ประจำปงี บประมาณ
1
คำนำ
เกษตรกรไทยในปัจจุบันได้มีการน้อมนำเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต
โดยใช้ทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ตั้งแต่ระดับตนเอง ครอบครัว และระดับชุมชน โดยมุ่งเน้น
การพัฒนาตนเอง ครอบครัว และชุมชน รวมถงึ การพัฒนาเศรษฐกิจของตนเอง ครอบครวั และชุมชน
ให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ เน้นความพอเพียง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล มาเป็น
ภูมิคุ้มกันให้กับตัวเอง ครอบครัว และชุมชม จากสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก
ที่ เป ล่ี ย น แ ป ล งจ า ก อ ดี ต ที่ ผ่ า น ม า ก าร ท ำ ก าร เก ษ ต ร ก ร ร ม ใน ยุ ค ปั จ จุ บั น ต้ อ งอ าศั ย อ ง ค์ ค ว า ม รู้
ทั้งด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มีความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง
ในการดำเนินชีวิตและการวางแผนการดำเนินงานต้องสร้างความเข้มแข็งให้จิตใจ สำนึกในคุณงาม
ความดี มีคุณธรรม มีจิตสาธารณะ และมีความซื่อสัตย์สุจริต ในการดำเนินชีวิตน้ันต้องมีความเพียร
มีสติ ใช้ปัญญา มีความอดทน และมีความรอบคอบ เพื่อสร้างสมดุลในการดำรงชีวิต และรู้เท่าทัน
กับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและกว้างขวางจากโลกภายนอก ท้ังด้านเทคโนโลยี วัตถุ สังคม
สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม นายองอาจ กล้าพิมาย ได้ดำเนินชีวิตด้วยการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้สายกลาง การทำเกษตรยั่งยืน การอยู่ร่วมกับธรรมชาติ การช่วยเหลือเกื้อกูลกันในสังคม ทำให้
สภามหาวิทยาลัยฯ เห็นถึงความเป็นผู้นำ และศักยภาพของนายองอาจ กล้าพิมาย จึงได้เสนอรายช่ือ
เพ่ือได้รับปริญญาดุษฎีบัณทิตกิตติมศักดิ์ สาขานวัตกรรมและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน ครง้ั ที่ 33 ประจำปกี ารศกึ ษา 2561
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 (สสว.4) เล็งเห็นความสำคัญของการจัดการ
ความรู้ ได้ดำเนินการถอดบทเรียนเกษตรกรนายองอาจ กล้าพิมาย ในเร่ือง “ต้นแบบเกษตรกรดุษฎี
บัณฑิตกิตติมศักด์ิ”.เพื่อให้นำองค์ความรู้ด้านการเกษตร ด้านการพัฒนาตนเอง มาต่อยอด
และปฏิบัติงานในการดำเนินชีวิต การเพ่ิมพูนความรู้ประสบการณ์ ความสามารถ สมรรถนะและ
ทัศนคติให้กับเกษตรกรท่ัวไป เกิดอาชีพใหม่ สร้างงาน สร้างรายได้ ทำให้เกิดเศรษฐกิจหมุนเวียน
(BCG Economy).เกดิ เศรษฐกิจสเี ขียว (Bio-Circular-Green Economy) ทเ่ี ป็นโมเดลเศรษฐกจิ สกู่ ารพัฒนา
ที่ย่งั ยืนและเป็นการยกระดับความสามารถในการแขง่ ขันอย่างยง่ั ยนื ให้กับเกษตรกรผปู้ ลกู ข้าวตอ่ ไป
สำนักงานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 4
กันยายน 2564
1
สารบัญ หนา้
1
คำนำ 2
สารบัญ 4
บทสรุปผบู้ ริหาร 6
ประวตั ิ ความเป็นมา 13
เกษตรกรรมในจังหวัดนครราชสมี า 15
เส้นทางเมลด็ พันธ์ขุ ้าวบา้ นศาลา 21
วิสาหกจิ ชมุ ชน กลมุ่ ผผู้ ลิตเมล็ดพันธ์ุข้าวบา้ นศาลา 27
เกษตรกรสูด่ ุษฎบี ณั ฑิต 32
ภาคผนวก "คมู่ อื การผลติ เมล็ดพนั ธุ์ขา้ วบา้ นศาลา” 57
บรรณานุกรม
2
สารบัญรูป หนา้
8
รูปที่ 9
1 การดำรงชีวติ เนน้ การทำงานแบบองค์รวม 14
2 การดำรงชีวิตเน้นการทำงานแบบองคร์ วม 17
3 แผนท่ีบ้านศาลารวม 19
4 โมเดล Community-based Center Model (CCM Model) 21
5 กระบวนการพฒั นา (วิสาหกิจชุมชนผ้ผู ลติ เมลด็ พนั ธข์ุ า้ วบา้ นศาลา) 22
6 รปู แบบกระบวนการทางการตลาด 24
7 โครงสร้างองค์กรวสิ าหกิจชุมชนผ้ผู ลิตเมล็ดพันธ์ขุ า้ วบา้ นศาลา 25
8 ตราและสโลแกนเมลด็ พันธุ์ขา้ ว “บา้ นศาลา” 25
9 ตราของผลติ ภัณฑ์ขา้ วสาร "บ้านศาลา" 26
10 ข้นั ตอนการผลติ เมล็ดพันธ์ุขา้ ว "บ้านศาลา"
11 การตลาดผลิตภัณฑเ์ มล็ดพันธ์ขุ ้าว “บา้ นศาลา” 28
12 การรับพระราชทานปริญญา ดษุ ฎีบัณฑิต กติ ติมศักดิ์ 29
สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารเกษตรและสิง่ แวดล้อม หน้า
13 ผลงานการพัฒนาสตู่ ้นแบบดุษฎบี ณั ฑิตกติ ติมศักด์ิ 23
สารบญั ตาราง
ตารางที่
1 การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมวิสาหกิจผลติ เมล็ดพนั ธุข์ า้ วบ้านศาลา
3
การจัดการความรู้ “ตน้ แบบเกษตรกรดุษฎีบัณฑติ กิตติมศกั ด”์ิ
สสว. 4 นครราชสมี า
บทสรปุ ผ้บู รหิ าร
การจัดทำรายงานการจัดการความรู้ “ต้นแบบเกษตรกรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ิ”
มีวัตถุประสงค์เพื่อถอดองค์ความรู้ของนายองอาจ กล้าพิมาย เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในพื้นที่บ้านศาลา
ตำบลดงใหญ่ อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ผู้ที่ได้รับ (พระราชทาน) ปริญญาดุษฎีบัณทิต
กิตตมิ ศักดิ์ สาขานวัตกรรมและเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ครง้ั ที่ 33 ประจำปีการศึกษา 2561 แห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
ให้กับเกษตรกรนำบทเรียนที่ได้รับไปใช้ในการการพัฒนาตนเองและสังคม เป็นแรงบันดาลใจ
ให้เกษตรกรและผู้นำชุมชนนำไปประยุกต์ใช้ นำไปต่อยอดเชิงธุรกิจให้กับชุมชนในการทำการเกษตร
ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การนำองค์ความรู้ทางการเกษตรสมัยใหม่การให้ความสำคัญกับ
เครอื ขา่ ยความร่วมมอื กับหนว่ ยงานท้ังภาครฐั และภาคเอกชนที่เกีย่ วข้อง
สถานการณ์ปลูกขา้ ว ในปี พ.ศ. 2563 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเป็นภูมิภาคท่ีมีเน้ือที่
ในการปลูกข้าว มากท่ีสุดของประเทศ โดยมีเน้ือที่ 38,101,107 ไร่ เน้ือท่ีในการเก็บเก่ียว
34,590,409 ไร่ จำนวนผลผลิตทั้งสิ้น 12,228,605 ตนั โดยมีผลผลิตเฉลี่ยต่อไรน่ ้อยทส่ี ุดของประเทศ
มีเพียง 353.53 กิโลกรัมต่อไร่ ภาคกลางเป็นภูมิภาคที่มีผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่มากท่ีสุดของประเทศ
จำนวน 588.55 กิโลกรัมต่อไร่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ซง่ึ จงั หวดั มุกดาหาร มีผลผลิตต่อไรม่ ากที่สุด
จำนวน 402.20 กโิ ลกรมั ต่อไร่ และจงั หวดั บงึ กาฬ มผี ลผลิตต่อไรน่ ้อยทส่ี ดุ จำนวน 318.34 กิโลกรัมตอ่ ไร่
อันเนื่องมาจากปัจจยั ทางสภาพภมู ิประเทศ สภาพอากาศที่ และกระบวนการปลกู ข้าวท่เี ปลี่ยนแปลงไป
จังหวัดนครราชสีมา เป็นจังหวัดท่ีมีพื้นที่ปลูกข้าวได้ท้ังข้าวเจ้าและข้าวเหนียว มีพ้ืนที่
ในการเพาะปลูกข้าวนาปีรวมทั้งส้ิน 3,579,031 ไร่ เป็นเน้ือที่เก็บเกี่ยว 2,873,316 ไร่ เก็บเก่ียว
ผลผลิตได้จำนวนทั้งส้ิน 1,009,424 ตัน ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ 351.31 กิโลกรัม (การปลูกข้าวในพ้ืนท่ี
จังหวัดนครราชสีมา ปลูกข้าวได้เป็นอันดับ 2 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นรองจากจังหวัด
อุบลราชธานี)
จังหวดั บุรีรมั ย์ เปน็ จงั หวัดทม่ี พี ้ืนทีป่ ลกู ขา้ วนาปรี วมทงั้ สิ้น 2,902,136 ไร่ เป็นเนอื้ ทเ่ี กบ็ เกี่ยว
จำนวนทั้งส้ิน 2,472,229 ไร่ เก็บเก่ียวผลผลิตได้จำนวนท้ังส้ิน 852,021 ตัน ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่
344.64 กิโลกรมั
จงั หวัดชัยภูมิ เป็นจังหวัดที่มพี ้ืนท่ีปลูกข้าวนาปีรวมทั้งสิ้น 1,762,031 ไร่ เปน็ เน้ือท่ีเก็บเกี่ยว
จำนวนท้ังส้ิน 1,457,919 ไร่ เก็บเกี่ยวผลผลิตได้จำนวนทั้งส้ิน 524,039 ตัน ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่
359.44 กโิ ลกรัม
จงั หวัดสุรนิ ทร์ เปน็ จงั หวดั ทม่ี ีพ้ืนทีป่ ลูกขา้ วนาปีรวมทัง้ ส้นิ 3,081,514 ไร่ เปน็ เนอ้ื ท่เี กบ็ เกยี่ ว
จำนวนท้ังสิ้น 2,839,271 ไร่ เก็บเก่ียวผลผลิตได้จำนวนท้ังส้ิน 1,049,421 ตัน ผลผลิตเฉล่ียต่อไร่
369.61 กโิ ลกรัม
4
การทำการเกษตรกรรมในยุคปัจจุบัน เกษตรกรควรเน้นที่การทำการเกษตรย่ังยืน นั่นคือ
การทำการเกษตรกรรมแบบองค์รวม (Holistic.Approach).ที่ทุกสรรพสิ่งพ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกัน
เข้าใจในความเป็นจริงของชีวิตและธรรมชาติอยู่ร่วมกันระหว่าง คน สัตว์ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เกษตรกรควรมุ่งเน้นการปรับปรุงท่ีดินให้เป็น Smart.Farm.“ทำน้อย ได้มาก”.ด้วยการยกระดับ
และสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (Agro Genius DIProm)
รวมถึงการเข้าให้ถงึ เทคโนโลยีและนวัตกรรมต่างๆ เช่น แพลตฟอรม์ ออนไลน์ การให้บริการนวตั กรรม
และเทคโนโลยีการเกษตรครบวงจร
นายองอาจ กล้าพิมาย เป็นเกษตรกรสมัยใหม่ท่ีได้มีการน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำแนวคิดเกษตรยั่งยืน รวมถึงการศึกษาและประยุกต์วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
มาผสมผสานภูมิปัญญาในท้องถิ่น พัฒนาเครื่องมือ เครื่องจักรทางการเกษตร เกิดเป็นเทคโนโลยี
จากภูมิปัญญามาใช้ทดแทนทำให้ประหยัดต้นทุน ประหยัดแรงงาน เล็งเห็นความสำคัญของการรวมกลุ่ม
การทำงานการผลิตและการสร้างมูลค่าเพม่ิ ใหก้ ับข้าว ได้จดั ต้งั กลุ่มวิสาหกิจผู้ผลิตเมลด็ พนั ธุ์ขา้ ว“บ้านศาลา”
ในพ้ืนที่บ้านศาลา จนเห็นผลเชิงประจักษ์ เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้กับครอบครัว
และเกษตรกรบ้านศาลา ซึ่งควรค่าในการนำไปเปน็ “ตน้ แบบดา้ นการเกษตร”ให้กับเกษตรกรและประชาชนต่อไป
ข้อเสนอแนะในการจดั ทำรายงานครัง้ ตอ่ ไป
- ภาครัฐควรให้การสนับสนุนและการสร้างองค์ความรู้ในการทำการเกษตรยั่งยืน
เกษตรอัจฉริยะ นวัตกรรม ให้กับเกษตรกร ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของเกษตรกร
อยา่ งต่อเนือ่ งไมน่ ้อยกวา่ 3 ปี (เปน็ อย่างน้อย)
- ภาครฐั ควรสรา้ งระบบชลประทานให้ครอบคลุมทุกพ้ืนที่ สร้างองค์ความรู้ในการบริหาร
จัดการน้ำให้กบั เกษตรกรทกุ พนื้ ทอี่ ย่างทัว่ ถงึ
- หน่วยงานต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องควรร่วมมือและประสานการทำงานให้ชัดเจน ไม่ทำงาน
ซ้ำซอ้ น เพือ่ ให้เกษตรกรได้ใช้ประโยชนอ์ ยา่ งเต็มที่
5
6
ประวตั คิ วามเปน็ มา
ช่ือ-สกลุ นายองอาจ กลา้ พิมาย ➢ ประธานวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ผลิตเมล็ด
วนั เดอื น ปี เกดิ 24 พฤษภาคม 2512 พนั ธุ์ข้าวบ้านศาลา ต้ังแต่ พ.ศ. 2557 – จนถึง
ภมู ิลำเนา นครราชสีมา ปจั จุบนั
ท่ีอยู่ปัจจุบันเลขที่ 69/1 หมู่ท่ี 3 ต.ดงใหญ่
อ.พมิ าย จ.นครราชสีมา รหัสไปรษณยี ์ 30110 ผลงานด้านวชิ าการและวชิ าชพี
โทรศัพท์ 08- 19991- 378
บดิ า นายใหญ่ กลา้ พิมาย เป็นวิทยากรรับเชิญ ให้กับเกษตรกร
มารดา นางเอ่ียม กล้าพิมาย ในเร่ือง การทำเกษตรอินทรีย์ การปลูกข้าว
คสู่ มรส นางรำพึง กล้าพิมาย การผลิตเมลด็ พันธุ์ข้าว และโครงการไทยนิยม
บตุ ร 1 นางอัจฉราพร โยงสูงเนิน
บตุ ร 2 นางอรวิภา โคสงู เนิน ผลงานด้านสังคม
บุตร 3 นางสาวณฎั ฐพร กลา้ พิมาย ➢ บริหารชุมชน จนได้รับรางวัลหมู่บ้านดี
และหมู่บ้านดีเด่น อีกทั้งยังเป็นผู้นำที่เข้มแข็ง
ประวตั ิการศึกษา เป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี ช่วยเหลือและบริจาค
➢ ระดับประถมศึกษา โรงเรียนบ้านดง สิ่งของให้กับผู้ประสบภัย วัด และสถานศึกษา
ประชานกุ ูล อยา่ งต่อเนื่องเทา่ ท่มี กี ำลัง
➢ ระดับ มั ธยม ศึก ษ า การศึ กษ าน อ ก ➢ จัดตั้งวิสาหกิจชุมชนผลิตเมล็ดพันธ์ข้าว
โรงเรียน บ้านศาลา ผลิตและจำหน่ายเมล็ดพันธ์ุข้าว
“บ้านศาลา” สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ให้กับ
ประวตั ิการทำงาน เกษตรกรในชุมชนบ้านศาลา
➢ เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ณ พื้นท่ี ต.ดงใหญ่ ➢ เป็นแกนนำในการร่วมทำกิจกรรมใน
อ.พิมาย จ.นครราชสีมา ต้ังแต่ พ.ศ. 2515 – โครงการ “เศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือยกระดับ
จนถึงปจั จุบนั คุณภาพชีวิตของชุมชนบ้านศาลา ต.ดงใหญ่
➢ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3 ต.ดงใหญ่ อ.พิมาย อ.พิมาย จ.นครราชสีมา” ของมหาวิทยาลัย
จ.นครราชสมี า ต้งั แตพ่ .ศ. 2555 – จนถึงปัจจุบนั เทคโนโลยีราชมงคล นครราชสีมามาจนถึง
ปจั จบุ ัน
6
นายองอาจ กล้าพิ มาย เร่ิมทำการ พันธ์ุข้าวบ้านศาลา เพื่อจำหน่าย สร้างงาน
เกษตรกรรมมาต้ังแต่เรียนจบชั้นประถมศึกษา สร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้เกษตรกรในพื้นที่
จากการท่ีเป็นบุตรของเกษตรกรผู้มีอาชีพทำนา บา้ นศาลา
ปลูกข้าวในพ้ืนท่ีตำบลดงใหญ่ อำเภอพิมาย 4. เน้นการแก้ไขปัญหาของชมุ ชน โดยการ
จังหวัดนครราชสีมา จนถึงปัจจุบัน ได้เข้ามาเป็น มองภาพรวม.(Macro).และแก้ไขปัญหาจาก
ผ้นู ำชุมชนในฐานะผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 3 บ้านศาลา จุ ด เล็ ก (Micro).ท่ี ใช้ ศั ก ย ภ า พ ข อ ง ค น
ในปี พ.ศ. 2555 นายองอาจ กลา้ พิมาย ไดน้ ้อมนำ ทรัพยากรในพื้นท่ีแก้ไขมาปัญหา โดยการ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ พึ่งพาตนเองให้ได้มากท่ีสุด แก้ไขปัญหาท่ีเน้น
และการเกษตรย่ังยืน มาปรับใช้ร่วมกับ การทำแบบมีส่วนร่วม การคิดค้น ดัดแปลง
ภูมิปัญญาเดิมในท้องถิ่น เพื่อพัฒนาตนเอง ปรับปรุง และพัฒนาให้เหมาะสมกับพ้ืนท่ี
ค รอ บ ค รัว สั งค ม แ ล ะวิส าห กิ จชุ ม ช น และสภาพแวดล้อม
กลมุ่ ผผู้ ลติ เมลด็ พันธ์ุข้าวบ้านศาลา ดงั น้ี 5. เน้นการทำงานด้วยวิธีคิดแบบองค์รวม
1. เน้นการศึกษาหาข้อมูลอย่างต่อเนื่อง หรือการมองอย่างครบวงจร การมองภาพ
และเป็นระบบ ในฐานะผู้นำชุมชนการให้ อนาคตของชุมชนและการหาแนวทางแก้ไข
คำปรึกษาจึงต้องทำการศึกษาข้อมูล ท้ังจาก อย่างเช่ือมโยง ด้วยการนำแนวคิดและทฤษฎี
ข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ จากเอกสาร “จัดการทรัพยากรท่ีแต่ละคนมีอยู่ให้เกิด
ที่เก่ียวข้อง จากการสัมภาษณ์ จากการ ประโยชน์สงู สุด” เพ่อื ชุมชนบา้ นศาลาสามารถ
สอบถามจากผู้เก่ียวข้อง เพื่อให้ได้ข้อมูล พึง่ ตนเองได้อย่างเข้มแข็งและย่ังยืน นำเกษตร
ถูกต้อง แม่นยำ เช่ือถือได้ และตรงตามความ ทฤษฎีใหม่มาใช้ในการทำการเกษตรภายใน
ต้องการของประชาชน ชุมชนบ้านศาลา ใช้พื้นดิน น้ำ พืชพันธุ์ท่ีปลูก
2. เน้นการเป็นแบบอยา่ งที่ดีด้วยการลงมือ สัตว์เล้ียงต่างๆ มาบริหารจัดการทรัพยากร
ปฏิบัติ การจัดเก็บและจัดทำข้อมูลพื้นฐานต่างๆ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่างย่ังยืน บริหาร
ของหมู่บ้าน/ตำบล อย่างเป็นระบบ อาทิ จัดการอย่างสมดุล เน้นการทำงานที่ประสาน
บัญชีสำมะโนครัว ทรัพย์สินของหมู่บ้าน กับเครือข่ายและผู้เช่ียวชาญ มุ่งเน้นการสร้าง
สาธารณสมบัติต่างๆ ในหมู่บ้าน/ตำบล และ อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ท่ี ถู ก ต้ อ ง ก า ร จั ด อ บ ร ม
ปัจจุบันได้รับความไว้วางใจให้ประธาน เชิงปฏิบัติการ เพ่ือให้ประชาชนในชุมชนเกิด
วสิ าหกจิ ชมุ ชนผลิตเมล็ดพนั ธข์ ้าวบ้านศาลา การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง และพร้อมรับต่อการ
3. เน้นการพัฒนาด้วยหลักการระเบิด เปล่ียนแปลงซ่งึ นำความสขุ มากับตนเอง สังคม
จากข้างใน โดยการค้นหาความต้องการ และชมุ ชนตอ่ ไป
ของชุมชน จดั ประชุมประชาคมในหมู่บ้านเพ่ือ
นำความเห็นของประชาชนมาจัดทำโครงการ
พัฒนาร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลดงใหญ่
เพ่ือค้นหาจุดเด่น (เอกลักษณ์) ของหมู่บ้านศาลา
และนำมากำหนดเป็นโครงการในการพัฒนา
อย่างต่อเน่ือง จนเกิดกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผลิต
เมล็ดพันธุ์ข้าวบ้านศาลา เกิดผลิตภัณฑ์เมล็ด
7
รปู ที่ 1 การดำรงชีวติ เนน้ การทำงานแบบองคร์ วม
8
เกษตรกรไทย
อาชพี เกษตรกร เปน็ อาชพี หลักของประชาชนชนคนไทย ในปี 2563
มีเกษตรกรทั้งส้ิน 8,094,954 ครัวเรือน 9,368,245 ราย เกษตรกรส่วนใหญ่
หาเล้ียงชีพด้วยการปลูกชีพเป็นหลักมากถึง4,900,875 ราย โดยเกษตรกรไทย
อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 46.6 อาศัยอยู่ใน
จังหวัดนครราชสีมามากเป็นอันดับสอง จำนวนทั้งสิ้น 307,510 ครัวเรือน รอง
จากจังหวัดอุบลราชธานี พ้ืนที่การเกษตรที่ถือครองมากท่ีสุด มีขนาด 10 – 39
ไร่ คิดเป็น ร้อยละ 50.9 (Marketeer.:.ออนไลน์) (รูปท่ี 4) ชาวนาจัดเป็น
เกษตรกรผู้ปลูกพืช อาชีพชาวนาในประเทศไทยจัดเป็นวิชาชีพเก่าแก่ มาตั้งแต่
สมัยอดตี กาล ดว้ ยบริบทที่ประเทศไทยเปน็ ประเทศอ่ขู ้าวอ่นู ้ำ.ต้ังอยู่บรเิ วณพ้ืนที่
ราบล่มุ และมีทรัพยากรดินอดุ มสมบูรณ์ เออื้ ตอ่ การเพาะปลูก
รปู ท่ี 2 การดำรงชีวติ เน้นการทำงานแบบองคร์ วม
ท่มี า : https://marketeeronline.co/archives/161682
9
9
ความgrหiculมturาe ยของ
เกษตรกรและ
เกษตรกรรม
เกษตรกร หมายถึง ผู้ทำไร่ไถนา (เปล้ือง ณ นคร :
ออนไลน)์
เกษตรกร หมายถึง คนที่ประกอบอาชีพทางการ
เกษตรเพ่ือหารายได้ (ความรู้ท่ัวไปเก่ียวกับการเกษตร :
ออนไลน์)
เกษตรกร มาจากภาษาสันสกฤต 2 คำ คือ เกฺษตฺร (อ่านว่า
กเส - ตฺระ) แปลว่า ที่ดิน ท่ีนา กับ กร (อ่าน กะ -ระ) แปลว่า
ผู้กระทำ ผู้สร้าง เกษตรกร จึงหมายถึง ผู้ทำงานในท่ีดินหรอื ท่ีนา
หรือ ผู้ทอี่ าศยั ท่ีดิน ที่นา เพ่ือเพาะปลูกพืชผล เล้ียงสัตว์ ต่อมา
ขยายความรวมไปถึงผู้ท่ีใช้แหล่งน้ำทำประมงด้วย เกษตรกร
ยังเป็นคำรวมท่ีใช้เรียก ชาวนา ชาวสวน ชาวไร่ ชาวประมง
และผู้เลี้ยงสัตว์เพื่อการค้า (มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน :
ออนไลน์)
เกษตรกรรม คือ การเพาะปลูก เล้ียงสัตว์ รวมถึงการ
ป่าไม้ และเหมืองแร่ ส่วนเกษตรกรรม แปลมาจากคำว่า
agriculture (Agri/Ager) มาจากภาษากรีก หมายถึง ทุ่งหรือ
ดิน และ culture หมายถึง การปลูกหรือปฏิบตั ิ เมอ่ื มารวมกัน
หมายถึง การปฏิบัติเก่ียวกับที่ดินเพ่ือให้เกิดการผลิตหรือการ
ใชพ้ น้ื ทีเ่ พือ่ ให้เกิดผลผลิตข้นึ มา (เปล้อื ง ณ นคร : ออนไลน์)
เกษตรกรรม เป็นทกุ ส่ิงที่เกี่ยวขอ้ งกับการปลูกพืช และการเลี้ยงสัตว์
และยังครอบคลุมถึงการผลิตทางการเกษตร รวมทุกอย่างก่อน
และหลังฟาร์มด้วย การเกษตรยังรวมถึงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และวิศวกรรมด้วย (ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
การเกษตร : ออนไลน์)
10
เกษตรกรรมยัง่ ยนื 1) ระบบไร่หมุนเวียน การปลูกพืชใน
ระบบไร่หมุนเวียนเป็นการปลกู แบบผสมผสาน
เกษตรกรรมย่ังยืน เป็นการทำเกษตร โดยมีข้าว ผัก และพืชใช้สอยต่างๆ ปลูกอยู่ใน
ที่อิงอยู่บนแนวคิดแบบองค์รวม (Holistic ระบบเป็นจำนวนมากและอาจถือได้ว่าเป็น
Approach) เป็นการมองวา่ ทุกอย่างต้องอาศัย รูปแบบเกษตรกรรมยั่งยืนท่ีสามารถรักษา
ซึ่งกันและกันต้องสร้างสมดุลตามหลักการ ความหลากหลายทางชีวภาพไว้ได้มากท่ีสุด
พัฒนาแบบยังยืนในสามมิติ.ได้แก่ ความย่ังยืน ระบบหนึง่ ในขณะทเ่ี กษตรกรรมที่รักษาระบบ
ด้านส่ิงแวดล้อม ความย่ังยืนด้านเศรษฐกิจ. เกษตรกรรม เช่นน้ีเอาไว้มีเกณฑ์คุณค่าในการ
และความย่ังยืนด้านสังคม หมายความว่า.ต้อง เคารพและนอบน้อมตอ่ ธรรมชาติรวมไวด้ ว้ ย
ดำเนินไปอย่างมีคุณภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ
ต้องได้ รับ การบ ำรุงรักษ าให้ ดีข้ึน อย่าง 2) วนเกษตร (Agroforestry Farming)
เหมาะสม ไม่เบียดเบียนธรรมชาติต้องมีความ เป็นเกษตรกรรมท่ีนำเอาหลักความย่ังยืนถาวร
ยตุ ธิ รรมทางสังคมให้ทุกคนมีสว่ นร่วมในการใช้ ภาพของระบบป่าธรรมชาติมาเป็นแนวทาง
ทรัพยากรอย่างเท่าเทียมกัน และสามารถ ในการทำเกษตร ให้ความสำคัญ อย่างย่ิง
สร้างรายได้ อย่างพ อ เพี ยงตาม อัต ภ าพ กับการปลูกไม้ยืนต้นผลไม้และไม้ใช้สอยต่างๆ
ใน ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ที่ ต น เอ ง อ า ศั ย อ ยู่ อ ย่ า ง ใ ห้ เป็ น อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ห ลั ก ข อ ง ไร่ น า ผ ส ม
กลมกลื น .ผลผลิต ท่ี ได้ ต้องอาศัยสมดุ ล การปลูกพืชชั้นล่างท่ีไม่ต้องการแสงแดดมาก
ในกระบวนการผลิตจนถึงมือผู้บริโภคในสามมิติ หรือได้อาศัยร่มเงาและความชื้นจากการท่ีมี
เช่นกนั คือ ต้องเป็นระบบการเกษตรที่เป็นมิตร พื ช ชั้ น บ น ข้ึ น ป ก ค ลุ ม ร ว ม ทั้ งก า ร จั ด
กับสิ่งแวดล้อม.เกษตรกรต้องสามารถเล้ียง องค์ประกอบการผลิตทางการเกษตรให้มี
ตนเองได้และสร้างความมั่นคงทางด้านอาหาร ความหลากหลายของพชื และสตั ว์
เพ่ือการบริโภคอย่างเพียงพอ (ศูนย์ส่งเสริม
และพฒั นาพลังแผ่นดินเชงิ คณุ ธรรม. 2551) 3) การเกษตรแบบผสมผสาน
(Integrated.Farming) ห ม า ย ถึ ง ร ะ บ บ
วิธีเกษตรกรรมย่ังยืนต้องเป็นไปโดย การเกษตรที่มีการปลูกพืชและการเล้ียงสัตว์
เอื้ออำนวยให้กับเกษตรกร ทำให้เกษตรกร หลายชนิดในพ้ืนที่เดียวกัน โดยที่กิจกรรมการ
พัฒนาตนเองได้โดยอิสระและมีความสุขใน ผลิตแต่ละชนิดเก้ือกูลประโยชน์ต่อกนั ได้อย่าง
การดำรงอาชีพ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาของการ มีประสิทธิภาพมีการใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ในไร่
ทำการเกษตรกรรม รูปแบบของการทำ นาอย่างเหมาะสม เกิดประโยชน์สูงสุดมีความ
เก ษ ต ร ก ร ร ม ท่ี ยั่ ง ยื น ได้ รั บ ก า ร ย อ ม รั บ ใ น สมบรู ณ์ต่อสิง่ แวดล้อมอย่างตอ่ เนือ่ งและเกิด
ประเทศไทย จำแนกได้เป็น 6 รูปแบบสำคัญ ก า ร เพิ่ ม พู น ค ว า ม อุ ด ม ส ม บู ร ณ์ ข อ ง
ดังน้ี ทรัพยากรธรรมชาติ โดยมุ่งเป้าหมายไปที่การ
ประสานเก้ือกูลกันระหว่างพืชสัตว์ ซากสัตว์
11
และผลพลอยได้จากการปลูกพชื เป็นประโยชน์ 6) เกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางการ
ต่อกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์และในทางตรงกัน ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ท า ง ก า ร เก ษ ต ร ที่ เน้ น ก า ร
ข้ามผลที่ได้จากการเล้ียงสัตว์เป็นประโยชน์ต่อ จัดการแหล่งน้ำและการจัดสรรแบ่งส่วนพ้ืนที่
พชื เช่นเดียวกนั ทำการเกษตรอย่างเหมาะสม อันจะทำให้
เกษตรกรมีข้าวปลาอาหารไว้บริโภคอย่าง
4) การเกษตรอินทรีย์ (Organic Farming) พอเพียงตามอตั ภาพ เปน็ การแกป้ ัญหาในเร่ือง
ระบบผลิตทางการเกษตรทหี่ ลกี เลี่ยงการใช้ปุ๋ย ชีวิตความเป็ นอยู่ของเกษ ตรกรแล้วยัง
สั ง เค ร า ะ ห์ ส า ร เค มี ก ำ จั ด สู ต ร พื ช ฮอ ร์ โม น ท่ี ก่อให้เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจโดยรวม
กระตุ้นการเจรญิ เติบโตของพืชและสัตว์รวมท้ัง ของประเทศ ซึ่งแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่นี้
สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมเกษตรอินทรีย์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรรัชกาลท่ี 9
ให้ความสำคัญสูงสุดในการปรับปรุงบำรุงดิน พระราชทานไว้เม่ือครั้งมีพระราชดำรัสตอบ
โดยเชื่อว่าดินท่ีสมบูรณ์ย่อมทำให้พืชและสัตว์ พสกนิกรที่เข้าเฝ้าเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2540
ที่ เจ ริ ญ เติ บ โต จ า ก พื้ น ดิ น น้ั น มี ค ว า ม อุ ด ม ในภาวะที่ประเทศได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง
สมบูรณ์ตามไปด้วย มนุษย์ท่ีบริโภคผลผลิต จากวกิ ฤตฟิ องสบู่
จากไร่นาอินทรีย์จะได้รับอาหารท่ีมีคุณภาพดี
และปลอดภัยการเกษตรแตก่ รรมอินทรีย์อาศัย สรุปได้ว่า เกษตรกรรมยั่งยืน เป็นการ
การปรับปรุงบำรุงดิน การปลูกพืชหมุนเวียน ทำการเกษตรกรรมแบบองค์รวม (Holistic Approach)
การใช้ประโยชน์จากเศษซากพชื มลู สตั ว์ปยุ๋ พชื สด ที่ทุกสรรพสิ่งต้องพึ่งพาอาศัยและอยู่ร่วมกัน
ปุ๋ยชีวภาพรวมท้ังธาตุอาหารจากการผุพังของ ระหว่าง คน สัตว์ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หนิ แร่ มีการควบคมุ ศัตรูพืชโดยวิธีชีวภาพหรือ เกษตรกรต้องทำการเกษตรแล้วเกิดความพอกิน
สารสกัดจากพืชท่ีไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ พอใช้ พอใจ และมีความสุขในการดำรงชีวติ ได้
หรอื มผี ลกระทบต่อแมลงทเี่ ปน็ ประโยชน์ อยา่ งไม่เบยี ดเบยี นกัน
5) เกษตรกรรมธรรมชาติ (Natural Farming)
เป็ น แ น ว ท า ง เก ษ ต ร ก ร ร ม ท่ี ม อ ง ค ว า ม เป็ น
มนุษย์และความเมตตากรุณาในทุกหนทุกแห่ง
มนุษย์ทำงานไดด้ ีที่สุดเมอ่ื เขาทำเพ่ือความดีงาม
ของมนุษย์ไม่ใช่เพ่ือ “ผลผลิตท่ีสูงขึ้น” หรือ
เพื่อ “เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ” หลักการของ
การทำเกษตรธรรมชาติ คือ การสร้างสมดุล
ทางธรรมชาตโิ ดยทำการเกษตรแบบไม่รบกวน
ธรรมชาติ เชน ไมไ่ ถพรวน ไมใ่ ชปุ๋ยเคมีเน้นปุ๋ย
พืชสด ไม่กําจัดวัชพืช แต่มีการคลุมดิน ซ่ึง
ได้รับแนวคิดทางการเกษตร จากชาวญี่ปุ่น “
มาซาโนบุ ฟอุ โุ อกะ”
12
13
13
เกษตรกรรม การปลูกข้าวในพ้ืนที่จังหวัดนครราชสีมา
ในจังหวัดนครราชสมี า ปลูกข้าวได้เปน็ อบั ดบั 2ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
เป็นรองจังหวัดอุบลราชธานี (สำนักงาน
จังหวัดนครราชสีมา เป็นจังหวัดท่ีมี เศรษฐกิจการเกษตร, ออนไลน์) สามารถผลิต
พื้นที่ปลูกข้าวได้ท้ังข้าวเจ้าและข้าวเหนียว ข้าวหอมมะลิคุณภาพดี จากสภาพการจัดทำ
ข้าวเป็ น พื ช เศ รษ ฐกิจท่ี ส ำคั ญ แล ะเป็ น เขตเหมาะสม (Zoning) พบว่า นครราชสีมา
ผลิตภัณฑ์ที่เป็นดาวเด่น (Star) ของจังหวัด มีพ้ืนที่เหมาะสมกับการปลูกข้าวประมาณ
ในปี พ.ศ. 2563 มีพ้ืนท่ีในการเพาะปลูกข้าว 3.26 ล้านไร่ จากพื้นท่ีที่มีความเหมาะสมมาก
นาปีรวมท้ังสิ้น 3,579,031 ไร่ เป็นเนื้อที่ (S1) จำนวน 0.65 ล้านไร่ พ้ืนที่เหมาะสมปาน
เก็บเก่ียว 2,873,316 ไร่ เก็บเก่ียวผลผลิตได้ กลาง (S2) จำนวน 2.61 ล้านไร่ (ศิริสรณ์เจริญ กมล
1,009,424 ตัน ผลผลิตเฉล่ียต่อไร่ 351.31 ลมิ้ สกุล และคณะ, 2561)
(สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, ออนไลน์)
อำเภอพิมาย ท่ีถือเป็นพื้นที่ปลูกข้าวได้
จัดเป็นเขตพ้ืนท่ีมีความเหมาะสมมาก (S1)
มีกลุ่มชุดดินท่ีมีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ใน
ระดับมากถึง 183,706 ไร่ ซ่ึงถือว่ามากท่ีสุด
กว่าทุกอำเภอจาก 32 อำเภอ และสามารถ
ปลูกข้าวมากเปน็ อันดับ 2 ของจังหวัดรองจาก
อำเภอโนนสูง มีพื้นท่ีในการปลูก 287,283 ไร่
เก็บเก่ียวผลผลิตได้ 96,952 ตัน ผลผลิตเฉล่ีย
ต่อไร่.354.กิโลกรัม (สำนักงานเศรษฐกิจ
การเกษตร, 2562)
หมู่บ้านศาลา ตั้งอยทู่ ่ีหมู่ 3 ตำบลดงใหญ่
อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา ก่อตั้ง
ประมาณ 200 ปี ท่ีมีช่ือว่าบ้านศาลา เพราะ
ต้งั แต่โบราณ มศี าลาทีต่ ้ังอยู่ฝ่ังแมน่ ำ้ มูล เปน็ ที่
พั ก แ ร ม ข อ ง พ ว ก พ่ อ ค้ า เรื อ ก ล ไ ฟ ที่ ท ำ ก า ร
ค้าขายระหว่าง นครราชสีมากับอุบลราชธานี
และได้ถูกน้ำเซาะศาลาพังหมด จึงได้ช่ือว่า
บ้านศาลา ปัจจุบันนี้เรียกว่า ท่าศาลา ปัจจุบัน
เป็นที่ต้ังโรงเรียนบ้านศาลา ประชากรส่วนใหญ่
มี เชื้ อ ช า ติ ไ ท ย .นั บ ถื อ ศ า ส น า พุ ท ธ
มีจำนวนครัวเรือน 220 ครัวเรือน มีประชากร
814 คน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม สภาพพื้นท่ีเป็นที่ราบลุ่มมีพ้ืนที่
ทั้งหมด 6,516 ไร่ ภูมิประเทศเหมาะสำหรับ
การเพ าะปลูกข้าว เน่ืองจากมีแหล่งน้ำ
13
14
อุดมสมบูรณ์ พ้ืนที่อยู่อาศัยจำนวน 400 ไร่ ไม่มีรถขนส่งไปขาย ไม่มีความรู้ในการขาย
น้ำท่ีใช้ในการเกษตรและอุปโภคได้มาจาก จำเป็นต้องขายให้กับโรงสี (ดุษฎี เทียมเทศ
คลองส่งน้ำชลประทานและแม่น้ำมูล น้ำที่ใช้ บญุ มาสูงทรง, 2558) ดังน้ันสิ่งที่เกษตรกรบ้าน
บริโภคมาจากธรรมชาติ คอื น้ำฝน พ้ืนทีส่ ่วนใหญ่ ศาลามีความต้องการในการแก้ปัญหาให้กับ
เป็นนาข้าวมีบ่อปลาและหนองน้ำสาธารณะ หมู่บ้านศาลา ได้แก่ การสร้างมูลค่าเพ่ิมจาก
จำนวน 3 แหง่ ผลผลิตข้าว การลดต้นทุนการผลิต การตลาด
สมัยใหมท่ ่ีเพมิ่ ช่องทางการจำหน่ายและตัดคน
จากการสำรวจบริบทหมู่บ้านศาลาและ กลางในช่องทางการตลาด
สั ม ภ า ษ ณ์ เชิ ง ลึ ก (In.depth.Interview)
ส น ท น า ก ลุ่ ม .(Focus.Group.Discussion) รปู ที่ 3 แผนท่บี ้านศาลารวม
และสังเกตแบ บ มีส่วน ร่วม (Participant ที่มา : ดษุ ฎี เทยี มเทศ บุญมาสูงทรง. 2562
Observation) พ บ ว่ า ชุ ม ช น บ้ าน ศ า ล า
มีปัญหาหลักๆ คือ เร่ืองของการประกอบอาชีพ
เนื่องจากเป็นหมู่บ้านท่ีปลูกข้าว เกษตรกร
มีการลงทุ น สูงท ำให้ มีห น้ี สิน และได้ รับ
ผ ล ต อ บ แ ท น น้ อ ย จ าก ก าร ใช้ ส ารเค มี
ในการเกษตร ใช้เมล็ดพันธุ์ด้อยคุณภาพ มีผล
ทำให้ต้นทุนในการผลิตสูง เกษตรกรไม่
สามารถกำหนดราคาขายข้าวได้ ปัญหาในการ
ปลูกข้าวที่ มีผลผลิตต่ำได้ผลผลิตต่อไร่
ประมาณ.350 – 400 กิโลกรัม การใช้เมล็ดพันธ์ุ
ในปริมาณมากจากความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง
เมล็ดพันธุ์ข้าวที่ใช้ในการปลูกข้าวนาหว่าน
ตอ่ ไรส่ ูงถึง 20 – 25 กิโลกรัม ซง่ึ ถอื ว่าเป็นการ
ปลูกท่ีต้นทุนเมล็ดพันธ์ุข้าวสูงมาก (มาตรฐาน
ต่อไร 15 – 20 กิโลกรัม) และจากงานวิจัย
ยังพบปัญหาในการใช้สารเคมีในการปลูกข้าว
ที่เป็นอีกปัญหาที่ทำให้ต้นทุนในการปลูกข้าว
ของเกษตรกรบ้านศาลามีต้นทุนสูงและส่งผล
ถึงปัญหาในเรื่องสุขภาพของเกษตรกร ปัญหา
ท่ีเกิดขึ้นในการผลิตข้าว ได้แก่ ขาดเงินทุน
ฝนทิ้งชว่ ง ขาดแหลง่ น้ำ ศตั รูพชื หนูมากินขา้ ว
ในนา ผลผลิตราคาตกต่ำ และได้ปริมาณน้อย
โรคเช้ือราในข้าว โรคใบไหม้ ปญั หาคา่ แรงงาน
ปุ๋ ยเคมี ราคาสูงขึ้น และต้นทุ นการผลิตข้าว
ท่สี ูงข้นึ ปัญหาทางการตลาดได้แก่ ราคาท่ีไม่เป็นธรรม
โรงสีกดราคา แหล่งรับซ้ือไม่ซ่ือสัตย์ ราคาต่ำ
14
15
จากปัญหาของหมู่บ้านศาลา นายองอาจ กล้าพิมาย เสน้ ทาง
ในฐานะผู้นำชุมชน ได้หาแนวทางการแก้ไขร่วมกับองค์การ เมลด็ พันธุข์ า้ ว
บริหารส่วนตำบล และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน บา้ นศาลา
นครราชสีมา ผ่านโครงการเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือยกระดับ
คุณภาพชีวิตของชุมชนบ้านศาลาตำบลดงใหญ่ อำเภอพิมาย นครราชสีมา
จังหวัดนครราชสีมา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 จนถึงปัจจุบัน
การทำงานจนประสบความสำเรจ็ เกิดเป็น “เส้นทางเมล็ดพนั ธุ์
ข้าวบ้านศาลา” เป็นการทำงานร่วมกันในทุกภาคีเครือข่าย
มีบคุ ลากรท่สี ำคญั ดังนี้
➢ ผนู้ ำชมุ ชน ซึง่ ไดแ้ ก่ นายองอาจ กล้าพมิ าย
➢ นำทางศาสนา ซ่ึงได้แก่ เจ้าคุณพระพิศาลปริยัติการ
(เชาว์ สารตั ถิโก)
➢ ผู้อำนวยการศูนย์เมล็ดพันธ์ุข้าว นครราชสีมา
ซึ่งไดแ้ ก่ นายกฤษฎิน คำตัน
➢ -นายกองค์การบริหารส่วนตำบลดงใหญ่ ซึ่งได้แก่
นายเย่ียม ขวญั สุข
➢ หัวหน้าโครงการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดุษฎี เทียมเทศ
บุญมาสูงทรง
เส้นทางสายเมล็ดพันธุ์ข้าวบ้านศาลา เกิดขึ้นจาก
ความร่วมมือ การทำงานแบบมีส่วนร่วม ของประชาชน
บ้านศาลา ที่เห็นความสำคัญของการเพิ่มมูลค่าข้าวเปลือก
นายองอาจ กล้าพมิ าย ได้เชิญชวนประชาชนมาเข้ารว่ มอบรม
เชงิ ปฏิบัติการ ขอให้ประชาชนร่วมกบั เครือขา่ ยท้ังภาครฐั บาล
และภาคเอกชน จนทำให้ประชาชนบ้านศาลาตระหนักถึงการ
ทำเกษตรทฤษฎีใหม่ การน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มาใชใ้ นการดำเนินชีวิต การพ่ึงพาตนเอง ประชาชนรวมกลุ่มกัน
เป็นวิสาหกิจชุมชนเพ่ือเพ่ิมมูลค่าข้าวเปลือก ปรับเปล่ียน
วิธีการปลูกข้าวท่ีใช้สารเคมีมาเป็นอินทรีย์ ประชาชนเกิด
ความตระหนักในการทำการเกษตรแบบประณีต จนประสบ
ความสำเรจ็ ในการเปลี่ยนผลิตภณั ฑข์ ้าวเปลือกเป็น เมล็ดพันธ์ขุ า้ ว
“บ้านศาลา” ท่ีทางวิสาหกิจฯ สามารถดำเนินการเป็นทั้ง
ผรู้ วบรวมและจัดจำหน่ายเมล็ดพันธุต์ าม พระราชบัญญัติข้าว
และเมล็ดพันธ์ุข้าวผา่ นการรบั รองจากศูนยเ์ มล็ดพันธขุ์ า้ วทุกปี
มาจนถงึ ปัจจุบนั
15
ขา้ วเปลอื กสเู่ มล็ดพนั ธุข์ า้ ว “บา้ นศาลา”
เมล็ดพันธุ์ข้าวบ้านศาลา เกิดจาก การนำองค์ความรู้มาสร้างโมเดลท่ีเรียกว่า
Community-based Center Model (CCM Model) ที่นำไปใช้พัฒนาหมู่บ้านศาลา ร่วมกับผู้นำ
ชุมชน โดยมีผู้นำ นายองอาจ กล้าพิมาย เป็นศูนย์กลางในการขับเคล่ือน ในสร้างแหล่งเรียนรู้ / ให้
ความรู้ / หาผู้ช่วย ใหค้ ำปรึกษาร่วมกันจัดตั้งคณะดำเนินงานตดิ ตามชว่ ยเหลือรว่ มกับเครอื ข่าย ลงมือ
ปฏิบัติจริง ทั้งตัวผู้นำ และคนในชุมชน และตรวจสอบคุณภาพ ประเมินผลการดำเนินงานร่วมกัน
อย่างต่อเนื่อง จนเกิดภาพความสำเร็จของผู้นำและชุมชน เกิดวิสาหกิจชุมชนเมล็ดพันธข์ุ ้าวบา้ นศาลา
เกดิ ผลิตภณั ฑ์เมล็ดพนั ธ์ุข้าวชั้นจำหน่าย เกิดอาชีพใหม่ ชว่ ยสร้างงาน สร้างรายได้ ทำให้เกิดเศรษฐกิจ
หมุนเวียน (BCG Economy) เกิดเศรษฐกิจสีเขียว (Bio-Circular-Green Economy) ที่เป็นโมเดล
เศรษฐกิจสู่การพัฒนาท่ียั่งยืนและเป็นการยกระดับความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่ง ยืนให้กับ
เกษตรกรผู้ปลูกข้าวของชมุ ชนบ้านศาลา (รปู ท่ี 4)
16
รปู ที่ 4 โมเดล Community-based Center Model (CCM Model)
กระบวนการที่ใช้ในการเปล่ยี นแปลงของนายองอาจ กลา้ พิมาย และประชาชนบ้านศาลา
เป็นการเปล่ียนแปลงในด้านเศรษฐกิจของชุมชน จากการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการปลูกข้าว
เน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ข้าวตลอดห่วงโซ่การผลิตข้าวบ้านศาลา โดยเน้นท่ี
กระบวนการปลูกข้าวให้ได้มาตรฐาน เมล็ดพันธุ์ข้าว การลดต้นทุนจากการลดใช้สารเคมี การเปลี่ยน
ข้าวเปลือกให้เป็นผลิตภัณฑเ์ มล็ดพันธขุ์ ้าว การสร้างคุณค่าให้กับเมล็ดพันธขุ์ ้าว สรา้ งช่องทางการจำหน่าย
และการบริหารการตลาดสมัยใหม่ โดยเน้นที่กิจกรรมกลุ่มหรือการรวมกลุ่ม เพ่ือให้เกิดกิจกรรม
ท่ีชัดเจนและเกิดความยั่งยืน ดังนี้
1. ศึกษาปญั หาที่ต้องการแก้ไข ผ่านการพัฒนาผู้มีส่วนได้เสยี ให้มีเปา้ หมายในการพัฒนา
ระบบเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม โดยทำให้กลไกลการพัฒนาในเรื่องนั้นๆ สามารถมีพลัง
ในตนเองด้วยข้อมูลและความรู้ ผ่านกระบวนการเรียนรู้อย่างจริงจัง มีการจัดการทรัพยากร
ใหส้ อดคลอ้ งกบั เป้าหมายและผลลพั ธ์ท่ีได้ คอื การพฒั นาพน้ื ท่ี (สธุ รี ะ ประเสรฐิ สรรพ์, 2556)
2. ออกแบบแผนพัฒนาหมู่บ้านร่วมกันกับผู้มีส่วนได้เสีย โดยสร้างแผนร่วมกันในการ
พัฒนาด้านการเกษตร พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ เพ่ือให้เกิดมูลค่าเพิ่ม ด้วยวิธีการอบรมเชิงปฏิบัติการ
ในการเพมิ่ ผลผลิต การสร้างผลิตภัณฑใ์ หม่ การจดั ตงั้ กลมุ่ วสิ าหกจิ การจดั การสมัยใหม่และการตลาด
สมยั ใหม่ เพอ่ื ให้เกิดผลในเชงิ ประจักษ์และเกดิ ความยัง่ ยืนในอนาคต
17
3. พัฒนาร่วมกันกับผู้มีส่วนได้เสีย โดยการอบรมเชิงปฏิบัติการและการศึกษาดูงาน
ในด้านต่างๆ เช่น การเกษตร พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่ม โดยวิธีการอบรมเชิงปฏิบัติการ
ในการเพม่ิ ผลผลิต การสรา้ งผลิตภัณฑใ์ หม่ การจดั ต้ังกล่มุ วิสาหกิจ การจัดการสมัยใหม่และการตลาด
เพอื่ ให้เหน็ ถึงการพฒั นาอย่างย่ังยืน ดงั น้ี
3.1 อบรมและดูงานเพ่ือให้เห็นถึงความพอเพียงที่เริ่มจากความเข้าใจตนเอง
สิ่งแวดล้อม และเห็นความสำคัญของการลงมือทำด้วยตนเอง การลดสารเคมีในการเพาะปลูก
ผา่ นการไปดูงานท่ีบา้ นปราชญ์ พ่อคำเดื่อง ภาษี ณ หมู่ท่ี 8 ตำบลหวั ฝาย กิ่งอำเภอแคนดง จังหวัดบุรีรัมย์
และศึกษาดูงาน ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน และพิพธิ ภณั ฑช์ าวนาไทย
3.2 อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารแบบมสี ว่ นร่วม
3.2.1 เรื่องดินและปุ๋ยพร้อมทั้งการนำดินไปทำการตรวจหาคุณสมบัติของดิน
เพ่ือให้ใช้ปุ๋ยให้เหมาะสมกับสภาพของดิน ผ่านเครือข่ายกรมพัฒนาที่ดิน ซ่ึงการใช้ปุ๋ยให้เหมาะสม
กับสภาพดินจะทำให้ลดต้นทุนในการปลูกข้าว ทำให้ผลผลิตข้าวมากข้ึนและน้ำหนักเมล็ดสูงขึ้น
และศึกษาดงู านการทำปุ๋ยอินทรีย์ จากอาจารยก์ ลม พรหมมาก
3.2.2 เรื่องความรู้เรื่องเก่ียวกับศัตรูพืช แนวทางป้องกัน และลดการใช้สารเคมี
เพื่อให้นำเชื้อราไตรโคเดอร์มา และเช้ือราบูเวเรีย มาขยายเช้ือแบบง่ายที่เกษตรกรสามารถผลิตใช้ได้เอง
เพ่ือนำมาใช้ในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูข้าว ที่มีต้นทุนต่ำและไม่เป็นอันตรายกับเกษตรกรและ
สิง่ แวดล้อม โดยคณาจารย์จากสาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตรและส่งิ แวดลอ้ ม ดร.เดอื นเพญ็ วงศ์สอน
และ ดร.ทศพร ศรี ษะภมู ิ
3.3 การบริหารจัดการสมัยใหม่ นำความรู้ในการจัดการห่วงโซ่คุณค่า การวิเคราะห์
สภาพแวดลอ้ มทางธุรกจิ การบรหิ ารจดั การกลุ่ม และศึกษาดูทีส่ หกรณ์เกษตรอินทรียท์ พั ไทย จังหวดั สรุ นิ ทร์
4. สร้างเคร่ืองมือเคร่ืองจักรมาใช้ในกระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว นำองค์ความรู้
ด้านวิศวกรรมศาสตร์ มาร่วมพัฒนาเคร่ืองจักรกลเกษตร ทำการผลิตเคร่ืองคลุกเมล็ดพันธุ์ข้าว
เพื่อลดการใช้แรงงานคนในการผลิตเมล็ดพันธ์ุข้าว กระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวต้องมีการคลุกน้ำยา
ท่ีป้องกันเชื้อราที่อาจเกิดข้ึนกับเมล็ดพันธ์ุท่ีทำการจำหน่าย เคร่ืองคลุกเมล็ดพันธ์ุข้าวจึงลดปัญหา
ในการใช้แรงงานคนที่มีคา่ ใช้จ่ายท่ีสูงขึน้ และมจี ำนวนน้อยลง
5. ยกระดับการผลิตเชิงพาณิชย์ ด้วยการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการส่ือสารการตลาด
และการตลาดสมัยใหม่ นำความรู้ในเรื่องการสื่อสารการตลาด การโฆษณาและประชาสัมพันธ์
การส่อื สารกับผู้บริโภค การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ รวมถงึ การทำตลาดสมยั ใหม่ ความรู้เก่ียวกับผลิตภัณฑ์
ราคา การจดั จำหน่าย และการสง่ เสริมการตลาด เชน่
5.1 อบรมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมด้านการตลาดสมัยใหม่ ส่วนประสม
ทางการตลาด การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ การกำหนดราคา การกระจายและช่องทางการจัดจำหน่าย
การสอ่ื สารการตลาดแบบบรู ณาการ และการเพิ่มคุณค่า เพม่ิ มูลค่า เพ่ือสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผบู้ ริโภค
5.2 ออกแบบตราสินค้า สื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ โดยภูมิปัญญาและอัตลักษณ์
ของชมุ ชนเพอื่ เพม่ิ มูลคา่ ใหก้ บั ผลติ ภัณฑ์ เพ่มิ การรับรู้ และเพ่อื สรา้ งความได้เปรยี บด้านการแข่งขัน
18
5.3 ออกแบบบรรจุภัณฑ์ โดยเน้นในเรื่องอัตลักษณ์ของชุมชนเพื่อเพ่ิมมูลค่าให้กับ
ผลิตภัณฑ์ ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ได้ทำงานร่วมกับคณาจารย์สาขาวิชาออกแบบบรรจุภัณฑ์
คณะศิลปกรรมและออกแบบอตุ สาหกรรม
5.4 ร่วมออกงานจำหน่ายผลิตภัณฑ์ และศึกษาดูงานตลาดถนนสายข้าวปลูก โดยขอ
ศึกษาดูงาน ณ ร้านวรรณาข้าวปลูก ตำบลนางลือ1-9ท่าชัย อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท เพื่อให้
เกิดเครือข่ายการทำตลาดขา้ วปลูก
5.5 สร้างเครือข่ายทางการตลาดมาร่วมจำหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าวบ้านศาลา ซ่ึงได้แก่
ร้าน ส. เกษตรภัณฑ์ และร้านสมคิดการเกษตร ทำให้กลมุ่ มยี อดขายเพ่ิมสูงขึ้น (รปู ที่ 5)
รูปท่ี 5 กระบวนการพัฒนา (วสิ าหกิจชุมชนผผู้ ลิตเมล็ดพนั ธข์ุ า้ วบ้านศาลา)
19
ผู้ใหญ่องอาจ กล้าพิมาย พัฒนาด้านการเกษตรให้กับชุมชนและวิสาหกิจฯ จากข้าวเปลือก
เป็นเมล็ดพันธ์ุข้าว และข้าวสารบรรจุถุง ผลผลิตข้าวต่อไร่มีปริมาณเพิ่มมากข้ึน ซ่ึงเป็นผลดีกับชุมชน
และวิสาหกิจฯ องค์ความรู้ที่นำไปปรับใช้ในพัฒนาและกำหนดแนวทางในการขับเคล่ือนชุมชน และ
กลุ่มวิสาหกิจผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว.“บ้านศาลา”.บรรลุเป้าหมายของการแก้ปัญหาประกอบด้วย
3 แนวคดิ หลกั ไดแ้ ก่
แนวคิดที่ 1.หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาขององค์พระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดช หรือที่เรียกกันว่า ศาสตร์พระราชา โดยเน้นที่สร้างความพอเพียงกับตัวเอง
(Self Sufficiency) อยู่ได้โดยไม่ต้องเดือดร้อน ด้วยการนำองค์ประกอบตามแนวทางเศรษฐกิจ
พอเพียง 3 หว่ ง 2 เง่อื นไข (สเุ มธ ตันติเวชกลุ , 2544) มาใช้ในการพัฒนาหมบู่ า้ นราชมงคล
แนวคิดที่ 2 จัดต้ังวิสาหกิจชุมชน การพัฒนาองค์กรชุมชน (สถาบันวิจัยและพัฒนา
มหาวิทยาลัยขอนแกน่ , 2540) ไดแ้ บ่งการจดั ตงั้ กลมุ่ เป็น 4 ขัน้ ตอน
1. การก่อร่างสร้างกลุ่มและแสวงหาทางเลือกในระดับความคิด โดยการวิเคราะห์ชุมชน
และแสวงหาทางเลือกในการทำกิจกรรม
2. ลงมือปฏิบัติการ เป็นข้ันตอนที่สัมพันธ์กับขั้นแรก คือ หากลุ่มท่ีสามารถวิเคราะห์
ปัญหาและศักยภาพของตนเองได้ใกลเ้ คยี งความจริงและมีประสบการณ์ในการหาทางออก
3. ขนั้ ขยายตัว ลกั ษณะการขยายตวั ของชมุ ชน
4. สร้างพลังความสามัคคีในกลุ่ม เพ่ือสร้างความเข้มแข็งและระดมความร่วมมือ
จากกลุ่มภายนอกหรอื องคก์ รพันธมิตร
การจัดตั้งวิสาหกิจชุมชน การพัฒนาองค์กรชุมชน เพื่อให้กลุ่มผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว
บ้านศาลา มีความเข้มแข็งและประสบความสำเร็จ โดยดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพน้ัน จึงได้
ดำเนินการโดยใชห้ ลักการ 5 ก ดังน้ี ก ท่ี 1 กลุ่ม/สมาชิก เป็นการรวมตัวกันของคนท่ีมีความสมัครใจ
พร้อมท่ีจะให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมของกลุ่มทมี่ ีอาชีพเดียวกัน ก ที่ 2 กรรมการ หมายถึง
กลุ่มคนซึ่งได้รับมอบหมายและเป็นตัวแทนจากสมาชิกให้บริหารกลุ่มนั้น ก ที่ 3 กฎ กติกา ระเบียบ
ขอ้ บังคับกลมุ่ เพ่ือใชเ้ ป็นแนวทางปฏิบัตริ ่วมกันระหวา่ งสมาชิกและคณะกรรมการ ก ท่ี 4 กองทุนของกลุ่ม
มีการระดมทุน เพื่อให้กิจกรรมของกลุ่มดำเนินการได้ และ ก ที่ 5 กิจกรรม เพ่ือสร้างรายได้ให้กับ
ครวั เรอื นและชมุ ชน (กรมการพัฒนาชมุ ชน, 2560)
แนวคิดที่ 3 การตลาด (Marketing) คือ กระบวนการของธุรกิจเพ่ือสร้างมูลค่า
สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้บริโภค รวมถึงการจูงใจผู้บริโภคกลุ่มใหม่เห็นถึงคุณค่า และเกิดความ
พึงพอใจในผลิตภัณฑ์และในการดำเนินธุรกิจ โดยธุรกิจได้ผลกำไรในระยะยาวจากความพึงพอใจ
ของผู้บริโภค (ดุษฎี เทียมเทศ บุญมาสูงทรง, 2560).การตลาดเป็นสิ่งท่ีต้องทำความเข้าใจตลาด
และความต้องการของลูกค้า นักการตลาดต้องออกแบบและใช้กลยุทธ์ทางการตลาดเป็นตวั ขับเคลื่อน
ให้ลูกค้าเห็นถึงคุณค่าด้วยการใช้การตลาดแบบบูรณาการ การใช้ส่วนประสมทางการตลาดมาเป็น
ตัวขับเคล่ือน.ใช้กลยุทธ์ท่ีถูกต้องและเหมาะสมกับความต้องการของลูกค้าจึงจะทำให้ลูกค้า
เกิ ด สั ม พั น ธ ภ าพ ที่ ดี ลู ก ค้ าพึ งพ อ ใจ ส่ ว น ธุรกิ จ ก็ จ ะ ท่ี มี ผ ล ก ำไร ต าม ม า ดั งรูป ที่ 6
20
การสร้างคณุ คา่ ให้กับลกู ค้า และสรา้ งความสมั พนั ธ์กบั ลูกค้าการสร้างคุณคา่ ให้กบั ลกู คา้ ประจำ
การทำความ การออกแบบ สร้าง สร้าง การสร้างคณุ ค่าใหก้ ับ
เขา้ ใจตลาด ของลูกคา้ - โปรแกรม ความสัมพนั ธท์ ี่ ลกู คา้ ในการสรา้ งผล
และความ ขับเคลอ่ื นกล การตลาด มีผลกำไรและ กำไรเพือ่ ความถกู ตอ้ ง
ต้องการของ ยทุ ธ์ทาง แบบบูรณา สรา้ งความพงึ
การตลาด การทสี่ รา้ งคณุ พอใจของลกู ค้า ให้กับลูกคา้
ลกู ค้า คา่ ที่เหนือกวา่
รปู ที่ 6 รูปแบบกระบวนการทางการตลาด
ทม่ี า : Kotler and Armstorng, 2000
วสิ าหกจิ ชมุ ชนผู้ผลติ เมลด็ พันธข์ุ า้ วบ้านศาลา
วิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตเมล็ดพันธ์ุข้าวบ้านศาลา จดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนและเครือข่าย
วิสาหกิจชุมชน เมอ่ื วนั ที่ 4 กุมภาพนั ธ์ 2557.โดยมีนายองอาจ กลา้ พมิ าย เปน็ ผมู้ ีอำนาจแทนวิสาหกิจ
ชุมชน ท่ีต้ัง 69/1 หมู่ 3 ตำบลดงใหญ่ อำเภอพิมาย จังหวัดนคราชสีมา รหัสไปรษณีย์ 30110
โทรศัพท์ 08-1999-1378 เร่ิมต้นมีจำนวนสมาชิก จำนวน 20 คน โดยได้รับหนังสอื สำคัญแสดงการ
จดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ณ ลงวันท่ี 2 เมษายน 2557 รหัสทะเบียน 4-30-15-10 / 0014 และได้
ขอใบอนุญาตขายเมล็ดพันธุ์ควบคุม เลขที่ นม.1010 / 2558 ศวพ.โนนสงู ลงวันที่ 19 มกราคม 2558
โดยกลุ่มวิสาหกิจฯ มีการนำองค์ความรู้ในการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่ม โดยการระดมสมองใน
การร่วมกันคิด วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ และโครงสร้างองค์กร และวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ของวสิ าหกิจฯ ดงั นี้
วิสัยทศั น์ (Vision)
เปน็ ผผู้ ลิต และจำหน่ายผลติ ภณั ฑ์เมล็ดพันธข์ุ ้าว และขา้ วสาร ท่มี ีคณุ ภาพ เพือ่ ตอบสนอง
ความต้องการของเกษตรกรและผบู้ ริโภคให้มีคณุ ภาพชีวติ ที่ดี ด้วยการใช้วิธเี ศรษฐกิจชุมชน
พนั ธกจิ (Mission)
ผผู้ ลิต และจำหนา่ ยผลิตภัณฑเ์ มลด็ พันธ์ุข้าว และขา้ วสาร ทมี่ ีคณุ ภาพในราคาที่เหมาะสม
กับกลุ่มเกษตรกรและผู้บริโภค โดยกระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐาน ด้วยภูมิปัญญาทางการเกษตร
ด้ังเดิม ที่รักษาส่ิงแวดล้อม เพื่อตอบสนองความต้องการของเกษตรกรและผู้บริโภคภายใต้แนวคิด
เศรษฐกจิ ชุมชน
วัตถุประสงค์ (Objective)
1. เปน็ ผผู้ ลิต และจำหน่ายเมล็ดพันธขุ์ า้ วท่ีมีคณุ ภาพ
2. พฒั นาองค์ความรดู้ า้ นการผลิตเมลด็ พนั ธุ์ข้าวทม่ี คี ณุ ภาพให้กับสมาชิก
3. สร้างรายได้ และลดรายจา่ ยใหก้ ับสมาชิก
4. สร้างความรักสามคั คีให้เกิดขนึ้ ในชุมชน
5. สรา้ งเครอื ขา่ ยในการผลิตเมล็ดพนั ธ์ุข้าวระหว่างชุมชน
6. อนุรกั ษภ์ ูมิปัญญาในการทำการเกษตรแบบดัง้ เดิม
21
โครงสร้างองค์กร (Organizational Structure)
วิสาหกจิ ชุมชนกลมุ่ ผู้ผลิตเมล็ดพันธ์ขุ ้าวบ้านศาลา จัดโครงสร้างกลุ่มตามหน้าที่ และความคล่องตัว
ในการปฏิบัติงานให้เหมาะกับองค์กร หน้าท่ีงานหลักๆ ที่สำคัญ ได้แก่ ประธานกลุ่มฯ รองประธานฯ
เหรญั ญิก เลขานุการ และประชาสมั พนั ธ์ ดงั รปู ที่ 7
นายองอาจ กล้าพิมาย
ประธาน
นายสุวฒั น์ ปุมพมิ าย
รองประธาน
นางสมจติ ร รักษาทรัพย์ นางแมน้ นามโคตร นางอัจฉราพร โยงสูงเนิน
เหรัญญกิ เลขานกุ าร ประชาสมั พันธ์
รปู ท่ี 7 โครงสร้างองคก์ รวสิ าหกจิ ชมุ ชนผผู้ ลิตเมล็ดพนั ธ์ุข้าวบ้านศาลา
22
ตารางท่ี 1 การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมวสิ าหกิจผลิตเมล็ดพนั ธุ์ข้าวบ้านศาลา
SWOT ผลการวเิ คราะห์
จดุ แขง็
(Strengths) 1. มผี นู้ ำที่เขม้ แข็ง มีความม่งุ มนั่ และมีความรูค้ วามสามารถ สามารถสรา้ ง
ความสัมพันธ์กับพนั ธมติ รและเครือขา่ ยทสี่ ามารถใหป้ ระโยชน์กบั วิสาหกจิ ฯ
จดุ ออ่ น ได้เป็นอย่างดี
(Weaknesses)
โอกาส 2. สมาชิกเห็นประโยชน์ท่ีจะได้รับจากการเข้าร่วมกันเป็นวิสาหกิจชุมชน
(Opportunities) อย่างแท้จริง ส่งให้ผลการดำเนินกิจกรรมทุกด้านของกลุ่มได้รับความ
ร่วมมือและบรรลุวัตถปุ ระสงค์
อปุ สรรค
(Threats) 3. เกษตรกรทำนาเป็นหลัก สมาชิกความรู้ในด้านการทำนา มีการตระหนัก
ในการทำเกษตรอินทรีย์ เกษตรยั่งยืน และเกษตรผสมผสาน และสมาชิก
ในกลุ่มมคี วามเชือ่ มั่นในแนวคดิ ของเกษตรอินทรีย์
1. พื้นท่ีมีแหล่งน้ำไม่ครอบคลุมทุกพ้ืนท่ี บางพ้ืนนี้ยังมีน้ำ และระบบ
ชลประทานเข้าไปไม่ทว่ั ถึงนำ้ สง่ ผลกบั ปริมาณขา้ วในแตล่ ะปี
2. ยังไมโ่ รงสีขา้ วของวิสาหกจิ ฯ
1. แนวโน้มของผบู้ ริโภคท้ังในประเทศและต่างประเทศที่เห็นความสำคัญของ
สขุ ภาพทำให้นยิ มรับประทานอาหารปลอดภยั และอาหาร Organic Food
2. ชาวต่างประเทศนยิ มรับประทานอาหารไทยเพ่มิ มากข้นึ
3. นโยบายภาครัฐที่ใหก้ ารสนับสนนุ ในการปลูกพืชอินทรีย์ การผลติ ใหอ้ าหาร
ปลอดภยั และการตลาดทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ
4. ภาคเอกชนมนี โยบายให้ความชว่ ยเหลือ โดยเฉพาะดา้ นการตลาด และการ
จัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์
1. การเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate change) และภาวะโลกร้อน
(Global Warming) ท่ีส่งผลกระทบทางตรงกับภาคการเกษตร
2. สภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยยังมีความผนั ผวน
23
นายองอาจกล้า พิมาย ผู้นำวิสาหกิจฯ ได้นำจากแนวคิดการตลาดสมัยใหม่ มาพัฒนา
ผลิตภัณฑ์เมล็ดพันธุ์ข้าวเพ่ือเพิ่มมูลค่า (Value.Added) ข้าวเปลือกของสมาชิก ในแต่ละขั้นตอน
ตลอดหว่ งโซ่ ดงั น้ี
- ทำความเข้าใจตลาดและศึกษาความต้องการของลูกค้าเป้าหมาย ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว
จำหน่ายให้กับเกษตรกร โดยการทำการพัฒนากระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวตามมาตรฐาน
ของกรมการข้าว และมผี ลผลิตใหม่ ได้แก่ เมล็ดพันธขุ์ ้าวและขา้ วสาร
- ออกแบบและใช้กลยุทธ์ทางการตลาดเป็นตัวขับเคล่ือน โดยใช้กลยุทธ์ส่วนประสม
ทางการตลาด สร้างตราสินค้ารว่ มกับสมาชิก ได้ออกมาเป็นแบรนด์ “บา้ นศาลา” สรา้ งสโลแกน บรรจุภัณฑ์
ช่องทางการจำหน่าย การส่ือสารการตลาดแบบบูรณาการ เพ่ือสร้างคุณค่าด้านตราสิน ค้า
(Brand value) และคุณค่าดา้ นคุณภาพของเมลด็ พันธ์ุข้าว (Appreciation of Quality) “บา้ นศาลา”
(รปู ท่ี 8 – 10)
ความร่วมมือร่วมใจที่ย่งิ ใหญ่
เมลด็ พันธุข์ ้าวบา้ นศาลาทสี่ มบรู ณ์
ศาลาที่เปดิ รบั การเรยี นรู้เทคโนโลยีและนวตั กรรม
รปู ท่ี 8 ตราและสโลแกนเมล็ดพันธ์ุข้าว “บ้านศาลา”
24
รปู ที่ 9 ตราของผลิตภัณฑ์ข้าวสาร "บา้ นศาลา"
รปู ที่ 10 ขนั้ ตอนการผลติ เมล็ดพนั ธขุ์ ้าว "บา้ นศาลา"
25
ในปี พ.ศ. 2558 ได้รับอนุญาตเป็นผู้ขายเมล็ดพันธ์ุควบคุมจนถึงปัจจุบัน มีปริมาณการ
จำหน่ายยอดขายจากปี พ.ศ. 2558 จำนวน 30 ตัน มาถึงในปี พ.ศ. 2564.ไม่น้อยกว่า 1,000 ตัน
ซ่งึ ถือวา่ มีอัตราการเจริญเตบิ โตเป็นที่นา่ พอใจของกล่มุ วสิ าหกิจฯ การจำหน่ายผลิตภณั ฑ์ การทำตลาด
ในรูปแบบออนไลน์ (Online) และอ๊อฟไลน์ (Offline) กลุ่มวิสาหกิจฯ ได้ทำการจำหน่ายผลิตภัณฑ์
เมล็ดพันธุ์ข้าวทั้งทางตรงและทางอ้อม ช่องทางการจำหน่ายทางตรง (Direct.Channel) ผ่านทาง
ผู้ใหญ่องอาจ กล้าพิมาย ปัจจุบันเป็นประธานกลุ่มวิสาหกิจฯ คิดเป็นร้อยละ 30 และช่องทางการ
จำหน่ายทางอ้อม (Indirect.Channel) โดยมีเครือข่ายพ่อค้าคนกลางท่ีจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทางการ
เกษตรในตัวอำเภอพิมาย คือ ร้าน ส. เกษตรภัณฑ์ และร้านสมคิดการเกษตร คิดเป็นร้อยละ 70
อีกทั้งยังมีการจำหน่ายผ่านช่องทางการจำหน่าย Online โดยทำการขายผ่าน LAZADA (รูปที่ 11)
ซ่ึงการจัดกิจกรรมทางการตลาดดังกล่าว เป็นการเพิ่มคุณค่าให้กับลูกค้าในด้านการให้บริการ ทำให้
เกดิ มลู คา่ เพ่ิมใหก้ ับสมาชิกภายในกลุ่มอย่างต่อเน่อื ง
รปู ท่ี 11 การตลาดผลติ ภณั ฑเ์ มลด็ พนั ธ์ขุ ้าว “บา้ นศาลา”
26
เกษตรกรส่ดู ษุ ฎบี ณั ฑิต
นายองอาจ กล้าพิมาย จากการเป็นผู้นำ
ของชุมชนบ้านศาลา และผ้รู ่วมดำเนินโครงการ“เศรษฐกิจ
พอเพียงเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชุมชนบ้านศาลา
ตำบลดงใหญ่ อำเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา” ตั้งแต่
พ.ศ. 2556 จนถึงปัจจุบัน นายองอาจ กล้าพิมาย ได้ร่วม
แก้ไขปัญหา ร่วมพัฒนาทั้งตนเองและชุมชนบ้านศาลา
ด้วยการน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในดำเนิน
โครงการฯ และการบรหิ ารจัดการวิสาหกิจฯ ทำให้ตนเอง
เกษตรกรและสมาชิกในวิสาหกิจฯ บ้านศาลา ตระหนักถึง
การพ่ึ งพ าตน เอง การ ไม่ฟุ่ มเฟื อย คำนึ งถึงความ
พอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันให้ตัวเอง
การใช้ความรูแ้ ละคณุ ธรรมเปน็ พ้นื ฐานในการดำรงชีวิต
นายองอาจ กล้าพิมาย เป็นแบบอย่างของผู้นำท่ีเน้นการปฏิบัติจริง เร่ิมต้นทำ
การเกษตรยั่งยืน การงดใช้สารเคมี เรมิ่ พ่ึงพาตนเองทำใช้ปุ๋ยอินทรีย์จากทรัพยากรในพ้ืนที่ การใช้
สารชวี ภาพแทนยาฆ่าแมลง ในปจั จุบันพ้ืนท่ีปลูกข้าวของชมุ ชนบา้ นศาลา มีผลผลิตข้าวต่อไร่เพ่ิมสูงขึ้น
จากอดีตผลผลิตข้าวต่อไร่ 350 - 400 กิโลกรัม ปัจจุบัน ได้ผลผลิตข้าวต่อไร่ 550 – 800 กโิ ลกรัม
นอกจากน้ันในการสร้างยอดขายให้กับผลติ ภัณฑ์เมล็ดพันธ์ุข้าว ได้นำแนวทางการสอื่ สารการตลาด
แบบบูรณาการ (Integrated Marketing Communication) ไปใช้กับวิสาหกิจฯ จัดทำ โปสเตอร์
ป้ายโฆษณาผลิตภัณฑ์เมล็ดพันธุ์ข้าวและข้าวสารบ้านศาลา สร้างช่องทางการจำหน่ายท้ังขาย
ทางตรง ในงานเกษตร ณ ศูนย์วิจัยข้าวพิมาย การประชาสัมพันธ์ผ่านทางเครือข่ายเกษตรกร
หน่วยงานของภาครัฐ เช่น การประชุมในอำเภอ ทำให้ผู้บริโภคเกิดการรับรู้ กระตุ้น ให้เกิด
ความต้องการ และเพื่อสร้างคุณค่าในตัวผลิตภัณฑ์ รวมถึงการสร้างยอดขายให้เพ่ิมมากข้ึน ตาม
วัตถปุ ระสงค์ของการสง่ เสรมิ การตลาดทีต่ ้ังไวด้ ว้ ย
27
ในส่วนของการบริหารจัดการวิสาหกิจฯ มีผลการดำเนินการที่ชัดเจนที่ มีการจัดทำกรอบการบริหาร
ประชุมกับสมาชิกกลุ่มอย่างต่อเน่ือง การพูดคุย สาธิต แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ทั้งในระดับชุมชนและ
ระดับกลุ่มวิสาหกิจฯ เพื่อรว่ มกนั สรา้ งกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และแนวทางในการดำเนินงานของกลุ่ม
วิสาหกิจฯ ร่วมกัน ทำให้สมาชิกของกลุ่มวิสาหกิจฯ มีเพ่ิมขึ้น ในการแบ่งผลตอบแทนให้กับสมาชิก
กลุ่มวิสาหกิจฯ มีการประชุมหารือแนวทางการปันผลร่วมกัน โดยมีการปันเงินส่วนหน่ึงมาลงทุน
ซื้ออุปกรณ์ เครื่องมือ เพ่ือให้วิสาหกิจฯ มีศักยภาพเพ่ิมขึ้น เช่น ตาชั่งดิจิตอล รถลากข้าว ตะแกรง
กลม และรถยก เป็นต้น ซ่ึงการดำเนินการท่ีกล่าวมาข้างต้น นายองอาจ กลา้ พิมาย เล็งเห็นว่าจะเป็น
กระบวนการหนุนเสริมให้วิสาหกิจฯ เข้มแข็งในระบบเศรษฐกิจฐานราก ท่ีสามารถนำไปการพัฒนา
ความสามารถและศกั ยภาพเพื่อสร้างโอกาสใน การแขง่ ขันและให้คนใน ชุมชนสามารถพึ่งพาตวั เองได้
หลังฤดูกาลทำนา นายองอาจ กล้าพิมาย ได้พัฒนาเครื่องมือ และอุปกรณ์ ด้วยภูมิปัญญา
ของตนเอง ด้วยทรัพยากรที่มีอยู่ เกิดเป็นเครื่องมือ เคร่ืองใช้ต่าง ๆ ที่ลดเวลาการทำงาน ทุ่นแรง ทุนเวลา
ในการปลูกข้าวและการเก็บเก่ียวข้าว รวมถึงการปรับเปล่ียนพื้นท่ีปลูกข้าวมาทำเป็นไร่แตงโม
ปลูกปอเทืองเพอ่ื เป็นปุย๋ พืชสด ลดรายจา่ ย สร้างรายได้ใหเ้ กิดข้นึ กบั ตนเองและครอบครัว (รูปท่ี 13)
นายองอาจ กล้าพิมาย ได้สั่งสมประสบการณ์ทั้งทางตรงและทางอ้อม จนได้รับการยอมรับ
กลุ่มวิสาหกิจฯ ได้เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับ คณาจารย์ นักเรียน และประชาชนท่ัวไป ที่ผู้ใหญ่องอาจ
เป็นวิทยากร ให้ความรู้เร่ืองต่างๆ เช่น ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรย่ังยืน การเกษตร
ผสมผสาน การผลิตเมล็ดพนั ธ์ุข้าว.การผลิตและวิธใี ช้เช้ือราไตรโคเดอร์มาควบคุมโรคพืช การปลูกพืช
หลังทำนา และการพัฒนาเครื่องเก็บข้าวต้นแบบท่ีมีการอบข้าวเพ่ือลดความช้ืน ทำให้ได้รับรางวัล
ผู้นำชุมชนที่มีผลงานด้านการเกษตรและนวัตกรรมสร้างช่ือเสียงให้กับหมู่บ้านศาลาจากการมุ่งมั่น
ต้ังใจพัฒนาตนเองและชุมชนบ้านศาลาร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานอย่างต่อเนื่อง.
และจากผลงานเชิงประจักษ์ จึงได้รับการเสนอช่ือเป็นดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักด์ิ สาขาวิชา
เทคโนโลยีการเกษตรและส่ิงแวดล้อม เพื่อเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร.คร้ังท่ี 33.ประจำปี
การศึกษา 2561 วันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญญ
บุรี (รูปท่ี 12 - 13)
รูปที่ 12 การรบั พระราชทานปริญญา ดุษฎบี ณั ฑิตกติ ติมศกั ดิ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตรและ
ส่งิ แวดลอ้ ม
28
29
30
รูปที่ 13 ผลงานการพฒั นาสู่ตน้ แบบดุษฎบี ณั ฑิตกติ ติมศักดิ์
การถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
นายองอาจ กล้าพิมาย ได้สรุปและรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับการผลิตเมล็ดพันธ์ุข้าว ร่วมกับ
โครงการของสำนักงานส่งเสริมวิสาห กิจขนาดกลางและขยาดย่อม ร่วมกับเครือข่าย
มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน โดยการจดั ทำคู่มือการผลิตเมล็ด
พนั ธข์ุ า้ ว “บ้านศาลา” เพื่อให้เกดิ ประโยชน์กับประชาชนและเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ดงั น้ี
32
31
31
ภาคผนวก
32
3
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49