The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

KM แนวทางการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน ววน.

KM แนวทางการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยฯ

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ
กำรสนับสนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
ส่งเสริมวทิ ยำศำสตร์ วิจยั และนวตั กรรม (สกสว.)

คำนำ
สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 1 - 11 มีบทบำทภำรกิจศึกษำ ค้นคว้ำ วิจัย เพื่อให้ได้
องค์ควำมรู้กำรพัฒนำสังคม ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม รูปแบบ แนวทำงกำรดำเนินงำน เพื่อนำไปสู่กำรแก้ไขปัญหำ
ในสภำวะวิกฤติและเปน็ กำรเตรยี มควำมพร้อม เพื่อให้ทนั ต่อสถำนกำรณท์ จี่ ะเกิดข้ึนในอนำคต ซึ่งในกำรจัดทำ
ข้อมูลเกี่ยวกับองค์ควำมรู้ต่ำงๆ ผู้ปฏิบัติงำนจำเป็นที่จะต้องมีควำมรู้ควำมเข้ำใจในกำรปฏิบัติงำนอย่ำงแท้จริง
เพ่ือให้ข้อมูลท่ีได้สำมำรถนำไปใช้แก้ไขปัญหำและจัดบริกำรทำงสังคมได้ถูกต้อง ตรงตำมควำมต้องกำร
ของพ้นื ที่
สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 4 (สสว.4) จังหวัดนครรำชสีมำ ได้เห็นควำมสำคัญ
และควำมจำเป็นในกำรจัดทำข้อมูลเกี่ยวกับองค์ควำมรู้ต่ำงๆ โดยเฉพำะด้ำนงำนวิจัย เนื่องจำกกองทุน
ส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมวิทยำศำสตร์
วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ได้เปิดให้หน่วยงำน/สถำบันต่ำงๆ ยื่นข้อเสนอโครงกำรวิจัย เพื่อขอรับกำรสนับสนุน
งบประมำณเป็นประจำทุกปี ซ่ึงหน่วยงำนในสังกัดกระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์
รวมท้ัง สสว.4 ได้ย่ืนข้อเสนอโครงกำรทุกปี ทำให้บุคลำกรในหน่วยงำนจำเป็นต้องมีควำมรู้และควำมเข้ำใจ
สำมำรถศึกษำและใช้เป็นแนวทำงในกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับกำรสนับสนุนงบประมำณ
จำกกองทนุ ววน. ฯ ในปีต่อไปได้
สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 4 (สสว.4) จังหวัดนครรำชสีมำ หวังเป็นอย่ำงย่ิงว่ำ
แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับกำรสนับสนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์
วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำรส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (สกสว.) เล่มน้ี
จะเป็นประโยชน์ต่อบุคลำกร สสว.4 และหน่วยงำนในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของ สสว.4 รวมทั้ง ผู้ท่ีสนใจ
ในกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับกำรสนับสนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์
วจิ ัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.) ตอ่ ไป

สำนักงำนสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชำกำร 4
กลุม่ กำรวิจัยและกำรพัฒนำระบบเครือข่ำย

พฤษภำคม 2565

สำนักงำนส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับ หน้ำ
กำรสนับสนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจยั และนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร 1
ส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (สกสว.) 1
2
สำรบญั 2
2
บทท่ี 1 บทนำ 3
1.1 ที่มาและความสาคัญ 3
1.2 วตั ถุประสงค์ 3
1.3 ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ 4
1.4 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ 5
5
บทท่ี 2 แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจยั 5
2.1 ความหมายการวจิ ยั 6
2.2 ประเภทของการวจิ ยั 6
2.3 ลกั ษณะของโครงการวจิ ยั ทด่ี ี 6
2.4 แนวทางการเขยี นโครงการวิจัย 7
2.4.1 การเขียน “ช่ือโครงการวิจัย” 8
2.4.2 การเขียน “ประเภทการวิจัย” 9
2.4.3 การเขียน “กลุ่มวชิ าและสาขาวชิ า” 9
2.4.4 การเขยี น “ประวัติหัวหน้าโครงการและคณะผู้วิจัย” 10
2.4.5 การเขยี น “ความสาคัญ และท่มี าของปัญหาวิจัย” 10
2.4.6 การเขียน “วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย” 10
2.4.7 การเขยี น “แนวคิด ทฤษฎี และเอกสารงานวิจยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง” 11
2.4.8 การเขียน “กรอบความคิดในการวิจัยและสมมุติฐานวิจยั ” 13
2.4.9 การเขยี น “ขอบเขตการวิจยั ” 17
2.4.10 การเขยี น “ความจากัดของงานวจิ ัย” 18
2.4.11 การเขียน “ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะได้รบั หรือความสาคัญของการวิจัย” 23
2.4.12 การเขียน “ระเบียบวธิ วี ิจัย”
2.4.13 การเขยี นหัวข้ออ่ืนๆ ในโครงการวิจยั 26
2.5 ขอ้ ควรระวงั และสงิ่ ท่ีพบความผดิ พลาดบ่อย

บทท่ี 3 จริยธรรมกำรวิจัยในคน
3.1 หลักจริยธรรมพ้ืนฐาน (Basic ethical principles)
3.2 การประยุกตใ์ ชห้ ลกั จรยิ ธรรม
3.3 แนวทาง/ขน้ั ตอนการขอใบประกาศนยี บตั รเพือ่ ประกอบการย่นื คาขอรับรอง

จริยธรรมการวจิ ยั ในมนุษย์

สำนกั งำนสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (กองทุน ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำร
สง่ เสริมวทิ ยำศำสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (สกสว.)

สำรบัญ (ต่อ)

หนำ้

3.4 กระบวนการ/ข้นั ตอน กรอบแนวทาง และแบบฟอร์มการขอรบั รองจรยิ ธรรม

การวิจัยในมนุษย์ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 27

3.5 เอกสารประกอบการยื่นคาขอรับรองจรยิ ธรรมการวจิ ัยในมนุษย์ 28

บทท่ี 4 กำรยื่นคำของบประมำณ ดำ้ นวทิ ยำศำสตร์ วิจัย และนวตั กรรม 48

4.1 ประเภทของงบประมาณดา้ นวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม

และการจดั สรรงบประมาณผ่านกองทุนส่งเสริมดา้ นวิทยาศาสตร์วจิ ยั และนวตั กรรม 48

4.1.1 ประเภทของงบประมาณด้าน ววน. 48

4.1.2 หลักเกณฑ์การจดั สรรงบประมาณดา้ นวิทยาศาสตรว์ ิจยั และนวตั กรรม

ในกลุ่มทุนสนับสนนุ งานพ้ืนฐาน (Fundamental Fund) 49

4.2 กรอบเวลาการยื่นคาของบประมาณ และปฏทิ ินการจัดสรรงบประมาณ 50

4.2.1 ขั้นตอนการจัดทาและยื่นคาของบประมาณของหน่วยงานในระบบ ววน. 50

4.2.2 ปฏิทนิ การจัดทางบประมาณของหนว่ ยงาน 51

4.3 คาของบประมาณและเอกสารทเี่ กย่ี วข้อง 52

4.3.1 แผนปฏิบัตกิ าร 52

4.3.2 แผนงาน 53

4.4 ขนั้ ตอนการปรบั คาของบประมาณ 57

บทที่ 5 บทสัมภำษณผ์ ู้มปี ระสบกำรณด์ ้ำนงำนวจิ ยั 59

5.1 บทสัมภาษณ์ผูม้ ปี ระสบการณด์ ้านงานวจิ ยั ของสานกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 59

ภำคผนวก 63

- หลักการและวิธีการกาหนดค่าใช้จ่ายและงบประมาณเพ่อื สนับสนุนงานมูลฐาน

ตามพนั ธกจิ ของหน่วยรบั งบประมาณ (Fundamental Fund; FF) 64

- แนวปฏบิ ัตใิ นการบริหารงบประมาณเพื่อสนับสนุนงานมลู ฐานตามพันธกิจ

ของหน่วยรบั งบประมาณ (Fundamental Fund; FF) ระหว่างปี 76

- แนวทางการติดตามประเมนิ ผลของหนว่ ยรับงบประมาณในระบบ ววน. 85

- ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม

เร่อื ง หลักเกณฑ์การจัดทาคาของบประมาณและการจดั สรรงบประมาณ

ของหน่วยงานในระบบวิจยั และนวตั กรรม (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2564 89

- คาส่ังสานกั งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 4 ท่ี 006/2565

เร่อื ง แต่งตั้งคณะกรรมการจดั การความรู้ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 100

บรรณำนกุ รม 101

คณะผ้จู ดั ทำ 102

สำนกั งำนสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 1
กำรสนบั สนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วิทยำศำสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม (สกสว.)

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ท่ีมำและควำมสำคัญ
สำนักงำนปลัดกระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์ กระทรวงกำรพัฒนำสังคม

และควำมม่ันคงของมนุษย์ (พม.).เปน็ ศูนย์กลำงกำรบริหำรของกระทรวงในกำรพฒั นำยุทธศำสตร์และแปลงนโยบำย
ของกระทรวง เป็นแผนปฏิบัติงำน จัดสรรทรัพยำกร และรับผิดชอบกำรบริหำรรำชกำรทั่วไปของกระทรวง
เพื่อให้บรรลุเป้ำหมำยและเกิดผลสัมฤทธ์ิตำมภำรกิจของกระทรวง โดยมีกองมำตรฐำนกำรพัฒนำสังคม
และควำมม่ันคงของมนุษย์ มีหน้ำท่ีในกำรศึกษำ วิเครำะห์ วิจัย พัฒนำ และจัดกำรฐำนข้อมูลทำงสังคม
ในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับกำรพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์ (กฎกระทรวงแบ่งส่วนรำชกำรสำนักงำนปลัด
กระทรวงกระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2563) รวมท้ัง รวบรวม
ข้อเสนอโครงกำรวิจัยของหน่วยงำนในสังกัดกระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์.(พม.).
เพอื่ นำเสนอต่อคณะกรรมกำรบรหิ ำรนโยบำย งำนวจิ ยั และนวัตกรรม เพ่อื พิจำรณำกล่นั กรองคำของบประมำณ
ของหนว่ ยงำนและยน่ื ไปยงั กองทนุ ววน. ในกำรขอรับกำรสนับสนุนงบประมำณตอ่ ไป

สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 4 (สสว.4) เป็นหน่วยงำนส่วนกลำงท่ีต้ังอยู่ในส่วนภูมิภำค
มีบทบำหน้ำที่ในกำรพัฒนำงำนด้ำนวิชำกำรเก่ียวกับกำรพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์ให้สอดคล้อง
กับพื้นท่ีและกลุ่มเป้ำหมำย รวมทั้ง ส่งเสริมและสนับสนุนงำนด้ำนวิชำกำร องค์ควำมรู้ ข้อมูลสำรสนเทศ
ให้คำปรึกษำ แนะนำแก่หน่วยงำนบริกำรทุกกลุ่มเป้ำหมำยในพ้ืนที่ ให้บริกำรในควำมรับผิดชอบของกระทรวงฯ
รวมท้งั องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ หนว่ ยงำนท่เี กย่ี วข้อง องค์กร ภำคเอกชน และประชำชน

กลมุ่ กำรวจิ ัยและกำรพัฒนำระบบเครือข่ำย สำนกั งำนส่งเสริมและสนบั สนุนวชิ ำกำร 4 มีหน้ำที่ศึกษำ
ค้นคว้ำ วิจัย เพื่อให้ได้องค์ควำมรู้ด้ำนกำรพัฒนำสังคม ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม รูปแบบ แนวทำงกำรดำเนินงำน
เพื่อนำไปสู่กำรแก้ไขปัญหำในสภำวะวกิ ฤติและเป็นกำรเตรียมควำมพร้อม เพ่ือใหท้ ันต่อสถำนกำรณ์ทจ่ี ะเกิดขึ้น
ในอนำคต ส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดนักวิจัยและเครือข่ำยทำงวิชำกำรด้ำนกำรพัฒนำสงั คมและควำมม่ันคงของมนุษย์
เชิงประเด็น เชิงกลุ่มเป้ำหมำยในมิติพ้ืนที่ โดยสำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 4 ได้เล็งเห็นควำมจำเป็น
และควำมสำคัญในกำรศึกษำแนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับกำรสนับสนุนงบประมำณ
ในกำรดำเนินกำรของหน่วยงำนในสังกัดกระทรวง พม. เพ่ือศึกษำข้ันตอน หลักกำรและวิธีกำรที่ถูกต้อง
ในกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจยั สำหรับยน่ื คำของบประมำณ ตอ่ สำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมวิทยำศำสตร์
วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) และใช้เป็นแนวทำงในกำรดำเนินกำร ให้กับบุคลำกรของ สสว.4 หน่วยงำนสังกัด
กระทรวง พม. ในพ้ืนที่รับผิดชอบ และหน่วยงำนท่ีเก่ียวข้องในพ้ืนที่ สำมำรถนำไปศึกษำ และใช้เป็นแนวทำง

สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 2
กำรสนบั สนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม (กองทนุ ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (สกสว.)

ในกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัย เพ่ือขอรับกำรสนับสนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัย
และนวัตกรรม (กองทนุ ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมวทิ ยำศำสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (สกสว.)

1.2 วตั ถปุ ระสงค์
1) เพื่อศึกษำข้ันตอน หลักกำรและวิธีกำรที่ถูกต้องในกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยสำหรับยื่นคำขอ

งบประมำณต่อสำนกั งำนคณะกรรมกำรสง่ เสริมวทิ ยำศำสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม (สกสว.)
2) เพ่ือเป็นแนวทำงกำรเขียนโครงกำรวิจัยในกำรขอรับกำรสนับสนุนงบประมำณจำกกองทุน

ส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัย
และนวตั กรรม (สกสว.)

1.3 ผลทคี่ ำดวำ่ จะได้รบั
บุคลำกรสำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 4 (สสว.4) บุคลำกรหน่วยงำนสังกัดกระทรวง

กำรพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์ (พม.) ในพื้นที่รับผิดชอบ และหน่วยงำนท่ีเก่ียวข้องในพื้นที่
สำมำรถนำไปศึกษำและใช้เป็นแนวทำงในกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับกำรสนับสนุนงบประมำณ
จำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริม
วิทยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.) ได้

1.4 นิยมศัพทเ์ ฉพำะ
บุคลำกร สสว.4 หมำยถึง ข้ำรำชกำร พนักงำนรำชกำร และเจ้ำหน้ำท่ีของสำนักงำนส่งเสริม

และสนบั สนุนวชิ ำกำร 4 ทกุ คน
หน่วยงำนในพ้ืนท่ีรับผิดชอบ หมำยถึง หน่วยงำนในสงั กัดกระทรวงกำรพัฒนำสงั คมและควำมมั่นคง

ของมนุษย์ ที่ตั้งอยู่ในพ้ืนท่ีจังหวัด 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครรำชสีมำ จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์
จังหวัดสรุ ินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ และจังหวัดยโสธร

หนว่ ยงำนส่วนกลำง หมำยถึง สำนักงำนปลัดกระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนษุ ย์

สำนักงำนสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับ 3
กำรสนบั สนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
ส่งเสรมิ วิทยำศำสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.)

บทที่ 2
แนวทำงกำรเขยี นข้อเสนอโครงกำรวจิ ยั

โครงกำรวิจัย (Research Proposal) เป็นเอกสำรทำงวิชำกำรที่นำเสนอแผนงำน (Plan) โครงสร้ำง
(Stucture) ยุทธวิธี (Strategy) และคุณค่ำ (Value) ของงำนวิจัย ซ่ึงนักวิจัยกำหนดไว้ล่วงหน้ำก่อนลงมือทำกำรวิจัย
กำรทจี่ ะเขียนโครงกำรวิจัยใหด้ มี คี ณุ ภำพนน้ั นอกจำกนกั วิจยั จะต้องมคี วำมรทู้ ำงกำรวิจัย มีควำมเขำ้ ใจอย่ำงถ่องแท้
เก่ียวกบั เรื่องทวี่ ิจัย และมีข้อมูล หลกั ฐำน ข้อเทจ็ จริงพอเพียงท่ีจะนำมำประมวล และเรียบเรียงเป็นโครงกำรวิจัย
ตำมข้ันตอนของกระบวนกำรวิจัยแล้ว นักวิจยั ยงั จะต้องมเี ทคนิคและควำมสำมำรถในกำรใช้ภำษำ สำมำรถคดั เลือก
ประมวล จดั ระเบียบ และเรยี บเรยี งข้อควำมที่จะต้องเขียนได้อย่ำงถกู ต้องตำมแบบแผนอีกด้วย

ดงั น้ัน คุณภำพของโครงกำรวิจัยจึงแตกต่ำงไปตำมควำมรู้ ควำมสำมำรถด้ำนกำรวิจัยและด้ำนกำรใช้ภำษำ
ของนกั วิจยั นักวจิ ยั ทมี่ ีประสบกำรณ์และมีควำมรู้ควำมสำมำรถยอ่ มเขียนโครงกำรวจิ ัยได้ แตท่ ั้งนี้ มไิ ดห้ มำยควำมวำ่
นักวิจัยที่มีประสบกำรณ์น้อยจะเขียนโครงกำรวิจัยไม่ได้ หำกนักวิจัยผู้นั้นได้มีกำรจัดระเบียบควำมคิด
ตำมขั้นตอนของกระบวนกำรวิจัย จนมีควำมเข้ำใจในเร่ืองที่จะทำกำรวิจัย และเม่ือได้ศึกษำลักษณะ
โครงกำรวจิ ัยทดี่ ี รวมท้ัง ไดป้ ฏบิ ัติตำมหลกั กำรทุกขั้นตอนในกำรเขยี นโครงกำรวิจัยแล้ว จะทำใหส้ ำมำรถเขียน
โครงกำรวจิ ยั ที่ดไี ด้

2.1 ควำมหมำยกำรวิจัย
กำรวิจัย หมำยถึง กำรศึกษำค้นคว้ำ วิเครำะห์ หรือทดลองอย่ำงมีระบบ โดยอำศัยอุปกรณ์ หรือ

วิธีกำร เพ่ือให้พบข้อเท็จจริง หรือหลักกำรไปใช้ในกำรต้ังกฎ ทฤษฎี หรือแนวทำงในกำรปฏิบัติ (สำนักงำน
คณะกรรมกำรวจิ ยั แหง่ ชำติ (วช.), 2558)

2.2 ประเภทของกำรวจิ ยั
2.2.1 กำรวจิ ยั พ้นื ฐำน (Basic research หรอื Pure research หรอื Theoretical research)
เป็นกำรศึกษำค้นคว้ำในทำงทฤษฎีหรือในห้องทดลอง เพื่อหำควำมรู้ใหม่ๆ เกี่ยวกับสมมุติฐำน

ของปรำกฏกำรณ์ และควำมจริงที่สำมำรถสังเกตได้ หรือเป็นกำรวิเครำะห์หำคุณสมบัติโครงสร้ำง หรือ
ควำมสัมพันธ์ต่ำงๆ เพ่ือต้ังและทดสอบสมมุติฐำน (hypothesis) ทฤษฎี (theories) และกฎต่ำงๆ (laws)
โดยมไิ ด้ม่งุ หวงั ทจ่ี ะใช้ประโยชนโ์ ดยเฉพำะ

สำนักงำนสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับ 4
กำรสนบั สนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (กองทุน ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)

2.2.2 กำรวจิ ัยประยุกต์ (Applied research)
เป็นกำรศึกษำค้นคว้ำเพื่อหำควำมรู้ใหม่ๆ และมีวัตถุประสงค์เพื่อนำควำมรู้น้ันไปใช้ประโยชน์

อย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง หรือเป็นกำรนำเอำควำมรู้และวิธีกำรต่ำงๆ ที่ไดจ้ ำกกำรวิจัยขน้ั พ้ืนฐำนมำประยุกต์ใช้อีกต่อหนึ่ง
หรอื หำวธิ ีใหม่ๆ เพอ่ื บรรลุเป้ำหมำยทีไ่ ด้ระบไุ วแ้ น่ชดั ลว่ งหน้ำ

2.2.3 กำรพฒั นำทดลอง (Experimental development)
เป็นงำนท่ีทำอย่ำงเป็นระบบ โดยใช้ควำมรู้ท่ีได้รับจำกกำรวิจัยและประสบกำรณ์ท่ีมีอยู่

เพอ่ื สร้ำงวัสดุ ผลติ ภณั ฑแ์ ละเครื่องมือใหม่ เพ่อื กำรติดต้ังกระบวนกำร ระบบและบริกำรใหม่ หรอื เพ่ือกำรปรับปรุง
ส่งิ ต่ำงๆ เหล่ำน้นั ให้ดีขน้ึ

2.3 ลักษณะของโครงกำรวิจยั ทีด่ ี
โครงกำรวิจัยที่ดีท่ีนักวิจัยควรทรำบและยึดถือเป็นเป้ำหมำยในกำรเขียนโครงกำรวิจัย มีลักษณะ

ทเี่ รียกวำ่ seven c’s (นงลกั ษณ์ วิรชั ชัย, 2553) ดงั ตอ่ ไปน้ี
2.3.1 ควำมถูกต้อง (Correctness หรือ Accuracy) เน้ือหำสำระของโครงกำรวิจัยท้ังหมดถูกต้อง

แม่นยำ มหี ลกั ฐำน และข้อเทจ็ จรงิ แนน่ อนสำมำรถอำ้ งองิ ได้
2.3.2 ควำมมีเหตุผลมั่นคง (Cogency) สำระของโครงกำรวิจัยต้องมีเหตุผลแน่นหนำ รับฟังได้

นำ่ เช่ือถือไมเ่ ลอ่ื นลอย
2.3.3 ควำมกระจ่ำงแจ้ง (Clarity) ข้อควำมในโครงกำรวิจัยต้องชัดเจนแจ่มแจ้ง ไม่กำกวม ผู้อ่ำน

สำมำรถเข้ำใจได้ โดยไม่ตอ้ งตีควำมหรอื คำดคะเนควำมหมำยของข้อควำมนั้น ๆ
2.3.4 ควำมสมบูรณ์ (Completeness) โครงกำรวิจยั ตอ้ งมสี ำระสำคัญครบถ้วนทุกหวั ข้อตำมข้ันตอน

ของกระบวนกำรวิจัยในแต่ละหัวข้อมีเน้อื หำสำระครบสมบรู ณ์ครอบคลุมส่ิงที่ผู้อ่ำนจำเป็นตอ้ งรู้
2.3.5 ควำมกะทดั รดั (Concise) โครงกำรวิจัยท่ีดไี ม่จำเป็นต้องมคี วำมยำวมำก นกั วิจยั ควรจะเลอื กใช้

ถอ้ ยคำงำ่ ยๆ จดั รูปประโยคงำ่ ยๆ ส้ัน กะทดั รดั ส่อื ควำมใหผ้ ู้อ่ำนเข้ำใจได้อย่ำงรวดเร็วและประหยัดเวลำ
2.3.6 ควำมสม่ำเสมอ (Consistency) หรือควำมคงเส้นคงวำ โครงกำรวิจัยท่ีดีต้องมีควำมสม่ำเสมอ

ในกำรใช้คำหรอื ข้อควำมเป็นแบบเดยี วกนั ทง้ั ฉบับ
2.3.7 ควำมสัมพันธ์เช่ือมโยงสอดคล้อง (Correspondence หรือ Concatenation) กำรนำเสนอ

สำระในโครงกำรวิจัยต้องมีกำรจัดระเบียบเป็นอย่ำงดีทุกย่อหน้ำหน้ำและทุกหัวข้อต้องมีควำมสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
โดยตลอดเปน็ เหตเุ ป็นผล สอดคลอ้ งรับกันอยำ่ งต่อเนอื่ ง ไมส่ ะดดุ หรือขำดตอน

สำนักงำนส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับ 5
กำรสนับสนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทนุ ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำร
ส่งเสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)

2.4 แนวทำงกำรเขียนโครงกำรวิจยั
กำรเขียนโครงกำรวิจัยจะได้ผลดี ถ้ำนักวิจัยมีควำมรู้ควำมเข้ำใจระเบียบวิธีวิจัย มีเอกสำรท่ีจำเป็น

ต่อกำรเขียนโครงกำรวิจัยครบถ้วน พอเพียงและได้ปฏิบัติตำมคำแนะนำครบทุกข้ันตอน หำกนักวิจัย
ขำดเอกสำรหรือข้ำมข้ันตอนกำรปฏิบัติตอนใดตอนหนึ่ง โดยไม่มีเหตุผลสมควร คุณภำพของโครงกำรวิจัย
ท่ีเขียนก็อำจลดลงได้บ้ำง ในทำงตรงกันข้ำม หำกนักวิจัยได้เพิ่มเติมเน้ือหำสำระท่ีตรงประเด็นกับปัญหำวิจัย
ย่อมมีผลให้โครงกำรวิจัยน้ันมีคุณภำพสูงยิ่งขึ้น โดยที่ปัญหำของกำรเขียนโครงกำรวิจัยอยู่ที่กำรเขียน
ส่วนเน้ือเร่ือง ซึ่งเป็นสำระท่ีสำคัญของโครงกำรวิจัยเทำ่ นั้น กำรเสนอหลกั กำร แนวทำงกำรเขียนและปรับปรุง
โครงกำรวิจัยที่จะเสนอต่อไปนี้ จึงให้คำแนะนำในกำรเขียน ตัวอย่ำงและแนวทำงกำรปรับปรุงเฉพำะหัวข้อต่ำงๆ
ในส่วนเน้ือเร่ืองของโครงกำรวิจัย และหัวข้อสำคัญบำงหัวข้อ ในส่วนนำเรื่องและส่วนท้ำยเรื่องเท่ำน้ัน
(นงลักษณ์ วริ ัชชัย, 2553) โดยมีรำยละเอยี ด ดงั นี้

2.4.1 กำรเขียน “ชื่อโครงกำรวิจยั ”
ชื่อโครงกำรวจิ ยั ชือ่ รำยงำนวจิ ัย ชอ่ื เร่อื ง หรอื หัวข้อกำรวิจัย (Research Topic) เป็นข้อควำม

ที่ส่ือควำมหมำยให้ผู้อ่ำนได้ทรำบว่ำ นักวิจัยจะทำกำรวิจัยเร่ืองอะไร (ตัวแปรที่สำคัญในกำรวิจัยคืออะไร)
ใช้แผนแบบกำรวิจัยแบบใดและศึกษำกับประชำกรกลุ่มใด ด้วยเหตุน้ี ช่ือโครงกำรจึงมีควำมสำคัญมำก
สำหรับกำรวิจัย กำรกำหนดชื่อโครงกำรวิจัยมีส่วนช่วยกระตุ้นให้ผู้อ่ำนเกิดควำมสนใจติดตำมอ่ำนงำนวิจัยได้
วิธีกำรเขียนช่ือโครงกำรวิจัยควรเลือกใช้ข้อควำมที่ชี้นำให้ผู้อ่ำนทรำบปัญหำงำนวิจัยและทรำบลักษณะเด่น
เป็นพิเศษของงำนวิจัย กำรเขียนช่ือโครงกำรวิจัยไม่จำเป็นต้องเขียนเป็นประโยคสมบูรณ์ อำจเขียน
ในรปู ขอ้ ควำมหรือวลีกไ็ ดแ้ ละไม่ควรต้ังช่อื โครงกำรวจิ ัยยำวเกนิ ไป หรอื ส้นั เกนิ ไป

ควำมนิยมในกำรตั้งชื่อเร่ืองโครงกำรวิจัยหรือชื่อรำยงำนวิจัย กรณีท่ีเป็นงำนวิจัยเชิงปริมำณ
นักวิจัยมักตั้งชื่อเร่ืองให้มีแผนแบบกำรวิจัยหลักหรือวัตถุประสงค์หลัก ตัวแปรสำคัญและบริบทหรือประชำกร
ท่ีศึกษำอยู่ในชื่อเร่ือง แต่กรณีที่เป็นงำนวิจัยเชิงคุณลักษณะไม่ยึดกฎเกณฑ์มำกนัก นักวิจัยอำจตั้งช่ือ โดยใช้
คำสน้ั ๆ ทส่ี ะทอ้ นถงึ ภำพของงำนวิจัยและดึงดูดควำมสนใจก็ได้

2.4.2 กำรเขียน “ประเภทกำรวิจัย”
นักวิจัยต้องสำมำรถระบุได้ว่ำโครงกำรวิจัยของตนเป็นกำรวิจัยประเภทใด ประเภทกำรวิจัย

แบง่ ตำมเกณฑไ์ ด้หลำยแบบ ดงั น้ี
1) ลกั ษณะกำรใช้ประโยชนท์ ำงวิชำกำร แบง่ เปน็ กำรวิจยั พื้นฐำน และกำรวจิ ัยประยกุ ต์
2) แบ่งตำมวิธีกำรวิจัย เป็นกำรวิจัยสำรวจ กำรวิจัยทดลอง กำรวิจัยบรรยำย หรือกำรวิจัย

พรรณนำ กำรวจิ ยั สหสัมพนั ธ์ กำรวจิ ัยเปรยี บเทียบ สำเหตุกำรศึกษำเฉพำะกรณีและกำรวจิ ัยอนำคต

สำนกั งำนสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับ 6
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
ส่งเสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (สกสว.)

3) แบ่งตำมลักษณะข้อมูลเป็นวิจัยเชิงคุณลักษณะหรือกำรวิจัยคุณภำพ และกำรวิจัย
เชิงปริมำณ เป็นต้น ในกำรเขียนโครงกำรวิจัยต้องศึกษำระเบียบของหน่วยงำนในกำรแบ่งประเภทกำรวิจัย
และจัดประเภทงำนวิจัยให้เป็นไปตำมระเบยี บของหน่วยงำน

2.4.3 กำรเขียน “กลมุ่ วชิ ำและสำขำวชิ ำ”
นักวิจัยต้องสำมำรถระบุได้ว่ำโครงกำรวิจัยของตนจดั อยู่ในกลุ่มวชิ ำและสำขำวิชำใดกำรแบ่งกลุ่มวชิ ำ

และสำขำวิชำน้ี อำจแตกต่ำงกันตำมสถำบันและหน่วยงำน นักวิจัยต้องศึกษำรำยละเอียดและระบุให้ถูกต้อง
ตัวอย่ำงของสำขำวิชำและกลุ่มวิชำ ได้แก่ สำขำสังคมศำสตร์ ประกอบด้วย กลุ่มวิชำสังคมวิทยำประชำกรศำสตร์
จิตวิทยำ จิตวิทยำสังคม และสื่อสำรมวลชน เป็นต้น สำขำเกษตรศำสตร์และชีววิทยำประกอบด้วย กลุ่มวิชำ
เกษตรศำสตร์ สัตวแพทยศ์ ำสตร์ เปน็ ต้น สำขำปรชั ญำ ประกอบด้วย กลมุ่ วิชำปรัชญำประวัติศำสตรโบรำณคดี
เป็นต้น โครงกำรวิจัยบำงเรื่องมีลักษณะเป็นสหวิยำกำรใช้ทฤษฎีและควำมรู้หลำยสำขำวิชำ ในกรณีเช่นนี้
นกั วจิ ยั ควรระบกุ ลมุ่ วชิ ำและสำขำวชิ ำท่ีกำรวิจยั นน้ั เน้นหนักมำกที่สุด

2.4.4 กำรเขียน “ประวตั หิ ัวหนำ้ โครงกำรและคณะผ้วู จิ ยั ”
สำระของกำรเขียนโครงกำรวิจัยในหัวข้อนี้เป็นกำรแสดงให้หน่วยงำนอุดหนุนกำรวิจัยได้ทรำบ

ถึงศักยภำพ และประสบกำรณ์ของนักวิจัยและทีมงำน รำยละเอียดในหัวข้อนี้ ได้แก่ ช่ือ นำมสกุล คุณวุฒิ
อำชีพตำแหน่ง ตำบล ท่ีอยู่ของหน่วยงำนต้นสังกัดและหมำยเลขโทรศัพท์ ประสบกำรณ์เก่ียวกับกำรวิจัย
ผลงำนวิจัยที่ได้รับกำรตีพิมพ์เผยแพร่ และงำนวิจัยท่ีกำลังดำเนินกำรอยู่ ในปัจจุบันวิธีกำรเขียนในหัวข้อนี้
ต้องแยกเขียนรำยละเอียดของนักวิจัยเป็นรำยบุคคลให้ข้อมูลครบถ้วน และแสดงให้เห็นว่ำนักวิจัยมีควำมรู้
ควำมสำมำรถเหมำะสมและเพียงพอท่ีจะทำกำรวิจัยตำมโครงกำรวิจัยที่เสนอมำได้เป็นอย่ำงดี หำกนักวิจัย
มีผลงำนเป็นจำนวนมำก ควรคัดเลือกเฉพำะเร่ืองที่ตรงหรือเก่ียวข้องกับโครงกำรวิจัยมำกท่ีสุด เพ่ือแสดงให้เห็นว่ำ
นกั วิจยั มีควำมเชี่ยวชำญในเรอ่ื งที่เสนอโครงกำรวิจัย

2.4.5 กำรเขียน “ควำมสำคัญ และท่มี ำของปญั หำวิจัย”
กำรเขียนควำมสำคัญและท่ีมำของปัญหำวิจัย เป็นกำรให้ข้อมูลท้ังหมดที่จำเป็นต่อกำร

ทำควำมเขำ้ ใจปญั หำวิจยั สำระสำคัญของกำรเขียนหวั ขอ้ นีป้ ระกอบด้วยสว่ นสำคัญ 4 สว่ น ดังต่อไปนี้
1) กำรนำเข้ำสู่ปญั หำ สำระในส่วนนี้ประกอบด้วย กำรเกริน่ นำเรมิ่ ตน้ จำกสภำพที่เป็นปัญหำ

ควำมทกุ ขย์ ำกเดอื ดร้อน หรอื ขอบข่ำยทมี่ ำของปญั หำวจิ ยั โดยนำเสนอจำกภำพกว้ำงมำสู่ปัญหำวิจยั
2) ภูมิหลังของปัญหำวิจัย เป็นส่วนที่ช้ีให้ผู้อ่ำนทรำบ เร่ืองที่ทำวิจัยน้ันเป็นปัญหำและ/หรือ

อุปสรรคอย่ำงไร มีกำรศึกษำค้นคว้ำในเรื่องน้ีแล้วหรือไม่ผลกำรศึกษำวิจัยเป็นอย่ำงไรคลี่คลำยหรือลดปัญหำ
ลงไปได้บ้ำงหรือไม่ยังมีอะไรที่เป็นปัญหำและต้องกำรคำตอบ สำระสำคัญในส่วนของภูมิหลังของปัญหำวิจัยนี้
จะช่วยเช่ือมโยงควำมรู้ที่มีอยู่แล้วและช่วยให้นักวิจัยต้ังปัญหำวิจัยท่ีลึกซึ้งได้มำกข้ึนไปกว่ำที่ทรำบกันแล้ว

สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 7
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)

ท้งั นี้ นกั วจิ ยั ตอ้ งคน้ คว้ำอ่ำนงำนวิจัยท่ีมผี ู้ทำมำแล้วอย่ำงกว้ำงขวำงและศกึ ษำสภำพท่ีเกี่ยวข้องกบั ปัญหำวิจัยใหล้ ะเอียด
จึงจะสำมำรถเขยี นภูมิหลังของปญั หำวจิ ัยไดด้ แี ละให้ได้ข้อมลู ปรบั ปรุงปญั หำวิจยั ให้เหมำะสมดีย่ิงข้นึ อีกด้วย

3) ปัญหำวิจัยและ/หรือคำถำมวิจัย ปัญหำวิจัย (Research Problem) เป็นข้อควำม
หรือคำถำมที่นักวิจัยกำหนดจะศึกษำค้นคว้ำแสวงหำวิธีกำรแก้ไขปัญหำ (Solution) วิธีกำรเขียนปัญหำวิจัย
อำจจะเขียนเป็นปัญหำเดียว หรืออำจเขียนเป็นปัญหำหลักหรือปัญหำย่อยๆ ได้ โดยท่ีปัญหำย่อยๆ ทุกข้อนั้น
ต้องเป็นอิสระต่อกัน มีน้ำหนักควำมสำคัญเท่ำเทียมกัน คำถำมวิจัย (Research Question) เป็นคำถำม
ที่นักวิจัยกำหนดข้ึน เพื่อแสวงหำคำตอบ (Answer) โดยที่กำรตอบคำถำมวิจัยนำไปสู่ วิธีแก้ปัญหำวิจัย
ดงั นั้น กำรเขียนคำถำมวิจยั และปัญหำวิจยั จึงควรสอดคลอ้ งกนั

4) ควำมสำคัญของกำรวิจัยเป็นส่วนท่ีแสดงเหตุผลและควำมจำเป็นที่ต้องศึกษำปัญหำวิจัยน้ี
และแสดงข้อมูลให้ทรำบว่ำ หำกไม่มีกำรวิจัยตำมโครงกำรวิจัยนี้สิ่งที่เป็นปัญหำวิจัยจะยังคงเป็นปัญหำ
ที่ก่อให้เกิดผลเสียหำยอย่ำงไร วิธีกำรเขียนควำมสำคัญ และที่มำของปัญหำวิจัยนั้นไม่มีเกณฑ์บังคับวำ่ นักวจิ ัย
จะตอ้ งเขยี นใหค้ รบถ้วนทงั้ 4 สว่ น หรือตอ้ งแยกเขียนเป็นหัวข้อย่อย กำรเขียนอำจจะเขียนเฉพำะสว่ นท่ีสำคัญ
บำงส่วนจำก 4 ส่วน เป็นข้อควำมต่อเน่ืองกันไปโดยไม่มีหัวข้อก็ได้ ลักษณะกำรเขียนขึ้นอยู่กับข้อมูล สไตล์
และลีลำกำรเขียนวิจัยของนักวิจัยแต่ละคน แต่ควรระมัดระวังในกำรเขียนให้ถูกต้องตำมลักษณะกำรเขียน
โครงกำรวิจัยที่ดีและหลักกำรใช้ภำษำ ส่วนสำคัญที่สุดสำหรับหัวข้อนี้ คือ ปัญหำวิจัย นักวิจัยจะเขียนปัญหำได้ดี
ถ้ำมีควำมเข้ำใจปัญหำวิจัยอย่ำงแจ่มแจ้ง ในบำงคร้ังนักวิจัยต้องปรับปรุงปัญหำวิจัยใหม่ เม่ือได้ศึกษำค้นคว้ำ
ข้อมูลมำเพิ่มเติมหรือได้แนวควำมคิดในกำรทำวิจัยมำใหม่ นักนักวิจัยต้องระลึกเสมอว่ำสิ่งที่เขียนมำน้ัน
ยังมีกำรปรับปรุงให้ดีขึ้นได้เร่ือยไป สำหรับหลักกำรสำคัญในกำรเขียนปัญหำวิจัยที่ดีน้ัน ควรเขียน
ในรูปข้อควำม หรือคำถำมที่แสดงควำมเก่ียวข้องระหว่ำงตัวแปรหรือปรำกฏกำรณ์ในกำรวิจัย มีควำมชัดเจน
และมีขอบเขตของปัญหำอยู่ในวสิ ยั ทจ่ี ะทำกำรวจิ ัยได้

2.4.6 กำรเขียน “วัตถปุ ระสงค์ของกำรวิจัย”
กำรเขียนวัตถุประสงค์ของกำรวิจัย คือ กำรบอกเป้ำหมำย หรือจุดมุ่งหมำยที่นักวิจัยต้องค้นคว้ำ

หำข้อเท็จจริง วัตถุประสงค์ของกำรวิจัยจึงมีลักษณะใกล้เคียงกับคำถำมวิจัย แต่ไม่เหมือนกันทีเดียวนัก
เพรำะกำรเขียนวัตถุประสงค์เขียนในรูปประโยคบอกเล่ำ แต่กำรเขียนคำถำมวิจัยเขียนในรูปประโยคคำถำม
นักวิจัยส่วนใหญ่นิยมเขียนวัตถุประสงค์เป็นเป้ำหมำยรวม และเขียนวัตถุประสงค์ย่อยตำมปัญหำวิจัย
แยกเป็นปัญหำย่อยๆ ออกไปอีก ในกำรเขียนวัตถุประสงค์ของกำรวิจัยควรระบุสิง่ ท่ีเป็นเป้ำหมำยของกำรวจิ ยั
มิใช่สิง่ ที่เปน็ วิธีกำรดำเนนิ งำนวจิ ัย กำรเขยี นวัตถุประสงค์ของกำรวิจัยทีเ่ หมำะสมนน้ั นักวจิ ัยตอ้ งมีควำมเข้ำใจปัญหำ
อย่ำงชัดเจนและมองให้ออกว่ำจะได้ผลกำรวิจัยอย่ำงไรเสียก่อนจึงจะเขียนได้ดี กำรเขียนต้องใช้ภำษำที่ง่ำยสั้น
กะทัดรัดและสอ่ื ควำมได้ดี

สำนกั งำนส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับ 8
กำรสนับสนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
ส่งเสรมิ วิทยำศำสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.)

คำสำคัญที่นิยมใช้ในกำรเขียนวัตถุประสงค์กำรวิจัยเป็นคำที่เกี่ยวกับวิธีกำรดำเนินกำรวิจัย
ได้แก่ เพ่ือบรรยำย.(Describe).ศึกษำสำรวจ.(Explore).เปรียบเทียบ.(Compare).ศึกษำควำมเก่ียวข้อง
เชื่อมโยง.(Association).วิเครำะห์.(Analyze).อธิบำย.(Explain).ประเมิน.(Evaluate).ทำกำรวิจัยและพัฒนำ
(Research and Develop).สงั เครำะห.์ (Synthesize).ตรวจสอบควำมตรง.(Validate)

2.4.7 กำรเขียน “แนวคิด ทฤษฎี และเอกสำรงำนวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง”
แนวคิด ทฤษฎี และเอกสำรงำนวิจัยที่เกี่ยวข้องมีควำมสำคัญมำก สำหรับโครงกำรวิจัย

นักวิจัยที่เคร่งครัดหลำยท่ำนจะเขียนโครงกำรวิจัยส่วนท่ีเป็นแนวคิด ทฤษฎี และเอกสำรงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
อย่ำงระมัดระวัง และให้ควำมสำคัญมำกเท่ำๆ กับกำรเขียนปัญหำกำรวิจัย ลักษณะของเน้ือหำท่ีเหมำะสม
ในหวั ขอ้ นม้ี ี 5 ประกำรดังน้ี

1) เน้ือหำแสดงให้เห็นว่ำพ้ืนฐำนทฤษฎีและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้องที่นักวิจัยนำเสนอนั้น นำไปสู่
แนวทำงกำรแสวงหำควำมรู้ เพื่อตอบคำถำมวิจัย หรือกำรกำหนดสมมุติฐำนวจิ ยั ได้อยำ่ งชัดเจน

2) เนื้อหำแสดงให้เห็นภำพรวมงำนวิชำกำรของเรื่องท่ีจะทำวิจัย ทำให้ผู้อ่ำนรู้ชัดเจนว่ำ
โครงกำรวิจัยน้ีอยู่ท่ีตรงสว่ นไหนของภำพรวมนั้น โครงกำรวิจัยน้ีมีควำมเก่ียวพันกับงำนวจิ ัยท่ีมีมำแล้วอย่ำงไร
มคี วำมซำ้ ซอ้ นกับงำนเดมิ หรอื ไม่ และมลี ักษณะเด่นเป็นของตัวเองแตกต่ำงจำกงำนอืน่ อย่ำงไร

3) เน้ือหำแสดงผลกำรสังเครำะห์ผลกำรศึกษำค้นคว้ำของนักวิจัยมำสรุปเป็นกรอบควำมคิด
กำรวิจัยหรือเป็นแบบจำลองแสดงโครงกำรสร้ำงสัมพันธ์ระหว่ำงตัวแปร มิใช่เป็นแต่เพียงกำรเสนอรำยงำน
เปน็ เรื่องๆ หรอื เปน็ ตอนๆ ตำมเอกสำรอ้ำงอิงแตล่ ะรำยกำรโดยไมม่ ีกำรสงั เครำะห์

4) เน้ือหำแสดงให้เห็นถึงที่มำของแนวคิดของนักวิจัยในกำรตัดสินใจเลือกวิธีกำรดำเนินกำร
สำหรับโครงกำรวิจัยนี้ และบ่งช้ีว่ำโครงกำรวิจัยน้ีใช้ควำมคิดใหม่ๆ ในกำรดำเนินกำร กำรนิยำม และกำรวัด
ตัวแปรมีควำมเหมำะสม ตลอดจนกำรดำเนินกำรตำมขั้นตอนของกระบวนกำรวิจัยมีประสิทธิภำพมำกกว่ำ
งำนวจิ ยั เดิม และได้มกี ำรแกไ้ ขข้อบกพร่องข้อจำกัดในกำรวจิ ยั เดิมเปน็ อย่ำงดี

5) เน้ือหำแสดงให้เห็นถึงควำมสำมำรถ และควำมเป็นนักวิชำกำรของนักวิจัยในกำรคัดเลือก
งำนวิจัยและเอกสำรที่มีควำมเช่ือถือได้สงู มีควำมตรง เกี่ยวข้องกับงำนวิจัยมำใชป้ ระโยชน์และแสดงให้เห็นถึง
ทักษะในกำรประมวลควำมรู้ ควำมคิดมำนำเสนอเป็นรำยงำนที่ถูกต้องตำมรูปแบบกำรอ้ำงอิงเอกสำรตำมหลักวิชำ

จำกลักษณะของเน้ือหำในหัวข้อแนวคิด ทฤษฎี และเอกสำรงำนวิจัยที่เก่ียวข้องที่กล่ำวมำ
ข้ำงต้นน้ี แสดงให้เห็นว่ำโครงกำรวิจัยหัวข้อน้ีมีควำมสำคัญมำกเป็นเครื่องบ่งชี้มำตรฐำน และคุณภำพ
ของโครงกำรวิจัยนั้นว่ำดีมำกน้อยเพียงไรกำรท่ีจะเขียนหัวข้อรำยงำนเอกสำรและงำนวิจัยที่เก่ียวข้อง
ให้มีคุณภำพดีนั้น นักวิจัยจะต้องอ่ำนมำก ศึกษำมำก ค้นคว้ำมำก และประมวลควำมคิดสังเครำะห์สิ่งที่ศึกษำ
อย่ำงมำกก่อนจะลงมือเขียน วิธีกำรศึกษำค้นคว้ำควรเร่ิมต้นจำกกำรควำมรู้และทฤษฎีพ้ืนฐำนท่ีเกี่ยวข้องกับปัญหำ

สำนักงำนสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 9
กำรสนบั สนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)

วิจยั ทง้ั หมดให้เห็นภำพกว้ำงเสียก่อน จำกน้ันจึงศึกษำงำนวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง แล้วนำมำสังเครำะห์ให้เห็นภำพรวม
ของเรื่องที่จะทำวิจัยกำรศึกษำงำนวจิ ัยเดิมท่ีมีผู้ทำไว้แล้วน้ันต้องเก็บรำยละเอียดให้ทรำบว่ำงำนวิจัยแต่ละเร่ืองนั้น
เปน็ งำนวิจยั เรอื่ งอะไร ทำเมือ่ ไร ทไ่ี หน ศึกษำประชำกรกลุ่มใด ใช้วิธกี ำรดำเนนิ กำรวจิ ัยอย่ำงไร ไดผ้ ลกำรวิจัย
อย่ำงไรและมีจุดบกพร่องหรือข้อจำกัดอย่ำงไร ข้อมูลที่ได้มำทั้งหมดเม่ือนำมำสังเครำะห์เข้ำด้วยกันจะทำให้
นกั วจิ ัยตอบคำถำมไดว้ ่ำ เรื่องทีจ่ ะทำวจิ ัยนั้นมีกำรศึกษำถึงขั้นไหน ควรจะทำต่อแนวใด หรือหำกมผี ู้ทำกำรวจิ ยั ไว้มำก
เพยี งพอครบทุกประเด็นแลว้ ไมค่ วรจะต้องทำกำรวจิ ัยในเร่ืองน้ันต่อไปอีกในกรณีที่ยังคงต้องทำกำรวจิ ยั ต่อไป

2.4.8 กำรเขียน “กรอบควำมคดิ ในกำรวิจยั และสมมุตฐิ ำนวจิ ยั ”
กรอบควำมคิดในกำรวิจัย (Conceptual Framework) เป็นแผนภำพแสดงควำมสัมพันธ์

ระหว่ำงตัวแปรหรือควำมเกี่ยวข้องสัมพันธ์ระหว่ำงประเด็นสำคัญท่ีนักวิจัยต้องกำรศึกษำ นิยมใช้สัญลักษณ์
รูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัส หรือส่ีเหล่ียมผืนผ้ำแทนตัวแปรหรือประเด็นท่ีสังเกตได้ ใช้สัญลักษณ์รูปวงกลมหรือวงรี
แทนตัวแปรแฝง หรือประเด็นท่ีสังเกตไม่ได้โดยตรง และใชลูกศรแทนเส้นทำงอิทธิพล หรือใช้ลูกศรเส้นโค้งสองหัว
แทนควำมสัมพันธ์ระหว่ำงตัวแปร นักวิจัยอำจรำยงำนเอกสำรที่เกี่ยวข้องให้ได้กรอบควำมคิดเชิงทฤษฎี
(Theoretical Framework) ก่อน แล้วจึงปรับเป็นกรอบควำมคิดในกำรวจิ ยั โดยอำศยั สำรสนเทศจำกงำนวิจัย
ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง จำกกรอบแนวควำมคดิ ในกำรวจิ ัย นักวจิ ยั นำมำกำหนดสมมุติฐำนวจิ ยั ต่อไป

สมมุติฐำนวิจัย (Research Hypotheses) เป็นกำรคำดคะเนถึงคำตอบปัญหำวิจัย โดยมี
พ้ืนฐำนทำงทฤษฎีและงำนวิจัยที่เก่ียวข้องเป็นเครื่องสนับสนุน กำรกำหนดสมมุติฐำนวิจัยช่วยให้นักวิจัย
มีแนวทำงในกำรดำเนินกำรวิจัยและทำกำรวิจัยได้ตรงตำมวัตถุประสงค์ วิธีกำรเขียนสมมุติฐำนวิจัยอำจแยก
เป็นข้อๆ หรืออำจเขียนในรปู ข้อควำม โดยมีกรอบควำมคดิ ในกำรวิจัย หรือโมเดลแสดงโครงสร้ำงควำมสมั พันธ์
เชิงสำเหตุและผลระหว่ำงตัวแปรเป็นภำพประกอบ สมมุติฐำนวิจัยท่ีดีนอกจำกจะต้องมีทฤษฎีและงำนวิจัย
รองรับแลว้ ตอ้ งมลี ักษณะชัดเจนสอดคล้องกับปญั หำวจิ ยั และวัตถุประสงค์ของกำรวิจัยรวมทั้งสำมำรถทดสอบ
ได้นักวจิ ัยปจั จบุ ันนี้นยิ มเขยี นสมมุตฐิ ำนวิจยั อย่ำงมีทิศทำง

2.4.9 กำรเขียน “ขอบเขตกำรวิจัย”
ขอบเขตของกำรวิจัย เป็นกำรขีดวงจำกัดให้ชัดเจนว่ำโครงกำรวิจัยครอบคลุม สถำนที่

ประชำกร ตวั แปรครบสมบูรณ์ตำมควำมเปน็ จริง หรอื มขี อบเขตแคบกว่ำทคี่ วรจะเป็น หำกมกี ำรจำกดั ขอบเขต
นักวิจัยต้องให้เหตุผลว่ำเพรำะอะไร และกำรจำกัดขอบเขตดังกล่ำวน้ันยังสำมำรถตอบปัญหำวิจัยได้ถูกต้อง
หรือไม่สิ่งท่ีเป็นควำมเข้ำใจผิดคือเข้ำใจว่ำกำรเขียนขอบเขตกำรวิจัย เป็นกำรเขียนระบุว่ำตัวในกำรวิจัย
ประกอบด้วย ตัวแปรใดหรือระบุว่ำประชำกรกลุ่มตัวอย่ำงคือกลุ่มใด แล้วนำหัวข้อนิยำมตัวแปรตัวแปร
หรือนิยำมประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำงมำใส่ไว้ในหัวข้อนี้วิธีกำรเขียนท่ีถูกต้องและต้องเขียนอย่ำงระมัดระวัง
คือ กำรอธิบำยเหตุผลในกำรกำหนดขอบเขตกำรวิจัย เช่น อธิบำยว่ำกรอบควำมคิดเชิงทฤษฎีควรมีตัวแปร

สำนกั งำนสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับ 10
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
ส่งเสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.)

15 ตัวแปร แต่ในกำรวิจัยคร้ังนี้นักวิจัยกำหนดขอบเขตกำรศึกษำสร้ำงเป็นกรอบควำมคิดในกำรวิจัย
ประกอบด้วยตัวแปรเพียง 11 ตัวแปร นักวิจัยอำจระบุชื่อตัวแปรโดยไม่ต้องใส่นิยำมตัวแปร แต่ต้องเขียน
อธบิ ำยเหตุผลว่ำเหตุใด จึงไมศ่ ึกษำให้ครอบคลุมตัวแปรทง้ั 15 ตวั แปร

2.4.10 กำรเขียน “ควำมจำกดั ของงำนวจิ ยั ”
ควำมจำกัดของกำรวิจัยมีส่วนเกี่ยวข้องกับขอบเขตกำรวิจัย เพรำะกำรกำหนดขอบเขต

ของกำรวิจัยให้แคบลง อำจก่อให้เกิดควำมจำกัดของกำรวิจัย ไม่สำมำรถอ้ำงอิงผลกำรวิจัยไปสู่กลุ่มประชำกรได้
นอกจำกนี้ในกำรทำโครงกำรวิจัยอำจมีควำมจำเป็นไม่สำมำรถเลือกแผนแบบวิจัยท่ีดีเย่ียมแต่ต้องเลือก
ใช้แบบแผนวจิ ยั ทีร่ องลงมำ หรอื ต้องใช้เครื่องมือท่ีขำดควำมสมบูรณ์ตำมหลักกำรวดั และประเมินผล ส่งิ เหล่ำนี้
ทำให้โครงกำรวิจัยไมส่ มบูรณ์ตำมที่ควรจะเป็นสำระดังกล่ำวนี้ คือสง่ิ ท่นี ักวจิ ัยต้องเขียนให้ผู้อ่ำนทรำบในหัวข้อ
“ควำมจำกัดของกำรวิจัย” แต่โดยทั่วไปนักวิจัยไม่นิยมเขียนควำมจำกัดของกำรวิจัยในโครงกำรวิจัย แต่เขียน
ในรำยงำนวิจัย เพรำะนักวิจัยควรวำงแผนกำรทำวิจัยในโครงกำรวิจัยที่ดีโดยไม่มีข้อจำกัด แต่เมื่อนักวิจัย
เริ่มลงมือทำกำรวิจัยตำมโครงกำรท่ีได้กำหนดไว้แล้ว นักวิจัยอำจได้พบว่ำกำรดำเนินงำนไม่เป็นไปตำมแผน
หรือข้อมูล สำหรับกำรวิจัยไม่เป็นไปตำมที่กำหนด ส่ิงเหล่ำนี้ถือเป็นข้อจำกัดของกำรวิจัยท่ีนักวิจัยต้องเขียน
ให้ผอู้ ่ำนทรำบอย่ำงตรงไปตรงมำในรำยงำนวจิ ยั

2.4.11 กำรเขยี น “ประโยชน์ทค่ี ำดวำ่ จะไดร้ บั หรือควำมสำคญั ของกำรวจิ ยั ”
สำระในหวั ขอ้ น้ีตอ้ งแสดงให้ผอู้ ำ่ นเข้ำใจอย่ำงชัดเจนว่ำ ข้อค้นพบตำมโครงกำรวจิ ัยจะเปน็ ประโยชน์

ต่อใครบ้ำงและเป็นประโยชน์อย่ำงไร นักวิจัยควรให้รำยละเอียดว่ำโครงกำรวิจัยจะมีประโยชน์เชิงวิชำกำร
สร้ำงเสริมองค์ควำมรู้ใหม่ หรือทดสอบทฤษฎีอย่ำงไร และโครงกำรวิจัยมีประโยชน์เชิงปฏิบัติช่วยแก้ปัญหำ
หรือทำประโยชน์โดยตรงและโดยอ้อมให้กับคนกลุ่มใดในลักษณะใด หัวข้อนี้นับว่ำมีควำมสำคัญในกำรช่วยให้
ผอู้ ่ำนเห็นคณุ คำ่ ของโครงกำรวจิ ยั ได้มำก

2.4.12 กำรเขยี น “ระเบยี บวธิ ีวจิ ัย”
หัวข้อระเบียบวิจัยเป็นส่วนสำคัญท่ีช่วยให้ผู้อ่ำนโครงกำรวิจัยทรำบว่ำนักวิจัยใช้ยุทธวิธีใด

ในกำรตอบคำถำมกำรวิจัย วิธีดำเนินกำรวิจัยน้ันจะให้ผลกำรวิจัยท่ีเท่ียงตรงมำกน้อยเพียงไรและมีคุณค่ำ
เพียงไร วธิ ีกำรเขยี นอำจแบ่งเป็นหวั ข้อยอ่ ยๆ หรือแบง่ เป็นยอ่ หนำ้ ตำมหัวขอ้ ย่อยตอ่ ไปนี้

1) แผนแบบกำรวิจัย กล่ำวถึงแผนแบบกำรวิจัยท่ีใช้ในโครงกำรวิจัยและควำมเหมำะสม
ในกำรเลอื กใช้แผนแบบกำรวิจัยน้ัน

2) ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง กล่ำวถึงลักษณะของกลุ่มประชำกร จำนวนและขนำด
ของกลุ่มตัวอย่ำง วิธีกำรเลือกกลุ่มตัวอย่ำง พร้อมท้ังเหตุผลท่ีนักวิจัยเลือกใช้วิธีกำรน้ัน สำหรับกำรวิจัย
เชิงคุณลกั ษณะอำจเขยี นบรรยำยกำรเลอื กสนำม เหตผุ ลในกำรเลือกและกำรเลอื กผูใ้ ห้ข้อมลู

สำนักงำนส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับ 11
กำรสนับสนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วิทยำศำสตร์ วิจยั และนวตั กรรม (สกสว.)

3) ลักษณะข้อมูลและนิยำมตัวแปรอธิบำยว่ำ ข้อมูลสำหรับกำรวิจัยนี้มีลักษณะอย่ำงไร
มีนิยำมปฏิบัติกำรอย่ำงไร ในกรณีท่ีตัวแปรเป็นท่ีรู้จักกันดีไม่จำเป็นต้องให้คำนิยำม ในกรณีที่เป็นกำรวิจัย
เชงิ คุณลักษณะใช้หัวขอ้ วำ่ กำรกำหนดข้อมูลขอบข่ำยข้อมูล

4) เคร่ืองมือและวิธีกำรรวบรวมข้อมูล กล่ำวถึงลักษณะเคร่ืองมือ วิธีกำรสร้ำงกำรตรวจสอบ
คุณภำพเคร่อื งมือวธิ ีกำรและขัน้ ตอนกำรนำเคร่ืองมือไปรวบรวมข้อมูล

5) กำรวิเครำะห์ข้อมูล และสถิติที่ใช้ในโครงกำรวิจัยเชิงปริมำณ เป็นกำรอธิบำยให้ผู้อ่ำน
โครงกำรวิจัยทรำบว่ำจะจัดกำรข้อมูลอย่ำงไร วิเครำะห์อย่ำงไร ใช้สถิติอะไรในกำรวิเครำะห์ ท้ังน้ี นักวิจัย
ต้องระมัดระวังในกำรเลือกใช้สถิติให้เหมำะสมกับปัญหำวิจัยและลักษณะข้อมูลโดยทั่วไป นักวิจัยต้องระบุว่ำ
กำรวิเครำะห์เบ้ืองต้นวิเครำะห์ตัวแปรใดโดยใช้สถิติอะไร กำรตรวจสอบคุณภำพเคร่ืองมือและกำรตรวจสอบ
ข้อตกลงเบ้ืองต้นต้องสถิติใช้วิธีใด กำรวิเครำะห์เพื่อตอบคำถำมวิจัยใช้สถิติอะไร ส่วนในโครงกำรวิจัยเชิงคุณภำพ
เป็นกำรอธิบำยให้ผู้อ่ำนโครงกำรวิจัยทรำบว่ำนักวิจัยใช้วิธีกำรตรวจสอบ (Triangulation) อย่ำงไรในกำร
ตรวจสอบคุณภำพข้อมูล ใช้วิธีกำรสังเครำะห์สรุปอย่ำงไร มีกำรสร้ำงทฤษฎีฐำนรำก (Grounded Theory)
และกำรตรวจสอบทฤษฎีหรอื ไม่อย่ำงไร

2.4.13 กำรเขยี นหวั ขอ้ อ่ืนๆ ในโครงกำรวจิ ัย
1) ระยะเวลำที่ทำกำรวิจยั
นักวิจัยต้องแจ้งกำหนดเวลำที่ทำกำรวิจัย โดยระบุเดือน และปีที่เร่ิมต้น และส้ินสุดโครงกำร

โดยปกติให้ทุนอุดหนุนกำรวิจัยของหน่วยงำนของรัฐจะจัดสรรให้ตำมปีงบประมำณ ดังน้ันนักวิจัยต้องกำหนด
ระยะเวลำที่ทำกำรวิจัยให้ตรงตำมปีงบประมำณ ในกรณีท่ีเป็นโครงกำรวิจัยต่อเน่ือง ควรระบุเดือน
และปที ่เี ร่มิ ตน้ และส้ินสุดโครงกำร รวมท้งั ระบวุ ำ่ โครงกำรวิจยั ที่เสนอนีเ้ ป็นขนั้ ตอนใดของโครงกำรวจิ ัยใหญ่

2) แผนกำรดำเนนิ งำนวิจยั
แผนกำรดำเนินงำนเป็นรำยละเอียดท่ีนักวิจยั ได้วำงแผนจะลงมือปฏบิ ัติจริงในกำรทำวจิ ัย

นักวิจัยต้องกำหนดงำนหรือกิจกรรมท่ีจะทำตำมข้ันตอนของกระบวนกำรวิจัย พร้อมท้ังกำหนดช่วงเวลำ
ท่ีจะปฏิบัติงำนแต่ละข้ันตอนน้ันด้วย วิธีกำรนำเสนอนิยมเสนอเป็นแผนภูมิแสดงระยะเวลำในกำรปฏิบัติงำน
แต่ละขั้นตอน เนื่องจำกแผนภูมิช่วยสื่อควำมให้ผู้อ่ำนเข้ำใจได้เร็วกว่ำกำรกำรนำเสนอเป็นข้อควำมก่ึงตำรำง
แต่ในกรณีทม่ี กี ิจกรรมไมม่ ำกนกั อำจนำเสนอเป็นข้อควำมกง่ึ ตำรำงก็ได้

สำนกั งำนสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 12
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
ส่งเสรมิ วิทยำศำสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.)

ตัวอยา่ ง

ข้ันตอนกำรทำงำน เดอื น
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

1. สำรวจนำร่อง ..... ..... .....

2. สรำ้ งและทดลองใช้เคร่อื งมอื ..... ..... .....

3. เลือกกลุ่มตัวอย่ำงและเตรียม ..... ..... .....

ออกสนำม

4. รวบรวมข้อมูล ..... ..... ..... .....

5. ประมวลผลและวเิ ครำะห์ ..... ..... .....

6. เขียน และพิมพร์ ำยงำนกำรวจิ ัย ..... ..... .....

3) สถำนท่ที ีจ่ ะทำกำรวจิ ยั

นักวิจัยควรระบุรำยละเอียดของสถำนที่ที่จะทำกำรวิจัยให้ละเอียด หน่วยงำนบำงแห่ง
ต้องกำรทรำบว่ำนักวิจัยจะเดินทำงด้วยวิธีใด ค่ำใช้จ่ำยเท่ำใด ระยะทำงในกำรเดินทำงไกลเท่ำไรและนักวิจัย
จะใช้เวลำในพ้ืนท่ีเป็นระยะเวลำนำนเท่ำใดกำรกำหนดรำยละเอียดในส่วนนี้จะช่วยให้กำรประมำณค่ำใช้จ่ำย
ทำได้ถกู ตอ้ งตรงควำมเปน็ จรงิ

4) อุปกรณ์และครุภัณฑท์ ี่ใช้ในกำรวจิ ยั

นักวิจัยต้องให้รำยละเอียดเก่ียวกับอุปกรณ์และครุภัณฑ์ที่จะใช้ในกำรวิจัย ควรแยก
รำยกำรให้เห็นชัดว่ำส่วนใดมีอยู่แล้ว และส่วนใดต้องจัดซ้ือ พร้อมทั้งระบุรำยกำรต่อหน่วยและจำนวน
ท่จี ะจดั ซ้อื เพื่อควำมสะดวกในกำรจดั ทำงบประมำณ

5) งบประมำณคำ่ ใช้จ่ำยตลอดโครงกำร

นักวิจัยควรประมำณกำรค่ำใช้จ่ำยตลอดโครงกำรตำมควำมเป็นจริงและเสนอรำยกำร
แยกเปน็ ประเภทตำมหลกั กำรจัดทำงบประมำณแต่ละหมวด ดังน้ี

- หมวดค่ำตอบแทน ได้แก่ ค่ำสมนำคุณ (กำรพิมพ์ กำรอัดสำเนำ เป็นต้น) ค่ำอำหำร
ทำกำรนอกเวลำ.....คน (อัตรำวนั /คน.....บำท) เป็นตน้

- หมวดค่ำใช้สอย ได้แก่ ค่ำเบ้ียเล้ียง.....คน (อัตรำวัน/คน.......บำท) ค่ำท่ีพัก.......คน
(อัตรำวัน/คน.......บำท) ค่ำพำหนะ......คน (อัตรำวัน/คน.......บำท) ค่ำน้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น.......คัน
(อัตรำวัน/คัน....บำท) คำ่ จ้ำงเหมำ (กำรพมิ พ์ กำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล เปน็ ตน้ ) ....คน (อัตรำวัน/คน.....บำท) เป็นต้น

- หมวดค่ำวัสดุ ไดแ้ ก่ คำ่ เอกสำร และอุปกรณ์เคมี ค่ำวัสดุสำนกั งำน (กระดำษ หมกึ โรเนยี ว
ท่ีเยบ็ กระดำษ เป็นต้น) คำ่ วัสดกุ ำรเกษตร (ยำกำจัดศัตรพู ืช อำหำรสัตว์พันธ์ุพชื เปน็ ต้น) คำ่ วัสดงุ ำนบ้ำน งำนครัว
(แปรงผงซักฟอก เขง) เป็นตน้

- หมวดครภุ ัณฑ์ ไดแ้ ก่ ค่ำครุภณั ฑ์ (ตู้เก็บเอกสำร เครือ่ งคอมพิวเตอร์ เปน็ ตน้ )

สำนกั งำนสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับ 13
กำรสนับสนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วิจยั และนวตั กรรม (สกสว.)

แนวทำงกำรเขียน และกำรปรับปรุงโครงกำรวิจัยท่ีกล่ำวมำทั้งหมดรวม 13 หัวข้อ ข้ำงต้นน้ี
เป็นเพียงแนวทำงหลักกำรเชิงวิชำกำรท่ีใช้ได้โดยทั่วไป มิใช่สิ่งท่ีจะยึดถือเป็นแบบแผนตำยตัวว่ำโครงกำรวิจัย
จะต้องเป็นไปตำมหลักกำรนี้หรือต้องมีหัวข้อครบทุกหัวข้อท่ีกล่ำวไว้เสมอไป นักวิจัยควรใช้ดุลยพินิจตัดสินใจ
ว่ำจะเสนอสำระในหัวข้อใดตำมควำมเหมำะสมและควำมจำเป็น นอกจำกน้ีควรศึกษำรำยละเอยี ดของรูปแบบ
(Format) แบบแผน (Style) และวิธีกำรเขยี นหัวข้อแต่ละหัวข้อในแบบฟอร์ม ตลอดจนกำรเขยี นบรรณำนุกรม
(Bibliography) หรือเอกสำรอ้ำงอิง (References) รวมทั้งวิธีกำรอ้ำงอิง และคำแนะนำในกำรกรอกแบบฟอร์ม
เสนอโครงกำรวิจัยที่หน่วยงำนเจ้ำของทุน หรือที่ทำงสถำบันกำรศึกษำกำหนดข้ึน แล้วเขียนโครงกำรวิจัย
ให้เหมำะสมกบั ควำมต้องกำรของหนว่ ยงำนหรอื ข้อกำหนดของสถำบันกำรศึกษำน้ัน (สำนกั งำนคณะกรรมกำร
วิจยั แห่งชำติ (วช.), 2558)

หมายเหตุ : งบประมาณค่าใช้จ่ายของโครงการ ควรยึดตามหลักเกณฑ์และวิธีการของ สกสว. ของปีที่เขียน
ข้อเสนอโครงการวจิ ัยเพอ่ื ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ

2.5 ขอ้ ควรระวังและสิง่ ทีพ่ บควำมผดิ พลำดบ่อย

ข้อควรระวงั และสงิ่ ท่พี บควำมผิดพลำดบ่อยในกำรทำโครงกำรวิจยั (จันทรรัตน์ จำริกสกุลชยั , ม.ป.ป.) ได้แก่

ขอ้ ควรระวัง สง่ิ ทพี่ บควำมผิดพลำดบ่อย

กำรกำหนดช่ือเรอ่ื ง/คณะวจิ ยั /สัดสว่ น  นักวิจัยบำงท่ำนคิดเร่ืองท่ีจะทำวิจัยเล็กเกินไป ชื่อเรื่อง
จึงมีขนำดเล็กตำมไปด้วย ทำให้เร่ืองไม่น่ำสนใจท่ีจะให้ทุนหรือ
ช่ือเร่ืองตั้งเป็นวิชำกำรมำกเกินไปจนทำให้ผู้ให้ทุนอ่ำนแล้ว
ไมเ่ ขำ้ ใจ

 คณะผู้วจิ ยั : โครงกำรวิจัยทที่ ำวจิ ัยคนเดยี ว ไม่ทำเป็นคณะ
มักจะไม่ค่อยได้ทุน ควรมีหน่วยงำนอื่นท่ีเข้ำร่วมทำวิจัย ทำให้
มีกำรบรู ณำกำร *ยกเว้นเป็นผู้ชำนำญกำรจริง*

 สัดส่วนในกำรทำวิจัย : ระบุสัดส่วนให้ชัดเจนว่ำใครทำ
กเี่ ปอรเ์ ซ็นต์ จะไดไ้ มเ่ กิดปญั หำกนั ในภำยหลัง

กำรกำหนดประเภท/คำสำคญั /  ประเภทของกำรวิจัย ระบุไม่ถูกต้องว่ำโครงกำรวิจัยของตนเอง
สำขำทท่ี ำวิจยั เป็นกำรวจิ ัยพื้นฐำนหรอื กำรวิจัยประยกุ ต์

 คำสำคัญ (Keywords) ส่วนมำกมักเขียนคำสำคัญเป็นนิยำม
คำศัพท์ (Definition) ซึ่งไมถ่ ูกต้อง

 สำขำวิจัยที่ทำกำรวิจัย เลือกสำขำใดสำขำหน่ึงเท่ำนั้น
ห้ำมใสม่ ำกกว่ำ 1 สำขำ

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับ 14
กำรสนับสนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (กองทุน ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วิทยำศำสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (สกสว.)

ขอ้ ควรระวงั สง่ิ ทพี่ บควำมผิดพลำดบ่อย

กำรกำหนดวัตถุประสงค์/ขอบเขตกำรวจิ ัย  วัตถุประสงค์ของโครงกำรวิจัย : มักเอำประโยชน์ท่ีคำดว่ำ

จะได้รับมำเขียนเป็นวัตถุประสงค์ของโครงกำรพัฒนำหรือ

โครงกำรทว่ั ไป

 ขอบเขตของโครงกำรวจิ ัยเขยี นซ้ำกับวิธีกำรดำเนินกำรวิจัย

ควรเล่ยี งไมใ่ ห้ซ้ำกัน

 ขอบเขตของกำรวิจัยเป็นเร่ืองท่ีแสดงโดยสรุปถึงแนวคิด

ท ฤ ษ ฎี ก ร อ บ ป ร ะ ช ำ ก ร / ก ลุ่ ม เ ป้ ำ ห ม ำ ย / ป ร ะ เ ด็ น / เ น้ื อ ห ำ

ส่วนวิธีดำเนินกำรวิจัยเป็นรำยละเอียดของเร่ืองท่ีเรำจะทำ

และมขี น้ั ตอนกำรดำเนนิ งำน ท่ีชัดเจน

ทฤษฎีท่เี ก่ยี วขอ้ งกับกำรวจิ ยั /  ในหัวข้อทฤษฎี สมมุติฐำน (ถ้ำมี) และกรอบแนวควำมคิด

สมมุติฐำน (ถ้ำมี) / กรอบแนวควำมคิด ของกำรวจิ ยั ในหวั ขอ้ น้ี มี 3 เร่ืองที่สำคัญรวมกันอยู่ คอื

ของกำรวจิ ัย 1) ทฤษฎีทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั กำรวิจยั (ท่ีเรำจะทำวิจยั )

2) สมมตุ ิฐำน (ถำ้ มี)

3) กรอบแนวควำมคิดของกำรวจิ ัย

 ทำให้นักวิจัยคิดว่ำเป็นเร่ืองเดียวกัน สับสนและเขียนแบบ

ไมเ่ ขำ้ ใจ

 ทำใหน้ กั วิจัยสว่ นใหญเ่ ขยี นในหวั ข้อนไ้ี ดไ้ ม่ดี

 ขำดท้ังทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับกำรวิจัย ขำดสมมุติฐำน (ถ้ำมี)

และขำดกรอบแนวควำมคิดของกำรวิจัย

กรอบแนวคิด  ไม่มกี รอบควำมคดิ

 เขียนเปน็ ขั้นตอนกำรวจิ ยั

 ไมส่ มเหตุสมผล ขำดทฤษฎีหรอื งำนวจิ ยั รองรบั

 ไม่สอดคล้องกบั ประเด็นคำถำมวิจัยทงั้ หมด

 กรอบควำมคิดอยู่ก่อนกำรจัดทำเอกสำรท่ีเกี่ยวข้อง

ตอ้ งตำมมำหลังจำกทบทวนเอกสำรวรรณกรรม

 ผู้พิจำรณำข้อเสนอฯ มองว่ำนักวิจัยเขียนกรอบแนวคิด

ไม่เป็นโดยเฉพำะสำขำด้ำนสังคมศำสตร์ จำเป็นต้องมีกรอบ

แนวคิดกำรวจิ ยั

สำนกั งำนส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 15
กำรสนับสนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (กองทุน ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วิทยำศำสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (สกสว.)

ข้อควรระวงั สง่ิ ทีพ่ บควำมผิดพลำดบ่อย

ประโยชนท์ ่คี ำดว่ำจะไดร้ บั /  ในประโยชน์ที่คำดวำ่ จะไดร้ บั แบง่ ไดเ้ ปน็ 2 หวั ข้อยอ่ ย คอื
แผนกำรถ่ำยทอดเทคโนโลยฯี 1) ประโยชนท์ ีค่ ำดวำ่ จะได้รับ
2) หนว่ ยงำนทีน่ ำผลกำรวจิ ยั ไปใช้ประโยชน์

 กำรถ่ำยทอดเทคโนโลยีหรอื ผลกำรวิจัยส่เู ปำ้ หมำย นักวิจัย
ก็มักจะไม่ค่อยให้ควำมสำคัญ มักจะเขียนแบบพอผ่ำนไป
คล้ำยประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ ทำให้เสียคะแนนไปในข้อน้ี
และหวั ข้อนสี้ ำมำรถเขยี นเพอ่ื ของบประมำณได้ด้วย

วิธีกำรดำเนินกำรวิจัยและสถำนที่ทำกำร  หวั ขอ้ นี้มีควำมสำคญั มำก

ทดลองเก็บข้อมลู  เขียนอธิบำยวิธีกำรดำเนินกำรวิจัย สถำนท่ีทำกำรทดลอง/

เก็บข้อมูลแบบทั่วๆ ไป ไม่ได้ลงลึกรำยละเอียด ต้ังแต่ประชำกร

กลุ่มเป้ำหมำย กำรสุ่มตัวอย่ำง เครื่องมือวิจัย กำรเก็บข้อมูล

กำรวเิ ครำะห์ขอ้ มูล สถิตทิ ่ใี ช้

กำรกำหนดงบประมำณวิจยั  ตั้งรำยกำรงบประมำณมำกหรือน้อยเกินไปไม่สอดคล้อง
กบั กิจกรรมวจิ ยั เช่น พัฒนำระบบ แต่มีงบค่ำพำหนะ ทีพ่ ักสูง
 ตงั้ เปน็ ค่ำตอบแทนในกำรจ้ำงผู้อน่ื ทำ
 รำยจ่ำยต้ังซ้ำซอ้ นรวมอยใู่ นคำ่ ตอบแทนนกั วจิ ัยแลว้
 รำยจำ่ ยเน้นกิจกรรมเผยแพรผ่ ลวจิ ัย
 เน้นกำรจัดประชุมกลุ่มเพื่อวำงแผนบริหำรจัดกำรโครงกำร-
วิจยั เกินไป
 ตั้งรำยกำรงบประมำณแบบคร่ำวๆ ขำดรำยละเอียด เช่น
ค่ำตอบแทนในกำรเก็บข้อมูล 100,000 บำท ถ้ำเขียนลอยๆ
มกั จะถูกตดั ต้องเขยี นรำยละเอยี ดวำ่ ใน 100,000 บำท

- มกี ิจกรรมอะไรบำ้ ง
- แต่ละกิจกรรมมีค่ำใชจ้ ่ำยเท่ำไหร่
- เก็บข้อมูลอะไร เกบ็ ท่ไี หน เกบ็ ก่ีวนั กเี่ ดือน
- ใชเ้ ครื่องมืออะไร อย่ำงไร
- ใชค้ นก่ีคน คณุ วฒุ อิ ะไร
- ต้องบอกรำยละเอียดให้หมดในแต่ละรำยกำรมีค่ำใช้จ่ำย
เท่ำไหร่ แหล่งทุนจะตัดเงินลำบำกทุกรำยกำรท่ีเรำขอ แต่ไม่ต้อง
บอกรำยละเอียดจนละเอียดมำกเกินไป เช่น ดินสอ ยำงลบ
ไม้จมิ้ ฟนั

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับ 16
กำรสนับสนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม (กองทนุ ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำร
ส่งเสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (สกสว.)

ขอ้ ควรระวงั สง่ิ ท่พี บควำมผิดพลำดบ่อย

ผลสำเรจ็ ของกำรวิจยั ทีค่ ำดวำ่ จะไดร้ ับ/  ผลสำเร็จหัวข้อน้ี นักวิจัยส่วนใหญ่จะละเลยไม่ค่อย
โครงกำรตอ่ เนือ่ ง/คำ่ ช้ีแจงอืน่ ๆ ให้ควำมสนใจ แต่เป็นหัวข้อที่เกือบจะสำคัญท่ีสุด กลับไปดู
วธิ เี ขียนใหไ้ ด้ทนุ
 กรณีโครงกำรวิจัยเป็นโครงกำรต่อเน่ืองปีที่ 2 ขึ้นไป
นักวิจัยท่ีได้รับทุนในปีแรกมักไม่ได้ขอต่อในปีท่ี 2 เพรำะคิดว่ำ
ปีแรกได้ทุน แล้วพอปีท่ี 2 ก็จะได้รับทุน โดยอัตโนมัติ ซ่ึงคิดผิด
หำกปีที่ 2 ไมข่ อทุนก็จะไม่ได้รับทุนวิจัย ในปีท่ี 2 ดังนนั้ ใกล้ส้ินปี
ตอ้ งยื่นโครงกำรวิจยั ขอต่อทุนปีท่ี 2 ใหม่
 คำ่ ช้ีแจงอ่นื ๆ
 ปัญหำ เพรำะจะต้องมีหนังสือรับรองหลำยเร่ือง เช่น
หนงั สือรับรองทำกำรวิจัยในคน กำรใชส้ ัตว์ทดลอง ฯลฯ

ประวัตคิ ณะผูว้ ิจัย รวมทัง้ ประวัติท่ีปรึกษำ  จำเป็นต้องกรอกประวัติให้ครบถ้วน เพ่ือประกอบกำร

โครงกำร พิจำรณำว่ำเหมำะสมกบั โครงกำรวจิ ัยทีเ่ สนอหรือไม่

 อย่ำงน้อยท่ีสุด ควรจะมีหัวหน้ำโครงกำรวิจัยหรือนักวจิ ัยหลกั

ทม่ี ีควำมรู้ และประสบกำรณ์ท่ีเกย่ี วข้องกบั เร่ืองวิจัยในข้อเสนอฯ

เพ่ือยืนยันให้ผู้พิจำรณำข้อเสนอฯ เห็นควำมเหมำะสมของ

คณะผู้วิจัยและคำดว่ำจะทำวิจัยเสร็จสิ้นบรรลุวัตถุประสงค์

อย่ำงมปี ระสทิ ธิภำพ และประสิทธิผล

กำรใช้ภำษำ ควำมสอดคลอ้ ง กำรอำ้ งองิ  ภำษำทใ่ี ช้ไมถ่ กู หลักภำษำ

 ภำษำไมก่ ระชบั

 ภำษำไม่เปน็ ทำงกำร

 สอ่ื สำรไม่ชดั เจน

 ใชค้ ำท่ไี มค่ งเสน้ คงวำ โดยเฉพำะตวั แปรในกำรวิจยั

 เอกสำรอ้ำงองิ ไม่ถกู หลกั ไม่มีระบบของรูปแบบท่ใี ช้

 ***แก้ไขโดยกำรอ่ำนกอ่ นสง่ และมผี รู้ ชู้ ว่ ยตรวจสอบ

สำนักงำนสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 17
กำรสนับสนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (กองทุน ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (สกสว.)

บทท่ี 3
จริยธรรมกำรวิจัยในคน

ปจั จบุ นั เปน็ ทยี่ อมรบั ว่ำกำรศึกษำวิจัยหรือกำรทดลองในคนทำให้เกิดควำมเจริญก้ำวหน้ำทำงด้ำนกำรแพทย์
เพื่อให้มีควำมรู้เก่ียวกับโรคระบำดวิทยำ กำรเกิดโรคและพยำธิสรีรวิทยำ กำรวินิจฉัย กำรป้องกัน กำรรักษำ
เพ่ือยืนยัน efficacy และ safety ของยำ ทำให้พัฒนำวิธีกำรตรวจวินิจฉัย กำรป้องกัน รักษำโรคและกำรดูแล
สุขภำพให้ก้ำวหน้ำข้ึน อย่ำงไรก็ตำมกำรศึกษำวิจัยด้ำนสังคมศำสตร์ พฤติกรรมศำสตร์ และมนุษยศำสตร์
ท่ีเข้ำใจว่ำมีควำมเสี่ยงน้อยต่อร่ำงกำยของอำสำสมัครในกำรวิจัยน้ัน อำจก่อให้เกิดอันตรำยต่อจิตใจ สถำนะ
ทำงสังคม ฐำนะทำงกำรเงิน และอันตรำยทำงกฎหมำย เช่น ถูกจับกุมได้ ประเทศไทยยังไม่มีบทบัญญัติ
ทำงกฎหมำยเก่ียวกับกำรทดลองในคนโดยเฉพำะ (ขณะนอี้ ย่รู ะหวำ่ งกำรร่ำง) นอกจำกพระรำชบญั ญตั สิ ุขภำพ
แห่งชำติ คำประกำศสิทธิผู้ป่วย และข้อบังคับแพทยสภำว่ำด้วยกำรรักษำจริยธรรมแห่งวิชำชีพเวชกรรมแล้ว
ผู้เกี่ยวข้องกับกำรวิจัยในคนให้กำรยอมรับหลักจริยธรรมกำรทำวิจัยในคนที่เป็นหลักสำกล และยึดถือปฏิบัติ
มำอยำ่ งยำวนำน (สำนกั งำนคณะกรรมกำรวจิ ยั แห่งชำติ (วช.), 2558)

ในประเทศไทย กระทรวงสำธำรณสุข และคณะแพทยศำสตร์ของรัฐ 9 คณะ ได้มีกำรประชุมสัมมนำ
ข้ึนที่คณะแพทยศำสตร์จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัยหลำยครงั้ และรว่ มกันจัดตง้ั เป็นชมรมจรยิ ธรรมกำรวจิ ัยในคน
ในประเทศไทย (FERCIT, Forum for Ethical Review Committees in Thailand) เมื่อวันท่ี 26 เมษำยน 2543
เพ่ือทำหน้ำท่ีกำหนดแผนงำนส่งเสริมจริยธรรมกำรวจิ ัยในคน และได้จัดตั้งคณะทำงำนข้ึน เพ่ือร่ำงหลักเกณฑ์
แนวทำงกำรทำวิจัยในคนเพื่อเป็นแนวทำงปฏิบัติระดับชำติ โดยได้นำเอำแนวทำงกำรทำวิจัยตำมปฏิญญำ
เฮลซิงกิของแพทยสมำคมแห่งโลก แนวทำงกำรดำเนินกำรสำหรับคณะกรรมกำรด้ำนจริ ยธรรมขององค์กำร
อนำมัยโลก สภำองค์กรนำนำชำติด้ำนวิทยำศำสตร์กำรแพทย์ (Council for International Organizations
of Medical Science, CIOMS) แนวทำงจริยธรรมกำรวิจัยที่เกี่ยวข้องกับคนของประเทศแคนำดำ (Ethical
Conduct for Research Involving Humans) และอ่ืนๆ (คณะแพทยศำสตร์ มหำวทิ ยำลัยเชียงใหม,่ ม.ป.ป.)

นยิ ำมศัพท์

จริยธรรม หมำยถึง หลักปฏิบัติอันเหมำะสม เป็นท่ียอมรับในกลุ่มบุคคลหรือสังคมให้ยึดถือปฏิบัติ
สอดคลอ้ งกบั หลกั สำกล และไมข่ ัดต่อวัฒนธรรม ประเพณขี องท้องถน่ิ

กำรทำวิจัยในคน หมำยถึง กระบวนกำรศึกษำที่เป็นระบบ เพื่อให้ได้มำซึ่งควำมรู้ทำงด้ำนสุขภำพ
หรือวิทยำศำสตร์กำรแพทย์ที่ได้กระทำต่อร่ำงกำยหรือจิตใจของอำสำสมัครในกำรวิจัย หรือท่ีได้กระทำ
ตอ่ เซลล์สว่ นประกอบของเซลล์ วัสดสุ งิ่ สง่ ตรวจ เนอ้ื เยอ่ื นำ้ คดั หลงั่ สำรพนั ธุกรรม เวชระเบียน หรอื ขอ้ มูลดำ้ น
สขุ ภำพของอำสำสมัครในกำรวจิ ัย และให้หมำยควำมรวมถงึ กำรศึกษำทำงสังคมศำสตร์ พฤติกรรมศำสตร์ และ
มนษุ ยศำสตร์ ท่ีเกีย่ วกบั สขุ ภำพ

สำนกั งำนส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับ 18
กำรสนบั สนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม (กองทนุ ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำร
ส่งเสรมิ วิทยำศำสตร์ วิจยั และนวตั กรรม (สกสว.)

แนวทำงจริยธรรมกำรวิจัยและกำรทดลองในคน หมำยถึง แนวทำงหรือหลักเกณฑ์ด้ำนจริยธรรม
เก่ยี วกบั กำรศึกษำวจิ ยั และกำรทดลองในคน เช่น คำประกำศกรุงเฮลซิงกิ หรอื ปฏิญญำเฮลซิงกิ (Declaration
of Helsinki) กฎหมำย ข้อบังคับ ข้อกำหนดและแนวทำงท่ีองค์กรกำกับดูแลระดับประเทศ (National Regulatory
Authorities, NRA) และสถำบนั กำหนด

คณะกรรมกำรจรยิ ธรรมกำรวจิ ัย หมำยถึง คณะกรรมกำรท่สี ถำบนั องคก์ ร หรอื หนว่ ยงำนแต่งตั้งขึ้น
เพื่อทำหน้ำท่ีพิจำรณำทบทวนด้ำนจริยธรรมกำรวิจัยของข้อเสนอโครงร่ำงกำรวิจัยในคน เพ่ือคุ้มครองสิทธิ
ศักดิ์ศรี ควำมปลอดภัยและควำมเป็นอยู่ที่ดีของอำสำสมัครในกำรวิจัย คณะกรรมกำรจริยธรรมกำรวิจัย
ของสถำบันต้องมีองค์ประกอบและวิธีดำเนินกำรมำตรฐำน (SOPs) ของคณะกรรมกำรจริยธรรมฯ ที่ชัดเจน
สอดคล้องกบั กฎหมำย ระเบียบ ข้อบังคบั และแนวทำงของประเทศตลอดจนแนวทำงสำกล

3.1 หลักจรยิ ธรรมพ้ืนฐำน (Basic ethical principles)
กำรทำวจิ ัยทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั มนุษยน์ ้นั มหี ลกั จริยธรรมพืน้ ฐำน 3 ขอ้ ตำม Belmont Report ได้แก่
(1) กำรเคำรพในบุคคล (Respect for persons) : ซงึ่ ประกอบดว้ ยหัวใจหลกั 2 ข้อ ได้แก่
ก. รับรู้ว่ำบุคคลแต่ละคนมีควำมสำมำรถที่จะพิจำรณำและตัดสินใจได้ด้วยตนเองอย่ำงอิสระ

(individuals should be treated as autonomous agents) ท่เี รยี กวำ่ respect for autonomy
ข. ปกป้องผู้ที่มีควำมสำมำรถในกำรตัดสินใจบกพร่องจำกอันตรำย หรือจำกกำรถูกกระทำอย่ำง

ไมถ่ กู ต้อง (persons with diminished autonomy are entitled to protection)
Autonomous person หมำยถึง บุคคลท่ีสำมำรถไตร่ตรองเกี่ยวกับเป้ำหมำยของตนเองได้อย่ำงมี

เหตุมีผลและกระทำกำรตำมหนทำงที่ได้ไตร่ตรองไว้น้ัน เพ่ือบรรลุเป้ำหมำย ดังน้ัน เพื่อแสดง respect for
autonomy จึงต้องให้น้ำหนักแก่ข้อคิดเห็นและทำงเลือกของแต่ละบุคคล และไม่ขัดขวำงกำรกระทำของ
บคุ คลทด่ี ำเนนิ ไปตำมทำงเลือกดงั กล่ำว เวน้ เสียแตว่ ำ่ กำรกระทำนนั้ จะเป็นอนั ตรำยตอ่ ผูอ้ น่ื

โดยหลักปฏิบัติแล้ว กำรเคำรพในบุคคลแสดงโดยกำรเชิญบุคคลเข้ำร่วมกำรวิจัยโดยสมัครใจ
(Voluntariness) และให้ข้อมูลข่ำวสำรอย่ำงครบถ้วน (Information) และข้อมูลข่ำวสำรน้ันเข้ำใจได้ง่ำย
มีเวลำเพียงพอท่ีจะทำควำมเข้ำใจ โดยเฉพำะควำมเส่ียงต่ออันตรำยท่ีอำจเกิดขึ้นกับตัวอำสำสมัครระหว่ำง
ดำเนินกำรวิจัย (Comprehension) ในกรณีท่ีควำมเส่ียงมำก อำจจำเป็นต้องทดสอบบุคคลว่ำ มีควำมเข้ำใจ
ควำมเส่ียงจำกกำรเขำ้ รว่ มวิจัยหรือไม่ ซึง่ อำจทดสอบโดยปำกเปลำ่ หรือโดยข้อเขียน กำรสมคั รใจ หมำยรวมถึง
กำรที่บุคคลตัดสินใจเข้ำร่วมโครงกำรวิจัยโดยอิสระ ปรำศจำกกำรถูกกดดัน (Coercion) ด้วยสิ่งแวดล้อมใดๆ
หรอื แม้แต่กำรชักจงู เกนิ เหมำะสม (Undue inducement)

สำนกั งำนส่งเสริมและสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 19
กำรสนับสนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทนุ ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วิทยำศำสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม (สกสว.)

กำรไมเ่ คำรพในอสิ ระของกำรตัดสินใจของผูอ้ ่ืน เห็นไดจ้ ำกกำรที่ไมฟ่ ังกำรตดั สินใจของผู้อ่ืน กำรไม่ให้
ผู้น้ันกระทำกำรตำมท่ีเขำได้ตัดสินใจแล้ว หรือปิดบังข้อมูลข่ำวสำรที่จำเป็น เพื่อนำไปประกอบกำรตัดสินใจ
ของบุคคลโดยไมม่ เี หตุผลสมควร

แต่ไม่ใช่ทุกคนท่ีมีควำมสมบูรณ์พร้อมจะตัดสินใจได้ด้วยตนเองอย่ำงอิสระ บุคคลบำงคนมีควำมบกพร่อง
ในกำรตัดสินใจ (Diminished autonomy) ระดับควำมสำมำรถในกำรตัดสินใจที่พร่องไปข้ึนอยู่กับตัวบุคคลเอง
หรือสภำวะกำรณ์ สิ่งแวดล้อม เช่น คนวิกลจริตย่อมไม่สำมำรถตัดสินใจในเรื่องใดๆ ได้ ในขณะท่ีนักโทษ
มีอิสระท่ีจะตัดสินใจได้น้อยกว่ำปกติ เพรำะอำจอยู่ในสถำนะท่ีถูกควบคุมโดยผู้มีอำนำจ กำรจะรวมบุคคล
เหล่ำน้ีเข้ำในกำรวิจัยต้องปกป้องสิทธิสวัสดิภำพเป็นพิเศษ บำงโครงกำรอำจต้องคัดคนเหล่ำน้ีออก เพ่ือไม่ให้
ไดร้ ับอันตรำย อย่ำงไรกต็ ำม ระดับกำรปกป้องขน้ึ กับควำมเส่ยี งตอ่ อันตรำยและประโยชน์ทเ่ี ขำอำจได้รบั

ในบำงกรณผี ู้วิจยั ก็อำจสับสนจำกหลักกำร เช่น ในกรณีของนักโทษ ว่ำนำ่ จะใหโ้ อกำสเป็นอำสำสมัคร
แต่หลักกำรกลับบอกให้ปกป้องนักโทษ เพรำะสภำวกำรณ์ไม่อำนวยให้นักโทษมีอิสระ ในกำรตัดสินใจ
ด้วยตนเองอยำ่ งเตม็ ท่ี อำจถูกกดดนั หรือชกั จูงได้ง่ำย

องค์กำรอนำมัยโลกถือว่ำหัวใจจริยธรรม คือ “respect for dignity of person” ในขณะที่ Guideline
ของแคนำดำ ใช้คำว่ำ “respect for human dignity” เป็นหัวใจของจริยธรรมซึ่งครอบคลุมหลักจริยธรรม
พ้ืนฐำนทั้ง 3 ข้อข้ำงต้น เช่นเดียวกัน UNESCO ก็เขียนใน Universal Declaration on Bioethics and Human
Rights, ว่ำ “Human dignity, human rights and fundamental freedoms are to be fully respected.”

รัฐธรรมนูญแหง่ รำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2550 กล่ำวถึงศักดศ์ิ รคี วำมเปน็ มนุษย์ ไวด้ ังน้ี
มำตรำ 4 ศักด์ศิ รีควำมเป็นมนุษย์ สทิ ธิ เสรภี ำพและควำมเสมอภำคของบุคคลย่อมไดร้ ับควำมคุ้มครอง
มำตรำ 26 กำรตรำกฎหมำยที่มีผลเป็นกำรจำกัดสิทธิหริเสรีภำพของบุคคล ต้องเป็นไปตำมเง่ือนไข
ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ในกรณีท่ีรัฐธรรมนูญไม่ได้บัญญัติเงื่อนไขไว้ กฎหมำยดังกล่ำวต้องไม่ขัดต่อหลักนิติธรรม
ไมเ่ พมิ่ ภำระหรอื จำกัดสิทธหิ รือเสรภี ำพของบุคคลเกนิ สมควรแกเ่ หตุ และจะกระทบตอ่ ศักด์ศิ รีควำมเป็นมนุษย์
ของบุคคลมิได้ รวมท้งั ตอ้ งระบเุ หตุผลควำมจำเป็นในกำรจำกัดสทิ ธแิ ละเสรีภำพด้วย
มำตรำ 28 บุคคลยอ่ มอ้ำงศักด์ิศรีควำมเป็นมนุษย์ หรอื ใชส้ ทิ ธแิ ละเสรภี ำพของตนได้เท่ำที่ไม่ละเมิดสิทธิ
และเสรีภำพของบคุ คลอนื่ ไม่เปน็ ปฏิปักษต์ อ่ รัฐธรรมนญู หรือไมข่ ดั ตอ่ ศีลธรรมอันดขี องประชำชน
บรรเจิด สิงคเนติ สรุปว่ำ “ศักด์ิศรีควำมเป็นมนุษย์เป็นคุณค่ำที่มีลักษณะเฉพำะ อันสืบเน่ืองมำจำก
ควำมเปน็ มนษุ ย์และเป็นคุณคำ่ ทผ่ี ูกพนั อยู่กบั ควำมเป็นมนุษยเ์ ทำ่ นน้ั โดยไมข่ ึ้นอยกู่ ับเงื่อนไขใดทั้งสนิ้ เช่น เช้ือชำติ
ศำสนำ คุณค่ำของมนุษย์ดังกล่ำวน้ีมีควำมมุ่งหมำยเพื่อให้มนุษย์มีควำมอิสระในกำรที่จะพัฒนำบุคลิกภำพ
ส่วนตัวของบุคคลนั้นๆ ภำยใต้ควำมรับผิดชอบของตนเอง โดยถือว่ำศักด์ิศรีควำมเป็นมนุษย์เป็นคุณค่ำ
ทมี่ ิอำจล่วงละเมดิ ได้”

สำนกั งำนสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับ 20
กำรสนบั สนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทนุ ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วิทยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.)

ใน Belmont Report ไม่ได้กล่ำวถึงควำมเป็นส่วนตัวและกำรรักษำควำมลับของข้อมูลของอำสำสมัคร
แต่ส่วนน้ีได้กล่ำวไว้ในกฎหมำยว่ำด้วยกำรปกป้องอำสำสมัครท่ีเข้ำร่วมกำรวิจัย อย่ำงไรก็ตำม ส่วนนี้มีบัญญัติไว้
ในรัฐธรรมนญู แหง่ รำชอำณำจกั รไทย พ.ศ. 2550

มำตรำ 32 บุคคลย่อมมีสิทธิในควำมเป็นอยู่ส่วนตัว เกียรติยศ ช่ือเสียง และครอบครัว กำรกระทำอันเป็น
กำรละเมิดหรือกระทบตอ่ สิทธขิ องบุคคล หรือกำรนำขอ้ มลู ส่วนบคุ คลไปใชป้ ระโยชน์ ไมว่ ำ่ ในทำงใดๆ จะกระทำมิได้
เว้นแต่อำศัยอำนำจตำมบทบญั ญตั แิ ห่งกฎหมำยที่ตรำขึน้ เพยี งเทำ่ ที่จำเปน็ เพือ่ ประโยชน์สำธำรณะ

มำตรำ 33 บุคคลย่อมมีเสรีภำพในเคหสถำน บุคคลย่อมได้รับควำมคุ้มครองในกำรท่ีจะอยู่อำศัย
และครอบครองเคหสถำนโดยปกตสิ ุข

กำรเข้ำไปในเคหสถำนโดยปรำศจำกควำมยินยอมของผู้ครอบครอง หรือกำรค้น หรือที่รโหฐำน
จะกระทำมไิ ด้ เวน้ แต่มีคำสง่ั หรือหมำยของศำลหรือมเี หตุอยำ่ งอืน่ ตำมทีก่ ฎหมำยบัญญตั ิ

มำตรำ 34 บุคคลย่อมมีเสรีภำพในกำรแสดงควำมคิดเห็น กำรพูด กำรเขียน กำรพิมพ์ กำรโฆษณำ
และกำรส่ือควำมหมำย โดยวิธีอ่ืน กำรจำกัดเสรภี ำพดังกล่ำวจะกระทำมิได้ เว้นแตอ่ ำศยั อำนำจตำมบทบัญญัติ
แห่งกฎหมำยท่ีตรำข้ึนเฉพำะ เพ่ือรักษำควำมม่ันคงของรัฐ เพื่อคุ้มครองสิทธิหรือเสรีภำพของบุคคลอ่ืนๆ
เพอื่ รักษำควำมสงบเรยี บร้อยหรือศลี ธรรมอนั ดีของประชำชน หรอื เพอื่ ปอ้ งกนั สขุ ภำพของประชำชน

เสรภี ำพทำงวิชำกำรย่อมไดร้ บั ควำมคุม้ ครอง แต่กำรใช้เสรภี ำพตอ้ งไม่ขัดต่อหนำ้ ที่ของปวงชนชำวไทย
หรอื ศีลธรรมอันดขี องประชำชน และตอ้ งเคำรพและไมป่ ดิ ก้นั ควำมเห็นตำ่ งของบุคคลอ่นื

พระรำชบัญญตั สิ ุขภำพแห่งชำติ พ.ศ. 2550 มีเน้ือหำทเี่ กี่ยวขอ้ ง ดงั นี้
มำตรำ 7 ขอ้ มูลดำ้ นสุขภำพของบคุ คลเปน็ ควำมลบั ส่วนบคุ คล ผู้ใดจะนำไปเปดิ เผยในประกำรที่น่ำจะ
ทำให้บุคคลนั้นเสียหำยไม่ได้ เว้นแต่กำรเปิดเผยนั้นเป็นไปตำมควำมประสงค์ของบุคคลนั้นโดยตรง หรือ
มกี ฎหมำยเฉพำะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย แตไ่ มว่ ำ่ ในกรณีใดๆ ผู้ใดจะอำศัยอำนำจหรือสิทธิตำมกฎหมำยว่ำด้วย
ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรหรือกฎหมำยอื่น เพ่ือขอเอกสำรเก่ียวกับข้อมูลด้ำนสุขภำพของบุคคลที่ไม่ใช่
ของตนไม่ได้
มำตรำ 9 ในกรณีที่ผู้ประกอบวิชำชีพด้ำนสำธำรณสุขประสงค์จะใช้ผู้รับบริกำรเป็นส่วนหนึ่ง
ของกำรทดลองในงำนวิจัย ผู้ประกอบวิชำชีพด้ำนสำธำรณสุขต้องแจ้งให้ผู้รับบริกำรทรำบล่วงหน้ำและต้องได้รับ
ควำมยินยอมเป็นหนงั สอื จำกผูร้ บั บรกิ ำรก่อน จงึ จะดำเนนิ กำรได้ ควำมยนิ ยอมดงั กลำ่ วผรู้ บั บริกำรจะเพิกถอน
เสยี เมอ่ื ใดกไ็ ด้
ในขณะเดียวกนั ใน พ.ร.บ.ข้อมูลขำ่ วสำรรำชกำร พ.ศ.2540 องคก์ รอำจอนญุ ำตใหบ้ ุคคลใชข้ อ้ มูลส่วน
บุคคลที่องค์กรจัดเก็บไว้โดยยกเว้นไม่ต้องขอควำมยินยอมได้ หำกเป็นไปเพ่ือกำรวิจัยและกำรนำไปใช้
ไม่ระบุชอ่ื บุคคล

สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับ 21
กำรสนับสนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (กองทนุ ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วิจยั และนวตั กรรม (สกสว.)

มำตรำ 24 หน่วยงำนของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคลท่ีอยู่ในควำมควบคุมดูแลของตน
ต่อหน่วยงำนของรัฐแหง่ อื่นหรือผู้อื่น โดยปรำศจำกควำมยินยอมเป็นหนังสอื ของเจ้ำของข้อมูลที่ใหไ้ ว้ลว่ งหนำ้
หรอื ในขณะนั้นมิได้ เวน้ แตเ่ ปน็ กำรเปดิ เผยดังต่อไปน้ี

(1) ต่อเจำ้ หนำ้ ทข่ี องรัฐในหนว่ ยงำนของตน เพอ่ื กำรนำไปใช้ตำมอำนำจหน้ำที่ของหน่วยงำนของรัฐแห่งนน้ั
(2) เปน็ กำรใช้ขอ้ มูลตำมปกตภิ ำยในวตั ถปุ ระสงคข์ องกำรจัดใหม้ รี ะบบข้อมูลข่ำวสำรสว่ นบคุ คลนน้ั
(3) ต่อหน่วยงำนของรัฐที่ทำงำนด้ำนกำรวำงแผน หรือกำรสถิติ หรือสำมะโนต่ำงๆ ซ่ึงมีหน้ำท่ี
ตอ้ งรกั ษำขอ้ มลู ข่ำวสำรสว่ นบุคคลไว้ไมใ่ หเ้ ปิดเผยตอ่ ไปยงั ผอู้ ื่น
(4) เป็นกำรใช้เพื่อประโยชน์ในกำรศึกษำวิจัย โดยไม่ระบุช่ือหรือส่วนท่ีทำให้รู้ว่ำเป็นข้อมูลข่ำวสำร
สว่ นบคุ คลท่ีเกี่ยวกับบคุ คลใด
(2) กำรให้คณุ ประโยชน์ (Beneficence)

กำรให้คุณประโยชน์ (Beneficence) หมำยถึง กำรดูแลสวัสดิภำพของอำสำสมัคร โดยนำมธรรม
อำจครอบคลมุ ควำมเมตตำกรุณำทำงรปู ธรรม หมำยถึง กำรแสดงออกที่ก่อคุณประโยชน์ให้กับบคุ คลที่เป็นอำสำสมัคร
ภำยใต้กติกำ 2 ข้อ คือ (ก) ทำให้เกิดประโยชน์มำกท่ีสุด และลดอันตรำยหรือควำมเส่ียงให้เกิดน้อยที่สุด
และ (ข) Nonmaleficence (ไมท่ ำอนั ตรำย) ขอ้ นี้หำ้ มกำรก่อให้เกิดอันตรำยหรือควำมทุกข์ทรมำนแก่ผถู้ ูกทดลอง

 กำรไม่ทำอันตรำยอยู่ในจรรยำแพทย์ (Hippocratic Oath) ซ่ึงห้ำมก่ออันตรำย แม้ว่ำจะเกิดประโยชน์
ต่อผู้อ่ืน แต่บำงครั้งกำรหลีกเล่ียงจำกอันตรำย จำเป็นต้องเรียนรู้ว่ำส่ิงใดคืออันตรำย และในกระบวนกำร
หำควำมรู้น้ีก็นำเอำอำสำสมัครไปเสีย่ ง ในทำงกลับกัน กำรจะรู้ว่ำอะไรบ้ำงที่เปน็ ประโยชน์ก็อำจนำควำมเส่ยี ง
ให้อำสำสมัครเช่นเดียวกัน (เช่น กำรทดลองยำ) ใน Hippocratic Oath ให้แพทย์ใช้ดุลพินิจว่ำทำอย่ำงไร
ให้ผู้ป่วยได้ประโยชน์สูงสุด แต่กำรได้ประโยชน์น้ันอำจจำเป็นที่บุคคลได้รับควำมเสี่ยง จึงต้องคำนึงว่ำ
เม่ือใดมีควำมสมเหตุสมผลท่ีจะทำให้ผู้ป่วยได้ประโยชน์ แม้จะเกิดควำมเส่ียง และเมื่อใดจะไม่ทำ
แม้จะมีประโยชน์เพรำะควำมเสี่ยงน้ันรับไม่ได้ อย่ำงไรก็ตำม หลักกำรให้คุณประโยชน์บำงคร้ังอำจคลุมเครือ
ในกำรวจิ ยั บำงเร่อื งทำให้ตดั สนิ ได้ยำก

 ควำมเส่ียง ชี้ถึงควำมเป็นไปได้ (Possibility) ของอันตรำยที่อำจเกิดขึ้น ควำมเส่ียงน้อยหรือ
ควำมเส่ียงมำกวัดจำกโอกำส (Probability) ท่ีจะเกิดอันตรำย และควำมร้ำยแรง (Severity) ของอันตรำย
นอกจำกนน้ั ยังตอ้ งพจิ ำรณำควำมเสยี่ งตอ่ อนั ตรำยที่อำจเกิดกับชุมชน (Community) ท่ีอำสำสมคั รอยู่

 ประโยชน์ในบริบทของกำรวิจัย หมำยถึง อะไรก็ตำมท่ีเป็นผลดีต่อสุขภำพและสวัสดิภำพ
หำกมองถึงอำสำสมัครที่เข้ำร่วมโครงกำรวิจัยแล้วควรออกแบบโครงกำรวิจัยท่ีก่อประโยชน์ต่อสุขภำพ
ของอำสำสมคั ร หำกไม่ได้ โครงกำรวิจยั น้ันต้องก่อควำมเสย่ี งต่ออันตรำยเพียงเล็กนอ้ ยต่ออำสำสมัคร

สำนกั งำนสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับ 22
กำรสนบั สนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทนุ ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)

 ในวงแคบนักวิจัยควรทำให้ประโยชน์เกิดสูงสุดและควำมเส่ียงต่ำสุดกับอำสำสมัครในวงกว้ำง
ควรมองประโยชน์และโทษที่จะเกิดในระยะยำวที่อำจเกิดจำกองค์ควำมรู้หรือหตั ถกำรใหม่อนั ค้นพบจำกกำรวจิ ยั

 กำรลดควำมเส่ียงลงให้เหลือน้อยทสี่ ุด แต่เพ่มิ คุณประโยชน์ให้มำกท่ีสดุ เกย่ี วข้องกับกำรออกแบบ
กำรวิจัยที่ดี และผู้วิจัยมีควำมสำมำรถ (Competent) ทั้งกำรทำกำรวิจัยและกำรปกป้องสวัสดิภำพของอำสำสมัคร
และใชห้ ตั ถกำรมำตรฐำนหรือเปน็ ท่ียอมรบั ในสำขำวชิ ำชพี

(3) ควำมยุตธิ รรม (Justice)
ควำมยุติธรรม (Justice) หมำยถึง กำรกระจำยประโยชน์และกำรแบกรับภำระจำกกำรวิจัย

ในกลุม่ บคุ คลทเี่ ชิญเข้ำร่วมวจิ ัยใหเ้ ปน็ ไปอย่ำงเสมอภำค
 ข้อคิดในกำรให้ควำมยุติธรรมกับอำสำสมัครมีหลำยรูปแบบ คือ แบ่งให้ทุกคน (1) เท่ำกัน (Equal share)

(2) แบ่งให้แต่ละคนตำมเหตุผลควำมจำเป็นของแต่ละบุคคล (Need) (3) แบ่งให้แต่ละคนตำมกำรลงแรง (Effort)
(4) ตำมส่วนรว่ มในสังคม และ (5) ตำมคณุ ธรรม (Merit)

 ในอดีต ควำมอยุติธรรมเห็นได้จำกกำรเลือกอำสำสมัคร โดยโยนภำระให้กับผู้ป่วยยำกจน
ในหอผู้ป่วยสำมัญ ขณะที่ประโยชน์จำกกำรดูแลรักษำตกกับผู้ป่วยพิเศษ แพทย์นำซีแสวงประโยชน์
(Expoitation) กำรทดลองโดยแพทย์นำซีกับเชลยถือว่ำเป็นควำมอยุติธรรม และในประเทศสหรัฐอเมริกำ
ที่เลือกคนผิวดำและยำกจนในชนบท เพ่ือศึกษำกำรดำเนินของโรคซิฟิลิส (Tuskeegee syphilis study)
เป็นควำมอยุติธรรม เพรำะโรคไม่ได้จำกัดอยู่เฉพำะคนกลุ่มน้ีเท่ำน้ัน และแม้ว่ำมียำรักษำก็ไม่ได้จัดให้
เพรำะกลวั ว่ำโครงกำรวิจัยจะตอ้ งยุตกิ อ่ นกำหนด

 จำกบทเรยี นในอดตี จงึ นำไปสแู่ นวคดิ เกี่ยวกบั หลักควำมยตุ ิธรรมว่ำ ในกำรเลือกอำสำสมัครควร
พิจำรณำอย่ำงถ่ีถ้วนว่ำเลือกคนบำงกลุม่ (ผู้ประกันตน ชนกลุ่มนอ้ ย คนในสถำนกักกัน หรือสถำนสงเครำะห์) เป็นไป
เพรำะหำง่ำย สถำนภำพทีเ่ ปรำะบำงจัดกำรไดง้ ำ่ ยมำกกว่ำท่ีจะสัมพนั ธโ์ ดยตรงกบั ปัญหำวิจยั (Research problem)

 หลักควำมยุติธรรมยังครอบคลุมถึงกำรกระจำยประโยชน์จำกกำรวิจยั ที่ได้รับทุนสนับสนุนจำกรัฐว่ำ
หำกไดว้ ธิ หี รอื ยำรกั ษำทด่ี ีขึ้น ไมใ่ ห้ใชเ้ ฉพำะผทู้ ่ีมีกำลังซื้อ แต่ตอ้ งกระจำยใหท้ ่วั ถึง

 รฐั ธรรมนญู แห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2550 มำตรำ 30 “บคุ คลย่อมเสมอกันในกฎหมำยและ
ได้รับควำมคุ้มครองตำมกฎหมำยเท่ำเทียมกัน ชำยและหญิงมีสิทธิเท่ำเทียมกัน กำรเลือกปฏิบัติ
โดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพรำะเหตุแห่งควำมแตกต่ำงในเร่ืองถิ่นกำเนิด เชื้อชำติ ภำษำ เพศ อำยุ สภำพทำงกำย
หรือสุขภำพ สถำนะของบุคคล ฐำนะทำงเศรษฐกิจหรือสังคม ควำมเชื่อทำงศำสนำ กำรศึกษำอบรมหรือ
ควำมคดิ เหน็ ทำงกำรเมอื งอนั ไมข่ ัดตอ่ บทบญั ญัตแิ ห่งรฐั ธรรมนูญ จะกระทำมิได้”

สำนกั งำนส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 23
กำรสนบั สนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (กองทนุ ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำร
ส่งเสรมิ วิทยำศำสตร์ วิจยั และนวตั กรรม (สกสว.)

 CIOMS ให้ตัวอยำ่ งควำมอยุติธรรม ไดแ้ ก่ กำรวจิ ยั ในกลุ่มคนจน แต่เอำผลประโยชน์ไปใช้กับคนรวย
เช่น Tuskegee syphilis study กำรทดลองในเชลยสงครำม โดยแพทย์นำซีหรือกำรวิจัยในประเทศด้อยพัฒนำ
เพ่ือหลีกเลี่ยงกฎระเบยี บทเ่ี ขม้ งวดในประเทศที่พัฒนำแลว้

 กำรวิจัยควรเลือกบุคคลท่ีเปรำะบำงน้อยที่สุด (Least vulnerable) เพียงพอที่จะบรรลุวัตถุประสงค์
กำรวิจัย กำรวิจัยในบุคคลท่ีเปรำะบำงจะกระทำได้อย่ำงสมเหตุสมผลต่อเมื่อเกิดประโยชน์โดยตรงกับบุคคล
เปรำะบำงที่เป็นอำสำสมคั ร หรอื เกดิ ประโยชน์โดยตรงกบั กลุ่มคนเปรำะบำงอนื่ ๆ

3.2 กำรประยุกตใ์ ชห้ ลกั จริยธรรม
ใน Belmont report กลำ่ วถงึ กำรประยุกตใ์ ชด้ ังน้ี
1) กำรเคำรพในบคุ คล
แสดงโดยกำรให้โอกำสบุคคลเลือกโดยอิสระในส่ิงที่จะเกิดข้ึนกับตนเอง คือ กำรให้โอกำสอย่ำงเพียงพอ

ในกำรทำควำมเข้ำใจและกำรขอควำมยินยอมโดยบอกกล่ำว (Informed consent) ท่ีได้มำตรฐำน ซึ่งครอบคลุม
3 เร่ือง ดังน้ี

(1) กำรให้ข้อมูลท่ีจำเป็นและเพียงพอ เพ่ือประกอบกำรตัดสินใจ (Information) คือ มีเอกสำร
ข้อมูลสำหรบั อำสำสมัครท่มี หี ัวข้อต่ำงๆ ตำมควำมจำเป็นและเหมำะสม เชน่ เหตผุ ลท่ีเชญิ เข้ำร่วมโครงกำรวิจยั
ควำมเสย่ี งท่ีอำจไดร้ ับประโยชนท์ ่ีจะได้รับทำงเลือกอ่ืนๆ หวั ข้อเหล่ำน้กี ำหนดโดยแตล่ ะสถำบัน แต่อิงแนวทำง
จริยธรรมวจิ ัยสำกล เอกสำรดังกล่ำวตอ้ งใหอ้ ำสำสมคั รเก็บไว้ชุดหนึง่

(2) สำมำรถเข้ำใจได้ (Comprehension) โดยใช้ภำษำพื้นที่ๆ ที่เด็กมัธยมปลำยอ่ำนเข้ำใจ
และตอบขอ้ ซักถำมจนหำยสงสยั ก่อนขอลงนำมในใบยนิ ยอม

 กำรถ่ำยทอดข้อมูลให้กับบุคคลต้องเป็นลักษณะเป็นลำดับ ไม่รีบร้อนรวบรัดและให้เวลำ
บุคคลซกั ถำมจนพอใจ

 หำกบุคคลอยู่ในภำวะเจ็บป่วยทำงกำยหรือจิต หรือเด็กยังขำดควำมสำมำรถที่จะทำควำมเข้ำใจ
ได้อย่ำงสมบูรณ์ จะต้องขอควำมยินยอมตำมโอกำสและสภำพควำมสำมำรถ (Assent) รวมถึง กำรขออนุญำต
จำกผแู้ ทน/ผู้ปกครองตำมเหมำะสม (Third party consent or permission)

 หำกเป็นชนกลุ่มท่ีใช้คนละภำษำ จำเป็นจะต้องแปลเอกสำรเป็นภำษำของชนเหล่ำนั้น
โดยหน่วยงำนท่ีได้รับกำรรับรองหรือต้องใช้ล่ำมในกำรอธิบำย หำกกำรวิจัยซับซ้อนและมีควำมเส่ียงต่ออันตรำยสูง
อำจเสริมควำมเข้ำใจโดยใช้แผ่นวิดที ัศน์ตำมเหมำะสม และ/หรอื ทดสอบควำมเขำ้ ใจก่อนเข้ำโครงกำร

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับ 24
กำรสนับสนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทนุ ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำร
ส่งเสรมิ วิทยำศำสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.)

(3) เขำ้ โครงกำรโดยสมัครใจอย่ำงแท้จริง (Voluntariness) หมำยถึง กำรขอควำมยินยอม
ภำยใต้ส่ิงแวดล้อมท่ีปรำศจำกกำรบีบบังคับ (Coercion) กำรหว่ำนล้อมให้รำงวัล (Undue influence) หรือ
แรงกดดันอน่ื ๆ (Unjustifiable pressure)

Coercion หมำยถงึ กำรบังคับขเู่ ขญ็ ทคี่ นหนงึ่ กระทำกับอีกคนหนึ่ง เพอ่ื ให้ยอมทำตำม
Undue influence หมำยถึง (1) กำรให้รำงวัลเกินเหมำะสม เพื่อให้ยอมทำตำม เรียกว่ำ
Undue influence หรือ (2) ก่อกวนกำรตัดสินใจผำ่ นญำตหิ รือคนสนทิ
Unjustifiable pressure หมำยถึง กำรกดดันโดยผู้มีอำนำจ ซ่ึงมีกำรลงโทษ หำกไม่ร่วมมือ
บำงครงั้ ยกระดบั กลำยเป็น Unjustifiable pressure
2) กำรให้คณุ ประโยชน์
แสดงโดยกำรประเมินควำมเสี่ยงและคุณประโยชน์ (Risk/Benefit assessment) ว่ำได้สมดุล (Balanced)
หรอื สดั ส่วนเหมำะสม (Favorable)
 ในกำรน้จี ำเปน็ ตอ้ งวเิ ครำะห์หำควำมเสี่ยงและประโยชน์อยำ่ งเป็นระบบ เรม่ิ จำกหำควำมถูกต้อง
ของสมมุติฐำนกำรวิจัย ตำมด้วยลักษณะ โอกำส และขนำดควำมเส่ียง อิงหลักฐำนเชิงประจักษ์และหำทำงเลือกอื่น
ท่เี ป็นไปได้
 ประโยชน์ที่อำสำสมัครได้จำกกำรเข้ำร่วมวิจัย ถือว่ำมีน้ำหนักมำกกว่ำประโยชน์ต่อบุคคลอื่นๆ
หรือชมุ ชน
 กำรวิจัยท่ียอมรับได้ต้อง (1) ไม่มีกำรกระทำอย่ำงทำรุณโหดร้ำย (2) ลดควำมเสี่ยงให้เหลือน้อย
เท่ำท่ีจำเป็น เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์กำรวิจยั อำจถึงขั้นพิจำรณำว่ำงำนวิจัยน้ันจำเป็นต้องทำในมนุษย์หรือไม่สำมำรถ
ลดควำมเสีย่ งต่ออันตรำย โดยใช้หัตถกำรทำงเลอื กอื่นไดห้ รือไม่ (3) หำกงำนวิจยั อำจก่อควำมเส่ียงต่ออันตรำย
ร้ำยแรงถึงพิกำร คณะกรรมกำรจริยธรรมกำรวิจัยต้องยืนยันให้ได้ว่ำควำมเสี่ยงสมเหตุสมผลกับประโยชน์
ท่ีจะได้รับหรือเกิดจำกควำมสมัครใจอย่ำงแท้จริง (4) กำรวิจัยในกลุ่มประชำกรเปรำะบำงต้องแสดงให้เห็นว่ำ
จำเป็นและเหมำะสม และ (5) ตอ้ งแสดงควำมเส่ียงและประโยชน์ในเอกสำรหรือกระบวนกำรขอควำมยินยอม
3) ควำมยตุ ิธรรม
แสดงโดยกำรคัดบุคคลเข้ำร่วมโครงกำรวิจัย โดยกระบวนกำรที่เป็นธรรมและได้ผลผลัพธ์
ทีเ่ ป็นธรรมและระหว่ำงกำรดำเนินกำรวิจัยก็ปฏิบัติกับทุกคนอย่ำงเป็นธรรม ไมใ่ ชเ่ พรำะรักหรือชังหรือลำเอียง
ด้วยเหตุใดๆ และไมแ่ บ่งแยกชนช้นั ตำมเศรษฐำนะ ศำสนำ เพศ เช้ือชำติ เป็นต้น
ควำมยุติธรรมในระดับบุคคล (Individual justice) มองท่ีกำรคัดเลือก ว่ำไม่เลือกบุคคลท่ีชอบพอ
เขำ้ โครงกำรท่ีเปน็ ประโยชน์ ในขณะท่เี ลอื กบคุ คลท่ไี ม่พึงปรำรถนำเข้ำโครงกำรทมี่ ีควำมเสยี่ งมำก

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 25
กำรสนับสนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจยั และนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (สกสว.)

ควำมยุติธรรมในระดับสังคม (Social justice) มองท่ีกำรคัดเลือก ว่ำไม่ควรเลือกกลุ่มบุคคล
ท่ีแบกภำระอยู่แล้ว มำแบกภำระจำกโครงกำรวิจัยอีก จึงต้องเลือกกลุ่มบุคคลที่สำมำรถแบกภำระได้ดีกว่ำเบ้ืองต้น
เช่น ควรเลือกผู้ใหญ่ก่อนเลือกเด็ก และกำรเลือกกลุ่มบุคคลเปรำะบำง (Vulnerable subject) บำงกลุ่ม เช่น
นักโทษมำเข้ำร่วมโครงกำรวิจัยต้องอยู่ภำยใต้กรอบเงือ่ นไขบำงประกำร บุคคลท่ีอยู่ในสถำนะ ถือว่ำแบกภำระ
จำกส่ิงแวดล้อมอยู่แล้ว กำรวิจัยที่มคี วำมเสยี่ งและไม่เกี่ยวกับกำรรักษำ จงึ ควรเลอื กบคุ คลกลุ่มอ่นื แทน เว้นแต่
จะเป็นเรื่องที่สัมพันธ์กับสภำวะควำมเป็นอยู่ของบุคคลกลุ่มเหล่ำน้ี กลุ่มเปรำะบำงอื่นๆ เช่น ชนกลุ่มน้อย
คนรำยได้น้อย คนป่วยหนักไม่ควรนำเข้ำโครงกำรวิจัยเพียงเพรำะอยู่ใกล้บริเวณสถำนวิจัยหำง่ำย จัดกำรง่ำย
ควรมมี ำตรกำรปอ้ งกันเปน็ พเิ ศษ

อยำ่ งไรก็ตำม ในบริบทของสังคมแลว้ แมน้ กั วจิ ยั หรอื สถำบันวิจัยได้คัดเลือกอำสำสมัครอย่ำงเป็นธรรม
และปฏิบัติอย่ำงเป็นธรรมแล้ว ก็ยังรูปแบบควำมอยุติธรรมในสังคมบำงแห่งจำกกำรลำเอียงทำงเพศ เชื้อชำติ
และวฒั นธรรม นกั วิจัยจึงควรคำนงึ ถงึ Distributive justice ในกำรคดั เลือกบุคคลเขำ้ ร่วมโครงกำร

Belmont Report ให้ข้อสังวรว่ำ หลักสำมข้อเป็นกรอบ (Framework) ทั่วไป ให้นำไปใช้ประกอบ
กำรวิเครำะห์ปัญหำด้ำนจริยธรรม ไม่สำมำรถใช้ข้อเดี่ยวๆ ได้ ผู้วิเครำะห์จะเป็นต้องเชื่อมโยงหลักทั้งสำมข้อ
เข้ำด้วยกันในกำรพิจำรณำโครงกำรใดโครงกำรหนึ่งเสมอ เพื่อให้มีควำมสมบูรณ์ในกำรปกป้องสิทธิ
ควำมปลอดภัย และควำมเป็นอย่ทู ด่ี ขี องอำสำสมัครทีเ่ ข้ำรว่ มโครงกำร

หลักจริยธรรมพื้นฐำนมี 3 ข้อ ได้แก่ กำรเคำรพในบุคคล กำรให้คุณประโยชน์ และควำมยุติธรรม
ควำมเคำรพในบุคคลแสดงโดยกำรขอควำมยินยอมจำกบุคคลที่เชิญเข้ำร่วมโครงกำรวิจัยหรือจำกผู้ปกครอง
ตำมกฎหมำย หำกเป็นบุคคลเปรำะบำงและไม่วิจัยในกลุ่มคนเปรำะบำง หำกไม่จำเป็น กำรให้คุณประโยชน์
แสดงโดยสัดส่วนของประโยชน์ที่เหนือกว่ำควำมเส่ียง แต่ถ้ำไม่ก่อประโยชน์โดยตรงต่อสุขภำพอำสำสมัคร
ควำมเสี่ยงต้องมีเพียงเล็กน้อย และสุดท้ำย คือ ควำมยุติธรรมท่ีแสดงออกโดยกำรคัดเข้ำบุคคลเข้ำร่วม
โครงกำรวิจยั ไม่ใช่เปน็ เพรำะรักหรือชงั หรอื ลำเอียงด้วยเหตใุ ดๆ และไม่แบง่ แยกชนชัน้ ตำมเศรษฐำนะ ศำสนำ
เพศ เชือ้ ชำติ เป็นต้น

สำนกั งำนสง่ เสริมและสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 26
กำรสนับสนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (กองทุน ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วิทยำศำสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.)

3.3 แนวทำง/ขั้นตอนกำรขอใบประกำศนียบัตรเพื่อประกอบกำรย่ืนคำขอรับรองจริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์
กำรปฏิบัติกำรวิจัยทำงคลินิกที่ดี (GCP) และจริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์ Human Research

Ethics เป็นมำตรฐำนคุณภำพด้ำนจริยธรรมและด้ำนวิชำกำรระดับสำกล สำหรับใช้ในกำรวงรูปแบบ
กำรดำเนินงำน กำรปฏิบัติตำมเกณฑ์มำตรฐำนน้ี เป็นกำรรับประกันต่อสำธำรณชนว่ำ สิทธิควำมปลอดภัย
และควำมเป็นอยู่ท่ีดีของอำสำสมัครได้รับกำรคุ้มครองตำมหลักจริยธรรม และผลกำรทดลองเช่ือถือได้
และสำหรบั กำรย่ืนขอพิจำรณำรบั รองจริยธรรมกำรวจิ ัยในมนุษย์ กำหนดใหน้ กั วจิ ยั ท่ีเป็นหัวหน้ำโครงกำรต้อง
ผ่ำนกำรอบรมจริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์และมีหลักฐำนเป็นใบประกำศนียบัตร (Certificate) ซึ่งประกำศนียบัตร
มอี ำยุ 2 ปี โดยมชี ่องทำงสำหรับเขำ้ รับกำรอบรมดว้ ยตนเองอ่ำนหลักสูตรอบรมออนไลน์ ได้แก่

 จริยธรรมกำรวิจยั ในคน มหำวทิ ยำลัยธรรมศำสตร์ : มีเนื้อหำให้ศึกษำก่อนทำแบบสอบถำม
ออนไลน์ เมือ่ ทำขอ้ สอบผำ่ นจะได้รับใบประกำศนยี บัตร ซึ่งมีอำยุ 2 ปี

สำมำรถเขำ้ ไปศกึ ษำได้ที่ http://www.gcp.medtu.info/GCP
 GCP Online สำนักงำนมำตรฐำนกำรวิจัยในคน (วช.) : บุคคลท่ัวไป นักศึกษำ นักวิจัย
และคณะกรรมกำรจริยธรรมสำมำรถเรยี นรูผ้ ำ่ นระบบกำรเรียนรู้ของทำงสำนักงำนมำตรฐำนกำรวิจัยในคนแห่งชำตไิ ด้
โดยไมเ่ สยี คำ่ ใช้จ่ำยในกำรลงทะเบียน

สำมำรถเข้ำไปศึกษำได้ที่ http://www.ohrs.nrct.go.th/E-learning

ตัวอยา่ ง

หลักฐานการผา่ นการอบรมจริยธรรมการวิจัยในมนษุ ย์

สำนักงำนสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 27
กำรสนับสนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจยั และนวตั กรรม (กองทุน ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำร
ส่งเสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (สกสว.)

3.4 กระบวนกำร/ข้ันตอน กรอบแนวทำง และแบบฟอร์มกำรขอรับรองจริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์
ของมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธญั บรุ ี

กำรพิจำรณำจริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์ของคณะกรรมกำรจริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์ มหำวิทยำลัย
เทคโนโลยีรำชมงคลธญั บุรี มี 3 แบบ ได้แก่

(1) กำรพิจำรณำในท่ีประชุมคณะกรรมกำร (Full board review) ตำมปฏิทินงำนของคณะกรรมกำร
จริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี กำหนดปิดรับคำขอ (เอกสำรถูกต้อง
สมบรู ณเ์ ท่ำน้ัน)

(2) กำรพจิ ำรณำแบบเรว็ (Expedited review) สำมำรถยนื่ ขอพจิ ำรณำได้ตลอดท้ังปี
(3) กำรขอยกเว้นพิจำรณำด้ำนจริยธรรมกำรวิจัย (Exemption) สำมำรถย่ืนคำขอพิจำรณำได้
ตลอดทง้ั ปี
โดยมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญบุรี มีข้อกำหนดให้หัวหน้ำโครงกำร/นักวิจัยที่ย่ืนขอพิจำรณำ
ตอ้ งผำ่ นกำรอบรมด้ำนกำรปฏบิ ัติทำงคลินิกท่ีดี Good Clinical Practice (GCP) และ/หรือ จริยธรรมกำรวิจัย
ในมนุษย์ Human Research Ethics โดยมีหลักฐำน คือ ใบประกำศนียบัตร ใช้ประกอบเป็นหลักฐำนอ้ำงอิง
ในกำรยืน่ คำขอรบั รองจริยธรรมกำรวจิ ัยในมนุษย์ และกำหนดอตั รำค่ำธรรมเนียมกำรยืน่ คำขอรับรองจรยิ ธรรม
กำรวิจัยในมนษุ ย์ จำนวน 7,000 บำท
กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์ ได้ขอควำมร่วมมือมหำวิทยำลัยเทคโนโลยี
รำชมงคลธัญบุรี ดำเนินกำรเสนอคณะกรรมกำรจริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์ เพ่ือพิจำรณำจริยธรรมกำรวิจัย
ในมนุษย์ให้กับโครงกำรวิจัยของหน่วยงำนในสังกัดกระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของมนุษย์
โดยดำเนินกำรตำมเอกสำรและขั้นตอนท่ีคณะกรรมกำรจริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยี
รำชมงคลธัญบรุ ี กำหนด

สำนกั งำนสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 28
กำรสนับสนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วิทยำศำสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (สกสว.)

3.5 เอกสำรประกอบกำรย่ืนคำขอรับรองจริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์

ตวั อยา่ ง
แบบย่นื ขอรบั การพจิ ารณาจริยธรรมการวจิ ัย AF 01-03

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 29
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.)

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 30
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.)

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับ 31
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (กองทุน ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
ส่งเสรมิ วิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (สกสว.)

ตวั อยา่ ง

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 32
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.)

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับ 33
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) สำนักงำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (สกสว.)

ข้อเสนอโครงร่างการวิจยั เพอื่ รับการพิจารณาจรยิ ธรรมการวิจัยในมนุษย์ AF 02-03

ตัวอย่าง
โครงรา่ งการวิจยั (Research Protocol) ประกอบการเสนอขอรับรองจริยธรรมการวจิ ัยในมนษุ ย์ AF 03-03

สำนกั งำนส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 34
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.)

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 35
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.)

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 36
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.)

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 37
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.)

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพ่ือขอรับ 38
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (กองทุน ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
ส่งเสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.)

ตัวอย่าง
เอกสารข้อมูลคาอธบิ ายสาหรับผเู้ ข้ารว่ มในโครงการวจิ ัย AF 04-04

สำนกั งำนสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 39
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.)

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 40
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.)

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 41
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.)

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 42
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.)

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 43
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.)

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เร่ือง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 44
กำรสนบั สนุนงบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (กองทุน ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
ส่งเสรมิ วิทยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.)

ตัวอย่าง
เอกสารแสดงความยินยอมเข้ารว่ มในโครงการวิจยั AF 05-04

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 45
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.)

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4

กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ (Knowledge management : KM) เรื่อง แนวทำงกำรเขียนข้อเสนอโครงกำรวิจัยเพื่อขอรับ 46
กำรสนบั สนนุ งบประมำณจำกกองทุนส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (กองทนุ ววน.) สำนกั งำนคณะกรรมกำร
สง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.)

่ทีมำ : สถำ ับนวิจัยและ ัพฒนำ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลธัญ ุบรี, 2563)

สำนักงำนส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ ำกำร 4


Click to View FlipBook Version