คานา
การจัดการความรู้ (Knowledge Management) เรื่อง การขอมีบัตรประจาตัวคนพิการ
เปน็ การจดั การความรู้ ซงึ่ คณะทางานจดั การความรู้ สานกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ ๔ มงุ่ เนน้ สร้าง
ความรู้ ความเข้าใจ ในกระบวนการการให้บริการงานออกบัตรประจาตัวคนพิการ โดยคณะทางานฯ
ได้รวบรวมกฎหมาย ระเบียบท่ีเก่ียวข้อง วิธีการ หลักเกณฑ์แนวทางการปฏิบัติและความรู้ที่เก่ียวข้องกับ
ข้ันตอนของการให้บริการมาเป็นเอกสารเพื่อแบ่งปันความรู้แก่พนักงานและเจ้าหน้าท่ีให้สามารถนาไป
ปฏิบัตงิ านไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง มปี ระสิทธภิ าพและเปน็ มาตรฐานเดียวกัน
คณะทางานจัดการความรู้ (KM) หวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดการความรู้ (Knowledge
Management) เร่ือง การขอมีบัตรประจาตัวคนพิการ จะเป็นประโยชน์ต่อการให้บริการการออกบัตร
ประจาตัวคนพกิ ารของพนกั งานและเจ้าหนา้ ทีข่ องสานักงานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ ๔ และผู้ที่สนใจ
ต่อไป
คณะทางานจดั การความรู้ (KM Team)
สานกั งานสง่ เสริมและสนับสนุนวิชาการ ๔
พฤษภาคม ๒๕๖๓
สารบัญ
หน้า
บทที่ 1 บทนา
ความเป็นมา 1
บทบาทภารกิจของสานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4 2
บทท่ี ๒ สทิ ธิและสวัสดกิ ารของพิการที่พึงจะไดร้ บั
นยิ ามของคนพิการ 1
ประเภทของความพิการ 1
สาระสาคัญแหง่ สิทธิของคนพิการ 5
บทท่ี ๓ การจดั ทาบัตรประจาตัวคนพิการเพอ่ื การเขา้ ถงึ สทิ ธติ ามกฎหมาย
กระบวนการออกบัตรประจาตวั คนพิการ 10
ข้นั ตอนการยื่นคาขอมีบัตรประจาตวั คนพิการ 12
บทที่ ๔ การใช้โปรแกรมระบบงานออกบตั รประจาตัวคนพิการ
การใชโ้ ปรแกรมเบื้องตน้ 16
ระบบงานออกบตั รประจาตวั คนพกิ าร 21
บทท่ี 5 ปญั หาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ
สรปุ ผลการดาเนินงานการจดั ทาบัตรประจาตัวคนพิการ 25
สรปุ ปญั หาอปุ สรรค 27
ขอ้ เสนอแนะ 28
ภาคผนวก
- ระเบียบคณะกรรมการสง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพกิ ารแห่งชาติว่าดว้ ยหลักเกณฑ์
วิธกี าร และเงื่อนไขการย่ืนคาขอมีบัตรประจาตวั คนพิการการออกบตั ร และการกาหนด
เจ้าหนา้ ท่ผี มู้ ีอานาจออกบตั รประจาตวั คนพิการ การกาหนดสิทธิ หรอื การเปลีย่ นแปลงสิทธิ
และการขอสละสิทธขิ องคนพิการ และอายุบตั รประจาตัวคนพิการ
- ประกาศกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์ เร่อื ง ประเภทและ
หลกั เกณฑ์ความพกิ าร (ฉบบั ท่ี ๒)
- ประกาศสานักงานสง่ เสรมิ และพฒั นาคุณภาพชวี ิตคนพิการแหง่ ชาติ เรอื่ ง แบบและรายละเอยี ดของ
สภาพความพิการท่สี ามารถเห็นไดโ้ ดยประจักษ์
- แบบและรายละเอยี ดของสภาพความพกิ ารท่ีสามารถเห็นไดโ้ ดยประจกั ษ์
- ประกาศกรมสง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการ เรื่อง กาหนดแบบบัตรประจาตัวคนพิการใน
รปู แบบอิเลก็ ทรอนิกส์
- ประกาศกรมสง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ เร่ือง กาหนดแบบบตั รประจาตัวคนพิการใน
รูปแบบ Smart Card
- ประกาศสานักงานสง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพกิ ารแหง่ ชาติ เรื่อง แบบหนงั สือรับรองใชแ้ ทน
บัตรประจาตัวคนพิการ
- แบบคาขอมบี ัตรประจาตวั คนพกิ าร
- หนังสือรับรองการเปน็ ผู้ดแู ลคนพกิ าร
- หนังสอื มอบอานาจ
- แบบและรายละเอียดของสภาพความพกิ ารที่สามารถเห็นได้โดยประจกั ษ์
- แบบหนงั สือรับรองใช้แทนบัตรประจาตัวคนพกิ าร
- (ตวั อย่าง) เอกสารรบั รองความพิการจากโรงพยาบาล (ตวั อย่าง)
- รปู แบบบตั รประจาตวั คนพิการแบบอิเลก็ ทรอนิกส์
บทที่ ๑
บทนา
ความเป็นมา
ด้วยผู้ตรวจราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เขตตรวจราชการที่
๑๔ (นางไพรวรรณ พลวัน) ได้เดินทางมาตรวจราชการ ที่สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๕
เมือ่ วนั พฤหสั บดีที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และได้สง่ั การใหส้ านักงานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ ๕ เป็นศูนย์การ
ใหบ้ รกิ ารออกบัตรประจาตัวคนพิการ เพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ประชาชนผู้มารับบริการในเขตพื้นที่ใกล้เคียง
และสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๕ ได้ประสานงานไปยังสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของ
มนุษย์จงั หวดั นครราชสีมา เพ่ือใหก้ ารดาเนนิ การเปน็ ไปตามระเบยี บคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
คนพิการแห่งชาติ ว่าด้วย หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงอื่ นไขการยื่นคาขอมีบัตรประจาตัวคนพิการ การออกบัตรและ
การกาหนดเจ้าหน้าท่ีผู้มีอานาจออกบัตรประจาตัวคนพิการ การกาหนดสิทธิหรือการเปล่ียนแปลงสิทธิ และการ
ขอสละสทิ ธขิ องคนพิการ และอายบุ ตั รประจาตัวคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นไปอย่างถูกต้องและมีความคล่องตัวใน
การปฏิบัติงาน และสอดคล้องกับระเบียบดังกล่าว ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมาจึงแต่งตั้งเจ้าหน้าที่รับคาขอ
และเจ้าหน้าทผี่ ู้มอี านาจออกบตั รประจาตัวคนพิการในจังหวดั นครราชสีมา ดังนี้
๑. เจ้าหน้าท่ีรบั คาขอ ไดแ้ ก่ ข้าราชการในสังกดั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของ
มนุษย์ในจังหวัดนครราชสีมา ตั้งแต่ระดับปฏิบัติการข้ึนไป พนักงานราชการ พนักงานกองทุนส่งเสริมและพัฒนา
คุณภาพชีวิตคนพิการจังหวดั นครราชสมี า
๒. เจ้าหน้าที่ผมู้ อี านาจในการออกบัตรประจาตวั คนพิการนอกจากนายทะเบยี นจงั หวัด ได้แก่
ผอู้ านวยการสานักงานสง่ เสรมิ และสนับสนุนวิชาการ ๕ และผอู้ านวยการศูนย์บริการคนพิการจงั หวดั นครราชสมี า
โดยระหว่างรอเครื่องออกบัตรประจาตัวคนพิการจากกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ สานักงาน
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครราชสีมา ได้มอบเครื่องออกบัตรดังกล่าว จานวน ๑ ชุด เพ่ือให้
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๕ ใช้ดาเนินการออกบัตรประจาตัวคนพิการ และเมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๑๐
สิงหาคม ๒๕๖๐ กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ แจ้งเข้าดาเนินการติดตั้งเคร่ืองคอมพิวเตอร์และ
อุปกรณ์เครื่องออกบัตรประจาตัวคนพิการ พร้อมท้ังสอนวิธีการเข้าระบบการใช้งานโปรแกรมการออกบัตร
ประจาตัวคนพิการ และสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๕ ได้ดาเนินการออกบัตรประจาตัวคนพิการ
รวมท้ังการให้คาปรกึ ษาและรับคาร้องขอกูย้ มื เงนิ กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนพิการจนถงึ ปัจจุบัน
จากการดาเนินงานออกบตั รประจาตัวคนพกิ ารให้กับผมู้ ารบั บรกิ ารของศูนย์การให้บริการออก
บตั รประจาตัวคนพกิ าร (ตัง้ แต่เดอื นกนั ยายน ๒๕๖๐ – เดอื นเมษายน ๒๕๖๓) มผี มู้ ารบั บริการทงั้ สิน้ ๒,575 ราย
จาแนกรายอาเภอ ดงั นี้
- อาเภอพิมาย จานวน 1,342 ราย
- อาเภอห้วยแถลง จานวน 522 ราย
- อาเภอชุมพวง จานวน 385 ราย
- อาเภอจักราช จานวน 95 ราย
การขอมีบัตรประจาตวั คนพิการ 2
- อาเภอลาทะเมนชยั จานวน 78 ราย
- อาเภอโนนสูง จานวน 49 ราย
- อาเภอประทาย จานวน 38 ราย
- อาเภอเมืองยาง จานวน 36 ราย
- อาเภอโนนแดง จานวน 17 ราย
- อาเภอคง จานวน 7 ราย
- อาเภอเมือง จานวน 2 ราย
- อาเภอเฉลิมพระเกยี รติ จานวน 1 ราย
- อาเภอปักธงชัย จานวน 1 ราย
- นอกเขตจงั หวดั นครราชสีมา จานวน 2 ราย
บทบาทภารกิจสานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ ๕
ปัจจุบันสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๕ ได้เปลี่ยนชื่อสานักงานส่งเสริมและสนับสนุน
วิชาการ ๕ เปน็ สานกั งานสง่ เสริมและสนับสนนุ วิชาการ ๔ ตามคาสัง่ สานักงานปลัดกระทรวงการพฒั นาสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย์ ที่ ๑๖๕/๒๕๖๓ เร่ือง เปลี่ยนชื่อสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๑ – ๑๒
เป็น สานกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ ๑ – ๑๑ โดยสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๔ มีภารกิจใน
เรอื่ งการจัดทาบตั รประจาตวั คนพกิ ารเพยี งแหง่ เดียวจากสานกั งานสง่ เสริมและสนบั สนุนวิชาการ ท้ัง ๑๑ แห่ง โดย
ให้บริการในการจัดทาบัตรประจาตวั คนพกิ ารให้กบั คนพิการในเขตพืน้ ท่ีอาเภอพิมายและอาเภอพื้นท่ีใกล้เคียง โดย
มีวัตถุประสงค์เพ่ืออานวยความสะดวกให้กับคนพิการที่ต้องการมีบัตรประจาตัวคนพิการในการขอรับสิทธิ
สวัสดิการจากรัฐ (เบี้ยยังชีพคนพิการ) ไม่ต้องเดินทางไปยังสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งมีระยะทางกว่า ๗๐ กิโลเมตร ซึ่งเป็นการลดระยะเวลาและประหยัดค่าใช้จ่ายในการ
เดนิ ทางไปทาบัตรดังกล่าว จากการดาเนินงานพบวา่ คนพกิ ารในเขตพน้ื ท่ีอาเภอพิมายและอาเภอพ้ืนที่ใกล้เคียงมา
รับบริการเป็นจานวนมาก ทั้งน้ี สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๔ ยังได้มีการประชาสัมพันธ์การจัดทา
บัตรประจาตัวคนพิการใหก้ ับประชาชนโดยการเข้าร่วมประชมุ หัวหน้าส่วนราชการ กานันผู้ใหญ่บ้าน และกิจกรรม
ออกหน่วยเคลอ่ื นท่ีบรกิ ารทางวิชาการของอาเภอพมิ าย และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับการขอมีบัตรประจาตัว
คนพิการทางเวบ็ ไซตข์ องหนว่ ยงาน http://tpso-4.m-society.go.th จากการจัดทาบัตรประจาตัวคนพิการได้มี
การจัดเก็บข้อมูลความพึงพอใจการรับบริการตามแบบประเมินความพึงพอใจ ซึ่งสรุปผลตั้งแต่เดือนกันยายน
๒๕๖๐ – เดอื นเมษายน ๒๕๖๓ ผ้มู ารับบริการมีความพงึ พอใจอยู่ในระดับดีมาก นอกจากการให้บริการจัดทาบัตร
ประจาตัวคนพิการแล้วยังมีการให้บริการในการรับคาขอกู้ยืมเงินจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคน
พิการ พร้อมทงั้ ใหค้ าแนะนาเก่ยี วกบั การเตรยี มเอกสารหลักฐาน/ระเบียบการขอกู้/และตรวจสอบเอกสารเบ้ืองต้น
ในการย่ืนคาขอกู้ยืมเงินดังกล่าว เพื่อนาส่งสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครราชสีมา
ต่อไป
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบตั รประจาตัวคนพิการ 3
บทท่ี ๒
สิทธิและสวัสดิการของคนพิการที่พึงจะได้รับ
ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม
(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ และประกอบกับได้มีอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการซ่ึงประเทศไทยเข้าเป็นภาคี เมื่อวันท่ี
๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๑ กาหนดสาระสาคญั แหง่ สิทธิของคนพกิ าร เพื่อให้สามารถพึ่งตนเองและได้รับการยอมรับให้
เป็นส่วนหนึ่งของชุมชน มีส่วนร่วมในชุมชนมีโอกาสเลือกสถานท่ีอยู่อาศัยโดยเสมอภาคกับผู้อื่น สามารถเข้าถึง
บริการระดบั ตา่ งๆ ในชุมชน รวมถึงความช่วยเหลือในส่ิงทจ่ี าเป็นตอ่ การดารงชวี ติ การปอู งกันการถูกทอดท้ิงและให้
คนพิการมีสภาพความเป็นอยู่ท่ีดีและมีระบบ การคุ้มครองทางสังคมปราศจากการเลือกปฏิบัติ รวมทั้งการให้คน
พิการและครอบครัวที่มีฐานะยากจนได้เข้าถึงความช่วยเหลือจากภาครัฐในเร่ืองค่าใช้จ่ายท่ีจาเป็น การฝึกอบรม
การให้คาแนะนา การช่วยเหลือการเงินและการดูแลเพื่อบรรเทาปัญหาได้ ซึ่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนา
คุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.๒๕๕๐ ได้ตราข้ึนโดยมีเจตนารมณ์ในการกาหนดแนวทางและปรับปรุงวิธีการในการ
ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการให้มีความเหมาะสมย่ิงข้ึนและกาหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์
และความคุ้มครองคนพิการ เพ่ือมิให้มีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมเพราะเหตุทางร่างกายหรือสุขภาพ รวมทั้ง
ให้คนพิการมีสทิ ธิได้รับส่งิ อานวยความสะดวก อันเป็นสาธารณะและความช่วยเหลือจากรัฐ ตลอดจนกาหนดให้รัฐ
ตอ้ งสงเคราะหค์ นพกิ ารให้มีคุณภาพชีวติ ทด่ี แี ละพึ่งตนเองได้
นยิ ามของคนพิการ
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๖ กาหนดให้“คนพกิ าร”หมายถึง บุคคลซ่ึงมีข้อจากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรือเข้าไป
มีส่วนร่วมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์
พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความบกพร่องอ่ืนใด ประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่างๆและมีความจาเป็น
เป็นพิเศษทจี่ ะตอ้ งได้รบั ความช่วยเหลอื ดา้ นหน่ึงด้านใด เพอ่ื ให้สามารถปฏบิ ตั กิ จิ กรรมในชีวติ ประจาวัน หรือเข้าไป
มสี ่วนรว่ มทางสังคมได้อยา่ งเท่าเทียมกับบคุ คลทัว่ ไป
ประเภทของความพกิ าร
กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์ ไดแ้ บ่งประเภทของความพิการออกเปน็ ๗ ประเภท
ตามประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยเ์ ร่ืองประเภทและหลกั เกณฑ์ความพิการ ได้แก่
๑. ความพิการทางการเห็น ได้แก่
๑) ตาบอด หมายถึง การทบ่ี คุ คลมขี ้อจากัดในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมในชีวิตประจาวันหรือการเข้าไปมีส่วน
ร่วมในกิจกรรมทางสังคม ซ่ึงเป็นผลมาจากการมีความบกพร่องในการเห็นเม่ือตรวจวัดการเห็นของสายตาข้างท่ี
ดีกว่าเม่ือใช้แว่นสายตาธรรมดาแล้ว อยู่ในระดับแย่กว่า ๓ ส่วน ๖๐ เมตร (๓/๖๐) หรือ ๒๐ส่วน ๔๐๐ ฟุต (๒๐/
๔๐๐) ลงมาจนกระท่ังมองไมเ่ หน็ แม้แต่แสงสว่าง หรอื มลี านสายตาแคบกว่า ๑๐ องศา
๒) ตาเหน็ เลือนราง หมายถงึ การทบ่ี คุ คลมขี ้อจากัดในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมในชวี ติ ประจาวันหรือการเข้า
ไปมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมทางสงั คม ซง่ึ เป็นผลมาจากการมีความบกพร่องในการเห็นเม่ือตรวจวัดการเห็นของสายตา
ข้างทีด่ กี ว่า เม่ือใช้แว่นสายตาธรรมดารแล้วอยู่ในระดับต้ังแต่ ๓ ส่วน ๖๐ เมตร (๓/๖๐) หรือ ๒๐ ส่วน ๔๐๐ ฟุต
(๒๐/๔๐๐) ไปจนถึงแย่กว่า ๖ ส่วน ๑๘ เมตร (๖/๑๘) หรือ ๒๐ ส่วน ๗๐ ฟุต (๒๐/๗๐) หรือมีลานสายตาแคบ
กวา่ ๓๐ องศา
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบตั รประจาตัวคนพิการ 4
๒. ความพิการทางการไดย้ ินหรือสื่อความหมาย ได้แก่
๑) หูหนวก หมายถึง การที่บุคคลมีข้อจากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรือการเข้าไปมี
ส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม ซ่ึงเป็นผลมาจากการมีความบกพร่องในการได้ยิน จนไม่สามารถรับข้อมูลผ่าน
ทางการได้ยิน เม่ือตรวจการได้ยินโดยใช้คล่ืนความถี่ที่ ๕๐๐ เฮิรตซ์ ๑,๐๐๐ เฮิรตซ์ และ ๒,๐๐๐ เฮิรตซ์ ในหูข้าง
ทไ่ี ดย้ นิ ดีกวา่ จะสูญเสยี การไดย้ นิ ที่ความดังของเสียง ๙๐ เดซเิ บล ข้ึนไป
๒) หตู งึ หมายถงึ การทบ่ี ุคคลมีข้อจากดั ในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมในชีวติ ประจาวันหรือการเข้าไปมีส่วนใน
กิจกรรมทางสังคม ซ่ึงเป็นผลมาจากการมีความบกพร่องในการได้ยิน เม่ือตรวจวัดการได้ยินโดยใช้คลื่นความถ่ีที่
๕๐๐ เฮิรตซ์ ๑,๐๐๐ เฮิรตซ์ และ ๒,๐๐๐ เฮิรตซ์ ในหูข้างที่ได้ยินดีกว่าจะสูญเสียการได้ยินที่ความดังของเสียง
น้อยกวา่ ๙๐ เดซเิ บล ลงมาจนถงึ ๔๐ เดซิเบล
๓) ความพิการทางการสื่อความหมาย หมายถึง การท่ีบุคคลมีข้อจากัดในการปฏิบัติกิจกรรมใน
ชีวิตประจาวันหรือการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม ซึ่งเป็นผลมาจากการมีความบกพร่องทางการสื่อ
ความหมาย เชน่ พดู ไมไ่ ด้ พูดหรือฟังแล้วผอู้ นื่ ไมเ่ ข้าใจ เป็นตน้
๓. ความพกิ ารทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย ไดแ้ ก่
๑) ความพิการทางการเคลื่อนไหว หมายถึง การที่บุคคลมีข้อจากัดในการปฏิบัติกิจกรรมใน
ชวี ิตประจาวนั หรอื การเข้าไปมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมทางสังคม ซ่ึงเป็นผลมาจากการมีความบกพร่องหรือการสูญเสีย
ความสามารถของอวัยวะในการเคลื่อนไหว ได้แก่ มือ เท้า แขน ขาอาจมาจากสาเหตุอัมพาต แขน ขา อ่อนแรง
แขน ขาขาด หรอื ภาวะเจบ็ ปวุ ยเรือ้ รงั จนมีผลกระทบตอ่ การทางานมือ เทา้ แขน ขา
๒) ความพิการทางร่างกาย หมายถงึ การท่บี ุคคลมีข้อจากัดในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรือ
การเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม ซ่ึงเป็นผลมาจากการมีความบกพร่องหรือความผิดปกติของศีรษะ
ใบหน้า ลาตัว และภาพลกั ษณภ์ ายนอกของรา่ งกายท่เี ห็นได้อยา่ งชดั เจน
๔. ความพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม ได้แก่ การท่ีบุคคลมีข้อจากัดในการปฏิบัติกิจกรรมใน
ชีวติ ประจาวันหรือการเขา้ ไปมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมทางสังคม ซงึ่ เปน็ ผลมาจากความบกพร่องหรือความผิดปกติทาง
จิตใจหรอื สมองในส่วนของการรบั รู้ อารมณ์ หรอื ความคดิ
๕. ความพิการทางสติปัญญา ได้แก่ การท่ีบุคคลมีข้อจากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรือ
การเขา้ ไปมีสว่ นร่วมในกิจกรรมทางสังคม ซงึ่ เป็นผลมาจากการมพี ัฒนาการช้ากว่าปกติ หรือมีระดับเชาว์ปัญญาต่า
กวา่ บุคคลทั่วไป โดยความผิดปกตนิ น้ั แสดงกอ่ นอายุ ๑๘ ปี
๖. ความพิการทางการเรียนรู้ ได้แก่ การท่ีบุคคลมีข้อจากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจาวันหรือ
การเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมโดยเฉพาะด้านการเรียนรู้ ซ่ึงเป็นผลมาจากความบกพร่องทางสมอง
ทาให้เกิดความบกพร่องในด้านการอ่านการเขียน การคิดคานวณ หรือกระบวนการเรียนรู้พ้ืนฐานอื่นในระดับ
ความสามารถทีต่ า่ กวา่ เกณฑม์ าตรฐานตามชว่ งอายแุ ละระดับสติปัญญา
๗. ความพิการทางออทิสติก ได้แก่ การท่ีบคุ คลมขี อ้ จากดั ในการปฏิบัตกิ ิจกรรมในชีวิตประจาวันหรือการ
เข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม ซ่ึงเป็นผลมาจากความบกพร่องทางพัฒนาการด้านสังคมภาษาและการสื่อ
ความหมาย พฤตกิ รรมและอารมณ์ โดยมสี าเหตุมาจากความผิดปกติของสมองและความผิดปกติน้ันแสดงก่อนอายุ
๒ ปีคร่ึง ทัง้ น้ี ใหร้ วมถงึ การวนิ ิจฉัยกลมุ่ ออทิสติกสเปกตรมั อ่ืนๆ
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบัตรประจาตวั คนพิการ 5
สาระสาคญั แหง่ สิทธขิ องคนพิการ
ตามมาตรา ๒๐ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.๒๕๕๐ และท่ีแก้ไข
เพิ่มเติม(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ กาหนดสิทธิคนพิการให้สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จากส่ิงอานวยความ
สะดวกอันเป็นสาธารณะตลอดจนสิทธิสวัสดิการและความช่วยเหลืออื่นจากรัฐ โดยมีรายละเอียดและสาระสาคัญ
แห่งสิทธิคนพกิ ารตามกฎหมายในเรือ่ งตา่ งๆ สรุปได้ ดงั นี้
๑. สิทธิการมีส่วนร่วมและการพัฒนาศักยภาพองค์กรให้เข้มแข็ง โดยการกาหนดรูปแบบให้คนพิการ
และองค์กรของคนพกิ ารรวมทงั้ องค์กรเพอ่ื คนพกิ ารไดเ้ ขา้ มามีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ และมีสิทธิได้รับการพัฒนาอย่าง
เข้มแข็งโดยส่งเสริมให้คนพิการและองค์กรท่ีเก่ียวข้องเข้ามาเป็นองค์ประกอบหนึ่งของคณะกรร มการ/
คณะอนุกรรมการท่จี ัดต้ังตามกฎหมาย เพ่ือให้คนพิการได้มามีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนกฎหมายการร่วมตัดสินใจ
เชิงนโยบายและวิธีปฏิบัติต่างๆตลอดจนให้คนพิการได้รับการยอมรับและมีส่วนร่วมทางสังคมอย่างเต็มท่ี การรับ
จดแจ้งองค์การคนพิการแต่ละประเภทท่ีกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ การสนับสนุนงบประมาณ
จากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแก่องค์กรคนพิการในการพัฒนาศักยภาพด้านต่างๆ แก่คน
พิการ การสนับสนุนสมาคมคนพิการทุกประเภทแห่งประเทศไทยตามมาตรา ๒๗ ในด้านค่าใช้จ่ายในการบริหาร
จดั การจากกองทนุ เพื่อใหอ้ งค์กรผู้แทนของคนพกิ ารทกุ ประเภทได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐในการเข้ามา
มีส่วนรว่ มในการบงั คับใชก้ ฎหมายได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและสามารถดาเนนิ การได้
อยา่ งเขม้ แขง็ การรับรองมาตรฐานองคก์ รทเี่ กย่ี วข้องกบั คนพิการเพื่อกาหนดคุณลักษณะคุณภาพท่ีพึงประสงค์และ
ต้องการให้เกิดข้ึนเพ่ือใช้เป็นหลักในการส่งเสริม สนับสนุน รับรอง ติดตามประเมินผลและประกันคุณภาพในการ
ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการขององค์กรด้านคนพิการหรือองค์กรอื่นท่ีให้บริการแก่คนพิการให้มีความ
เหมาะสมยงิ่ ขึ้น
2. สทิ ธิการเขา้ ถึงสวสั ดิการสังคม ตามพระราชบญั ญัติน้ี กาหนดไว้ในมาตรา ๒๐ (๕) (๗) (๙) และ
(๑๐) และมาตรา ๒๐ วรรคสาม และวรรคส่ี กาหนดให้คนพกิ ารมสี ิทธิเข้าถงึ และใช้ประโยชน์ได้จากสวัสดกิ ารและ
ความชว่ ยเหลอื อนื่ จากรัฐในเรื่องต่างๆ เพื่อใหก้ ารคุม้ ครองสิทธิคนพิการด้านสวสั ดิการสังคมเปน็ ไปอยา่ งทั่วถงึ ใน
เรอ่ื งต่างๆ ดังน้ี
2.๑ สิทธิที่จะได้รับการบริการล่ามภาษามือ โดยกาหนดให้คนพิการทางการได้ยินมีสิทธิย่ืนคา
ขอเพื่อขอรับบริการล่ามภาษามือในกรณีต่างๆ ได้แก่ การใช้บริการทางการแพทย์และการสาธารณสุข การสมัคร
งานหรือการติดต่อประสานงานด้านการประกอบอาชีพ การร้องทุกข์ การกล่าวโทษหรือเป็นพยานในช้ันพนักงาน
สอบสวนหรือพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามกฎหมายอ่ืน การเข้าร่วมประชุม สัมมนาหรือฝึกอบรม รวมท้ังเป็นผู้บรรยาย
โดยหน่วยงานภาครัฐหรอื องค์กรภาคเอกชนเปน็ ผ้จู ัดซึ่งคนพิการทางการได้ยินเข้าร่วมด้วย และบริการอ่ืนใดตามท่ี
คณะอนุกรรมการประกาศกาหนด
๒.2 สิทธิท่ีจะได้รับเงินสวัสดิการเบี้ยความพิการ เพื่อให้คนพิการได้รับความช่วยเหลือและ
เอ้ืออานวยให้คนพิการมีชีวิตและสภาพความเป็น อยู่ท่ีดี เนื่องจากคนพิการมีค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติกิจกรรมใน
ชีวิตประจาวันหรือเข้า ไปมีส่วนร่วมทางสังคมมากกว่าบุคคลท่ัวไป ตามระเบียบคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนา
คุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาตวิ ่าดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการจัดสวัสดิการเบ้ยี ความพิการ พ.ศ.๒๕๕๒ และท่แี ก้ไข
เพ่ิมเติม ฉบับท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๕๓ และระเบียบกระทรวงมหาดไทย กรุงเทพมหานคร หรือเมืองพัทยาที่เกี่ยวข้องกับ
การจ่ายเบี้ยความพิการให้แก่คนพิการท่ีมีภูมิลาเนาหรือถิ่นท่ีอยู่ในเขตพ้ืนท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยจ่าย
เบี้ยความพิการให้แก่คนพิการท่ีมีคุณสมบัติครบทุกคน สาหรับอัตราการจ่ายเงินเบี้ยความพิการตามระเบียบนี้ให้
จ่ายเปน็ รายเดอื นๆ ละ ๘๐๐ บาท โดยเร่มิ จ่ายทีอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามทะเบียนบ้านของคนพิการตั้งแต่
ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ เป็นตน้ ไป
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบตั รประจาตัวคนพิการ 6
2.๓ สิทธิที่จะได้รับการจัดให้มีผู้ช่วยคนพิการ โดยกาหนดการจัดให้มีผู้ช่วยคนพิการโดยมี
วตั ถุประสงค์เพือ่ ใหค้ วามช่วยเหลอื คนพกิ ารเฉพาะบคุ คลเพื่อให้สามารถปฏบิ ัตกิ จิ วตั รที่สาคัญในการดารงชีวิต เช่น
การปฏิบัติภารกิจในชีวิตประจาวัน หรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมของคนพิการซึ่งมีความจาเป็นมากต่อการดารง
ชีวิตประจาวันหรืออยู่ร่วมกับบุคคลทั่วไปในสังคมได้ภายในระยะเวลาหน่ึงตามความจาเป็น ซ่ึงต้องจัดให้มีการรับ
จดแจ้งเป็นผชู้ ว่ ยคนพิการหรือประสานการดาเนินงานกับสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด
โดยคนพิการท่ียื่นคาขอใหม้ ีผู้ชว่ ยคนพิการตอ้ งมบี ัตรประจาตวั คนพกิ าร มคี วามจาเป็นต้องมีผู้ช่วยคนพิการ เพ่ือให้
สามารถปฏิบัติกิจวัตรท่ีสาคัญในการดารงชีวิตได้ และไม่ได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานอื่นหรือได้รับแต่ไม่
เพียงพอ โดยหลกั การพิจารณาให้คนพิการต้องมีผู้ช่วยคนพิการจะต้องปรากฏข้อเท็จจริงว่าบุคคลน้ันมีสภาพความ
พิการมากจนไมส่ ามารถปฏิบตั กิ จิ วตั รทีส่ าคญั ในการดารงชวี ติ ไดด้ ้วยตนเอง หากไมไ่ ดป้ ฏบิ ตั ิกิจวัตรเหล่านี้จะส่งผล
กระทบอยา่ งสาคญั และเด่นชดั ต่อการดารงชวี ติ สุขภาพ อนามยั ภาวะจติ ใจ อารมณ์ พฤตกิ รรม สภาพความเป็นอยู่
และศักดศิ์ รคี วามเป็นมนุษย์และกรณีคนพกิ ารมฐี านะยากจนมากใหพ้ ิจารณาให้บรกิ ารผู้ชว่ ยคนพิการเป็นลาดับแรก
2.๔ สิทธิท่ีจะได้รับการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้แก่คนพิการ โดยการเพิ่มเติม
ปรับปรุงเปล่ียนแปลงหรือดัดแปลงส่วนหนึ่งส่วนใดหรือหลายส่วนหรือทั้งหมดของท่ีอยู่อาศัย โดยอาศัยการ
ออกแบบ การซ่อมแซมการก่อสร้าง การใช้เทคโนโลยีหรือวิธีการอื่นใดเพ่ือขจัดอุปสรรคหรือจัดให้คนพิการ
สามารถดารงชีวิตในที่อยู่อาศัยน้นั ได้โดยสะดวกและเหมาะสมกับสภาพความพิการ รวมถึงเพ่ือความปลอดภัยและ
สุขอนามัยในการให้ความช่วยเหลือให้คานึงถึงความลาบาก ความมั่นคงปลอดภัยในการปฏิบัติกิจกรรมใน
ชีวิตประจาวันและสิทธิของคนพิการจะต้องเข้าถึงและการใช้ประโยชน์จากท่ีอยู่อาศัยดังกล่าวและกรณีคนพิการมี
ฐานะยากจนมากให้พิจารณาให้บริการเป็นลาดับแรก สาหรับอัตราการปรับสภาพแวดล้อมให้เป็นไปตามความ
จาเป็นและเหมาะสมหรือตามอัตราทางราชการประกาศกาหนดและเป็นการดาเนินการกับกลุ่มเปูาหมายที่ไม่
ซ้าซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐ เว้นแต่งบประมาณจากรัฐไม่เพียงพอกับความจาเป็นของคน
พิการรายนน้ั ให้ต้ังงบประมาณสมทบได้
2.๕ สิทธิท่ีจะได้รับความช่วยเหลือเน่ืองจากเป็นคนพิการที่ไม่มีผู้ดูแล โดยมีวัตถุประสงค์
เพ่ือใหค้ นพกิ ารทีไ่ มม่ บี ดิ ามารดา บุตร สามี ภรรยา ญาติ พ่ีน้อง หรือบุคคลในครอบครัวที่รับคนพิการไว้ดูแลหรือ
อุปการะเลี้ยงดูได้รับสวัสดิการในเรื่องต่างๆ ได้แก่ การช่วยเหลือเป็นเงินหรือสิ่งของ การจัดหาครอบครัวอุปการะ
การส่งเข้าอุปการะในสถานสงเคราะห์การจัดให้มีผู้ช่วยคนพิการ การช่วยเหลือเร่ืองอื่นๆ สาหรับคนพิการที่จะ
ไดร้ ับสทิ ธิในเรอื่ งนีต้ อ้ งมีบัตรประจาตัวคนพิการ ไม่มีผู้อุปการะเลี้ยงดูหรือมีแต่ไม่สามารถเล้ียงดูได้ ไม่มีท่ีอยู่อาศัย
เปน็ หลกั แหล่งหรือท่ีอยู่อาศยั ไมม่ ่นั คงหรือไมเ่ หมาะสม ไมส่ ามารถประกอบอาชีพเลี้ยงตัวเองได้ และไม่ได้รับความ
ช่วยเหลือจากหน่วยงานอ่ืน หรือได้รับแต่ไม่เพียงพอรวมทั้งการสนับสนุนสถานสงเคราะห์เอกชนที่รับอุปการะคน
พิการทไี่ ม่มผี ู้ดแู ลได้รบั เงนิ อุดหนนุ จากรฐั ด้วย
2.๖ สทิ ธผิ ู้ดูแลคนพกิ าร คาวา่ “ผู้ดแู ลคนพิการ” ตามกฎหมายหมายถงึ บิดา มารดา บุตร สามี
ภรรยา ญาติ พ่ีนอ้ ง หรือบุคคลอนื่ ใดทรี่ บั ดูแลหรืออุปการะคนพกิ าร โดยผ้ดู ูแลคนพิการมีสทิ ธิได้รับความช่วยเหลือ
ในเรื่องต่างๆได้แก่ การบริการให้คาปรึกษา แนะนาฝึกอบรมทักษะการเลี้ยงดูคนพิการให้ได้มาตรฐานตามหลัก
วิชาการและวิชาชพี การจดั การศกึ ษา โดยส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
การสง่ เสริมการประกอบอาชีพอสิ ระ การทางานในสถานประกอบการ การฝึกอาชีพ การสนับสนุนเงินทุนประกอบ
อาชีพ การมีงานทา การให้สัมปทานหรือสถานที่จาหน่ายสินค้า การจัดจ้างแบบเหมางานและการให้ความ
ชว่ ยเหลอื อ่นื ๆ เพอ่ื ประโยชน์ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ รวมทั้งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม
ประมวลรัษฎาภร (ฉบบั ที่ ๓๗) พ.ศ.๒๕๕๒ บัญญตั วิ า่ ให้เพม่ิ เตมิ ความตอ่ ไปน้ีเปน็ (ฎ) ของ (๑) ในมาตรา ๔๗ แหง่
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบัตรประจาตวั คนพิการ 7
ประมวลรษั ฎาภร (ฎ) คา่ อุปการะเล้ียงดูบิดามารดาสามีหรือภริยา บุตร ชอบด้วยกฎหมายหรือบุตรบุญธรรมของ
ผู้มีเงินได ้ บิดามารดาหรือบุตรชอบด้วยกฎหมายของสามีหรือภริยาของผู้มีเงินได้หรือบุคคลอ่ืนที่ผู้มีเงินได้เป็น
ผดู้ ูแลตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการคนละหกหม่ืนบาทโดยบุคคลท่ีอยู่ในความ
อุปการะเลี้ยงดูต้องเป็นคนพิการซ่ึงมีบัตรประจาตัวคนพิการตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ
ชวี ติ คนพกิ ารหรอื เป็นคนทุพพลภาพ มีรายได้ไม่เพียงพอต่อการยังชีพและอยู่ในความอุปการะเล้ียงดูของผู้มีเงินได้
ท้งั นี้ ตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงอื่ นไข รวมทง้ั จานวนคนพกิ ารและคนทุพพลภาพในความอุปการะเลี้ยงดูของผู้มี
เงินได้ท่ีอธิบดีประกาศกาหนดวรรคสองบัญญัติว่าการหักลดหย่อยบุตรบุญธรรม ให้หักได้ในฐานะบุตรบุญธรรม
เพียงฐานะเดียวโดยให้หักลดหย่อนสาหรับเงินได้พึงประเมินประจาปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ท่ีจะต้องยื่นแบบรายการในปี
พ.ศ. ๒๕๖๐ เปน็ ต้นไป
2.7 สิทธิการเข้าถึงสิ่งอานวยความสะดวก เทคโนโลยีและการส่ือสารของคนพิการ ตาม
มาตรา ๒๐ กาหนดใหค้ นพกิ ารไดเ้ ขา้ ถงึ และใช้ประโยชน์ได้จากส่ิงอานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะและความ
ช่วยเหลืออน่ื จากรฐั ในเรื่องการชว่ ยเหลือใหเ้ ขา้ ถึงนโยบาย แผนงาน โครงการ กิจกรรม การพัฒนาและบริการอัน
เป็นสาธารณะ ผลิตภณั ฑ์ท่มี คี วามจาเปน็ ตอ่ การดารงชีวติ การเข้าถงึ ข้อมูลขา่ วสาร การส่อื สารบริการโทรคมนาคม
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และเทคโนโลยีสิ่งอานวยความสะดวกเพ่ือการสื่อสารสาหรับคนพิการทุก
ประเภท ตลอดจนบริการสื่อสาธารณะจากหน่วยงานของรัฐหรือเอกชนท่ีได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐ ตาม
หลักเกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไขที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกาหนดใน
กฎกระทรวง การมีสิทธิที่จะนาสัตว์นาทาง เครื่องมือหรืออุปกรณ์นาทาง หรือเครื่องช่วยความพิการใดๆ ติดตัวไป
ในยานพาหนะหรอื สถานท่ใี ดๆ เพ่อื ประโยชน์ในการเดินทางและการไดร้ ับส่ิงอานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ
โดยได้รบั การยกเว้นค่าบรกิ าร คา่ ธรรมเนยี มและค่าเช่าเพิ่มเตมิ สาหรบั สตั ว์ เครอ่ื งมอื อุปกรณห์ รอื เครื่องช่วยความ
พกิ ารดังกล่าว การกาหนดให้เจ้าของอาคาร สถานท่ี ยานพาหนะ บริการขนส่งหรือผู้ให้บริการสาธารณะอื่น ซ่ึงได้
จัดอุปกรณ์ ส่ิงอานวยความสะดวกหรือบริการตามข้างต้น มีสิทธิได้รับการลดหย่อนภาษีหรือยกเว้นภาษีเป็นร้อย
ละของจานวนเงนิ ค่าใช้จ่ายตามทก่ี ฎหมายกาหนดใหร้ ัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของ
มนุษย์รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยออกกฎกระทรวง เพ่ือกาหนด
ลักษณะหรือการจัดให้มีอุปกรณ์สิ่งอานวยความสะดวก หรือบริการในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ บริการขนส่ง
หรือบริการสาธารณะอ่ืนให้คนพิการสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ ซ่ึงในกรณีสิ่งอานวยความสะดวกภายใน
อาคารให้เป็นไปตามกฎกระทรวง พ.ศ. ๒๕๔๘ รวมทั้งคณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๒
เห็นชอบให้หน่วยราชการจัดทาส่ิงอานวยความสะดวกให้คนเข้าถึงได้ โดยให้โรงพยาบาลจัดทาสิ่งอานวยความ
สะดวกให้ครบถ้วนสมบูรณ์ ตามกฎกระทรวง พ.ศ. ๒๕๔๘ ซ่ึงออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ.๒๕๒๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ให้หน่วยราชการประกอบไปด้วย ศาลากลางจังหวัด ท่ีว่าการอาเภอ/สานักงาน
เขต ที่ทาการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันการศึกษา และสถานีตารวจท่ัวประเทศ จัดทาส่ิงอานวยความ
สะดวกข้ันพ้ืนฐาน ได้แก่ ทางลาด ห้องน้า ท่ีจอดรถ ปูาย และสัญลักษณ์ และบริการข้อมูลให้สาเร็จภายใน
ปี พ.ศ. ๒๕๕๔
3. สิทธิที่จะได้รับบริการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยกระบวนการทางการแพทย์ ตามมาตรา ๒๐ (๑)
กาหนดให้คนพิการมีสิทธิ เข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จากส่ิงอานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ ตลอดจน
สวสั ดิการและความช่วยเหลืออื่นจากรัฐในเรื่องการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยกระบวนการทางการแพทย์และค่า
ใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล คา่ อุปกรณเ์ ครือ่ งช่วยความพกิ ารและส่อื ส่งเสริมพัฒนาการ เพ่ือปรบั สภาพทาง
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบตั รประจาตัวคนพิการ 8
ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม พฤติกรรม สติปัญญาการเรียนรู้ หรือเสริมสร้างสมรรถภาพให้ดีขึ้น ซ่ึงกระทรวง
สาธารณสขุ ได้ออกประกาศ เรือ่ ง การบริการฟนื้ ฟสู มรรถภาพ โดยกระบวนการทางการแพทย์และค่าใช้จ่ายในการ
รักษาพยาบาล ค่าอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการและสื่อส่งเสริมพัฒนาการสาหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๒ เพ่ือ
กาหนดสิทธิและแนวทางการให้บริการเพ่ือให้เป็นไปตามกฎหมายดังกล่าวโดยมีศูนย์สิรินธรเพื่อกา รฟ้ืนฟู
สมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ เป็นหน่วยประสานงานและสนับสนุนงานด้านวิชาการเทคนิควิธีการด้านการ
ฟ้ืนฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ การวิจัยพัฒนานวัตกรรม รวมท้ังจัดหาอุปกรณ์เครื่องช่วยเหลือความพิการท่ีมี
มลู คา่ สูง เฉพาะกรณีทีก่ ฎหมายและระเบียบของหน่วยงานของรฐั มิได้กาหนดไว้
3.1สิทธิทางการศึกษา ตามมาตรา ๒๐ (๒) กาหนดให้คนพิการมีสิทธเิ ขา้ ถงึ และใช้ประโยชนไ์ ด้
จากสิ่งอานวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ ตลอดจนสวัสดิการและความช่วยเหลืออ่ืนจากรัฐในเร่ืองการศึกษา
ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาตหิ รอื แผนการศึกษาแห่งชาตติ ามความเหมาะสมในสถานศึกษาเฉพาะหรือใน
สถานศึกษาท่วั ไปหรือการศึกษาทางเลอื กหรอื การศึกษานอกระบบ โดยให้หน่วยงานท่ีรบั ผิดชอบเก่ียวกับสิ่งอานวย
ความสะดวก สื่อบริการและความชว่ ยเหลืออ่ืนใดทางการศึกษาสาหรับคนพิการ ให้การสนับสนุนตามความจาเป็น
และเหมาะสมอย่างท่ัวถึง ซ่ึงกระทรวงศึกษาธิการจะเป็นเจ้าภาพหลักในการประสานการขับเคลื่อนงานดังกล่าว
โดยมีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ.
๒๕๕๑ และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นเคร่ืองมือในการปฏิบัติงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
โดยเฉพาะมาตรา ๘ ได้กาหนดว่า สถานศึกษาใดปฏิเสธไม่รับคนพิการเข้าศึกษาให้ถือเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่
เป็นธรรมตามกฎหมาย ทาให้กฎหมายนี้เกิดความเชื่อมโยงกับพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคน
พกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๐ ด้วย
3.2 สิทธทิ ี่จะได้รับการสง่ เสรมิ อาชพี และการกาหนดสัดส่วนการจ้างงาน ตามมาตรา ๒๐ (๓)
กาหนดให้การค้มุ ครองแรงงานมาตรการเพื่อการมีงานทา ตลอดจนได้รับการส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระและ
บริการสื่อสิ่งอานวยความสะดวกเทคโนโลยีหรือความช่วยเหลืออื่นใด เพ่ือการทางานและประกอบอาชีพของคน
พิการโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการจากภาระทางเศรษฐกิจท่ีต้องอยู่ในความอุปการะของผู้ดูแล
คนพิการหรือความช่วยเหลือจากรัฐเป็นพลังสาคัญในการพัฒนาทางเศรษฐกิจซึ่งมาตรา ๓๓ กาหนดให้นายจ้าง
หรือเจ้าของสถานประกอบการและหน่วยงานของรัฐต้องรับคนพิการเข้าทางานตามอัตราที่กาหนดไว้ใน
กฎกระทรวง ท้ังนี้เพื่อสร้างโอกาสการมีงานทาของคนพิการลดภาระการอุปการะเลี้ยงดูจากครอบครัวและสังคม
ตามมาตรา ๓๔ กาหนดว่าให้นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการท่ีมิได้รับคนพิการเข้าทางานตามจานวนท่ี
กาหนด ให้สง่ เงนิ เข้ากองทุนสง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการตามอัตราท่ีกาหนดในกฎกระทรวง ถ้ามิได้ส่ง
สง่ ลา่ ช้า หรือสง่ เงินไม่ครบถว้ นให้เสียดอกเบยี้ ในอตั รารอ้ ยละเจ็ดครึ่งต่อปขี องจานวนเงนิ ที่ยังไม่ได้ส่งเข้ากองทุนซ่ึง
นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการซ่ึงรับคนพิการเข้าทางานหรือส่งเงินเข้ากองทุนตามวรรคหน่ึงมีสิทธิได้รับ
การยกเว้นภาษีเป็นร้อยละของจานวนเงินค่าจ้างท่ีจ่ายให้แก่คนพิการหรือเงินที่ส่งเข้ากองทุนแล้วแต่กรณี ทั้งนี้
ตามที่กฎหมายกาหนด รวมทั้งมาตรา ๓๕ กาหนดแนวทางในการให้สัมปทานจัดสถานท่ีจาหน่ายสินค้าหรือ
บรกิ ารจดั จา้ งเหมาช่วงงานฝึกงานหรือให้การช่วยเหลืออื่นใดแก่คนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการแทนการจ้างงานตาม
ระเบียบที่คณะกรรมการกาหนด นอกจากนั้น มาตรา ๓๖ ยังให้อานาจแก่อธิบดีออกคาส่ังเป็นหนังสือให้อายัด
ทรัพย์สินของนายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการซ่ึงไม่ส่งเงินท่ีจะต้องส่งแก่กองทุนด้วยและมาตรา ๓๙
ยังกาหนดให้กรมมีอานาจออกประกาศโฆษณาข้อมูลการปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติตามต่อสาธารณะอย่างน้อยปีละ
หน่ึงคร้ัง เพ่ือให้เกิดมาตรการลงโทษทางสังคม (Social sanctions) ซ่ึงในต่างประเทศจะได้ผลมากที่สุด อย่างไร
กต็ าม กฎหมายยงั ไดก้ าหนดมาตรการเชงิ บวกเพอื่ ให้สิทธปิ ระโยชนใ์ นกรณีปฏบิ ัติตามกฎหมาย เช่น นายจา้ งหรอื
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบัตรประจาตัวคนพิการ 9
เจ้าของสถานประกอบการทีจ่ ้างคนพกิ ารเข้าทางานมากกว่าร้อยละหกสิบของลูกจ้างในสถานประกอบการน้ัน โดย
มีระยะเวลาจ้างเกินกว่าหนึ่งร้อยแปดสิบวันในปีภาษีใดมีสิทธิได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ในปีนั้น ทั้งน้ีตามท่ีกฎหมาย
กาหนด การรบั คนพิการเข้าทางานหรือสง่ เงนิ เขา้ กองทุนมสี ิทธิได้รบั ยกเว้นภาษีเป็นร้อยละของจานวนค่าจ้างท่ีจ่าย
ใหแ้ ก่คนพกิ ารหรือเงินท่สี ง่ เข้ากองทนุ แล้วแต่กรณี ทัง้ น้ี ตามท่ีกฎหมายกาหนดและในกรณีที่รัฐหรือหน่วยงานของ
รัฐจะพิจารณาให้สัมปทาน การส่งเสริมการลงทุนการประกาศเกียรติคุณ สินเช่ือ รางวัล เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์
หรือสิทธิประโยชน์อ่ืนใดแก่นายจ้างหรือสถานประกอบการใดซึ่งเป็นการปฏิบัติตามกฎหมายมาประกอบการ
พจิ ารณาด้วย
3.3 สิทธิทจี่ ะได้รับการขจดั การเลือกปฏบิ ัติโดยไม่เป็นธรรมต่อคนพกิ าร ตามมาตรา ๖ กาหนด
ให้คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติโดยมีนายกรัฐมนตรีเป็นประธานกรรมการ
มอี านาจกาหนดวินิจฉัยและมคี าสงั่ เพกิ ถอนการกระทาหรอื ห้ามมใิ หก้ ระทาการท่มี ีลกั ษณะเป็นการเลือกปฏิบัติโดย
ไมเ่ ปน็ ธรรมต่อคนพิการ โดยคาส่งั ของคณะกรรมการถือเป็นทส่ี ุด ตอ่ มาคณะกรรมการได้มีระเบียบคณะกรรมการ
ส่งเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการร้องขอและการวินิจฉัยเกี่ยวกับการ
กระทาในลักษณะท่ีเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๒ โดยกาหนดให้มี
คณะอนุกรรมการขจัดการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อคนพิการเพื่อทาหน้าที่เสนอแนะนโยบาย แนวทางและ
มาตรการเก่ียวกับการขจัดการเลือกปฏิบัติ เสริมสร้างความตระหนักรู้ถึงสิทธิต่างๆ ท่ีคนพิการพึงได้รับอย่างเท่า
เทยี มกบั บคุ คลทวั่ ไปตามกฎหมายไกล่เกลี่ยกรณีพิพาทก่อนมีการวินิจฉัยการร้องขอ รวบรวมข้อเท็จจริงและจัดทา
การวินิจฉัยในกรณีพิพาทเก่ียวกับการที่หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐ องค์กรเอกชนหรือบุคคลใดกระทา
การซ่ึงมีลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติแล้วเสนอการวินิจฉัยนั้นต่อคณะกรรมการเพื่อวินิจฉัยและมีคาสั่งช้ีขาดใน
กรณีพิพาทน้ัน และระเบียบยังได้กาหนดวิธีการร้องขอโดยให้คนพิการท่ีได้รับความเสียหายหรือจะได้รับความ
เสียหายจากการกระทาท่ีมีลักษณะการเลือกปฏิบัติหรือผู้ดูแลคนพิการในกรณีคนพิการเป็น ผู้เยาว์ เสมือนไร้
ความสามารถหรือคนไร้ความสามารถหรือในกรณีท่ีคนพิการมีสภาพความพิการถึงขั้นไม่สามารถไปร้องขอด้วย
ตนเองได้ หรอื องคก์ รด้านคนพิการหรือบคุ คลทีไ่ ด้รบั มอบอานาจจากคนพิการหรือผูด้ ูแลคนพิการให้ดาเนินการร้อง
ขอแทน โดยร้องขอเป็นหนังสือหรือส่งทางไปรษณีย์หรือด้วยวาจาหรือด้วยวิธีการอ่ืนใดเพื่อให้คณะกรรมการ
ดาเนนิ การวินิจฉัยและมีคาส่งั สาหรับสถานทยี่ ื่นคาขอ โดยในกรงุ เทพมหานครใหร้ ้องขอต่อกรมส่งเสริมและพัฒนา
คุณภาพชีวิตคนพิการ หรือหน่วยงานอ่ืนตามที่อธิบดีประกาศกาหนดส่วนจังหวัดอ่ืนให้ร้องขอต่อสานักงานพัฒนา
สังคมและความม่นั คงของมนุษย์จงั หวัดหรอื หน่วยงานอื่นตามท่ีผวู้ า่ ราชการจังหวัดประกาศกาหนด
3.4 สทิ ธทิ จ่ี ะได้การชว่ ยเหลือทางกฎหมาย โดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่อื ประโยชนใ์ นการเข้าถงึ และ
ใช้ประโยชน์จากสิทธิตามกฎหมาย ทั้งคดีแพ่ง คดีอาญา คดีปกครอง คดีแรงงาน และคดีทรัพย์สินทางปัญญา
ซึ่งคนพิการจะได้รับความช่วยเหลือในด้านการให้คาปรึกษาหารือทางกฎหมาย การให้ความรู้ทางกฎหมาย
การจัดทานิติกรรมสัญญา การไกล่เกล่ียหรือการประนีประนอมยอมความ การจัดหาทนายความ การให้ความ
ชว่ ยเหลืออน่ื ๆ ในทางคดี
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบตั รประจาตวั คนพิการ 10
บทท่ี ๓
การจัดทาบัตรประจาตวั คนพิการเพอื่ การเขา้ ถึงสิทธิตามกฎหมาย
ตามพระราชบญั ญัติสง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ติ คนพกิ าร พ.ศ. ๒๕๕๐ และท่ีแกไ้ ขเพิ่มเตมิ
(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ กาหนดใหค้ นพิการมีสิทธไิ ด้รับส่ิงอานวยความสะดวกอันเปน็ สาธารณะตลอดจนสวัสดิการ
และความช่วยเหลืออ่ืนจากรัฐบาล เพื่อการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ ให้มีขีดความ
สามารถทพ่ี ร้อมในการปรบั ตวั อยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า และมคี วามสุข
กระบวนการจัดทาบตั รประจาตวั คนพิการ
กระบวนการจัดทาบัตรประจาตวั คนพกิ าร ประกอบด้วย 10 กระบวนการ ดงั นี้
1. คุณสมบัติและสถานที่ให้บริการออกบัตรประจาตัวคนพิการ กาหนดให้คนพิการเฉพาะที่มีสัญชาติ
ไทยเทา่ นั้นใหย้ ื่นคาขอมบี ัตรประจาตวั คนพกิ ารได้ สว่ นกรณบี ุคคลซึ่งยังมิได้แจ้งเกิด หรือเป็นเด็กถูกทอดทิ้ง ทาให้
ไม่ทราบแน่ชัดว่าเป็นบุคคลท่ีมีสัญชาติไทยหรือไม่ จึงให้ดาเนินการตามข้ันตอนของกฎหมายว่าด้วยทะเบียน
ราษฎรกอ่ น สว่ นสถานทใี่ หบ้ ริการออกบตั รประจาตวั คนพิการ คนพิการผู้อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร สามารถยื่น
คาขอมีบัตรประจาตัวคนพิการต่อศูนย์บริการคนพิการกรุงเทพมหานคร กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคน
พิการ หรือหน่วยงานภาครัฐอ่ืนตามที่อธิบดีประกาศกาหนด คนพิการอยู่ในจังหวัดอื่น สามารถยื่นคาขอมีบัตร
ประจาตัวคนพิการต่อสานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดหรือหน่วยงานภาครัฐอื่นตามท่ีผู้ว่า
ราชการจงั หวดั ประกาศกาหนด
๒. การยื่นคาขอแทนคนพิการ ให้ดาเนินการได้ในกรณีคนพิการเป็นผู้เยาว์ คนเสมือนไร้ความสามารถ
หรือคนไร้ความสามารถ หรือกรณีท่ีคนพิการมีสภาพความพิการถึงข้ันไม่สามารถไปย่ืนคาขอด้วยตนเองได้ โดยให้
ผู้ปกครองผู้พทิ ักษ์ ผูอ้ นุบาล หรือผดู้ แู ลคนพกิ าร แลว้ แตก่ รณี จะย่นื คาขอแทนกไ็ ด้
๓. เอกสารทเี่ กย่ี วข้องกับการยน่ื คาขอ ไดแ้ ก่
๑) สาเนาบตั รประจาตวั ประชาชน สาเนาบตั รประจาตวั ขา้ ราชการ หรอื สาเนาสูติบตั รของคนพิการ
จานวน ๑ ฉบบั
๒) สาเนาทะเบยี นบ้านของคนพิการ จานวน ๑ ฉบบั
๓) รปู ถ่ายขนาด ๑ นวิ้ ถ่ายมาแลว้ ไม่เกนิ ๖ เดือน จานวน ๒ รปู
๔) เอกสารรบั รองความพกิ าร ซึ่งรับรองโดยผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของสถานพยาบาลของ
รฐั บาล หรือสถานพยาบาลเอกชนทอี่ ธบิ ดปี ระกาศกาหนด เว้นแต่กรณีสภาพความพิการท่ีเห็นได้โดยประจักษ์ตาม
ประกาศกรม เร่ืองแบบและรายละเอียดของสภาพความพิการที่สามารถเห็นได้โดยประจักษ์ ไม่ต้องมีเอกสาร
รบั รองความพกิ าร ทั้งนใ้ี หเ้ จา้ หนา้ ทผ่ี ู้ขอรับคาขอถ่ายภาพสภาพความพกิ ารไว้เป็นหลกั ฐาน
๕) สาเนาบัตรประชาชนของผ้ดู แู ลคนพกิ าร จานวน ๑ ฉบบั
๖) สาเนาทะเบียนบา้ นของผดู้ ูแลคนพกิ าร จานวน ๑ ฉบบั
(กรณีขอมีบัตรใหม่ ผู้ดูแลคนพิการอยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันหรือไม่อยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกับคนพิการให้แนบ
เอกสารเพิ่มดังน้ี
๗) หนงั รบั รองการเปน็ ผู้ดูแลคนพิการ จานวน ๑ ฉบับ
๘) สาเนาบัตรข้าราชการของผ้รู บั รอง (ผ้ใู หญบ่ า้ น, กานัน, ส.อบต.) จานวน ๑ ฉบับ
(กรณีเปล่ยี นผู้ดแู ลคนพกิ ารให้แนบเอกสารเพิ่มเติมดงั นี)้
๙) บนั ทกึ ขอ้ ความขอเปลี่ยนแปลงผ้ดู ูแลคนพิการ
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบัตรประจาตัวคนพิการ 11
๑๐) สาเนาบตั รประชาชนผดู้ ูแลคนพิการคนใหม่ จานวน ๑ ฉบบั
๑๑) สาเนาทะเบยี นบา้ นผูด้ แู ลคนพิการคนใหม่ จานวน ๑ ฉบบั
๑๒) สาเนาบัตรประชาชนผู้ดูแลคนพิการคนเกา่ จานวน ๑ ฉบับ
๑๓) สาเนาทะเบยี นบา้ นผดู้ แู ลคนพิการคนเกา่ จานวน ๑ ฉบับ
(กรณบี ัตรประจาตัวคนพิการหายต้องหนังสือแจ้งความและเอกสารหลักฐานใหมท่ ้งั หมด)
๑๔) กรณีบุคคลอ่ืนย่ืนคาขอแทนคนพิการให้นาสาเนาบัตรประจาตัวประชาชนหรือสาเนาทะเบียน
บ้านของบุคคลน้ัน และหลักฐานอื่นที่แสดงให้เห็นว่าได้รับมอบอานาจจากคนพิการ (หนังสือมอบอานาจ)หรือมี
ส่วนเกยี่ วข้องกบั คนพกิ ารเน่อื งจากเป็น ผปู้ กครอง ผู้พิทักษ์ ผอู้ นบุ าล หรือผดู้ ูแลคนพกิ ารแล้วแตก่ รณี
๔. การใช้ดุลยพินิจในการออกบัตรประจาตัวคนพิการ โดยเจ้าหน้าท่ีรับผิดชอบในหน่วยท่ีรับคาขอ
ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร และสอบข้อเท็จจริงตามแบบที่อธิบดีกาหนด แล้วเห็นว่าเป็นคนพิการตาม
ความหมายในมาตรา ๔ และให้ระบุรายละเอียดเกี่ยวกับประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการได้แล้ว จึงเสนอ
ความเหน็ ตอ่ นายทะเบียนเพือ่ ออกบัตร ประจาตัวคนพิการแก่ผู้ยื่นคาขอ ท้ังน้ี กฎหมายได้ยกเลิกระดับความพิการ
ที่สามารถจัดทาบัตรประจาตัวคนพิการได้ โดยใช้การพิจารณาจากความผิดปกติหรือความบกพร่อง ซึ่งส่งผลให้
บุคคลมีความยากลาบาก หรอื มีข้อจากัดในการใชช้ ีวิตประจาวัน หรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม หากนายทะเบียน
มีคาสั่งไม่ออกบัตรประจาตัวคนพิการให้แก่ผู้ใดน้ัน ต้องแจ้งคาส่ังพร้อมเหตุผลเป็นหนังสือ แก่ผู้ยื่นคาขอภายใน
๓๐ วัน นบั แตว่ นั ท่ีได้รบั คาสง่ั ไมใ่ หม้ ีบตั รประจาตัวคนพิการดงั กลา่ ว
๕. สิทธิการอุทธรณ์ ในกรณีคนพิการที่ไม่ได้รับความเห็นชอบให้มีบัตรประจาตัวคนพิการ หรือไม่ได้รับ
ความเหน็ ชอบใหม้ บี ตั รประจาตัวคนพกิ ารใหม่ อาจยื่นอุทธรณ์เป็นหนังสือต่อนายทะเบียนกลาง หรือนายทะเบียน
จังหวดั ซ่งึ เปน็ สถานท่ีย่ืนคามีบัตรประจาตวั คนพกิ ารนัน้ ภายใน ๓๐ วันนับแต่วันท่ีได้รับคาส่ังไม่ให้มีบัตรดังกล่าว
โดยให้นายทะเบียนพิจารณาคาอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับคาอุทธรณ์ดังกล่าว แล้วให้
แจ้งผลการพิจารณาอุทธรณ์พร้อมเหตุผลเป็นหนังสือต่อผู้อุทธรณ์ทราบต่อไป คาวินิจฉัยของนายทะเบียนให้เป็น
ทส่ี ุด
๖. อายุบัตรประจาตัวคนพิการ ให้บัตรประจาตัวคนพิการมีอายุ ๘ ปีนับแต่วันที่ออกบัตร และความใน
มาตรา ๔๑ กาหนดให้ถือว่าบัตรประจาตัวคนพิการที่ออกตามพระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ.
๒๕๓๔ เปน็ บัตรประจาตัวคนพิการตามระเบียบนี้จึงใช้ได้จนหมดอายุแล้วจึงยื่นคาขอบัตรประจาตัวคนพิการฉบับ
ใหมต่ ่อไป
๗. การออกบัตรประจาตวั คนพิการฉบับใหม่แทนบตั รเดมิ ในกรณบี ัตรประจาตัวคนพกิ ารหมดอายุ
ชารุดสูญหาย หรือมีการเปล่ียนแปลงในสาระสาคัญเกี่ยวกับคนพิการ ให้คนพิการ หรือบุคคลที่ทาการแทนยื่นคา
ขอต่อนายทะเบียนเพื่อขอมีบัตรประจาตัวคนพิการใหม่ได้ โดยกรณีบัตรประจาตัวคนพิการหมดอายุให้คนพิการ
หรือบุคคลทีม่ ีอานาจยื่นคาขอแทนยนื่ คาขอมบี ตั รประจาตัวคนพิการต่อเจ้าหน้าท่ีเพ่ือออกบัตรใหม่ภายใน ๓๐ วัน
กอ่ นบตั รประจาตัวคนพิการเดมิ หมดอายุ
๘. การยกเลกิ บัตรประจาตัวคนพิการ ในกรณีคนพิการทมี่ ีบตั รประจาตัวคนพิการถึงแก่ความตาย
หรือไดร้ ับการแก้ไขฟน้ื ฟจู นไม่มสี ภาพความพกิ าร หรือมคี วามประสงค์จะยกเลิกการมีบตั รประจาตวั คนพิการ ใหผ้ ู้
มีบตั รประจาตัวคนพกิ าร หรอื บุคคลทีท่ าการแทนแจ้งต่อนายทะเบยี นเพือ่ จาหนา่ ยออกจากทะเบียนบตั รประจาตวั
คนพิการต่อไป
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบตั รประจาตัวคนพิการ 12
๙. การกาหนดสทิ ธิหรือการเปลีย่ นแปลงสิทธิของคนพิการ ท่มี บี ตั รประจาตัวคนพิการ เน่อื งจากการมี
บัตรประจาตัวคนพิการจะทาให้คนพิการสามารถยื่นคาขอใช้สิทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จากส่ิงอานวยความ
สะดวกอันเป็นสาธารณะ ตลอดจนสวัสดิการและความช่วยเหลืออื่นจากรัฐตามมาตรา ๒๐ หรือตามกฎหมายอ่ืน
กาหนด โดยให้คนพิการหรือบุคคลท่ีทาการแทนอาจย่ืนคาขอให้มีการกาหนดสิทธิหรือเปลี่ยนแปลงสิทธิต่อ
หน่วยงานของรฐั ซึง่ มอี านาจหน้าที่ตามมาตรา ๒๐ หรือตามกฎหมายอื่นกาหนด หรือตามที่คณะกรรมการส่งเสริม
และพฒั นาคุณภาพชวี ิตคนพิการแห่งชาตกิ าหนด
๑๐. การสละสิทธิประโยชน์ของคนพิการตามกฎหมาย กรณคี นพิการจะขอสละสิทธิ รวมทง้ั กรณีคน
พิการท่ีมบี ตั รประจาตัวคนพิการแล้ว ถา้ คนพิการมีความประสงค์ท่จี ะสละสิทธนิ ั้น ให้คนพกิ ารย่ืนคาขอเป็นหนงั สอื
เพอ่ื ขอสละสิทธิต่อหนว่ ยงานของรฐั ซ่งึ คนพิการยนื่ คาขอน้ันได้
ข้นั ตอนการออกบัตรประจาตัวคนพกิ าร
ในการออกบตั รประจาตัวคนพิการ เจ้าหน้าที่ผู้ออกบตั รจะดาเนนิ การดงั ต่อไปนี้
๑. ขอเอกสารรับรองความพิการ ซ่ึงออกโดยผู้ประกอบวชิ าชพี เวชกรรมของโรงพยาบาลรัฐบาล หรือ
โรงพยาบาลเอกชนท่ีอธิบดีกาหนด ตามประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เรื่อง
ประเภทและหลักเกณฑค์ วามพกิ าร
๒. ผู้รบั บริการกรอกคาขอมบี ตั รประจาตวั คนพิการ พรอ้ มเอกสารประกอบคาขอ/ เจา้ หน้าที่รบั เรือ่ ง/
รับคาขอมีบัตรประจาตัวคนพิการ (ได้รับแต่งต้ังจากอธิบดี/ผู้ว่าราชการจังหวัด) เจ้าหน้าท่ีตรวจสอบเอกสาร
หลกั ฐานประกอบคาขอมีบัตรประจาตัวคนพิการ และประเมินสภาพความพกิ าร
๓. เจ้าหน้าทพ่ี จิ ารณาอนุมตั ิการออกบตั รประจาตัวคนพิการ ตามระเบยี บคณะกรรมการส่งเสรมิ และ
พัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนพกิ ารแห่งชาติ วา่ ดว้ ยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยื่นคาขอมีบัตรประจาตัวคนพิการ
การออกบัตร และการกาหนดเจ้าหน้าท่ีผู้มีอานาจออกบัตรประจาตัวคนพิการ การกาหนดสิทธิ หรือการ
เปลี่ยนแปลงสทิ ธิและการขอสละสิทธิของคนพกิ าร และอายุบตั รประจาตัวคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๖
๔. เจา้ หนา้ ที่ดาเนนิ การบนั ทกึ ขอ้ มูลเขา้ ระบบงานออกบัตรประจาตวั คนพิการ และดาเนนิ การพิมพบ์ ัตร
๕. เจา้ หนา้ ทม่ี อบบัตรประจาตัวคนพกิ าร เพอื่ ใหค้ นพิการตรวจสอบขอ้ มลู ความถกู ต้อง เมอ่ื บัตรถกู ต้อง
แล้ว เจ้าหน้าที่ให้คาแนะนาเกี่ยวกับสิทธิการยื่นขอรับเบ้ียความพิการจากองค์การบริหารส่วนตาบลท่ีคนพิการ
อาศยั อยู่
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบัตรประจาตวั คนพิการ 13
แผนผังข้นั ตอนการออกบัตรประจาตวั คนพิการ (ระยะเวลา ๒๕-๓๐ นาที)
ขน้ั ตอนที่ ๑ : ขอเอกสารรับรองความพกิ าร
(ฉบบั จากโรงพยาบาล)
ขน้ั ตอนที่ ๒ : ยนื่ เอกสารขอมีบตั ร/เจ้าหนา้ ท่ีรบั เร่ือง/ตรวจสอบเอกสารหลกั ฐานคาร้องฯ
(๕ นาที)
ขนั้ ตอนท่ี ๓ : เจา้ หน้าท่ีพิจารณาอนมุ ัติการออกบตั รประจาตัวคนพกิ าร
(๕นาที)
ข้ันตอนท่ี ๔ : เจ้าหนา้ ทด่ี าเนินการบันทกึ ขอ้ มูลเขา้ ระบบงานออกบตั รประจาตวั คนพิการ
และดาเนินการพิมพบ์ ตั ร (๑๐ นาที)
ข้นั ตอนที่ ๕ : เจา้ หนา้ ทต่ี รวจสอบความถูกต้อง/มอบบตั ร/แจ้งสทิ ธิของคนพิการฯ
(๕ นาที)
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบตั รประจาตวั คนพิการ 14
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบตั รประจาตวั คนพิการ 15
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบตั รประจาตัวคนพิการ 16
บทที่ ๔
การใช้โปรแกรมระบบงานออกบตั รประจาตัวคนพกิ าร
การใชโ้ ปรแกรมเบื้องต้น
สานกั งานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ิตคนพกิ ารแห่งชาติ (พก.) ได้พัฒนาระบบงานออกบัตรประจาตัว
คนพิการ และระบบงานสนับสนุนท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ ระบบทะเบียนคนพิการ ระบบการขอยกเลิกการมีบัตร
ประจาตัวคนพิการระบบการขอรับบริการรถเข็นและรถสามล้อโยกเพ่ือให้เป็นระบบงานที่รองรับการปฏิบัติงาน
ของเจ้าหน้าที่ ซง่ึ จะชว่ ยให้การทางานมีความสะดวก และรวดเรว็ ทาให้ฐานข้อมูลทะเบียนกลางคนพิการของ พก.
มีความสมบรู ณ์ และตอบสนองความต้องการในการใชข้ อ้ มูลของเจา้ หน้าทแี่ ละผู้บริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก
ข้นึ
๑. การเข้าสู่ระบบงาน (Log In)
1.1 ผู้ใช้สามารถเข้าสู่ระบบงานผ่าน Web Site ของ พก. (www.nep.go.th) ได้ โดยการใช้ Mouse
Click ทปี่ มุ Banner ของ “ระบบงานออกบตั รประจาตวั คนพิการ” ดังภาพ
Click ท่ปี มุ่ “ระบบงานออกบตั รประจาตวั
คนพกิ าร” เพ่ือเข้าสู่หนา้ จอ Log In
๑.๒ ระบบจะแสดงหนา้ จอ Log In ขึน้ มาให้ จากนัน้ ให้พิมพ์ “รหสั ผใู้ ช”้ และ “รหัสผา่ น” แลว้ Click
ท่ีปุม เพอ่ื เข้าสรู่ ะบบงาน ดังภาพ
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบัตรประจาตัวคนพิการ 17
พมิ พ์ “รหัสผ้ใู ช้” และ “รหสั ผา่ น”
แลว้ Click ป่มุ “เข้าระบบ”
เมอ่ื เข้าสู่ระบบงานแล้วจะพบหนา้ จอเมนูการทางาน ดังภาพ โดยเมนูที่แสดงในหน้าจอนี้จะขึ้นอยกู่ ับสทิ ธ์ิ
ในการเข้าใช้ระบบงานที่ผใู้ ชแ้ ต่ละรายได้รับ
3
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบตั รประจาตัวคนพิการ 18
2. การออกจากระบบงาน (Log Out) เพอ่ื ออกจาก
เมอื่ ผูใ้ ชต้ ้องการออกจากระบบงานให้ใช้ Mouse Click ทป่ี มุ
รหสั หนา้ จอ
ระบบงาน
3. วธิ ีการใชโ้ ปรแกรมเบ้ืองต้น
๓.๑ สว่ นประกอบของหน้าจอ 1 เมนูหลัก
ชือ่ หนา้ จอ
2 การกาหนดเงอ่ื นไขในการคน้ หา
3
เมนูยอ่ ย
เขา้ หน้าจอการ แสดงผล
การคน้ หา
ทางาน
ช่อื ผูใ้ ชง้ าน
หนา้ จอการทางานจะสามารถแบง่ ออกได้เปน็ 3 ส่วนใหญ่ ดังนี้
สว่ นท่ี 1 เมนหู ลกั แสดงเมนูหลกั ของระบบงาน
ส่วนที่ 2 เมนยู อ่ ย แสดงเมนูย่อยของระบบ ซ่ึงเปน็ เมนูทใ่ี ชส้ าหรบั เขา้ หนา้ จอการทางาน
ส่วนท่ี 3 พนื้ ที่การทางาน เปน็ ส่วนของพ้นื ทีก่ ารทางานของหน้าจอ ประกอบด้วย ชอ่ื หน้าจอ, รหัส
หน้าจอ, สว่ นของการกาหนดเง่อื นไขการค้นหา/แสดงผลการคน้ หา หรือ สว่ นของการบนั ทึก/
แกไ้ ขข้อมูล
๓.2 ช่องข้อมลู ที่มเี ครื่องหมายดอกจันสีแดง
เป็นขอ้ มลู สาคัญที่ระบบบงั คบั ให้กรอกข้อมลู (Lock) หากผูใ้ ช้กรอกขอ้ มูลไม่ครบถ้วน ระบบจะ
ไม่อนุญาตให้บนั ทึกข้อมูล (Save) หรือค้นหาขอ้ มลู ต่อได้ ดังภาพ
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบัตรประจาตัวคนพิการ 19
๓.๓ การระบุข้อมลู ตาบล อาเภอ และจงั หวดั
ใหพ้ มิ พช์ ือ่ ตาบลบางส่วน ระบบจะแสดงข้อมลู ตาบล อาเภอ จังหวดั ตามเงื่อนไขทก่ี าหนดข้นึ มา
ให้เลือก ดงั ภาพ
กรณีพิมพ์ตาบลแล้วไม่พบชื่ออาเภอท่ีต้องการ เช่น ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองหนองบัวลาภู จังหวัด
หนองบัวลาภู ใหผ้ ใู้ ช้พมิ พช์ ่อื ตาบลทต่ี อ้ งการ แล้วกดเวน้ วรรค จากนน้ั ให้พมิ พ์บางสว่ นของชอ่ื อาเภอ แล้วระบบจะ
แสดงช่ือจงั หวดั /อาเภอ/ตาบล ที่ต้องการขน้ึ มาให้ ดังตัวอย่าง
กรณีที่ต้องการค้นหาชื่อตาบลในจังหวัดที่ต้องการ เช่น ตาบลที่มีชื่อขึ้นต้นว่า “หนองบัว” ท่ีอยู่ใน
จังหวดั ชัยภูมิ ให้ผูใ้ ช้พิมพ์ชอื่ ตาบลท่ีต้องการ แล้วต่อดว้ ยเคร่อื งหมายดอกจัน * แล้วต่อด้วยช่ือจังหวัด (เช่น หนอง
บัว*ชยั ภู) ดงั ตัวอยา่ ง
๓.๔ การกรอกขอ้ มูลวันที่ แลว้ กดปุม
ให้พิมพ์วันเดือนปเี ป็นเลข 8 หลักตดิ กัน ที่อยดู่ า้ นหลงั ชอ่ งวันท่ี
Enter ระบบจะใสข่ ดี แบ่งวนั เดือนปใี หเ้ องโดยอตั โนมตั ิ ดังภาพ
เมอื่ ตอ้ งการระบุวนั ทเี่ ปน็ วันที่ปจั จุบนั ให้ Click ทรี่ ปู ปฏทิ ิน
ระบบจะใสว่ ันทีป่ จั จบุ นั ในชอ่ งข้อมลู ใหอ้ ตั โนมัติ
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบัตรประจาตวั คนพิการ 20
4. ความหมายของสัญลกั ษณ์ในระบบ (Icon)
ใชเ้ ม่อื ต้องการจัดเก็บ/บนั ทึกข้อมลู
ใช้เมื่อต้องการสบื ค้นข้อมูล โดยใหร้ ะบบแสดงขอ้ มูลตาม
เง่อื นไข
ใชเ้ มอ่ื ต้องการยกเลิกข้อมลู ท่ีกรอกในหน้าจอ โดยไม่
ต้องการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ชดุ นน้ั ไว้ หรอื การยกเลิกเง่ือนไขเดิม
เพอื่ ใหก้ าหนดเง่ือนไขในการค้นหาใหม่
ชอ่ งข้อมูลสาคัญท่ีตอ้ งกรอก
ใช้เมื่อต้องการดงึ ข้อมูลจากบัตรประจาตวั ประชาชนแบบ
Smart Card
ใชเ้ มื่อต้องการสาเนา (Copy) ขอ้ มูล
ใช้เมอ่ื ต้องการกรอกวันทเี่ ปน็ วันปจั จุบนั
ใชเ้ มอ่ื ต้องการสั่งพมิ พ์รายงาน โดยระบบจะแสดงขอ้ มูลใน
หนา้ จอให้ ก่อนท่ีจะพิมพ์รายงานออกทางเครื่องพิมพ์
ใช้เม่ือต้องการเปิดรายงานใน Microsoft Excel
ใช้เมื่อต้องการเปดิ รายงานใน Microsoft Word
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบตั รประจาตัวคนพิการ 21
ระบบงานออกบัตรประจาตวั คนพกิ าร
ระบบงานออกบตั รประจาตัวคนพกิ าร เป็นระบบงานที่ใช้รองรับการปฏิบัติงานด้านทะเบียนคนพิการของ
เจ้าหนา้ ที่ที่ปฏบิ ตั งิ าน ณ สานกั งานทะเบยี นคนพกิ ารทวั่ ประเทศ เพอ่ื ใหส้ ามารถจดั เก็บขอ้ มลู , พิมพ์บัตรประจาตัว
คนพิการ และค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวกับคนพิการ และการออกบัตรประจาตัวคนพิการผ่านทางหน้าจอและรายงาน
ตามเงื่อนไขท่ีต้องการให้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ระบบงานออกบัตรประจาตัวคนพิการ
ประกอบดว้ ยระบบงานย่อย ดงั น้ี
๑. ระบบงานคน้ หา และตรวจสอบขอ้ มลู คนพิการ
๒. ระบบงานบนั ทึก นาเขา้ และจัดเก็บข้อมลู คนพิการ
๓. ระบบจัดพิมพ์บัตร
๔. ระบบงานนายทะเบียน
๕. ระบบงานการสนบั สนุนบตั ร
๖. ระบบงานอ่านบัตร
๗. ระบบคาขอมีบตั รประจาตัวคนพิการ โดยหนว่ ยรบั คาร้อง
1. ระบบงานค้นหา และตรวจสอบข้อมูลคนพิการ
เป็นระบบงานท่ีใช้สาหรับค้นหา และตรวจสอบข้อมูลคนพิการจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางคนพิการ
เพื่อให้เจ้าหน้าท่ี สามารถตรวจสอบข้อมูลคนพิการ ประวัติคนพิการพร้อมรูปถ่าย และประวัติการรับบริการด้าน
งานทะเบยี นของคนพิการ และรายงานได้
2. ระบบงานบนั ทึก นาเขา้ และจดั เก็บข้อมลู คนพกิ าร
เป็นระบบงานที่ใช้สาหรับบันทึกข้อมูลคาขอมีบัตรและรายละเอียดประกอบคาขอมีบัตรประจาตัวคน
พิการ โดยเจ้าหน้าท่ีจะปฏิบัติงานผ่านระบบแบบ Online เพื่อให้บริการแก่คนพิการ หรือผู้แทนที่ย่ืนคาขอ
ดาเนินการเก่ียวกับบัตรประจาตัวคนพิการ โดยขั้นตอนการทางานจะเริ่มตั้งแต่การค้นหาและตรวจสอบข้อมูลคน
พิการจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางคนพิการ ของ พก. บันทึกข้อมูลคาขอมีบัตร และรายละเอียดประกอบคาขอมี
บตั ร เพ่ือใชส้ าหรับการพิมพบ์ ตั รประจาตวั คนพกิ ารในขั้นตอนต่อไป ระบบงานบันทึก นาเข้า และจัดเก็บข้อมูลคน
พิการ ประกอบด้วยหนา้ จอการทางาน ดงั น้ี
2.๑ บันทกึ คาขอมีบัตรประจาตวั คนพกิ าร
2.๒ บนั ทกึ รายละเอียดประกอบคาขอมบี ัตร
2.๓ ออกรายงาน
2.1 บนั ทึกคาขอมีบตั รประจาตวั คนพกิ าร
ใชส้ าหรับจดั เกบ็ ข้อมลู คาขอมีบตั รประจาตวั คนพกิ าร ตามประเภทการขอมีบัตรทีผ่ ้ยู ่นื คาขอมา
แจ้งความประสงค์ โดยขน้ั ตอนการทางานจะเร่ิมตั้งแต่การคน้ หาและตรวจสอบขอ้ มูลคนพิการจากฐานข้อมูล แลว้
จึงบันทึกข้อมูลคาขอมบี ัตรประจาตัวคนพิการในสว่ นที่ใช้สาหรบั การพมิ พบ์ ตั รประจาตัวคนพกิ าร
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบัตรประจาตัวคนพิการ 22
๒.๒ บันทึกรายละเอียดประกอบคาขอมีบัตร ใช้สาหรับจัดเก็บข้อมูลตามแบบเอกสาร “รายละเอียด
ประกอบคาขอมีบัตรประจาตัวคนพิการ” โดยขั้นตอนการทางานจะเริ่มต้ังแต่การค้นหาข้อมูลคาขอมีบัตร จากน้ัน
จึงดาเนินการบนั ทึกข้อมลู รายละเอยี ดประกอบคาขอมีบตั รประจาตวั คนพิการในสว่ นตา่ งๆ เพมิ่ เติมใหค้ รบถว้ น
๒.๓ ออกรายงาน ใช้สาหรับค้นหาและแสดงรายงานของระบบงานบันทึก นาเข้า และจัดเก็บข้อมูลคน
พิการ โดยสามารถกาหนดเงื่อนไขในการเรียกดูรายงาน สั่งพิมพ์รายงาน และจัดเก็บรายงานในรูปแบบไฟล์
Ms Excel และMs Word ได้
3. ระบบงานจดั พิมพ์บตั ร
เปน็ ระบบงานท่ใี ชส้ าหรบั พิมพบ์ ตั รประจาตัวคนพกิ ารออกทางเคร่อื งพิมพ์บัตร โดยจะเร่ิมตั้งแต่การค้นหา
ข้อมูลคนพิการท่ีมาย่ืนคาขอมีบัตรฯ จากนั้นบันทึกข้อมูลการออกบัตร เช่น รูปแบบบัตร รูปถ่าย วันที่ออกบัตร
เป็นต้น โดยระบบจะแสดงข้อมูลหน้าและหลังบัตรให้ตรวจสอบก่อนท่ีจะพิมพ์บัตรให้คนพิการ ระบบจัดพิมพ์บัตร
ประกอบด้วยหน้าจอการทางาน ดังน้ี
๓.๑ บันทึกขอ้ มูลการออกบัตร
๓.๒ แสดงข้อมลู การออกบัตร
๓.๓ ออกรายงาน
๓.๑ บันทึกข้อมูลการออกบัตร ใช้สาหรับค้นหาข้อมูลคนพิการตามท่ีเจ้าหน้าที่ได้บันทึกข้อมูลคาขอมี
บัตรไว้ เพื่อบันทึกข้อมูลในส่วนการออกบัตรสาหรับพิมพ์บัตรออกทางเคร่ืองพิมพ์บัตรต่อไป โดยสามารถค้นหาได้
จากเลขประจาตวั คนพกิ าร ชือ่ – นามสกลุ คนพกิ าร วนั ท่ีหรอื ชว่ งวันทท่ี ี่ยื่นคาขอและท่ีอยู่ตามทะเบียนบ้าน เป็น
ตน้
๓.๒ แสดงข้อมูลการออกบัตร ใช้สาหรับค้นหา และแสดงข้อมูลการออกบัตรตามเงื่อนไขที่กาหนด เช่น
เลขประจาตัวคนพิการ ชื่อ – นามสกุล คนพิการ, วันท่ีหรือช่วงวันที่ท่ีย่ืนคาขอ, วันที่หรือช่วงวันที่ที่พิมพ์บัตร
และท่อี ยตู่ ามทะเบียนบา้ น
เป็นต้น
๓.๓ ออกรายงาน ใช้สาหรบั ค้นหาและแสดงรายงานของระบบจัดพิมพบ์ ัตร โดยสามารถกาหนดเงื่อนไข
ในการเรยี กดรู ายงาน สง่ั พิมพ์รายงาน และจดั เก็บรายงานในรูปแบบไฟล์ Ms Excel และ Ms Word ได้
๔. ระบบงานนายทะเบยี น
เปน็ ระบบงานท่ีใช้สาหรบั บันทกึ ตรวจสอบ และเปล่ยี นแปลงข้อมูลของนายทะเบียน ซง่ึ
เจ้าหนา้ ท่ีสามารถดาเนินการเปลีย่ นแปลงขอ้ มลู ในส่วนนไี้ ด้เอง ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลนายทะเบยี น รายการแก้ไข
ขอ้ มูลนายทะเบยี น และการเปล่ียนแปลงขอ้ มลู นายทะเบียนใหม่อันเน่ืองจากการโยกย้าย การเกษยี ณอายุ หรอื
การลาออก เป็นตน้ ระบบงานนายทะเบียน ประกอบด้วยหนา้ จอการทางาน ดังนี้
๔.๑ บนั ทึกข้อมูลนายทะเบียน
๔.๒ แกไ้ ขข้อมูลนายทะเบียน
๔.๓ เปล่ียนแปลงนายทะเบยี น
๔.๔ ออกรายงาน
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบัตรประจาตวั คนพิการ 23
๕. ระบบงานการสนับสนุนบัตร
เป็นระบบงานทใี่ ชส้ าหรับตรวจสอบขอ้ มลู บัตรของหนว่ ยงาน และสามารถเปล่ยี นแปลงแก้ไข
สถานะของบัตร, การเปลี่ยนเลขท่บี ตั รและสามารถตรวจสอบขอ้ มลู ของบตั รได้ ซงึ่ ระบบงานนีจ้ ะสนับสนุนงานด้าน
บัตรทง้ั หมด รวมถงึ มกี ารจดั เกบ็ ทะเบยี นบัญชีคมุ บัตร เพื่อสามารถตรวจสอบข้อมูลของบัตรแต่ละใบได้ ระบบงาน
สนับสนุนบตั ร ประกอบด้วยหนา้ จอการทางาน ดังน้ี
๕.๑ บนั ทึกการรับบัตร
๕.๒ แสดงขอ้ มูลการรับบัตร
๕.๓ เปลยี่ นแปลงสถานะบตั ร
๕.๔ แสดงทะเบยี นคุมบตั ร
๕.๕ บันทกึ แจ้งขอบัตรเพ่มิ
๕.๖ บนั ทึกการโอนบตั รเขา้ คลงั พก.
๕.๗ ค้นหาและตรวจสอบขอ้ มูลบัตร
๕.๘ ออกรายงาน
๖. ระบบงานการอ่านบัตร
เป็นระบบงานทท่ี างานรว่ มกับเครื่องอ่านบัตร โดยระบบจะทาการอ่านรหัสคนพิการจากแถบบาร์โค้ดท่ีอยู่
ด้านหลังบัตรประจาตัวคนพิการ แล้วนาข้อมูลที่ได้มาประมวลผลและแสดงข้อมูลคนพิการผ่านทางหน้าจอค้นหา
และตรวจสอบขอ้ มลู คนพกิ าร เพือ่ ใหผ้ ปู้ ฏิบัตงิ านสามารถตรวจสอบขอ้ มูลคนพกิ าร พร้อมกับให้บริการแก่คนพิการ
ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมปี ระสทิ ธภิ าพ
๗. ระบบคาขอมีบัตรประจาตัวคนพกิ ารโดยหนว่ ยรับคารอ้ ง
ระบบงานออกบัตรประจาตัวคนพิการ มีระบบคาขอมีบัตรประจาตัวคนพิการ โดยหน่วยรับคาร้อง
เป็นระบบงานที่ใช้รองรับการบันทึกข้อมูลคาขอมีบัตรจากหน่วยรับคาร้อง เพ่ือส่งข้อมูลให้สานักทะเบียนกลาง
หรือสานักทะเบียนจงั หวดั ตรวจสอบ และดาเนนิ การพิมพบ์ ตั รให้กับคนพกิ าร
ระบบคาขอมบี ตั รประจาตัวคนพกิ าร โดยหน่วยรับคาร้อง ประกอบดว้ ยระบบงานย่อย ดังน้ี
๗.๑ ระบบคาขอมบี ตั รประจาตวั คนพกิ าร โดยหน่วยรบั คารอ้ ง
๗.๒ ระบบจดั พมิ พบ์ ัตร โดยหนว่ ยออกบตั ร
โดยสามารถอธิบายขัน้ ตอนการทางานของระบบได้ ดงั นี้
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบตั รประจาตวั คนพิการ 24
ระบบคาขอมบี ัตรประจาตวั คนพิการ โดยหน่วยรบั คารอ้ งเปน็ ระบบงานท่ใี ช้สาหรับบันทึกข้อมลู คาขอ
มบี ตั รประจาตัวคนพิการ โดยหน่วยรับคาร้องจะปฏิบัติงานผ่านระบบแบบ Online เพื่อส่งข้อมูลคาขอมีบัตรฯ ให้
หน่วยออกบัตรเป็นผู้ดาเนินการพิมพ์บัตรให้กับคนพิการ โดยข้ันตอนการทางานจะเร่ิมตั้งแต่การค้นหาและ
ตรวจสอบข้อมูลคนพิการจากฐานข้อมูลทะเบียนกลางคนพิการ ของ พก. แล้วจึงบันทึกข้อมูลคาขอมีบัตรฯ ตาม
แบบเอกสารคาขอมีบตั รฯ ท่คี นพกิ าร หรือผ้ดู ูแลคนพกิ ารมาย่ืนเรื่องไว้
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบตั รประจาตัวคนพิการ 25
บทที่ 5
ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ
ในการจัดการความรู้ (KM) เร่ือง การขอมีบัตรประจาตัวคนพิการในคร้ังนี้ คณะผู้จัดทาได้สรุปปัญหา
อุปสรรค และข้อเสนอแนะดังตอ่ ไปน้ี
5.1 สรุปผลการดาเนนิ โครงการ
5.2 สรุปปัญหา อปุ สรรค และวิธแี ก้ไขปัญหา
5.3 ขอ้ เสนอแนะ
5.1 สรุปผลการดาเนินงานการจดั ทาบัตรประจาตวั คนพิการ
จากการดาเนนิ งานการออกบตั รประจาตัวคนพิการ สรุปผลการดาเนินงานไดด้ งั น้ี
ด้านปริมาณ ศูนย์การให้บริการออกบัตรคนพิการ ได้รวบรวมสถิติรายงานออกบัตรประจาตัวคน
พกิ ารรายเดอื น และรายปี ในจงั หวดั นครราชสมี า แยกเป็นรายอาเภอดังนี้
- อาเภอพมิ าย จานวน 1,342 ราย
- อาเภอหว้ ยแถลง จานวน 522 ราย
- อาเภอชุมพวง จานวน 385 ราย
- อาเภอจักราช จานวน 95 ราย
- อาเภอลาทะเมนชัย จานวน 78 ราย
- อาเภอโนนสงู จานวน 49 ราย
- อาเภอประทาย จานวน 38 ราย
- อาเภอเมอื งยาง จานวน 36 ราย
- อาเภอโนนแดง จานวน 17 ราย
- อาเภอคง จานวน 7 ราย
- อาเภอเมอื ง จานวน 2 ราย
- อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จานวน 1 ราย
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบตั รประจาตัวคนพิการ 26
- อาเภอปักธงชยั จานวน 1 ราย
- นอกเขตจังหวดั นครราชสมี า จานวน 2 ราย
จากขอ้ มูลเบือ้ งตน้ การออกบัตรประจาตัวคนพิการในเขตพื้นท่ีอาเภอพิมาย และเขตพ้ืนที่อาเภอใกล้เคียง
ประเภทความพิการ สามารถสรุปประเภทความพิการที่ขอรับบริการออกบัตรประจาตัวคนพิการ ปี พ.ศ. 2561
ถงึ ปี พ.ศ. 2563 จดั อนั ดับจากความพิการทีข่ อรบั บรกิ ารจากมากไปนอ้ ย สรปุ ได้ดังนี้
1. ความพิการทางการเคลอ่ื นไหวหรอื ร่างกาย จานวน 1,123 ราย
2. ความพิการทางการได้ยินหรือส่ือความหมาย จานวน 524 ราย
3. ความพกิ ารทางการมองเหน็ จานวน 497 ราย
4. ความพิการทางสติปัญญา จานวน 176 ราย
5. ความพิการทางจิตใจหรอื พฤติกรรม จานวน 175 ราย
6. ความพิการซา้ ซอ้ น จานวน 72 ราย
7. ความพกิ ารทางการเรยี นรู้ จานวน 8 ราย
8. ความพกิ ารทางออทสิ ตกิ จานวน 5 ราย
การประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้รบั บริการจากแบบประเมินความพึงพอใจ สรุปขอ้ มลู ไดด้ งั น้ี
- ด้านคุณภาพ ผู้รบั บรกิ าร มคี วามพงึ พอใจในการออกบตั รจาตัวคนพิการอยู่ในระดบั ดีมาก
- ด้านการใหบ้ รกิ ารของเจา้ หนา้ ที่ ผูร้ บั บรกิ ารมคี วามพึงพอใจอยู่ในระดับดมี าก
- ด้านสิ่งอานวยความสะดวก ผ้รู บั บรกิ ารมคี วามพงึ พอใจในระดบั ดมี าก
- ดา้ นการให้บริการดา้ นขอ้ มูลขา่ วสารทีเ่ ปน็ ประโยชน์ ผรู้ บั บรกิ ารมีความพงึ พอใจในระดบั ดีมาก
สรุปความพงึ พอใจโดยรวมทง้ั 4 ด้าน ผรู้ บั บริการมคี วามพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก
ดา้ นบุคลากร
- เจ้าหน้าท่ีท่ีให้บริการ มีความรู้ ความเข้าใจในการออกบัตรประจาตัวคนพิการ ทราบถึงปัญหา
อุปสรรคและสามารถให้คาปรึกษาและปฏิบัติงานด้านคนพิการได้ สามารถให้คาแนะนา/ตอบข้อซักถามได้ชัดเจน
มีความน่าเชื่อถอื และถูกตอ้ ง
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบัตรประจาตัวคนพิการ 27
- เจ้าหน้าที่มีบุคลิกภาพที่ดีในการให้บริการตามมาตรฐานท่ีกาหนด และมีจิตบริการ เช่น การ
เดินเขา้ หา สบตา ย้ิม กลา่ วทักทาย ยินดีให้บริการอยา่ งเสมอภาคและทวั่ ถึง
ด้านเวลา สามารถให้บริการตามลาดับก่อน – หลัง อย่างยุติธรรม ซ่ึงระยะเวลา/ข้ันตอนในการ
ให้บริการมคี วามเหมาะสม ขั้นตอนการให้บรกิ ารมคี วามชดั เจน รวดเรว็ ไมซ่ ับซอ้ น
ดา้ นสิ่งอานวยความสะดวก เจ้าหน้าทจ่ี ัดเตรียมสถานท่ีได้สะอาดและเป็นระเบียบ ภายในสถานที่ได้มี
การจัดเตรียมส่ิงอานวยความสะดวก เช่น น้าด่ืม หนังสือพิมพ์ เอกสาร โต๊ะ เก้าอ้ี โซฟาสาหรับนั่งพักรอ ห้องน้า
ทจี่ อดรถคนพิการ ทาใหผ้ รู้ ับบรกิ ารมีความพงึ พอใจในระดับดมี าก
ด้านข้อมูลข่าวสาร จากการติดต่อขอรับบริการ นอกจากการให้บริการจัดทาบัตรประจาตัวคนพิการ
แลว้ ยังมีการเผยแพร่ประชาสมั พันธ์เกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร สิทธิประโยชน์ การช่วยเหลือต่างๆ แก่ผู้มารับบริการ
ที่สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 และการออกไปประชาสัมพันธ์ภายนอกแก่ประชาชน ผู้นาชุมชนใน
การประชมุ ประจาเดอื นของอาเภอ พิมาย การออกหน่วยเคลื่อนท่ีจังหวัด เคลื่อนที่ไปยังพ้ืนท่ีอาเภอต่างๆ ทาให้
ผ้รู ับบริการ มีความพึงพอใจในระดับดมี าก
5.2 สรปุ ปญั หาอุปสรรค
ในการดาเนนิ งานจดั ทาบตั รประจาตัวคนพิการ เจา้ หน้าท่ีผใู้ หบ้ รกิ ารได้พบปัญหาในการให้บริการแก่
ผมู้ ารับบริการ สรปุ ไดด้ ังนี้
สรุปปญั หา
1. คนพิการบางส่วน เม่ือไปพบแพทย์เพื่อตรวจและออกใบรับรองความพิการแล้ว ก็เดินทางมาขอ
ทาบัตรประจาตัวคนพิการ ณ สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 เลย โดยมิได้มีการเตรียมเอกสารหรือ
เตรียมมาแต่ไมค่ รบตามกาหนด
2. ครุภณั ฑค์ อมพิวเตอร์ทใ่ี ชใ้ นการออกบตั รประจาตัวคนพิการท่ีได้รับการสนับสนุนจากกรมส่งเสริม
และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (กรม พก.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีปัญหาอยู่
บอ่ ยคร้งั ทาให้การออกบตั รประจาตวั คนพกิ ารเกิดความล่าช้า
วธิ ีการแกป้ ญั หา
1. ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารในการจัดทาบัตรประจาตัวคนพิการตามหมู่บ้าน ตาบล หรืออาเภอ
ใกล้เคียง เพ่ือการประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึงและเข้าถึงผู้รับบริการ โดยร่วมกับอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความ
มนั่ คงของมนุษย์ (อพม.) และผู้นาชมุ ชน
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบตั รประจาตวั คนพิการ 28
2. จดั ทาแผน่ พับสรุปการเตรียมพรอ้ มสาหรบั การขอมีบัตรประจาตัวคนพิการ การจัดเตรียมเอกสาร
ในการจัดทาบัตร และการเตรยี มเอกสารสาหรบั ย่ืนขอรบั เบยี้ ยังชีพคนพิการ
3. แจ้งร้านถ่ายรูปท่ีมีราคาถูกและได้คุณภาพให้กับผู้รับบริการ เพื่อใช้ในการจัดทาบัตรประจาตัว
และเปน็ การประหยดั ค่าใชจ้ ่ายในการถ่ายรูป
4. เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ หม่ันดูแลรักษาและตรวจสอบความพร้อมของเครื่องออกบัตรประจาตัวคน
พิการอย่างสม่าเสมอ เพือ่ ความพร้อมในการให้บริการอยา่ งต่อเนื่อง
5. ให้คาแนะนาคนพิการหรือผู้ดูแลคนพิการ เม่ือได้บัตรประจาตัวคนพิการแล้วสามารถเตรียม
เอกสารเพื่อนาไปย่ืนองค์การบริหารส่วนตาบลหรือเทศบาล เพ่ือขอรับเบื้ยยังชีพคนพิการได้อย่างถูกต้องและ
รวดเร็ว
ข้อเสนอแนะ
1) งานทาบัตรประจาตัวคนพิการ ควรมีการออกหน่วยเคลื่อนที่ในโรงพยาบาลพิมาย อาเภอพิมาย
จังหวัดนครราชสีมา ในการจัดทาบัตรประจาตัวคนพิการ เพ่ือเป็นการให้บริการประชาชนครบวงจร (One Stop
Service) โดยการต้งั หนว่ ยเคลอื่ นที่สปั ดาห์ละ 1 วัน ในจดุ ทโ่ี รงพยาบาลเตรียมไว้
2) มีการจัดทา Roll Up ประชาสัมพันธ์ถึงเอกสารประกอบการจัดทาบัตรประจาตัวคนพิการ
และขั้นตอนการจดั ทาบัตร พรอ้ มทง้ั อธิบายรายละเอยี ดอยา่ งชดั เจน เพ่ือเป็นการประชาสัมพนั ธ์
3) จดั ให้มีการออกหน่วยประชาสัมพันธ์ในการเข้าร่วมการประชุมหัวหน้าหน่วยงาน และการประชุม
กานนั ผ้ใู หญบ่ ้านของอาเภอพมิ าย และอาเภอใกลเ้ คียง เพอื่ ประชาสมั พนั ธเ์ ปน็ หน่วยรบั ทาบัตรประจาตัวคนพิการ
ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย
1) งานบริการจัดทาบัตรประจาตัวคนพิการท่ีสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 เป็นจุด
หน่ึงท่ีสามารถให้บริการแก่ประชาชนท่ีอยู่ในเขตอาเภอพิมายและพ้ืนที่จังหวัดท่ีใกล้เคียง จึงเห็นควรได้รับการ
สนับสนุนในการจัดจ้างพนักงานจากกองทุนคนพิการตามมาตรา 35 เพ่ิมเติม เพื่อ เป็นการให้บริการท่ีมี
ประสิทธภิ าพยงิ่ ข้นึ
2) เห็นควรให้กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (พก.) พิจารณาจัดสรรอุปกรณ์ในการ
ออกบัตรประจาตัวคนพิการเพิ่มเติมให้แก่ สสว.4 เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และใช้ในการออกหน่วยเคลื่อนท่ีไป
ให้บรกิ าร
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
การขอมีบัตรประจาตวั คนพิการ 29
ข้อเสนอแนะเชงิ ปฏิบัติ
1) งานบริการจัดทาบัตรประจาตัวคนพิการของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 ได้มี
การวางแผนการให้บริการที่เป็นเลิศโดยการประสานงานไปท่ีโรงพยาบาลอาเภอ โดยในช่วงแรกจัดดาเนินการที่
โรงพยาบาลอาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา เพ่ือเป็นการให้บริการประชาชนสะดวก รวดเร็ว ครบวงจร
(One Stop Service) โดยจัดเป็นหน่วยเคลื่อนที่ออกไปจัดทาบัตรประจาตัวคนพิการที่โรงพยาบาลสัปดาห์ละ
1 วัน ในจุดท่ีโรงพยาบาลเตรียมไว้ให้ ทาให้ผู้ขอมีบัตรเพื่อตรวจขอใบรับรองความพิการจากแพทย์เรียบร้อย
และมีใบสรุปการจัดเตรียมเอกสารการขอมีบัตรประจาตัวคนพิการไว้ท่ีห้องตรวจแพทย์ส่วนหนึ่ง และที่หน่วย
เคลือ่ นท่บี ริการรว่ มด้วย
2) มีการจัดทา Roll Up ประชาสัมพนั ธ์การออกบัตรประจาตัวคนพิการ การออกหน่วยเคลื่อนที่
มาให้บริการท่ีโรงพยาบาลสัปดาห์ละ 1 วัน การจัดเตรียมเอกสารการขอมีบัตร และการเตรียมเอกสารในการย่ืน
ขอรับเบยี้ ยังชพี คนพกิ ารที่องค์การบรหิ ารสว่ นตาบล/เทศบาลตาบลตอ่ ไป
3) จัดเจ้าหน้าที่ท่ีออกบัตรประจาตัวคนพิการร่วมออกหน่วยเคล่ือนท่ีทางวิชาการไป
ประชาสัมพันธก์ ารออกบัตรประจาตวั คนพิการ และการเตรยี มเอกสารต่างๆ เพื่อยน่ื จัดทาบัตร
4) จัดเจ้าหน้าที่เข้าร่วมประชุมประจาเดือนอาเภอพิมาย เพื่อช้ีแจงและประชาสัมพันธ์การขอมี
บตั รประจาตวั คนพิการทกุ เดือน
5) ประสานโรงพยาบาลพิมาย ขอเข้าพบผู้อานวยการโรงพยาบาลพิมาย เพ่ือประสานการ
ปฏิบัติการออกบัตรประจาตัวคนพิการตามภารกิจของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 พร้อมท้ังแจ้ง
รายละเอยี ดตา่ งๆ เพื่อทราบและร่วมกันอานวยความสะดวกใหก้ ับคนพิการที่มาขอมีบัตรประจาตัวคนพิการ
6) ประสานสานักงานสาธารณสุขอาเภอพิมาย เพื่อประชาสัมพันธ์การขอมีบัตรประจาตัวคน
พิการ โดยขอความรว่ มมือกบั โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลตา่ งๆ และอาสาสมัครร่วมด้วย เพื่อแจ้งในเรื่องการ
เตรียมเอกสารหลักฐานให้พร้อมก่อนมาพบแพทย์ตรวจรับรองความพิการ และขอทาบัตรประจาตัวคนพิการได้
อย่างสะดวก รวดเรว็
การจั การความร KM ประจาป บประมา พ. . 2563
ภาคผนวก