทางานใหม้ ีงานทาเพ่ิมข้นึ
»» มกี ารกาหนดงาน อาชพี และระยะเวลาทีเ่ หมาะสมกับผู้สงู อายุ
»» ผ้สู งู อายุติดเตียงได้รบั การดแู ลด้านสุขภาพและสังคม
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 9
S4 ปรบั สภาพแวดล้อมชมุ ชนและบา้ นให้ปลอดภยั กับผ้สู ูงอายุ (มท.)
»» มชี มุ ชนตน้ แบบท่ีเป็นมิตรกบั ผู้สงู อายุ
»» สถานทีส่ าธารณะมีส่ิงอานวยความสะดวกสาหรบั ผู้สูงอายุ
»» ทางเทา้ ในเขตเมืองมีความเหมาะสมและปลอดภัยสาหรบั ทุกคน
S5 ธนาคารเวลา สาหรบั การดูแลผสู้ ูงอายขุ องประเทศไทย (พม.)
»» มกี ารดูแลผูส้ ูงอายุในรูปแบบ “ธนาคารเวลา” โดยการมีส่วนรว่ มของ
องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ชุมชน
S6 การทางานและการสรา้ งรายไดส้ าหรบั ผสู้ งู อายุ (รง.)
»» สัดส่วนประชากรมีทศั นคติเชงิ บวกต่อผู้สงู อายุเพม่ิ ข้ึน
»» ประชากรมีหลักประกันยามชราภาพเพ่ิมขึน้
»» มสี ื่อผลติ รายการเพือ่ การเตรียมความพรอ้ มยามสูงอายเุ พิม่ ขนึ้
4Change มาตรการหลกั ท่ี 2 การยกระดับขีดความสามารถสู่การบรหิ ารจดั การภาครฐั 4.0
C1 ยกระดบั ความชว่ ยเหลอื เสรมิ สรา้ งพลงั สงั คมผสู้ ูงอายุ (พม.)
»» บรู ณาการการดาเนินงานด้านผู้
»» ประชากรมีหลักประกนั ยามชราภาพเพิ่มข้ึน
»» มสี ื่อผลติ รายการเพือ่ การเตรียมความพร้อมยามสงู อายุเพ่มิ ข้ึน
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 10
การบรรยาย
การพฒั นาผลติ ภัณฑส์ ู่ OTOP
ตามโครงการคลงั ปัญญาพัฒนาผลิตภัณฑ์สู่ OTOP
และโครงการส่งเสรมิ ความรว่ มมอื ประชารฐั
เพือ่ พัฒนาศกั ยภาพผสู้ ูงอายุ
โดย สานักงานพฒั นาชุมชนจงั หวดั ขอนแกน่
กรมพัฒนาชุมชนได้รับมอบหมายในการจัดทาฐานข้อมูลผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
เพ่ือตรวจสอบความถูกต้องและเพ่ิมเติมข้อมูลผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ทั้งรายเดิมที่เคยผ่านการ
ลงทะเบียนผู้ผลิตผู้ประกอบการ OTOP และผู้ผลิต ผู้ประกอบการรายใหม่ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
สามารถใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมการดาเนินงานได้ จึงได้ดาเนินการลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ
OTOP ทุกๆ 2 ปี โดยดาเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 – 2555 และในปี พ.ศ. 2557 ได้มีการ
เปล่ียนแปลงระยะเวลาในการลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP เป็นการลงทะเบียนทุกปี
โดยกาหนดหว้ งระยะเวลาการลงทะเบยี นเปน็ รายไตรมาส
วัตถุประสงค์ เพ่ือจัดทาฐานข้อมูลผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ให้เป็นปัจจุบัน และเพ่ือใช้
ประโยชน์ในการกาหนดแผนการสง่ เสริมและพฒั นาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ขน้ั ตอนการดาเนนิ โครงการลงทะเบยี นผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP
1. ประชาสัมพันธ์การลงทะเบียนผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP
2. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่างหลักเกณฑ์การลงทะเบียนผู้ผลิต
ผปู้ ระกอบการ OTOP
3. ปรบั ปรงุ หลกั เกณฑ์และคมู่ ือการลงทะเบียนผ้ผู ลิตผู้ประกอบการ OTOP
4. ปรับปรุง/พัฒนาระบบโปรแกรมการลงทะเบียนและรายงานผลการลงทะเบียนผู้ผลิต
ผปู้ ระกอบการ OTOP
5. ฝึกอบรมการใช้โปรแกรมการลงทะเบยี นแกเ่ จ้าหน้าท่ีผู้รบั ผดิ ชอบ (จังหวดั /กรงุ เทพมหานคร)
6. สรา้ งความเข้าใจในการดาเนินงานแกอ่ าเภอ/จงั หวัด/กรุงเทพมหานคร
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 11
7. ดาเนินการลงทะเบียน/บนั ทกึ ขอ้ มลู /ให้ความเห็นชอบ/ส่งขอ้ มลู ให้จังหวัด
8. ใหก้ ารรบั รอง/กรมการพฒั นาชุมชนตรวจทานขอ้ มูลรว่ มกบั จังหวัด/กรงุ เทพมหานคร
9. ติดตามประเมินผล
10. กรมการพัฒนาชุมชนตรวจสอบ/ประมวลผล/จัดทาฐานขอ้ มูลเปน็ รายไตรมาส
11. กรมการพัฒนาชุมชนจัดทาสรุปผลการดาเนินงานโครงการลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ
OTOP เป็นรายไตรมาส
12. ประชาสัมพนั ธเ์ ผยแพรข่ ้อมูลและนาไปใช้ประโยชน์
กลุ่มเป้าหมายในการลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ได้แก่ กลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ
ท่ีผลิตสินค้า OTOP รายเดิมท่ีเคยลงทะเบียน และผู้ผลิต ผู้ประกอบการ ท่ีผลิตสินค้า OTOP รายใหม่
ยงั ไมเ่ คยลงทะเบียนเป็นผู้ผลิต ผูป้ ระกอบการ OTOP
หลักเกณฑ์การลงทะเบียน
1. ลกั ษณะและคณุ สมบัติของผูผ้ ลิต ผปู้ ระกอบการ ทม่ี ีสิทธลิ งทะเบียน
1.1 เป็นผผู้ ลิตดงั ตอ่ ไปนี้
1.1.1 เป็นกลุ่มผู้ผลิตชุมชน
1.1.2 เปน็ ผู้ผลิตชมุ ชนที่เปน็ เจา้ ของรายเดียว
1.1.3 เป็นผู้ผลิตที่เปน็ วสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
1.2 กลุ่มเป้าหมายตามข้อ 1.1 ต้องมีความเชื่อมโยงกับชุมชน โดยเข้าเกณฑ์ข้อใดข้อหน่ึง
ต่อไปนี้
1.2.1 ชุมชนมีส่วนร่วมในการผลิต เช่น ใช้แรงงานในชุมชน (ภายในจังหวัดท่ีขอ
ลงทะเบียน) มกี ารใชว้ ัตถุดบิ การผลิตในชุมชน เป็นตน้
1.2.2 ชมุ ชนมีส่วนรว่ มในการบรหิ ารจัดการ
1.2.3 ชมุ ชนไดร้ ับประโยชน์
1.3 สถานที่ผลิตของกลุ่มเป้าหมายตามข้อ 1.1.1 ต้องต้ังอยู่ภายในอาเภอ/เขต (กรุงเทพมหานคร)
ทีข่ อลงทะเบียน
1.4 ผผู้ ลิต ผู้ประกอบการและสมาชกิ ลมุ่ ต้องมีสญั ชาติไทย
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 12
1.5 กรณีส่งตัวแทนมาแจ้งการลงทะเบียนจะต้องเป็นผู้ได้รับมอบอานาจ (มีเอกสารมอบ
อานาจ)
2. ลักษณะผลติ ภัณฑ์ หน่ึงตาบล หนงึ่ ผลติ ภัณฑ์ ทีส่ ามารถลงทะเบยี นได้ต้องแสดงถึงภูมิปัญญา
ไทยและมลี ักษณะดังน้ี
2.1 วตั ถดุ บิ ท่ีนามาผลติ ต้องไม่ผดิ กฎหมาย
2.2 ไม่เป็นสินค้าที่เลียนแบบ ดัดแปลง นาเข้า หรือนาเข้าเพ่ือดัดแปลงหรือละเมิดทรัพย์สิน
ทางปัญญา
2.3 ไม่เป็นสินค้าที่ก่ออันตรายอย่างร้ายแรงต่อชุมชนหรือสิ่งแวดล้อม รวมท้ังไม่ขัดต่อ
ขนบธรรมเนยี มประเพณวี ฒั นธรรมอนั ดขี องไทย
2.4 กรณีเป็นผลติ ภัณฑท์ ี่มกี ฎหมายบังคับตอ้ งได้รบั อนญุ าตให้ผลติ
3. ประเภทผลติ ภัณฑ์ หนง่ึ ตาบล หน่ึงผลิตภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์ท่ีจะนามาดาเนินการลงทะเบียนต้องผ่านกระบวนการผลิตโดยใช้ภูมิปัญญ จาแนก
5 ประเภท ดังนี้
3.1 ประเภทอาหาร หมายถงึ ผลผลิตทางการเกษตรและอาหารแปรรปู
3.2 ประเภทเคร่ืองดม่ื
3.3 ประเภทผา้ เครอื่ งแตง่ กาย
3.4 ประเภทของใช้/ของตกแต่ง/ของท่รี ะลึก
3.5 ประเภทสมนุ ไพรที่ไม่ใช่อาหาร
4. มาตรฐานการผลิตภัณฑ์ที่ได้รับรองจากทางราชการ
ในการลงทะเบียน หากผลิตภัณฑ์ได้รับการรับรองมาตรฐานจากทางราชการ ให้ผู้มา
ลงทะเบียนได้นาใบรับรองมาตรฐานจากทางราชการมาด้วย เพื่อกรอกข้อมูลและแสดงต่อเจ้าหน้าท่ีผู้รับ
ลงทะเบียน ในกรณที อี่ ยูร่ ะหวา่ งการดาเนินการย่ืนขอการรับรองให้นาเอกสารท่ีแสดงรายละเอียดการยื่น
ขอดงั กล่าวมาประกอบด้วย
วิธีการลงทะเบยี น
1. ลงทะเบยี นเปน็ รายผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ โดยใหห้ ัวหนา้ กลุ่มผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ หรือผู้
แทนท่ีไดร้ ับมอบอานาจ เปน็ ผู้ยื่นแบบลงทะเบยี น
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 13
2. การรับลงทะเบียน จะดาเนินการภายในระยะเวลาที่ประกาศหรือกาหนดเท่าน้ัน โดย
กาหนดให้รบั ลงทะเบยี นเป็นไตรมาส ดาเนนิ การไตรมาสที่ 1 – 4
3. เอกสารประกอบการลงทะเบียน ให้นาท้ังเอกสารจริงและถ่ายสาเนา สาหรับเจ้าหน้าที่
ตรวจสอบหมายเลขเอกสาร/หลักฐาน ให้ตรงกับข้อมลู ที่กรอก ได้แก่
3.1 สาเนาบัตรประชาชน และทะเบียนบา้ นของผู้ย่นื ลงทะเบียน
3.2 หนังสือมอบอานาจจากกลมุ่ ผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ
3.3 ภายถ่ายผลติ ภณั ฑ์ทกุ ประเภท ที่จะลงทะเบียน ขนาด 4 × 6 หรอื ไฟลภ์ าพดิจิตอล
3.4 เอกสารอนญุ าตใหท้ าการผลติ กรณีมีกฎหมายกาหนด
3.5 หนังสือรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ที่จะแจ้งในแบบลงทะเบียน (ถ้ามี) เพื่อให้
เจ้าหนา้ ทีต่ รวจสอบช่อื กลุ่ม ชือ่ ผลิตภัณฑ์ และเลขทก่ี ากับใบรบั รองมาตรฐาน
3.6 เอกสารตามขอ้ 3.3.1. - 3.3.4 ใหอ้ าเภอเก็บไว้เปน็ หลักฐาน
3.7 ให้ประธานเครือข่าย OTOP ระดับอาเภอ/ผู้แทน หรือประธานชุมชนของเขต
(กรงุ เทพมหานคร) ผูแ้ ทน รบั รองว่าเป็นผลติ ภณั ฑ์ OTOP ทผ่ี ลิตในพื้นที่ท่ีรบั ลงทะเบียนจริง
ขน้ั ตอนการลงทะเบียน
1. กล่มุ ผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ
ขอรับแบบฟอร์ม กรอกข้อมูลให้ถูกต้อง ครบถ้วน และยื่นขอลงทะเบียนได้ ณ ท่ีว่าการ
อาเภอ/เขต (กรงุ เทพมหานคร) ทเ่ี ป็นทต่ี อ้ งของกลุม่ ผู้ผลติ ผู้ประกอบการ
2. อาเภอ/สานกั งานเขต (กรงุ เทพมหานคร)
2.1 เจ้าหน้าท่ีผู้รับลงทะเบียน รับคาร้อง ตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้องของข้อมูล
และเอกสารประกอบ
2.2 บันทึกข้อมูลของกลุ่มเป้าหมายท่ีมาย่ืนขอลงทะเบียนในโปรแกรม (บันทึกเฉพาะ
ข้อมลู ท่ีถกู ต้อง)
2.3 พมิ พห์ ลกั ฐานการรับลงทะเบยี นมอบให้ผูล้ งทะเบียนเก็บไว้เปน็ หลักฐาน
2.4 จัดการประชุมคณะกรรมการ ท่ีอาเภอ/เขต (กรุงเทพมหานคร) แต่งต้ังเพ่ือ
พิจารณาให้ความเหน็ ชอบ
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 14
2.5 แจ้งข้อมูลการลงทะเบียนและผลการพิจารณาให้ความเห็นชอบ ให้จังหวัด/
กรุงเทพมหานคร
3. จังหวดั /กรุงเทพมหานคร
3.1 จัดการประชุมคณะกรรมการ ที่จังหวัด/กรุงเทพมหานคร แต่งต้ัง เพ่ือพิจารณา
รับรองให้ข้ึนทะเบียนเปน็ ผูผ้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP
3.2 ตรวจสอบข้อมลู ร่วมกบั กรมการพัฒนาชมุ ชนเพอื่ ยืนยันขอ้ มูล
4. กรมการพฒั นาชมุ ชน
4.1 ตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับการรับรองให้ข้ึนทะเบียนเป็นผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
ของจงั หวัด/กรุงเทพมหานคร ในกรณที ี่ตรวจสอบแลว้ เห็นว่ามีบางรายไม่ใช่ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
กรมการพัฒนาชุมชน จะแจ้งให้จังหวัด/กรุงเทพมหานคร ดาเนินการเพิกถอนการเป็นผู้ผลิต
ผู้ประกอบการ OTOP ตอ่ ไป
4.2 ดาเนินการจัดทาฐานข้อมูลผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP เพื่อใช้ประโยชน์นการ
ดาเนินงานโครงการหน่งึ ตาบล หน่งึ ผลติ ภณั ฑ์ (OTOP)
4.3 กรมการพัฒนาชุมชนประกาศรับรองข้อมูลการลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ
OTOP เป็นรายไตรมาส (ไตรมาสที่ 1 – 4) และเผยแพร่ข้อมูลผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP เพื่อให้
หนว่ ยงานและผสู้ นใจใช้ประโยชนข์ องข้อมูลต่อไป
การแสดงและนทิ รรศการ
ในส่วนของการแสดงด้านบนเวทีหลัก นอกจากการเสวนา “การสร้างรายได้ให้ผู้สูงอายุ
เพื่อพัฒนาศักยภาพสู่ยุค 4.0” และการบรรยาย “นโยบายและแนวทางการขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุของ
ประเทศไทย” แล้ว ยังมีการแสดงนครชัยบุรินทร์ จากสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5
การแสดงไลฟ์แดนซ์ประกอบเพลง จากสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 6 และการแสดงหมอลา
สงเสรมิ สุขภาพกายใจผู้สูงอายุ จากสานักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ าการ 7 ดงั ต่อไปน้ี
»»» สานกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5
1. ภมู ปิ ญั ญาผู้สูงอายนุ ครชยั บุรนิ ทร์
2. ภมู ปิ ญั าผสู้ ูงอายุเครอ่ื งปั้นดนิ เผา
3. ภมู ปิ ัญญาผสู้ งู อายุผ้าภอู ัคคนี
4. ภมู ปิ ัญญาผู้สูงอายรุ อกกะลา
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 15
5. ภูมิปัญญาผ้สู งู อายเุ ครือ่ งประดับงาชา้ ง
»»» สานกั งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 6
1. วิชาการกับการส่งเสริมรายได้ให้ผู้สูงอายุในบริบทอาเซียน สานักงานส่งเสริมและ
สนับสนนุ วชิ าการ 6
2. One Home ขอนแก่นกับการขับเคล่ือนงานด้านผู้สูงอายุ สานักงานพัฒนาสังคมและ
ความมน่ั คงของมนุษย์จงั หวดั ขอนแก่น
3. สร้างรายได้ มีรายได้ ครอบครัวไร้ความรุนแรง ศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและ
ครอบครัวรตั นาภา จังหวดั ขอนแก่น
4. สร้างอาชพี สรา้ งรายได้จากผลิตภณั ฑ์คนพกิ าร ศนู ย์พัฒนาศักยภาพและอาชีพ
คนพิการจงั หวัดขอนแกน่
5. ร้อยรกั ผู้สงู วยั บ้านพักเดก็ และครอบครวั จังหวดั ขอนแก่น
6. ระบบดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุตาบลบ้านแท่น ศูนย์พัฒนาการจัด
สวสั ดิการสงั คมและสง่ เสริมอาชีพผสู้ งู อายบุ ้านแท่น ตาบลบา้ นแท่น อาเภอชนบท จงั หวดั ขอนแกน่
7. ระบบดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุตาบลหนองกุงใหญ่ ศูนย์พัฒนาการจัด
สวัสดิการสังคมและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุหนองกุงใหญ่ ตาบลหนองกุงใหญ่ อาเภอกระนวน จังหวัด
ขอนแก่น
8. ระบบดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุตาบลห้วยเตย ศูนย์พัฒนาการจัด
สวัสดิการสังคมและส่งเสรมิ อาชีพผู้สงู อายุหว้ ยเตย ตาบลหว้ ยเตย อาเภอซาสูง จังหวดั ขอนแก่น
9. ระบบดแู ลและค้มุ ครองพิทักษ์สทิ ธิผู้สูงอายุตาบลหินตั้ง ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการ
สังคมและส่งเสรมิ อาชพี ผสู้ ูงอายุหนิ ตั้ง ตาบลหนิ ตงั้ อาเภอบ้านไผ่ จงั หวัดขอนแกน่
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 16
»»» สานกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ 7
1. บทบาทภารกิจและผลงานทางวชิ าการ สานกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 7
2. กลุ่มสตรจี กั สานบา้ นหนองตากไห ตาบลสงเปลือย อาเภอเขาวง จังหวดั กาฬสนิ ธุ์
3. กลมุ่ แปรรูปเนื้อสตั ว์ บา้ นนาจารย์ ตาบลนาจารย์ อาเภอเมอื ง จังหวดั กาฬสนิ ธุ์
4. กลมุ่ ปลารา้ บองบา้ นหนองเสือ ตาบลเวอ่ อาเภอยางตลาด จงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ
5. กลุม่ ผลิตภัณฑ์ OTOP กลุม่ ภูไท ฝา้ ยงาม อาเภอแขวง จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 17
สรุปผลการประเมนิ
จ า ก ก า ร แ จ ก แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร จั ด ง า น เ ว ที วิ ช า ก า ร 4 ภ า ค ป ร ะ จ า ปี 2 5 6 2
(ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) “การสร้างรายได้ให้ผู้สูงอายุ เพ่ือพัฒนาศักยภาพสู่ยุค 4.0” โดยสานักงาน
ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5, 6 และ 7 สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ระหว่างวันท่ี 28 – 29 พฤษภาคม
2562 ณ โรงแรมเจริญธานี อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น มีจานวนทั้งสิ้น 400 คน และมีผู้เข้าร่วมเวที
ส่งแบบประเมนิ จานวนทง้ั สิ้น 291 คน สรปุ ไดด้ ังนี้
1. ข้อมลู ท่ัวไป
แผนภมู ทิ ี่ 1 แสดงรอ้ ยละของผตู้ อบแบบประเมนิ จาแนกตามประเภทผู้เข้ารว่ มโครงการ
จากแผนภูมิ ผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่เป็นบุคคลท่ัวไป ร้อยละ 45 รองลงมาเป็นเครือข่าย พม.
ร้อยละ 24 ภาคเอกชน ร้อยละ 19 เจ้าหน้าท่ีหน่วยงาน พม. ร้อยละ 9 นักศึกษาร้อยละ 2 และ
อาจารย์ ร้อยละ 1
แผนภูมิที่ 2 แสดงร้อยละของผูต้ อบแบบประเมิน จาแนกตามเพศ
จากแผนภูมิ เพศส่วนใหญ่เป็นเพศหญงิ ร้อยละ 82 และเป็นเพศชาย ร้อยละ 18
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 18
แผนภมู ิท่ี 3 แสดงรอ้ ยละของผ้ตู อบแบบประเมิน จาแนกตามระดับการศึกษา
จากแผนภูมิ ระดับการศึกษาส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาประถมศึกษา ร้อยละ 56 รองลงมา
ระดับอนุปริญญา ปวส. ร้อยละ 13 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 11
ระดับต่ากว่าประถมศึกษา ร้อยละ 4 ระดับอนุปรญิ ญา ปวส. ร้อยละ 3 และระดบั ปริญญาโท รอ้ ยละ 2
2. ระดับความพงึ พอใจต่องานเวทีวิชาการ 4 ภาค ประจาปี 2562
แผนภูมิท่ี 4 แสดงร้อยละของผตู้ อบแบบประเมนิ ด้านการนาเสนอผลงานทางวิชาการ
จากแผนภูมิ การนาเสนอผลงานทางวชิ าการ ส่วนใหญม่ ีความพงึ พอใจมาก ร้อยละ 58
รองลงมามีความพงึ พอใจมากท่ีสดุ รอ้ ยละ 27 มคี วามพงึ พอใจปานกลาง รอ้ ยละ 13 และมคี วามพึง
พอใจนอ้ ย รอ้ ยละ 2
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 19
แผนภมู ทิ ี่ 5 แสดงร้อยละของผตู้ อบแบบประเมินด้านเวทีแลกเปลีย่ นเรยี นรเู้ พื่อขับเคล่ือนงานด้านสังคม
และความมั่นคงของมนุษยใ์ นระดบั พื้นท่ี
จากแผนภูมิ เวทีแลกเปล่ียนเรยี นรเู้ พื่อขับเคลือ่ นงานด้านสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยใ์ นระดับพ้ืนที่
สว่ นใหญ่มีความพึงพอใจมาก ร้อยละ 54 รองลงมามีความพึงพอใจมากที่สุด ร้อยละ 29 และมีความพึง
พอใจปานกลาง รอ้ ยละ 17
แผนภูมิที่ 6 แสดงร้อยละของผูต้ อบแบบประเมินด้านการคน้ หาและกาหนดประเด็นในเชงิ นโยบายสกู่ าร
จัดงาน Thailand Social Expo 2019
จากแผนภูมิ การค้นหาและกาหนดประเด็นในเชิงนโยบายสู่การจัดงาน Thailand Social Expo 2019
ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจมาก ร้อยละ 59 รองลงมามีความพึงพอใจมากที่สุด ร้อยละ 28 มีความพึงพอใจ
ปานกลาง รอ้ ยละ 11 และมีความพึงพอใจ รอ้ ยละ 2
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 20
แผนภูมทิ ่ี 7 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบประเมนิ ด้านการแจ้งรายละเอยี ดงานเวทีวิชาการ
จากแผนภูมิ การแจ้งรายละเอียดงานเวทีวิชาการ ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจมาก ร้อยละ 55
รองลงมามีความพึงพอใจมากที่สุด ร้อยละ 27 มีความพึงพอใจปานกลาง ร้อยละ 17 และมีความพึง
พอใจนอ้ ย ร้อยละ 1
แผนภูมิท่ี 8 แสดงรอ้ ยละของผู้ตอบแบบประเมินด้านการกาหนดรูปแบบ/กิจกรรม
จากแผนภูมิ การกาหนดรูปแบบ/กิจกรรม ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจมาก ร้อยละ 56 รองลงมา
มีความพึงพอใจมากท่ีสุด ร้อยละ 25 มีความพึงพอใจปานกลาง ร้อยละ 16 และมีความพึงพอใจน้อย
ร้อยละ 3
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 21
แผนภมู ิท่ี 9 แสดงรอ้ ยละของผตู้ อบแบบประเมนิ ด้านการกาหนดกลมุ่ เป้าหมายชดั เจน
จากแผนภูมิ การกาหนดกลุ่มเป้าหมายชัดเจนของโครงการ ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจมาก
รอ้ ยละ 49 รองลงมามีความพงึ พอใจมากท่ีสุด รอ้ ยละ 34 และมีความพึงพอใจปานกลาง ร้อยละ 17
แผนภูมทิ ่ี 10 แสดงรอ้ ยละของผ้ตู อบแบบประเมนิ ด้านจานวนคนเขา้ รว่ มงานเหมาะสมกับหัวข้อหรือกจิ กรรมที่ใช้
จากแผนภูมิ จานวนคนเข้ารว่ มงานเหมาะสมกบั หัวข้อหรือกิจกรรมทใี่ ช้ สว่ นใหญ่มคี วามพึงพอใจมาก ร้อยละ
53 รองลงมามคี วามพึงพอใจมากที่สุด รอ้ ยละ 25 และมีความพงึ พอใจปานกลาง รอ้ ยละ 22
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 22
แผนภูมทิ ่ี 12 แสดงรอ้ ยละของผตู้ อบแบบประเมนิ ความรอบรู้ในหัวขอ้ วชิ าการของวิทยากร
จากแผนภมู ิ กระบวนการความรอบรู้ในหัวข้อวิชาการของวิทยากร ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจมาก
ร้อยละ 51 รองลงมามีความพึงพอใจมากที่สุด ร้อยละ 30 และมีความพึงพอใจปานกลาง ร้อยละ 19
แผนภูมิท่ี 13 แสดงรอ้ ยละของผตู้ อบแบบประเมินการจดั ลาดบั ความสัมพันธ์ของเน้อื หามคี วามเหมาะสม
จากแผนภูมิ กระบวนการจัดลาดับความสัมพันธ์ของเนอ้ื หามีความเหมาะสม ส่วนใหญม่ คี วามพงึ
พอใจมาก รอ้ ยละ 48 รองลงมามคี วามพงึ พอใจมากท่ีสุด 33 และมีความพึงพอใจปานกลาง ร้อยละ 19
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 23
แผนภูมทิ ่ี 14 แสดงร้อยละของผตู้ อบแบบประเมนิ วิทยากรมีเทคนคิ /วธิ ีการในการถ่ายทอดให้เขา้ ใจง่าย
จากแผนภูมิ วทิ ยากรมเี ทคนิค/วิธีการในการถ่ายทอดให้เข้าใจง่าย ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจมาก
รอ้ ยละ 47 รองลงมามีความพงึ พอใจมากที่สดุ ร้อยละ 35 และมีความพึงพอใจปานกลาง ร้อยละ 18
แผนภูมิท่ี 15 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบประเมินด้านการให้ขอ้ มูลงานเวทีวิชาการที่ครบถ้วน
จากแผนภูมิ เจ้าหน้าที่ที่ให้บริการให้ข้อมูลงานเวทีวิชาการที่ครบถ้วน ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจ
รอ้ ยละ 57 รองลงมามคี วามพึงพอใจ ร้อยละ 30 และมคี วามพงึ พอใจมากที่สุด รอ้ ยละ 30
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 24
แผนภูมิที่ 16 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบประเมินด้านการตอบข้อซกั ถามทชี่ ัดเจน ตรงประเด็น
จากแผนภมู ิ เจ้าหน้าท่ที ่ีให้บริการสามารถตอบข้อซักถามท่ีชัดเจน ตรงประเด็น ส่วนใหญ่มีความ
พึงพอใจมาก ร้อยละ 49 รองลงมามีความพึงพอใจมากที่สุด ร้อยละ 32 และมีความพึงพอใจปานกลาง
รอ้ ยละ 19
แผนภมู ิที่ 17 แสดงรอ้ ยละของผตู้ อบแบบประเมินดา้ นกริ ิยามารยาท การแต่งกายเหมาะสม
จากแผนภูมิ เจ้าหน้าท่ีท่ีให้บริการด้านกิริยามารยาท การแต่งกายเหมาะสม สวนใหญ่มีความ
พึงพอใจมาก รอ้ ยละ 50 รองลงมามีความพึงพอใจมากท่ีสุด ร้อยละ 37 และมีความพึงพอใจปานกลาง
ร้อยละ 12
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 25
แผนภูมทิ ี่ 18 แสดงร้อยละของผตู้ อบแบบประเมินเจ้าหน้าที่กระตือรือร้นเตม็ ใจใหบ้ ริการ
จากแผนภูมิ เจ้าหน้าที่ท่ีให้บริการกระตือรือร้นเต็มใจให้บริการ ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจมาก
ร้อยละ 52 รองลงมามีความพึงพอใจมากที่สดุ ร้อยละ 36 และมีความพึงพอใจปานกลาง รอ้ ยละ 12
แผนภมู ทิ ่ี 19 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบประเมินขนาดห้องเหมาะสมกับจานวนผู้เข้ารว่ มงาน
จากแผนภูมิ ขนาดห้องเหมาะสมกับจานวนผู้เข้าร่วมงาน ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจมาก
รอ้ ยละ 42 รองลงมามคี วามพึงพอใจมากทส่ี ุด ร้อยละ 43 และมคี วามพึงพอใจปานกลาง ร้อยละ 15
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 26
แผนภมู ิที่ 20 แสดงร้อยละของผตู้ อบแบบประเมนิ จัดห้องเหมาะสมกบั งาน
จากแผนภูมิ การจัดห้องเหมาะสมกับงาน ส่วนใหญม่ ีความพึงพอใจมาก ร้อยละ 43 รองลงมามี
ความพึงพอใจมากทีส่ ุด ร้อยละ 40 และมคี วามพึงพอใจปานกลาง รอ้ ยละ 16
แผนภูมิท่ี 21 แสดงรอ้ ยละของผูต้ อบแบบประเมินความสะดวกในการเดนิ ทาง
จากแผนภูมิ ความสะดวกในการเดินทาง ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจมาก ร้อยละ 48 รองลงมา
มีความพึงพอใจมากท่ีสุด ร้อยละ 31 มีความพึงพอใจปานกลาง ร้อยละ 18 และมีความพึงพอใจน้อย
รอ้ ยละ 3
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 27
แผนภูมทิ ี่ 22 แสดงร้อยละของผ้ตู อบแบบประเมินดา้ นอาหารและเครื่องด่มื เหมาะสม
จากแผนภูมิ อาหารและเคร่ืองดม่ื เหมาะสม ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจมาก ร้อยละ 53 รองลงมา
มีความพึงพอใจมากที่สดุ 29 และมีความพงึ พอใจปานกลาง ร้อยละ 18
แผนภูมทิ ี่ 23 แสดงร้อยละของผตู้ อบแบบประเมินด้านสอดคลอ้ งของเน้ือหากับความต้องการ
จากแผนภูมิ ความสอดคล้องของเนอ้ื หากบั ความต้องการ สว่ นใหญม่ ีความพงึ พอใจมาก รอ้ ยละ
56 รองลงมามีความพงึ พอใจมากท่ีสุด รอ้ ยละ 27 และมคี วามพึงพอใจปานกลาง ร้อยละ 17
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 28
แผนภมู ิที่ 24 แสดงร้อยละของผตู้ อบแบบประเมนิ ด้านเนื้อหาเปน็ ปจั จบุ นั ทนั ต่อการเปล่ียนแปลง
จากแผนภูมิ เนอื้ หาเปน็ ปจั จุบนั ทันตอ่ การเปลย่ี นแปลง สว่ นใหญ่มีความพงึ พอใจมาก ร้อยละ 50
รองลงมามีความพึงพอใจมากท่ีสดุ รอ้ ยละ 32 และมีความพงึ พอใจปานกลาง ร้อยละ 18
แผนภูมทิ ่ี 25 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบประเมินดา้ นความรู้ทไี่ ดร้ บั สามารถนาไปปรบั ใช้ใน
ชีวิตประจาวันและในการปฏิบตั งิ านได้
จากแผนภูมิ ความรู้ท่ีได้รับสามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันและในการปฏิบัติงานได้
ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจมาก ร้อยละ 50 รองลงมามีความพึงพอใจมากที่สุด ร้อยละ 31 และมีความ
พึงพอใจปานกลาง รอ้ ยละ 19
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 29
แผนภูมิที่ 26 แสดงรอ้ ยละของผตู้ อบแบบประเมนิ ด้านความคุม้ ค่าของการจดั งาน
จากแผนภูมิ ความคมุ้ ค่าของการจดั งาน สว่ นใหญม่ ีความพึงพอใจมาก รอ้ ยละ 57 รองลงมา
มคี วามพึงพอใจมากที่สดุ ร้อยละ 28 และมคี วามพึงพอใจปานกลาง ร้อยละ 15
แผนภูมิท่ี 27 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบประเมินดา้ นความเหมาะสมของระยะเวลาการจดั งาน
จากแผนภูมิ ความเหมาะสมของระยะเวลาการจัดงาน ส่วนใหญ่มีความพงึ พอใจมาก รอ้ ยละ 53
รองลงมามีความพงึ พอใจมากที่สุด รอ้ ยละ 32 และมีความพึงพอใจปานกลาง ร้อยละ 15
เวทวี ชิ าการ 4 ภาค ประจาปี 2562 (ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ) 28-29 May 2019 30
3. ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอน่ื ๆ
การให้ความรผู้ ู้สูงอายุควรเร่มิ ตั้งแต่อายุ 50 ปี ขึ้นไปเพราะจะไดเ้ ตรียมความพรอ้ ม
ใหก้ บั ผู้ท่จี ะสูงวัยเพ่ือจะไดม้ ีรายไดเ้ พม่ิ อยา่ งต่อเนอ่ื งและจะไดม้ คี วามเปน็ อยู่ทีด่ ี
สถานทีใ่ นการจัดงานเหมาะสม
เป็นกิจกรรมท่ีดใี นการพฒั นาศกั ยภาพผ้สู งู อายุ เปน็ การกระตุ้นผู้สูงอายุให้แข็งแกร่ง
เพื่อมสี ่วนร่วมในการพฒั นาสังคม เช่น การรวมกลมุ่ ฝึกอาชีพของผสู้ ูงอายุเพ่อื สรา้ งรายได้
กจิ กรรมใหค้ วามร้พู ร้อมความสนกุ สนาน สรา้ งความเข้าใจต่อการก้าวสู่สังคมผู้สงู อาย
ควรมีการจัดกจิ กรรมอย่างต่อเนื่อง
คณะผจู้ ัดทา
สานกั งานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 5
เลขที่ 211 หมู่ 1 ตาบลนคิ มสรา้ งตนเอง อาเภอพมิ าย จงั หวัดนครราชสีมา 30110
โทรศัพท์ 0 4496 5501 โทรสาร 0 4496 5500
สานกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 6
เลขท่ี 36/2 หมู่ 9 ตาบลโคกสูง อาเภออบุ ลรตั น์ จงั หวัดขอนแก่น 40250
โทรศพั ท์ 0 4342 1249 โทรสาร 0 4342 1249
สานักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 7
เลขที่ 97 หมู่ 12 ตาบลภดู ิน อาเภอเมอื ง จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ 46000
โทรศัพท์ 0 4387 1528 โทรสาร 0 4387 1006