คำนำ
เทคโนโลยสี ารสนเทศมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ สรา้ งการเปลยี่ นแปลงต่อสังคมไทย
แล ะสั งค ม โล ก ที่ ก ำลั งก้ าวสู่ ก ารเป็ น สั งค ม ผู้ สู งวัย ป ระเท ศ ไท ย เข้ าสู่ สั งค ม ผู้ สู งอ ายุ
(Aging.Society).ต้ังแต่ปี 2548 และกำลังจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged.Society).ในปี 2564
น่ันคือประเทศไทยจะมีประชากรผู้สูงวัยที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 20 ของประชากรท้ังประเทศ
ผสู้ ูงอายถุ อื ได้ว่าเป็นปชู นียบคุ คลที่เป็นแบบอย่างที่ดีในสงั คม ทไ่ี ด้ทำคุณประโยชน์ให้แก่สงั คมโดยรวม
อย่างต่อเน่ืองยาวนาน และเป็นผู้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรม และจริยธรรมท่ีดีงามเพ่ือยกย่องเชิดชูเกียรติ
การสร้างความสุขใหก้ ับผูส้ งู วัย ควรเร่มิ จากในระดับเล็กท่สี ุดด้วยการใหท้ ุกคนในครอบครวั แสดงความห่วงใย
เชื่อฟังผสู้ ูงวัย และทำกิจกรรมร่วมกัน ซึ่งในปัจจบุ ันเทคโนโลยีตา่ งๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปน้ัน คนในครอบครัว
ควรชี้แนะ และนำท่านเข้าสู่การใช้เทคโนโลยีรูปแบบใหม่ๆ เพ่ือช่วยดูแลช่วยสร้างความพร้อมให้ผู้สูงวัย
อยู่เป็นต้นแบบให้กบั สังคมไทย
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 4 (สสว.4) เลง็ เห็นความสำคัญของการจัดการความรู้
ได้ดำเนินการถอดบทเรียน ในเร่ือง “การพัฒนาองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีสู่วิถีชีวิตใหม่
(New.Normal).ของผู้สูงวัย”.เพื่อให้นำองค์ความรู้ไปใช้ในการพัฒนาตนเอง เสริมสร้างพลังใจ
ใหผ้ สู้ ูงอายุมพี ลงั สร้างสรรค์ สบื สาน คณุ ค่าของแผน่ ดินไทย และเป็นแบบอยา่ งที่ดีให้กบั สังคมไทยต่อไป
สำนักงานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 4
กันยายน 2564
การพัฒนาองค์ความรู้ดา้ นเทคโนโลยสี ู่วถิ ชี วี ิตใหม่ (New Normal) ของผูส้ ูงวยั 1
สารบญั หนา้
1
คำนำ 2
สารบัญ 2
สารบญั รูป 3
บทสรปุ ผ้บู ริหาร 5
นยิ ามของวถิ ชี วี ติ ใหม่ 11
นิยามของผู้สงู วัย 18
นิยามและประเภทของเทคโนโลยี 24
การใช้ชวี ติ อย่างมีความสขุ ของผู้สูงวยั 32
ผ้สู ูงวยั กบั การใช้เทคโนโลยี 40
ขอ้ ควรระวงั ในการใชเ้ ทคโนโลยีของผูส้ ูงวัย 43
บรรณานกุ รม
หน้า
สารบญั รปู 6
8
รปู ท่ี 9
1 6 ขน้ั ตอนการล้างมือให้สะอาดปราศจากโรค 9
2 ไทยชนะ 10
3 การส่งอาหารในช่องทางต่าง ๆ 12
4 การเพม่ิ ระยะห่างทางสงั คม หรือ “Social Distancing” 14
5 ชีวิตวิถใี หม่และการปรับตัวในภาวะ Covid-19 16
6 สัดสว่ นประชากรทว่ั โลก 31
7 ระดับสังคมผูส้ ูงอายุ 35
8 การเปรยี บเทยี บอายุของผู้สูงวยั ท่วั โลก
9 7 วิธอี ยู่รว่ มกบั ผู้สงู วัยภายในครอบครวั ได้อย่างมีความสุข
10 นวตั กรรมเพ่ือใหผ้ ู้สูงวยั มคี ุณภาพชวี ิตที่ดีข้ึน
การพัฒนาองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยสี ู่วิถชี ีวติ ใหม่ (New Normal) ของผสู้ งู วยั 2
การจดั การความรู้ “การพัฒนาองคค์ วามรู้ดา้ นเทคโนโลยี
สู่วิถีชวี ติ ใหม่ (New Normal) ของผู้สงู วัย”
สสว.4 นครราชสีมา
บทสรปุ ผบู้ รหิ าร
การจัดทำรายงานการจัดการความรู้ “การพัฒนาองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีสู่วิถีชีวิตใหม่
(New Normal) ของผู้สูงวัย” มีวัตถุประสงค์เพื่อถอดองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิต
ในวิธีใหม่.(New.Normal).ของผู้สูงอายุ ที่ในประเทศไทยเข้าสู่สังคมอายุ(Aging Society).โครงสร้าง
ของสังคมไทยก็มีการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงวัยที่เพิ่มข้ึนผกผันกับจำนวนประชากรท่ีเกิดใหม่ สาเหตุ
สำคญั ประการหน่งึ ท่ีส่งผลตอ่ การเพมิ่ ขึน้ ของประชากรผู้สูงอายุ สบื เนอ่ื งมากจากความเจริญก้าวหน้า
ทางด้านวทิ ยาศาสตร์ การแพทย์ และสาธารณสขุ จงึ ทำใหป้ ระชากรโลกมอี ายเุ ฉลยี่ เพิ่มมากขนึ้
รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุ ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563 ในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ มีประชากรผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป จำนวนทั้งสิ้น 3,684,395 คน โดยแบ่งเป็น
ผู้สูงอายุเพศชาย จำนวนทั้งสิ้น 1,669,567 คน ผู้สูงอายุเพศหญิง จำนวนทั้งส้ิน 2,014,828 คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 18.86 จัดเป็นอนั ดบั ทห่ี น่ึง ในระดับภมู ภิ าค
จังหวัดนครราชสีมา เป็นจังหวัดที่มีประชากรผู้สูงอายุ 60 ปี ข้ึนไป จำนวนทั้งสิ้น
473,457 คน โดยแบ่งเป็นผู้สูงอายุเพศชาย จำนวนท้ังส้ิน 211,033 คน ผู้สูงอายุเพศหญิง จำนวน
ทั้งสิ้น 262,424 คน คิดเป็นร้อยละ 17.98 จัดเป็นอันดับที่ 2 ของประเทศ เป็นรองจาก
กรงุ เทพมหานครฯ
จังหวัดบุรรี มั ย์ เป็นจังหวัดทีม่ ีประชากรผู้สงู อายุ 60 ปี ขึ้นไป จำนวนทั้งสิ้น 261,571 คน
โดยแบ่งเป็นผู้สูงอายุเพศชาย จำนวนทั้งส้ิน 118,555 คน ผู้สูงอายุเพศหญิง จำนวนทั้งสิ้น
143,016 คน คิดเปน็ ร้อยละ 16.54 จัดเปน็ อันดับที่ 7 ของประเทศ
จังหวัดชัยภูมิ เป็นจังหวัดที่มีประชากรผู้สูงอายุ 60 ปี ขึ้นไป จำนวนทั้งส้ิน 211,820 คน
โดยแบ่งเป็นผู้สูงอายุเพศชาย จำนวนทั้งส้ิน 96,334 คน ผู้สูงอายุเพศหญิง จำนวนทั้งส้ิน
115,486 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 15.81 จัดเปน็ อนั ดบั ท่ี 18 ของประเทศ
จงั หวัดสุรนิ ทร์ เป็นจังหวัดท่ีมปี ระชากรผสู้ ูงอายุ 60 ปี ข้ึนไป จำนวนทั้งส้ิน 233,657 คน
โดยแบ่งเป็นผู้สูงอายุเพศชาย จำนวนทั้งสิ้น 104,708 คน ผู้สูงอายุเพศหญิง จำนวนทั้งสิ้น
128,949 คน คิดเป็นร้อยละ 16.95 จัดเป็นอันดับที่ 12 ของประเทศ (สถิตผิ ู้สูงอายุของประเทศไทย :
ออนไลน)์
การเพิ่มข้ึนของ ผู้สูงวัย เป็นบุคคลสำคัญของประเทศ ดังนั้น ครอบครัว ชุมชน และ
หน่วยงานต่างๆ ที่เก่ียวข้อง นับเป็นเร่ืองท่ีท้าทาย ควรส่งเสริมให้ผู้สูงวัยเป็นพลังในการขับเคลื่อน
ประเทศ ส่งเสริมให้มีการทำงานหลังเกษียณ ผ่านการเสริมทักษะการดำรงชีวิตในวิถีใหม่ที่รายล้อม
ไปด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ทักษะอาชีพในการหารายได้ มีงานทำที่เหมาะสมกับศักยภาพมีการ
การพฒั นาองค์ความรดู้ า้ นเทคโนโลยีสู่วถิ ีชีวิตใหม่ (New Normal) ของผู้สงู วัย 3
เสริมสร้างสุขภาพ ฟื้นฟูสุขภาพ การป้องกันโรคให้แก่ผู้สูงวัย พร้อมกับจัดสภาพแวดล้อมให้เป็นมิตร
กับผู้สูงวัยและหลักประกันทางสังคมที่สอดคล้อง กับความจำเป็นพ้ืนฐานในการดำรงชีวิต การมีส่วนร่วม
ของผสู้ งู วัยในสังคม และสร้างความตระหนักในการอยูร่ ่วมกบั เทคโนโลยีสมยั ใหม่
ผู้สูงวัยในปัจจุบัน ต้องเป็นผู้สูงวัยอย่างมีพลัง (Active.ageing) สูงวัยท่ียังประโยชน์”
(Productive.ageing).และสูงวัยอย่างมีสุขภาวะ” (Healthy.ageing) โดยการเป็นผู้สูงวัยท่ีสร้างโอกาส
ให้กับตนเอง ดึงศักยภาพของตนเองมาใช้ให้เป็นประโยชน์และมีคุณค่า รวมถึงใช้ชีวิตให้มีสุขภาพที่ดี.
มคี วามสุข ต้องพร้อมท้ังปรับตัวและใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีสมัยใหมใ่ ห้ได้มากที่สุดในการดำเนินชีวิต
วถิ ีใหม่
ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย
1. ผู้สูงวัยมีแนวโน้มเพ่ิมมากขึ้น หน่วยงานต่างๆ ควรให้ความสำคัญเตรียมความพร้อม
ให้กับผู้สูงวัย เพื่อให้ผู้สูงวัยดำเนินชีวิตได้โดยไม่ต้องพึ่งพาผู้อ่ืน เช่น ส่งเสริมให้มีกิจกรรมสัมพันธ์
ระหวา่ งผสู้ ูงอายุกับคนทกุ วัย ได้เป็นส่วนหนง่ึ ของกจิ กรรมศาสนา การศกึ ษา วฒั นธรรม และกฬี า
2. หน่วยงานที่เก่ียวข้องควรพัฒนาทักษะเพื่อเพ่ิมโอกาสและส่งเสริมศักยภาพให้ผู้สูงวัย
สามารถประกอบอาชีพในวัยผู้ใหญ่ได้ โดยการเพิ่มทักษะต่างๆ เช่น ทักษะทางสังคมท่ีทำให้ผู้สูงวัย
ทำงานในลักษณะรวมกลุ่มกันได้ ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ ทักษะด้านการการตลาด เป็นตน้ อาจจัดทำ
ในรูปแบบการฝึกอบรมอาชีพใหม่ พัฒนาต่อยอดอาชีพเดิมที่ผู้สูงวัยมีภูมิปัญญาเดิมหรือมี
ประสบการณ์ในเร่ืองนั้นๆ การทำงานอาจทำร่วมกันกับลูกหลาน ที่เข้าถึงเทคโนโลยีสมัยใหม่
(พฤติกรรมผูบ้ รโิ ภคเปลี่ยนแปลง)
3. หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับผู้สูงวัย ควรสร้างระบบคุ้มครองสวัสดิการ ระบบสุขภาพ
ระบบเตรยี มความพร้อมในทุกมิติให้กับผู้สูงวัยอยู่อย่างมคี วามสุข
การพฒั นาองค์ความรดู้ ้านเทคโนโลยีสู่วิถีชวี ิตใหม่ (New Normal) ของผู้สงู วยั 4
1.นิยามของวิถีชวี ิตใหม่ "New.Normal".ห รื อ ."ค ว า ม ป ก ติ ใ น
รูปแบบใหม่" เป็นคำศัพท์ที่ถูกใช้เป็นคร้ังแรก
(New Normal) ในปี ค.ศ. 2008 โดย Bill Gross นักลงทุน
ในตราสารหนี้ช่ือดัง และเป็นผู้ร่วมก่อต้ังบริษัท
รศ. มาลี บุญศิริพันธ์ คณะกรรมการ Pacific Investment Management (PIMCO)
บั ญ ญั ติ ศั พ ท์ นิ เท ศ ศ า ต ร์ ร า ช บั ณ ฑิ ต ย ส ภ า โด ย ให้ นิ ย า ม ."New.Normal".ใน บ ริ บ ท
ได้อธิบายคำ.New Normal ไว้ว่า ความปกติใหม่ เศรษฐกจิ โลกเอาไวว้ า่ เป็นสภาวะท่เี ศรษฐกิจโลก
, ฐานวิถีชวี ิตใหม่ หมายถึง รูปแบบการดำเนิน มีอัตราการเติบโตชะลอตัวลงจากในอดีต และ
ชวี ิตอย่างใหม่ทีแ่ ตกต่างจากอดีต อันเน่ืองจาก เข้าสู่อัตราการเติบโตเฉลี่ยระดับใหม่ท่ีต่ำ
มีบางสิ่งมากระทบจนแบบแผนและแนวทาง กว่าเดิม ควบคู่ไปกับอัตราการว่างงานท่ีสูงข้ึน
ปฏิบัติที่คนในสังคมคุ้นเคยอย่างเป็นปกติและ อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง ห ลั ง เ กิ ด วิ ก ฤ ติ ท า ง ก า ร เ งิ น
เคยคาดหมายล่วงหน้าได้ต้องเปล่ียนแปลงไปสู่ ในสหรัฐฯ (เขมรัฐ ทรงอยู่, 2558) อีกทั้งความ
วิถีใหม่ภายใต้หลักมาตรฐานใหม่ท่ีไม่คุ้นเคย ผั น ผ ว น ท า ง เศ ร ษ ฐ กิ จ จ ะ ไ ม่ ได้ เป็ น ไป ต า ม
รปู แบบวิถีชีวิตใหม่นี้ ประกอบด้วย วิธีคิด วธิ ี วัฏจักรเศรษฐกิจเดิมแบบที่ผ่านมา เนื่องจาก
เรียนรู้ วิธีสื่อสาร วิธีปฏิบัติและการจัดการ ปัจจัยต่างๆ ที่เป็นตัวกำหนดการเติบโต
การใช้ชีวิตแบบใหม่เกิดขึ้นหลังจากเกิดการ ทางเศรษฐกิจมีรูปแบบที่เปลี่ยนแปลงไปหรือ
เปล่ียนแปลงอย่าง ใหญ่หลวงและรุนแรง ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในลักษณ ะที่
อ ย่ า ง ใด อ ย่ า ง ห น่ึ ง ท ำ ให้ ม นุ ษ ย์ ต้ อ ง ป รั บ ตั ว แตกตา่ งจากในอดตี
เพื่อรับมือกับสถานการณ์ปัจจุบันมากกว่า
จะธำรงรักษาวิถีดงั้ เดมิ หรอื หวนหาถงึ อดตี แนวคิดเร่ือง "New Normal" ของ Bill Gross
ในช่วงแรกไม่ได้รับความสนใจ และยังถูก
ส่วน “New.Normal”.ในบริบทสถานการณ์ ปฏิเสธโดยนักเศรษฐศาสตรจ์ ำนวนหน่ึงทีเ่ ช่ือว่า
การแพร่ระบาดของ “โควิด-19” น้ัน อธิบายได้ว่า การชะลอตัวท่ีเกิดข้ึนเป็นเพียงการถดถอย
เป็นสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและ (recession) ตามวัฏจักรเศรษฐกิจเดิมเท่าน้ัน
รนุ แรงจนแพรก่ ระจายไปในประเทศต่างๆ ท่วั โลก และในไม่ช้าเศรษฐกิจและการจ้างงานก็จะ
มนุษย์จึงจำเป็นต้องป้องกันตนเองเพ่ือให้มี ก ลั บ ม า เติ บ โ ต ไ ด้ ท่ี ค่ า เฉ ลี่ ย ดั ง เดิ ม
ชีวิตรอดด้วยการปรับเปล่ียนพฤติกรรมการ แต่สถานการณ์เศรษฐกิจโลกในปัจจุบันได้
ดำรงชีวิตที่ผดิ ไปจากวิถีเดิม ๆ โดยมีการปรับหา พิสูจน์ให้เห็นวา่ สิ่งท่ี Bill Gross ได้พูดไว้ตั้งแต่
วิถีการดำรงชีวิตแบบใหม่เพื่อให้ปลอดภัยจาก ปี 2008 น้ันมสี ่วนท่ถี กู อยู่ไมน่ ้อย
การติดเช้ือ ควบคู่ไปกับความพยายามรักษา
แ ล ะ ฟ้ื น ฟู ศั ก ย ภ า พ ท า งเศ รษ ฐ กิจ แ ล ะธุ ร กิ จ
นำไปสู่การสรรค์สร้างสิ่ งประดิษฐ์ใหม่ๆ
การปรับแนวคิด ตลอดจนพฤติกรรมท่ีเคยทำ
มาเป็นกิจวัตร ซึ่งสิ่งใหม่เหล่าน้ีได้กลายเป็น
ความปกติใหม่ จนในที่สุดเมื่อเวลาผ่านไปก็ทำ
ให้เกิดความคุ้นชินก็จะกลายเป็นส่วนหน่ึง
ของชีวิตปกติของผ้คู นในสังคม
การพัฒนาองค์ความรู้ดา้ นเทคโนโลยีสวู่ ิถชี ีวติ ใหม่ (New Normal) ของผสู้ งู วยั 5
New Normal แบบบคุ คล
คือ การปรับกิจวัตรของบุคคลให้มีการ
ป้องกันการรับเชื้อโควิดให้มากขึ้น เช่น
การล้างมือในแต่ละคร้ังควรใช้เวลาอย่างน้อย
20 วินาที หรือร้องเพลงแฮปปี้เบิร์ธเดย์ หรือ
เพลงช้าง ไปด้วย 2 รอบ โดยเร่ิมจาก
1 ล้างมือให้เปียกด้วยน้ำ
2 แลว้ ใชส้ บู่ในปริมาณที่
มากเพียงพอ
3 ถูมือให้ทั่ว รวมทั้งหลังมือ
ซอกน้ิว ข้อมือ หัวแม่มือ และ
ใต้เลบ็ เป็นเวลาอย่างน้อย 20
วนิ าที
4 ลา้ งมอื ใหส้ ะอาดดว้ ยนำ้
5 เช็ดมือให้แห้งด้วยผ้าสะอาด
หรือกระดาษที่ใชแ้ ล้วทง้ิ
รปู ท่ี 1 6 ข้นั ตอนการล้างมือให้สะอาดปราศจากโรค
ท่ีมา : วรรษมน จันทรเบญจกุล, 2564, ออนไลน์.
การพัฒนาองค์ความรูด้ ้านเทคโนโลยีสวู่ ถิ ีชีวิตใหม่ (New Normal) ของผู้สูงวยั 6
โดยปกติแล้วการล้างมือด้วยสบู่และการใช้เจลล้างมือแอลกอฮอล์ สามารถกำจัดเช้ือโรค
และจุลินทรีย์ต่างๆ ได้ แต่น้ำยาหรือเจลล้างมือแอลกอฮอลล์จะให้ความสะดวกเม่ือต้องอยู่นอกบ้าน
การใชแ้ อลกอฮอล์ท่ีมคี วามเข้มขน้ อย่างน้อยรอ้ ยละ 70 เพราะถ้าใช้สดั ส่วนทต่ี ่ำกว่านัน้ ตัวแอลกอฮอล์
จะระเหยเร็วเกนิ ไป ไม่สามารถกำจัดเชื้อโรค COVID-19 ได้ ตามท่ีมีกฎหมายใหม่ออกมา สว่ นผสมอื่น
ในเจลทำให้ตัวแอลกอฮอล์ระเหยได้ช้าลง สัมผัสกับผิวได้นานข้ึน และช่วยลดการระคายเคือง
ของแอลกอฮอล์และคงความชุ่มช้นื ต่อผวิ
“ควรใช้เจลแอลกอฮอล์เฉพาะมือเท่าน้ัน ห้ามสัมผัสหรือเช็ดล้างบริเวณเนื้อเยื่ออ่อน เช่น
ใบหน้าและดวงตาโดยเด็ดขาด ไม่เปิดฝาทิ้งไว้ ไม่เก็บในที่มีแสงแดดส่องถึง ไม่เก็บไว้ในรถ เพราะจะทำให้
แอลกอฮอลร์ ะเหยและเสอ่ื มสภาพ”
สำหรับการสังเกตุเจลแอลกอฮอล์น้ันเป็นแอลกอฮอล์ปลอมหรือไม่ สามารถตรวจสอบ
ด้วยการวัดอัตราส่วนของแอลกอฮอล์ท่ีผสมในเจลล้างมือว่ามีสัดส่วนท่ีมากกว่าร้อยละ 70 หรือไม่
ซ่ึงต้องส่งให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องตรวจเท่าน้ัน สำหรับบุคคลทั่วไปให้ดูจากฉลากของผลิตภัณฑ์จาก
ผู้ผลิตท่ีมีความน่าเช่ือถือ นอกจากน้ีต้องตรวจสอบว่าเป็นการใช้แอลกอฮอล์ผิดชนิดหรือไม่ ช่วงน้ีมี
กระแสข่าวว่ามีการนำเมทิลแอลกอฮอล์ ซึ่งมีราคาถูกกว่ามาใช้แทนเอทิลแอลกอฮอล์ท่ีใช้กันปกติ
ในผลิตภณั ฑ์สารฆา่ เชอื้ ทางการแพทย์ ซึ่งมอี นั ตรายต่อผู้ใช้ (ศ.ดร.ธรี ยุทธ วไิ ลวลั ย์, 2564, ออนไลน์)
ในภาวะที่ขาดแคลนหน้ากากอนามัยแบบมาตรฐาน หน้ากากอนามัยแบบผ้า ก็พอที่จะ
ชว่ ยป้องกันละอองฝอยเชอ้ื โรคได้ แตต่ ้องปฏิบัติดังนห้ี ากใชห้ นา้ กากผ้า
1. เร่ิมต้นจากการล้างมือก่อนการสัมผัสหน้ากากทุกคร้ัง ตรวจสอบดูหน้ากากก่อนใช้งาน
หากมคี วามช้ืนหรือสิง่ สกปรก ไมค่ วรนำมาใช้
2. เม่ือสวมใส่หน้ากากควรปรับให้กระชับเข้ารูปหน้าโดยไม่มีช่องว่างระหว่างผิวหน้า
จดั ให้หน้ากากครอบคลมุ ทั้งสว่ นของจมูก ปากและคาง
3. ระหวา่ งสวมหน้ากากควรหลีกเลี่ยงการใช้มอื สัมผสั หนา้ กาก ไม่พยายามนำมอื มาสัมผัส
บริเวณใบหน้า เนอ่ื งจากมอื ของเราอาจไปสมั ผสั กับสิง่ ของหรือจุดท่มี คี วามเสยี่ งต่อการได้รับเช้ือไวรัส
4. หากต้องการสัมผัสหน้ากากควรล้างมือ หรือใช้แอลกอฮอล์เจลก่อนปลดหน้ากากออก
จากใบหน้า
5. ขณะเอาหน้ากากออก ให้จับเฉพาะส่วนของห่วงด้านหลังใบหูท้ังสองข้าง ไม่ควรจับท่ี
ตัวหน้ากากเมื่อถอดหน้ากากออก ให้นำออกห่างจากใบหน้าทันที และหากยังไม่ซักหน้ากากทันที
ควรหยิบเฉพาะส่วนหูหนา้ กากหยอ่ นลงในถุงทเี่ ปดิ ปิดไดม้ ิดชดิ
6. เมื่อต้องการนำหน้ากากมาซัก ให้เปิดถุง ดึงหน้ากากออกด้วยการหยิบเฉพาะหู
หรือส่วนสายรัดหน้ากาก แช่ลงในน้ำผสมน้ำยาซักผ้าหรือน้ำสบู่ หมั่นซักหน้ากากเป็นประจำทุกวัน
และนำไปตากให้แหง้ ก่อนการนำมาใชง้ านอีกคร้ัง
การพัฒนาองค์ความรูด้ า้ นเทคโนโลยีสู่วถิ ชี ีวติ ใหม่ (New Normal) ของผู้สงู วัย 7
นอกจากน้ี ควรเลือกหน้ากากทสี่ วมใส่สบาย มีขนาดพอดีกบั ใบหน้า หายใจสะดวก
มีประสทิ ธิภาพในการกนั น้ำ หน้ากากผา้ ควรมีอย่างน้อย 2 ชน้ั มีจำนวนหน้ากากเพียงพอสำหรบั การ
ใช้งานในแตล่ ะวัน (คลังความรสู้ ขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ , 2564, ออนไลน)์
New Normal การค้าขาย คือ การปรับตัวของร้านค้าไม่ให้เป็นแหล่งกระจายเช้ือโควิด
ของการรวมตัวของลูกค้าเป็นการคัดกรองเบื้องต้น เพื่อป้องกันบุคคลท่ีมีอุณหภูมิร่างกายสูงกว่าปกติ
แต่มีความแม่นยำน้อย เพราะสามารถวัดได้แค่อุณหภูมิผิวของร่างกาย ไม่สามารถวัดไข้ภายในร่างกายได้
โครงการจากภาครัฐเพ่ือช่วยในการติดตามตัวผู้ท่ีเส่ียงจะได้รับเชื้อโควิด ในกรณีถ้ามีการพบผู้เข้าข่าย
เป็นโควดิ จงึ สามารถระบุไดว้ า่ ผทู้ ี่ตดิ เชื้อไปไหน เวลาไหนมาบ้างจะไดจ้ ำกัดกล่มุ คนที่เส่ียงได้แคบลง
รปู ที่ 2 ไทยชนะ
ทีม่ า : ไทยชนะ , ออนไลน.์
การส่งอาหารในช่องทางต่างๆ ช่วยลดโอกาสการติดเชื้อได้สูงและลดการสัมผัสระหว่างบุคคล
รวมทั้งเพิ่มความสะดวกแก่ลูกค้า โดยปัจจุบันมีช่องทางการส่งมากขึ้นท้ัง แกร็ป ฟู๊ดแพนด้า หรือไลน์แมน
เปน็ ต้น
การพฒั นาองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีสู่วิถีชวี ติ ใหม่ (New Normal) ของผูส้ งู วยั 8
รูปที่ 3 การส่งอาหารในช่องทางตา่ ง ๆ
ทมี่ า : Brand buffet, ออนไลน.์
New Normal แบบอื่นๆ คือ การปรับตัวในรูปแบบอื่นๆ เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อโควิด
การเพ่ิมระยะห่างทางสังคม หรือ “Social.Distancing”.เป็นการเปลี่ยนพฤติกรรมการหลีกเลี่ยง
กิจกรรมท่มี ีคนเยอะ เพื่อป้องกนั การติดเช้ือหรือระวงั การใช้ส่ิงของสาธารณะและของที่ใช้รว่ มกับผู้อื่น
และควรหลีกเล่ียงช่ัวโมงเร่งด่วนในสถานท่ีท่ีมีคนเยอะ อยู่ห่างๆ อย่างห่วงๆ อย่างน้อย 1 – 2 เมตร
เพ่ือลดโอกาสการรับและแพร่กระจายเช้ือ สุดท้ายควรอยู่บ้านให้มากที่สุด เม่ือไม่ออกไปรับเชื้อ
ข้างนอกบ้านโอกาส ติดโรคก็จะน้อยลง การชมภาพยนตร์ มหรสพ การแสดงดนตรี ต้องมีการจัดการตาม
มาตรการสาธารณสขุ อย่างเครง่ คัด
รูปท่ี 4 การเพมิ่ ระยะห่างทางสงั คม หรือ “Social Distancing”
ที่มา : Cracustom, ออนไลน์.
การพฒั นาองค์ความรู้ดา้ นเทคโนโลยีส่วู ถิ ีชวี ิตใหม่ (New Normal) ของผู้สงู วัย 9
รูปที่ 5 ชวี ิตวถิ ีใหมแ่ ละการปรบั ตวั ในภาวะ Covid-19
ทมี่ า : สถาบนั ส่งเสรมิ ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และความปลอดภัยในการทำงาน, ออนไลน์.
สรุปวิถีชีวิตใหม่ (New Normal) คือ การปรับตัวปรับกิจวัตรประจำวันของเราให้เส่ียง
ได้รับเชื้อให้นอ้ ยที่สุดเพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของเช้ือโควดิ ซ่ึงการปรับตัวครั้งน้ี อาจกินระยะเวลา
ยาวนานหลายปี เพราะตามปกติการพัฒนาวัคซีนใด ๆ ก็ตามต้องผ่านกระบวนการข้ันตอนมากมาย
กว่าจะถึงจุดที่ม่ันใจว่ายานั้นใช้งานได้ดีและปลอดภัยสำหรับผู้รับด้วย อาจใช้เวลานาน 8 – 10 ปี
ดังนน้ั เราจึงควรเร่ิมจากดแู ลตวั เองใหป้ ลอดภยั ทีส่ ดุ ก่อน
การพัฒนาองค์ความร้ดู ้านเทคโนโลยสี วู่ ถิ ชี ีวติ ใหม่ (New Normal) ของผูส้ งู วยั 10
2. นยิ ามของผ้สู ูงวยั
ป ร ะ เด็ น ข อ งก า ร จ ำ กั ด ค ำ นิ ย า ม แ ล ะ หมวดหมู่ของประชากรจึงทวีความซับซ้อน
ความหมายของผู้สูงอายุมักถูกหยิบยกข้ึนมา ยงิ่ ขึ้นและยังคงเปน็ ประเด็นที่ถกเถียงกันอย่าง
น ำเส น อ อ ย่ างก ว้างๆ ใน งาน วิจั ย แ ล ะ กวา้ งขว้าง
การศึกษาเก่ียวกับสังคมผู้สูงอายุ ส่วนใหญ่มี
วัต ถุ ป ระสงค์ เพ่ื อก ำห น ด ขอ บ เข ต ขอ ง ท้ังน้ี คณะผู้จัดทำจึงต้องการศึกษาการ
กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการศึกษาและตีกรอบ จำกัดคำนิยามและความหมายของผู้สูงอายุ
ประเด็นสำหรับการนำเสนอให้ชัดเจน ท้ังนี้ เพื่อเข้าใจกระบวนวิธีการคิดและกฎเกณฑ์ขั้น
เพราะคำนิยามและความหมายของผู้สูงอายุ พื้นฐานเสียก่อน โดยเปรียบเทียบความ
อาจมีมิติแตกต่างกันไปตามศาสตร์แขนงที่ แตกต่างระหว่างหลักการสากลและหลักการที่
ส น ใ จ ศึ ก ษ า .อ า ทิ .ด้ า น ป ร ะ ช า ก ร ศ า ส ต ร์ ใช้ในประเทศไทยพบว่าองค์การสหประชาชาติ
ด้ าน สั งค ม ศ าส ต ร์ .ด้ าน เศ รษ ฐ ศ าส ต ร์ ใหค้ ำนิยามของ "ผู้สูงอายุ" หมายถงึ ประชากร
ดา้ นมนษุ ยศาสตร์ เปน็ ตน้ ทั้งเพศชายและเพศหญิงซ่ึงมีอายุมากกว่า
60.ปีข้ึนไป.นับต้ังแต่อายุเกิด ขณะท่ีองค์การ
อ ย่ า ง ไร ก็ ต า ม .ใน ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ศึ ก ษ า อนามัยโลกระบุว่าประเทศต่างๆ ท่ัวโลกได้ให้
ค้นคว้าเกี่ยวกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง คำนิยามสำหรับผู้สูงอายุต่างกัน ท้ังนิยามตาม
ของประชากรและสังคมผู้สูงวัยสามารถต้ัง อายุเกิด หมายถึง ผู้ท่ีมีอายุ.60.ปีขึ้นไป หรือ
ขอ้ สังเกตว่า คำนิยามและความหมายของผู้สูงวัย ต าม ก ารก ำห น ด ท างสั งค ม เศ รษ ฐ กิ จ
กำลังเปล่ียนแปลงไปจากในอดีต เนื่องจาก วัฒนธรรม และสภาพร่างกาย บางประเทศ
สั งค ม ปั จ จุ บั น มี ลั ก ษ ณ ะ เป็ น พ ล วั ต ม า ก ขึ้ น จึ ง มั ก จ ะ นิ ย า ม ผู้ สู ง อ า ยุ โ ด ย นั บ จ า ก อ า ยุ
อนั เน่ืองมาจากความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ 65 ปีขึน้ ไป เปน็ ต้น
และเทคโนโลยี ตลอดจนการเช่ือมต่อกับ
อินเทอร์เน็ต ปัจจัยเหล่านี้นำไปสู่การพัฒนา ทางฝั่งประเทศไทย พระราชบัญญัติ
สงั คมอยา่ งรอบดา้ น รปู แบบการดำรงชวี ิตและ ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 กำหนดให้บุคคลที่มีอายุ
ความต้องการของมนุษย์จึงมีลักษณะซับซ้อนยิ่งข้ึน 60 ปี บริบูรณ์และมีสัญชาติไทย เป็นผู้สูงอายุ
ผลลัพธ์ทีต่ ามมากค็ ือ การกำหนดคำนิยามและ หรือที่เรียกกันว่า "ผู้สูงวัย" (สำนักส่งเสริมและ
การจัดแบ่งกลุ่มตามบรรทัดฐานดั้งเดิมไม่อาจ พิทักษ์ผู้สูงอายุ,.2552) แบ่งกลุ่มผู้สูงอายุได้
ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่สามารถ 3 กลุ่ม ดังนี้
ครอบคลุมความแตกต่างหลากหลายของผู้คน
ได้อย่างแท้จริง ขณะเดียวกันพัฒนาการด้าน 1. ผู้สูงอายุวัยต้น (อายุ 60 – 69.ปี)
การแพทย์ได้เปดิ เผยขอ้ มลู ใหมใ่ ห้โลกตระหนัก เปน็ ชว่ งวัยทีย่ งั ช่วยเหลือตนเองได้
ว่า ณ เวลาน้ีมนุษย์มีอายุคาดเฉล่ียยืนยาว
มากกว่าท่ีผ่านมา ย่ิงไปกว่านั้น กระบวนการ 2. ผู้สูงอายุวัยกลาง (อายุ 70 – 79 ปี)
ชราของมนุษย์แต่ละบุคคลยังเกิดขน้ึ ไม่พร้อมกัน เป็นช่วงวัยที่เร่ิมมีอาการเจ็บป่วย ร่างกายเร่ิม
นอกเหนือจากสุขภาพทางร่างกายและจิตใจแล้ว ออ่ นแอ มโี รคประจำตวั หรอื โรคเรอื้ รัง
ยังข้ึนอยู่กับปัจจัยและบริบทแวดล้อมเฉพาะ
บุคคล ดังจะกล่าวต่อไปในรายละเอียด 3. ผู้สูงอายวุ ัยปลาย (อายุ 80 ปี ข้ึนไป)
ภายหลัง ดังนั้น การนิยามผู้สูงอายุเพื่อแบ่ง เป็ น ช่ ว งวัย ท่ี เจ็บ ป่ ว ย บ่ อ ย ขึ้ น อ วัย ว ะ
เส่ือมสภาพ อาจมภี าวะทุพพลภาพ
การพัฒนาองค์ความรดู้ า้ นเทคโนโลยสี ่วู ิถีชวี ติ ใหม่ (New Normal) ของผสู้ งู วัย 11
ความหมายและความสำคญั ของสังคมผสู้ งู วัย /อายุ
ศศพิ ัฒน์ ยอดเพชร ไดก้ ำหนดอายุท่ีเรยี กว่า “คนแก่” ส่วนใหญ่ระบุว่ามีอายุ 60 ปี ขึ้นไป
แต่บางพื้นท่ีมีข้อพิจารณาอื่นๆ ประกอบ เช่น ภาวะสุขภาพ บางคนอายุประมาณ 50 - 55 ปี แต่มี
สขุ ภาพไม่แข็งแรง มีโรคภยั และทำงานไมไ่ หว ผมขาว หลังโกง กเ็ รยี กว่า “แก”่ บางคนมี หลานกเ็ ริ่มรู้
สกึ แก่ และเร่ิมลดกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจลง กลุ่มผู้สูงอายุไม่ใส่ใจต่อตัวเลขอายุ แต่พิจารณาตัดสินจาก
องค์ประกอบ เช่น สภาพร่างกาย ปวดเอว ปวดตามข้อ เดินไปไกลๆ.ไม่ไหว.ทำงานหนักไม่ค่อยได้
เหน่อื ยงา่ ย ไมม่ ีแรง เปน็ ตน้
บรรลุ ศิรพิ านิช ให้ความหมายวา่ ผู้สงู อายุ หมายถึง บคุ คลที่เกิดและเจรญิ เติบโตเป็นเด็ก
เป็นผใู้ หญ่ และสดุ ทา้ ยเปน็ ผูส้ ูงอายุ หรอื บางท่เี รยี ก “คนแก่ คนเฒ่า ผ้อู าวโุ ส”
สรุปได้ว่า ผู้สูงอายุ คือ บุคคลท่ีมีอายุ.60.ปี ข้ึนไป มีชีวิตอยู่ในช่วงวัยสุดท้ายของชีวิต
เป็นบุคคลสำคัญที่ทำหน้าที่อย่างดีที่สุด ด้วยความมั่นคงในศักด์ิศรีแห่งความเป็นมนุษย์ ผ่านชีวิต
ทท่ี ำคณุ ประโยชนย์ ่งิ ทีค่ วรนำมาเป็นแบบอย่าง
องค์การสหประชาชาติได้เปิดเผยการรายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุโลกว่า ปัจจุบัน
1 ใน 9 ประชากร โลกมีอายุต้ังแต่ 60 ปี ข้ึนไป และมีแนวโน้มเพิ่มเป็น 1 ใน 5 ภายในปี พ.ศ. 2593
(ค.ศ. 2050) โดยในช่วงปี 2001 - 2100 จะเปน็ ศตวรรษแห่งผู้สูงอายุ กล่าวคอื มปี ระชากรอายุ 60 ปี
ขน้ึ ไป มากกวา่ ร้อยละ 10 ของประชากรทัง้ หมด หรอื มีประชากร อายุ 65 ปี ขึน้ ไปมากกว่ารอ้ ยละ 7
ของประชากรท้ังหมด จึงนับเป็นคร้ังแรกในประวัติศาสตร์โลกที่จำนวนประชากรของผู้สูงอายุท่ัวโลก
จะมีสัดส่วนมากกว่าประชากรเด็ก และมีประชากรผู้สูงอายุวัยปลาย (Extreme Old Age) เพิ่มมากข้ึน
กว่าศตวรรษทผ่ี า่ นมา
รปู ท่ี 6 สดั สว่ นประชากรทั่วโลก
ท่ีมา : bltbangkok, ออนไลน์
การพัฒนาองค์ความรู้ดา้ นเทคโนโลยีสู่วถิ ชี ีวิตใหม่ (New Normal) ของผสู้ ูงวัย 12
ประกอบกับองค์การอนามัยโลก (World.Health.Organization).คาดการณ์ว่าในปี
พ.ศ. 2593 (ค.ศ. 2050) จำนวนประชากรของผู้สูงอายุท่ัวโลกที่มีอายุ 65 ปีข้ึนไป จะเพ่ิมสัดส่วนเป็นเท่าตัว
จาก 605.ล้านคน.หรือ.ร้อยละ.11.ของจำนวนประชากรโลกทั้ งหมด เป็น .2.พันล้านคน
หรือร้อยละ 22 กล่าวโดยสรุปคือ 1 ใน 5 ของประชากรโลกจะมีอายุต้ังแต่ 65 ปี ขึ้นไปน่ันหมายความว่า
สังคมโลกกำลังจะกลายเป็นสังคมแหง่ ผู้สูงอายุ.ท้ังน้ี กระบวนการเกดิ สงั คมผู้สูงอายุในแต่ละประเทศ
จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาแตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับปัจจัยสภาพแวดล้อม อาทิ ความเจริญม่ังค่ังทางเศรษฐกิจ
ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์ การสุขาภิบาล การโภชนาอาหาร การศึกษา เป็นต้น.
ซึง่ ลว้ นส่งผลต่อสุขภาพ.(Health).และการมีอายุยืนยาว (Longevity) ของประชาชนทั้งส้ิน.เมื่อมนุษย์
สามารถดำรงชีวิตได้ยืนยาวขึ้น สะท้อนถึงภาพความสำเร็จของมวลมนุษยชาติท่ีสามารถพัฒนา
วิทยาการด้านการแพทย์ การรักษาโรค และการดูแลรักษาสุขภาพ ส่งผลให้อัตราการบาดเจ็บและ
เสียชีวิตลดลงอย่างเห็นได้ชัด อีกท้ังยังถือเป็นความท้าทายใหม่สำหรับศตวรรษท่ี 21 ในคราวเดียวกัน
ดงั ที่นายบัน คีมุน เลขาธิการสหประชาชาติ ได้ระบุว่า "นัยทางสังคมและเศรษฐกิจ ปราการณ์น้ีลึกซ้ึง
กว้างไกล เกินขอบเขตของผู้สูงอายุคนหน่ึง และครอบครัวท่ีใกล้ชิด ส่งผลต่อสังคมวงกว้างและ
ประชาคมโลกแบบท่ีไม่เคยมีมาก่อน"ด้วยตระหนักถึงความสำคัญของภาวะการณ์ดังกล่าว องค์การ
สหประชาชาติจึงเล็งเห็นว่าถือเป็นประเด็นสำคัญที่ไม่ควรเพิกเฉย และแต่ละประเทศจะต้องเตรียม
ความพรอ้ มและมแี ผนรองรับการเข้าสูส่ งั คมผสู้ ูงอายุในทุกประเทศท่วั โลกอย่างจรงิ จงั
สำหรับประเทศไทย กำหนดนิยาม “ผู้สูงอายุ” ไว้ในพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
มาตรา 3 “ผู้สูงอายุ” หมายความว่า “บุคคลซ่ึงมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไปและมีสัญชาติไทย”
แบ่งไดอ้ อกเป็น 3 ชว่ งวัย ไดแ้ ก่
1. ผูส้ งู อายวุ ัยตน้ หมายถึง ผมู้ ีอายุ 60-69 ปี
2. ผู้สงู อายุวยั กลาง หมายถงึ ผมู้ อี ายุ 70-79 ปี
3. ผสู้ งู อายวุ ัยปลาย หมายถงึ ผูม้ ีอายุ 80 ปขี นึ้ ไป
การพฒั นาองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีสวู่ ถิ ีชวี ิตใหม่ (New Normal) ของผู้สงู วัย 13
ความแตกต่างของสงั คมผู้สูงอายุ
องคก์ ารสหประชาติไดแ้ บ่งระดบั สงั คมผู้สงู อายุ เป็น 3 ระดบั ได้แก่
1. ระดบั การก้าวเขา้ ส่สู งั คมผ้สู ูงอายุ (Aging.Society) กล่าวคือ ประเทศที่มปี ระชากรอายุ
60 ปี ข้ึนไป มากกว่า รอ้ ยละ 10 ของประชากรท้ังประเทศ หรือมีประชากรอายุ 65 ปี ขนึ้ ไป เกนิ ร้อยละ 7
ของประชากรทงั้ ประเทศ
2. ระดับสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged.Society) กล่าวคือ เมื่อประชากรอายุ 60 ปี
ขึ้นไปเพ่ิมเป็นร้อยละ 20 ของประชากรท้ังประเทศ หรือมีประชากรอายุ 65 เพ่ิมเป็นร้อยละ 14
ของประชากรทงั้ ประเทศ
3. ระดบั สงั คมผูส้ ูงอายุระดบั สูงยอด (Super-aged.Society หรือ Hyper-aged Society)
กลา่ วคือ เมื่อประชากรอายุ 65 ข้ึนไป มีสัดสว่ นมากกวา่ ร้อยละ 20 ของประชากรทงั้ ประเทศ
รปู ที่ 7 ระดบั สังคมผู้สงู อายุ
ท่มี า : ผจู้ ดั การออนไลน,์ ออนไลน.์
การพัฒนาองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยสี ู่วิถีชวี ติ ใหม่ (New Normal) ของผ้สู ูงวัย 14
เสียงสะท้อนและความต้องการใหม่ ก ำ ห น ด อ ย่ า งเป็ น ท า ง ก า ร ห รื อ ร ะ บุ ชั ด เจ น
ของผสู้ งู วยั ทางกฎหมาย แต่โดยส่วนใหญ่มักถูกอ้างอิง
หรือตกลงไว้ที่เกณฑ์ อายุตั้งแต่.65.ปีข้ึนไป
แ น่ น อ น ว่ า โ ล ก ใน ทุ ก ยุ ค ส มั ย ย่ อ ม มี ในขณะที่ประเทศกำลังพัฒนาหลายประเทศ
เสน้ ทางการวิวฒั นแ์ ตกต่างกนั ไป และบ่อยคร้ัง รวมถึงประเทศไทย.กำหนดไว้หรือตกลงไว้ที่
การคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้พลิกโฉมหน้า อายตุ ้ังแต่ 60.ปีขนึ้ ไป การมีอายุ 60 ปี ยังเป็น
ประวัติศาสตร์ของมนุษย์ไปอย่างส้ินเชิง เช่น การครบรอบปีนักษัตรรอบท่ี 5.และเริ่มต้นปี
ระบบการผลิตแบบจำนวนมาก การประดิษฐ์ นั ก ษั ต ร .ร อ บ ที่ .6.จ า ก ร อ บ ปี นั ก ษั ต ร .12.ปี
คอมพิวเตอร์ตัวเข่ืองเครื่องแรก ก่อนยุคของ ซง่ึ เปน็ ทน่ี ิยมในการนับในหลายๆ ประเทศทางเอเชีย
สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตที่จะเดินทางมาถึง
ไม่นานนัก โลกทั้งใบก็เช่ือมโยงเข้าหากันด้วย ใน ปี พุ ท ธ ศั ก ราช .2556..(ค .ศ .2013)
การสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต การเข้าถึ ง สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล
แหล่งข้อมูลมหาศาลได้สร้างความเป็นไปได้ ได้จุดประเด็นการปรับเปลี่ยนมุมมองและ
อย่างไม่รู้จบ ปัจจัยเหล่าน้ีส่งผลให้เศรษฐกิจ มโนทัศน์ใหม่ของนิยามผู้สูงอายุ ผ่านมุมมอง
ระดับภูมิภาคเติบโตรุดหน้าและน ำไปสู่ เชิงจิตวิทยาสังคมและสุขภาพ เพื่อให้ทุกฝ่าย
ปรากฏการณ์ ขยายตัวของเมืองในพื้นท่ี พรอ้ มรับมือกับการเข้าสูส่ ังคมผสู้ ูงวัยอยา่ งเต็ม
ต่างจังหวัด ทำให้ผู้บริโภคต้องปรับตัวให้ทัน รูปแบบ เน่ืองจากสัดส่วนของผู้สูงอายุในไทย
กบั การเปลี่ยนแปลง ดว้ ยเหตนุ ้ีเอง ความต้องการ เพ่ิมจำนวนข้ึนอย่างรวดเร็วอาจส่งผลกระทบ
ของผู้บริโภคในยุคใหม่จึงทวีความหลากหลาย ต่อภาพรวมของเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต
ซับซ้อนยิ่งขึ้น การจำกัดอายุของผู้บริโภค ทว่าการกำหนดนิยามผู้สูงอายุในไทยปัจจุบัน
ทางด้านการตลาดกลับพร่าเลือนลงทีละน้อย ซ่ึงใช้เกณฑ์อายุ ตามปีปฏิทินท่ี 60 ปีข้ึนไปน้ัน
(Age.Blurring).สิ น ค้ า แ ล ะ บ ริ ก า ร ใ น ต ล า ด ยังขาดความร่วมสมัยและไม่สอดรับกับบริบท
ผู้สูงอายุกลับไม่ตอบโจทย์ความต้องการของ ของสังคมในปัจจุบันมากเท่าที่ควร เพราะผู้สูงวัย
ผู้ใช้จริงได้ด่ังใจ โดยเฉพาะผู้สูงวัยยุคใหม่ ย่อมมีความหลากหลายและความต้องการ
แสวงหาความเยาว์วัยอยู่เสมอ เราจึงไม่อาจ จำเป็นทีแ่ ตกตา่ งกันไปเชน่ เดียวกบั กล่มุ อายุอ่นื ๆ
นยิ ามผู้สูงวัยด้วยทัศนคติหรือกฎเกณฑ์เดิมอีก เช่น เพศ ชาติพันธุ์ ทัศนคติ การศึกษา รายได้
ตอ่ ไป และการดำรงชีวิต ทั้งยังมีแนวโน้มจะมี
สุขภาวะดีข้ึน จากการเข้าถึงบริการทางด้าน
นิยามใหมข่ องผู้สงู วยั ส า ธ า ร ณ สุ ข ที่ ส ะ ด ว ก ส บ า ย แ ล ะ ป ล อ ด ภั ย
ทางองค์การสหประชาชาติ (United มากกว่าในอดีต จึงเล็งเห็นว่าควรวางนโยบาย
Nations: UN) นั้นไม่ได้มีหลักการนิยามหรือ พ้ื น ฐ า น ข อ ง ค ว า ม เข้ า ใ จ ใน ผู้ สู ง อ า ยุ อ ย่ า ง
ข้อตกลงเกี่ยวกับคำว่า."ผู้สูงวัย" (Elderly) แทจ้ รงิ และหาทางแก้ปัญหาดว้ ยวธิ ที ี่เหมาะสม
ตายตัว เพียงแต่เป็นที่ยอมรับโดยท่ัวไปว่า กบั ประชากรแต่ละกลุ่ม
หมายถึง บุคลหรือกลุ่มประชากรที่มีอายุ
ตามปีปฏทิ นิ ตัง้ แต่ 60 ปี ขน้ึ ไป ซ่งึ เป็นเกณฑ์อายุ
เริ่มต้นเดียวกับขององค์การอนามัยโลกท่ีใช้
ในการกำหนดช่วงอายุของผู้สูงอายุในกลุ่ม
ประเทศพัฒนาแล้ว แม้ในบางกรณีอาจไม่ได้
การพฒั นาองค์ความรดู้ า้ นเทคโนโลยสี ู่วิถีชวี ิตใหม่ (New Normal) ของผสู้ งู วยั 15
รูปที่ 8 การเปรียบเทียบอายุของผสู้ งู วัยทว่ั โลก
ทม่ี า : bltbangkok, ออนไลน์.
จากรปู ท่ี 8 ทางสถาบันวิจัยประชากรและสงั คม มหาวิทยาลัยมหิดล เสนอแนะเพิม่ เติมว่า
การกำหนดนิยามของผู้สูงวัยใหม่โดยขยายช่วงอายุให้เพิ่มมากขึ้นจากเดิม 60 ปี จะช่วยให้อัตราการพ่ึงพิง
ของวัยชราลดน้อยลง ซึ่งถือเป็นประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ และมสี ่วนร่วมในการขับเคลื่อนสังคมต่อไป
ในฐานะผู้มีองค์ความรู้ ทักษะ และสั่งสมประสบการณ์มายาวนาน นอกจากนี้ถ้าหากทุกฝ่ายหันมาให้
ความสำคัญต่อการรื้อถอนภาพลักษณ์เชิงลบ และร่วมกันส่งเสริมการปรับเปล่ียนทัศนคติท่ีมีต่อ
ผู้สูงอายุในเชิงบวกมากข้ึน จะทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกว่าตนเองยังมีคุณค่า มีกำลังใจท่ีดี และเข้ามามี
ปฏิสัมพนั ธ์กบั คนในสังคมมากข้ึน เพือ่ รักษาความหลากหลายของสังคมและลดช่องวา่ งระหว่างวัยอีกดว้ ย
ผู้สูงวัยในนิยามใหม่ ต้องเป็นผู้สูงวัยที่มีคุณค่า ท่ีเรียกว่า “พฤติพลัง” (Active.Elderly)
ที่เป็นคุณค่าท้ังทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของผู้สูงอายุ ที่จะเป็นกำลังให้กับสังคมเกิดข้ึนได้
จากการมีนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ และมาตรการต่างๆ ทจ่ี ะเอือ้ ให้สังคมสูงวัยอย่างมีพลงั ดังนี้
“การสูงวัยอย่างมีพลัง”.(Active.ageing).เป็นแนวคิดที่แสดงกระบวนการท่ีเราจะสร้าง
โอกาสให้กับตนเอง หรือ ประชากรทุกเพศทุกวัยที่จะเติบโตเจริญวัยขึ้นอย่างมีสุขภาพดี มีส่วนร่วม
ในทางเศรษฐกิจและสงั คมและมีความมั่นคงในชีวิต.เพื่อเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตของแต่ละบคุ คล
หรือของกล่มุ ประชากรให้สงู ขึ้นต้งั แตเ่ กิดจนตาย
การพฒั นาองค์ความรู้ดา้ นเทคโนโลยีส่วู ถิ ีชวี ติ ใหม่ (New Normal) ของผสู้ งู วัย 16
8
“การสูงวัยท่ียังประโยชน์” (Productive ageing) เป็นกระบวนการดึงเอาศักยภาพของประชากร
ทุกเพศทุกวัยให้มีความสามารถในการผลิตหรือบริการท่ีเป็นประโยชน์และมีคุณค่าไม่ว่าผลผลิตหรือ
บรกิ ารน้นั จะให้ผลตอบแทนเปน็ ตวั เงนิ หรือไม่ก็ตาม
“การสูงวัยอย่างมีสุขภาวะ” (Healthy ageing) เป็นกระบวนการในการพัฒนาและรักษาไว้
ซงึ่ ความสามารถในการ ปฏิบัติภารกจิ ประจำ วนั ท่ีช่วยให้เกดิ การอยูด่ ีมีสุขในผู้สูงอายุ ซง่ึ จะเป็นไปได้
ด้วยการสร้างสภาพแวดล้อมและโอกาสที่จะช่วยให้ผู้คนได้เป็นและได้ทำในสิ่งที่ตนเห็นว่ามีคุณค่า
ตลอดช่วงชีวติ
การพฒั นาองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีสู่วิถชี ีวิตใหม่ (New Normal) ของผู้สงู วยั 17
3. นยิ ามเทคโนโลยีและ ผลิตแล ะจำห น่ ายให้ ต่อเนื่ องต ลอด ทั้ ง
เทคโนโลยีสารสนเทศ กระบวนการ เทคโนโลยีจึงมีคณุ ประโยชน์และ
เหมาะสมเฉพาะเวลาและสถานท่ี และหาก
นยิ ามของเทคโนโลยี เทคโนโลยีนั้นสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ
ค ำ ว่ า เท ค โ น โ ล ยี ต ร ง กั บ ค ำ สั ง ค ม ก า ร เมื อ ง วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ
ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ว่ า " Technology".ซ่ึ ง ม า จ า ก สภาพแวดล้อม เทคโนโลยีนั้นเก้ือกูลเป็น
ภ าษ ากรีกว่า"Technologia"แป ลว่า การ ประโยชน์ท้ังต่อบุคคลและส่วนรวม หากไม่
ก ระ ท ำท่ี มี ระ บ บ ซึ่ งพ จ น า นุ ก ร ม ฉ บั บ สอดคล้องเทคโนโลยี น้ันๆ จะก่อให้เกิดปัญหา
ราช บั ณ ฑิ ต ย ส ถ าน (2 5 3 9 :4 0 6 )ได้ ให้ ตามมามหาศาล
ความหมายของเทคโนโลยี คือ วิทยาการที่
เกี่ ย ว กั บ ศิ ล ป ะ ใน ก า ร น ำ เอ า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ธรรมนูญ โรจนะบุรานนท์ (2531 : 170)
ประยุกต์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ กล่าวว่า เทคโนโลยี คือ ความรวู้ ิชาการรวมกับ
และอุตสาหกรรม นอกจากนั้นยังมีผู้ให้ ความรู้วิธีการ และความชำนาญที่สามารถ
ความหมายของเทคโนโลยีไว้หลากหลาย ดังน้ี นำไปปฏิบัติภารกิจให้มีประสิทธิภาพสูง โดยปกติ
คอื เทคโนโลยีน้ันมีความรู้วิทยาศาสตร์รวมอยู่ด้วยน้ัน
ผ ดุ งย ศ ด ว งม าล า (2 5 2 3 : 1 6 ) คือวทิ ยาศาสตร์เปน็ ความรู้ เทคโนโลยเี ป็นการ
ให้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง เท ค โ น โ ล ยี ว่ า ปั จ จุ บั น นำความรู้ไปใชใ้ นทางปฏบิ ัติ จึงมักนยิ มใช้สองคำ
มีความหมายกว้างกว่ารากศัพท์เดิม หมายถึง ด้วยกัน คือ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กิ จ ก รรม ที่ เก่ี ย ว ข้ อ งกั บ เค รื่ อ งจั ก รก ล เพอ่ื เน้นใหเ้ ขา้ ใจวา่ ทงั้ สองอย่างน้ีต้องควบคกู่ ันไป
สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ทางอุตสาหกรรม ถ้าในแง่ จงึ จะมปี ระสทิ ธิภาพสงู
ของความรู้ เทคโนโลยี หมายถึง ความรู้หรือ
ศ า ส ต ร์ ที่ เก่ี ย ว กั บ เท ค นิ ค ก า ร ผ ลิ ต ชำนาญ เชาวกีรติพงศ์ (2534.:.5)
ใน อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม อ่ื น ๆ ได้ให้ความหมายสั้นๆ ว่าเทคโนโลยี หมายถึง
ท่ีเอื้ออำนวยต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ หรือ วิชาท่ีว่าด้วยการประกอบวัตถุเป็นอุตสาหกรรม
อาจสรุปว่า เทคโนโลยี คือ ความรู้ท่ีมนุษย์ใช้ ห รื อ วิ ช า ช่ า งอุ ต ส า ห ก ร ร ม ห รื อ ก า ร น ำ เอ า
ทรพั ยากรต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์แก่มนุษย์เอง วิทยาศาสตร์มาใช้ในทางปฏบิ ัติ
ทั้ งใน แ ง่ค ว าม เป็ น อ ยู่ แ ล ะก ารค ว บ คุ ม
สง่ิ แวดล้อม สรุปได้ว่า เทคโนโลยี หมายถึง การนำเอา
สปิ ปนนท์ เกตุทัต (ม.ป.ป. 81) อธิบายว่า วิทยาการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
เทคโนโลยี คือ การนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ศาสตร์อื่นๆ มาประยุกต์ใช้ตรงกับความต้องการ
และศาสตร์อื่นๆ มาผสมผสานประยุกต์ เพื่อ ของมนุษย์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
สนองเป้าหมายเฉพาะตามความต้องการของ รั ช ก า ล ที่ .9.ท ร ง ก ล่ า ว ถึ ง ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง
มนุษย์ด้วยการนำทรัพยากรต่างๆ มาใช้ในการ เทคโนโลยีเป็นภาษางา่ ยๆ ว่า หมายถึง การรู้จัก
นำมาทำให้เป็นประโยชน์นั่นเอง (เย็นใจ เลาหวณิช.
2530 : 67)
การพัฒนาองค์ความร้ดู า้ นเทคโนโลยีสวู่ ถิ ชี วี ติ ใหม่ (New Normal) ของผ้สู งู วยั 18
ประเภทเทคโนโลยี
เทคโนโลยีสามารถแบ่งได้ออกเปน็ 4 ประเภท ไดแ้ ก่
1. เทคโนโลยีระดับเบื้องต้น เป็นเทคโนโลยีที่สามารถจัดหาได้ภายในประเทศ หรือ
สามารถพฒั นาขึน้ ไดใ้ นระยะเวลาอนั สั้น เช่น ต้เู ยน็ โทรศัพท์ เปน็ ตน้
2. เทคโนโลยีระดับกลาง เป็นเทคโนโลยีท่ีต้องซ้ือจากต่างประเทศ แต่สามารถพัฒนาได้
ภายในประเทศ หากมีแผนการพฒั นาท่ตี ่อเน่ือง เช่น โทรทศั น์ เครื่องเสยี ง เปน็ ตน้
3. เทคโนโลยีระดับสูง เปน็ เทคโนโลยที ่ีซ้ืออุปกรณจ์ ากตา่ งประเทศ ท่ีคนไทยสามารถใชง้ านได้
หากพัฒนาในประเทศต้องซื้อเทคโนโลยีแกนจากต่างประเทศ เช่น คอมพิวเตอร์โทรศัพท์เคล่ือนท่ี
เปน็ ตน้
4. เทคโนโลยีระดับสูงมาก ต้องซ้ืออุปกรณ์ และทักษะการใช้งานจากต่างประเทศ เช่น
ระบบคมนาคมสื่อสารขนาดใหญ่
การพัฒนาองค์ความรู้ดา้ นเทคโนโลยสี วู่ ิถชี ีวติ ใหม่ (New Normal) ของผสู้ งู วยั 19
+
99
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT)
เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีท่ีใช้จัดการ สารสนเทศ เป็นเทคโนโลยี
ที่เก่ียวข้องตั้งแต่การรวบรวม การจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล การพิมพ์ การสร้างรายงาน
การส่ือสารข้อมูล.ฯลฯ.เทคโนโลยีสารสนเทศยังรวมถึงเทคโนโลยีท่ีทำให้เกิดระบบการให้บริการ
การใช้และการดแู ลข้อมลู ดว้ ย
ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. เท คโนโลยีสารสน เทศท ำให้ สังคมเป ล่ียนจากสังคมอุตสาหกร รมมาเป็ น
สังคมสารสนเทศ
2. เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้ระบบเศรษฐกิจเปล่ยี นจากระบบแห่งชาตไิ ปเป็นเศรษฐกิจโลก
ทีท่ ำให้ระบบเศรษฐกิจของโลกผูกพันกับทุกประเทศความเช่ือมโยงของเครอื ข่ายสารสนเทศทำใหเ้ กิด
สงั คมโลกาภวิ ัฒน์
3. เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้องค์กรมลี ักษณะผูกพันมีการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากข้ึน
หน่วยธุรกิจมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกันกับหน่วยธุรกิจอื่นเปน็ เครือข่าย การดำเนินธุรกิจมีการแข่งขนั กัน
ในด้านความเร็วโดยอาศัยการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการส่ือสารโทรคมนาคมเป็นตัวสนับสนุน
เพื่อใหเ้ กิดการแลกเปล่ยี นข้อมูลได้ง่ายและรวดเรว็
4. เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัสและสามารถตอบสนอง
ตามความตอ้ งการการใช้เทคโนโลยใี นรปู แบบใหม่ท่เี ลือกไดเ้ อง
6. เทคโนโลยสี ารสนเทศทำให้เกดิ สภาพทางการทำงานแบบทกุ สถานที่และทุกเวลา
7. เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดำเนินการระยะยาวข้ึนอีกท้ังยังทำให้
วถิ กี ารตัดสินใจหรอื เลือกทางเลือกไดล้ ะเอียดขึน้
การพัฒนาองค์ความรดู้ ้านเทคโนโลยีสู่วถิ ชี ีวติ ใหม่ (New Normal) ของผูส้ งู วยั 20
+
99
ประเภทของเทคโนโลยสี ารสนเทศ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ แบ่งออกได้ เป็น 4 ประเภท ดงั นี้
1. เทคโนโลยีด้านการรับขอ้ มลู (Sensing.Technology) เป็นอปุ กรณ์ทีช่ ว่ ยใหเ้ ราสามารถ
เก็บรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่อยู่รอบตัวเราแล้วเปลี่ยนให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้
อุปกรณ์เหล่านี้ ได้แก่ เครื่องแสกนภาพ (image scanners) เคร่ืองอ่านรหัสแถบ (bar code scanners)
และอุปกรณร์ บั สัญญาณ (Sensors) เป็นต้น
2. เทคโนโลยกี ารส่ือสาร (Communication.Technology) เช่น โทรสาร โทรศัพทไ์ ร้สาย
เครอื ขา่ ยท้องถิน่
3. เทคโนโลยีวิเคราะห์ (Analyzing.Technology) ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ ท้ังส่วนท่ีเป็น
Hardware และ Software
4. เทคโนโลยีการแสดงผล.(Display.Technology) ในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ
พฒั นาอย่างรวดเร็ว เป็นผลให้การคมนาคมและการสอ่ื สารแม้กระท่ังโลกแห่งธรุ กิจต่างๆหมุนเปลี่ยนตาม
เราจงึ จำเป็นอย่างย่งิ ท่ีต้องพัฒนาตนเองเพ่ือก้าวให้ทันการพัฒนาทางเทคโนโลยีดังกล่าวกอ่ นที่จะเป็น
คนล้าหลงั
ประโยชนข์ องเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. ช่วยให้ติดต่อส่ือสารระหว่างกันอย่างสะดวกรวดเร็ว โดยใช้โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์หรือ
ในรูปของสิ่งพิมพ์
2. ชว่ ยในการจดั ระบบขา่ วสารจำนวนมหาศาลซึ่งผลติ ออกมาในแต่ละวนั
3. ช่วยใหเ้ กบ็ สารนเิ ทศไวใ้ นรปู ทสี่ ามารถเรยี กใช้ไดค้ รง้ั แลว้ ครั้งเล่าอยา่ งสะดวก
4. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสารนิเทศ เช่น ช่วยนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร ด้วยการช่วยคำนวณ
ตัวเลขทยี่ ุ่งยากซบั ซ้อนซึ่งไมส่ ามารถทำใหส้ ำเร็จได้ดว้ ยมือ
5. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมตั ิเพ่ือการเกบ็ เรยี กใช้และประมวลผลสารนิเทศ
6. สามารถจำลองแบบระบบการวางแผนและทำนายเพื่อทดลองกับสงิ่ ท่ยี งั ไมเ่ กดิ ขึ้น
7. อำนวยความสะดวกในการเข้าถึงสารนิเทศดีกว่าสมัยก่อนทำให้ผู้ใช้สารนิเทศ
มที างเลอื กท่ีดกี วา่ มปี ระสิทธิภาพกวา่ และสามารถแข่งขันกับผู้อ่นื ไดด้ ีกวา่
8. ลดอปุ สรรคเกยี่ วกบั เวลาและระยะทางระหวา่ งประเทศ
การพัฒนาองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยสี ู่วิถีชีวติ ใหม่ (New Normal) ของผสู้ ูงวยั 21
3
+
ผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศที่มีตอ่ สังคมมนษุ ย์
1. การเปล่ียนแปลงเร่ืองความรู้สึกตลอดเวลา มีคนจำนวนไม่น้อยเกิดความรู้สึกว่าสรรพสิ่ง
เคล่ือนไหวเร็วข้ึน เน่ืองจากเทคโนโลยีสารสนเทศที่พัฒนาไปอย่างรวดเร็วส่งผลกระทบต่อระบบ
เศรษฐกจิ ความก้าวหน้าด้านโทรคมนาคม ทำให้ระบบเศรษฐกจิ เป็นจริงข้ึนมา พรมแดนของประเทศ
กลายเป็นส่ิงไร้ความหมายการบริการด้านการเงินได้รับแรงเสริมทางด้านอิเล็กทรอนิกส์อย่างไม่หยุดย้ัง
รวมทั้งผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยีการสือ่ สารโดยเฉพาะในสำนักงานทำใหว้ ธิ คี ิดและวิธกี ารปฏิบัติ
เกี่ยวกบั การทำงานเปลี่ยนแปลงไปอย่างส้ินเชิง การทำงานไมจ่ ำเป็นต้องอยู่ในสำนักงานตลอดเวลาอีกแล้ว
2. ผลกระทบด้านการเมืองและการตัดสินใจ เน่ืองจากการพัฒนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ทล่ี ะเอียดและปราณีตมากขึ้น ทำให้การตัดสนิ ใจไม่เป็นไปตามคา่ นิยมแตจ่ ะเป็นการตัดสนิ ใจบนข้อมูล
และข้อเท็จจริงพร้อมทั้งความคิดเห็นท่ีมีการเก็บรวบรวมและมีวิธีการวิเคราะห์ประกอบด้วย
ส่วนรูปแบบการเมืองจะได้รับผลกระทบ คือ ระบบเผด็จการจะลดน้อยลง เน่ืองจากไม่สามารถ
ควบคุมขา่ วสารได้ ระบบการสอ่ื สารทกี่ ระจายอำนาจทำใหป้ ระชาชนมีอำนาจมากข้ึน สามารถติดตาม
การทำงานของรัฐบาลได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
3..การเกิดขึ้นของชุมชนอิเล็กทรอนิกส์ ในอนาคตจะเกิดชุมชนใหม่ที่เรียกว่า “ชุมชน
อิเล็กทรอนิกส์” ท่ีปรากฏข้ึนเม่ือทุกบ้านมีคอมพิวเตอร์ และกลุ่มท่ีมีความสนใจเหมือนกันจะติดต่อ
โดยผ่านบริการของสหกรณ์โทรคอมพิวเตอร์ซึ่งสามารถจัดการให้ทุกคนได้แลกเปล่ียนความคิดเห็น
ความรู้ซ่ึงกันและกันได้ และข้อมูลท่ีนำมาแลกเปล่ียนกันน้ีจะถูกบันทึกไว้และจะเรียกกลับมาใช้อีก
เม่ือไหรก่ ็ได้
4..ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม แม้ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศจะไม่ได้เป็นตัวการทำให้เกิด
ปัญหาส่ิงแวดล้อมโดยตรง แต่เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นปัจจัยท่ีทำให้เกิดความก้าวหน้าในเทคโนโลยีต่างๆ
และเทคโนโลยีเหลา่ นั้นเอง ทท่ี ำใหเ้ กดิ ปญั หาสง่ิ แวดล้อม ซ่งึ เทคโนโลยีสารสนเทศจะช่วยในดา้ นการจดั การ
สิง่ แวดลอ้ มให้ดีขนึ้ ได้ โดยการใช้คอมพวิ เตอรใ์ นการคำนวณหรอื จำลองแบบมวลอากาศ เพื่อพยากรณ์
ทางด้านอุตุนิยมวิทยา การใช้คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม เพ่ือตรวจสอบการบุกรุก
ทำลายปา่ หรอื การใชค้ อมพวิ เตอร์ตรวจสอบการแพร่มลพิษในน้ำหรือในอากาศ
5..ผลกระทบด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศมีผลกระทบในด้านการศึกษามาก
การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทีส่ ำคญั คอื การใชค้ อมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (Computer Assisted
Instruction-CAI) หรือ เรียกว่า คอมพิวเตอร์ช่วยการเรียน (Computer Assisted Learning-CAL)
ซ่ึงหมายถึงการใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อในการสอนและการเรียนรู้ โดยมีผลทำให้นักเรียน นักศึกษา
หรือประชาชนท่ีอยู่ในที่ห่างไกลสามารถเรียนรู้ได้เช่นเดียวกับคนเมือง นอกจากน้ียังมีส่วนทำให้
อาจารย์มีเวลามากข้ึนที่จะทำการศึกษาวิจัย นำเสนอผลงานใหม่อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนา
ประเทศ
6. ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนต่อปัจเจกบุคคล เทคโนโลยีสารสนเทศมีผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน
ของมนุษย์มากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน การเลือกซื้อของ การพักผ่อน การฝาก-ถอนเงิน
การรักษาพยาบาล เปน็ ตน้ ซง่ึ ผลกระทบต่อบุคคลทสี่ ำคัญดังนี้
การพัฒนาองค์ความร้ดู ้านเทคโนโลยสี ู่วถิ ชี ีวิตใหม่ (New Normal) ของผสู้ ูงวัย 22
3
+
99
ผลกระทบท่ีมีผลต่อสภาวะจิตใจ การที่สภาพแวดล้อมมีการกระตุ้นมากเกินไป ข่าวสาร
ข้อมูลมีมากเกินไป ทางเลือกต่างๆ มีมาก ทำให้เกิดการตัดสินใจของมนุษย์ด้อยประสิทธิภาพลง
เม่ืออยู่ในภาวะที่ถูกกระตุ้นมากไปการย้อนกลับไปสู่ศาสตร์ลี้ลับ เน่ืองมาจากการสูญเสียอำนาจ
ควบคุมพลังและศาสตร์ต่างๆ ก้าวไปไกลเกินกว่าท่ีมนุษย์จะควบคุม มนุษย์จึงเลิกสนใจวิทยาศาสตร์
แตห่ ันมาสนใจศาสตรล์ ลี้ บั ตา่ งๆ เพอ่ื เป็นเคร่อื งยดึ เหนีย่ วจติ ใจ
7. ความเป็นส่วนตัวลดลง ท้ังนี้เนื่องจากประสิทธิภาพของเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่สามารถ
เข้าถึงข้อมูลท่ีเป็นส่วนตัวทุกอย่างของมนุษย์ได้ ผลกระทบต่อวิธีคิดมนุษย์ มนุษย์จะสามารถ
เก็บข้อมูลมากที่สุดในเวลาอันส้ันแล้วทิ้งไป แต่จะนำเอาข้อมูลเพียงเล็กน้อยมาสรุปรวมกันเป็นทัศนะใหม่
จะไม่รับแนวคดิ ทส่ี ง่ ผา่ นมาทง้ั กระบวนอกี ต่อไป
การพฒั นาองค์ความร้ดู า้ นเทคโนโลยสี วู่ ถิ ีชีวิตใหม่ (New Normal) ของผ้สู ูงวยั 23
+
99
4. การใช้ชีวติ อยา่ งมี ผ้สู ูงอายคุ อื ร่มโพธร์ิ ม่ ไทร
ผู้สูงอายุในความหมายของสังคมไทยนั้น
ความสขุ ของผสู้ ูงวัย คอื รม่ โพธ์ิร่มไทร ท่ีเรายังให้ความเคารพยกยอ่ ง
เพ ร า ะ มี คุ ณ ค่ า ท้ั ง ต่ อ ค ร อ บ ค รั ว แ ล ะ สั ง ค ม
ความสขุ ของผู้สงู อายุ แม้ว่าผู้สูงอายุจะลดสถานภาพและบทบาทลงไปบ้าง
เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นสัจธรรม เป็น แ ต่ ก็ ยั ง ค ง มี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ ค น รุ่ น ปั จ จุ บั น
ธรรมชาติของมนุษยชาติท่ีไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ เป็นอย่างดี ไม่มีผู้ใดปล่อยให้ท่านเผชิญ
มนุ ษ ย์เราเป็ น สัต ว์สั งคม จึงไม่ ส ามารถ ความโดดเดี่ยวและทอดท้ิง ในทางตรงกันข้าม
ดำรงชีวิตอยู่ได้โดยลำพังต้องอยู่ร่วมกันกับผู้อ่ืน ผู้สูงอายุเป็นที่พ่ึงและที่ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ
ตงั้ แตแ่ รกเกดิ ไปจนถงึ วาระสุดทา้ ยของชวี ติ ของลูกหลาน ปกป้องคุ้มครองให้ลูกหลาน
เม่ือยังเป็นเด็กพ่อและแม่คอยดูแลเอาใจใส่ มีความสขุ ให้ความอบอนุ่ ร่มเย็นเป็นทีเ่ คารพนับถือ
กล่อมเกลี้ยงเล้ียงดู อบรมสั่งสอนในสิ่งท่ีควรรู้ ผู้สูงอายุจึงเปรียบได้กับต้นโพธ์ิ ต้นไทร ท่ีมี
ระเบียบ กฎเกณฑ์ มารยาท ให้กระทำในสิ่งที่ดี ก่ิงก้านแผ่ปกคลุมเป็นร่มเงาที่พึ่งได้ท้ังกาย
ละเว้นส่ิงท่ีช่ัวร้าย ให้มีพฤติกรรมตามแบบแผน และทางใจใหแ้ ก่ลูกหลาน
ของสังคม เมื่อถึงวัยเรียนท่านก็ส่งให้เรียน
ในโรงเรียนที่ดี หวังให้ลูกมีชีวิตท่ีดี มีความรู้ ผูส้ งู อายเุ ป็นศนู ยก์ ลางของจติ ใจ
ที่จะไปประกอบอาชีพได้ สั ง ค ม ไท ย ใน ปั จ จุ บั น ใ ห้ ก า ร ย ก ย่ อ ง
บทบาทของพ่อแมท่ ี่มีตอ่ ลูกเป็นวงจรชีวิต การเป็นผู้สูงอายุ เพราะผู้สูงอายุเป็นเสาหลัก
ท่ี ม นุ ษ ย์ ทุ ก ค น ถื อ เป็ น ภ า ร ะ ห น้ า ท่ี ส ำ คั ญ สิ่งทแี่ สดงให้เห็นเปน็ รูปธรรมชัดเจน คอื การมี
เมือ่ เด็กได้เติบใหญ่เป็นผู้มีการศึกษา หารายได้ วันผู้สูงอายุ ที่กำหนดข้ึนในวันตรุษสงกรานต์
เลย้ี งชีพไดแ้ ล้ว ก็ถึงเวลาท่ีตอ้ งมคี ู่ครอง พอ่ แม่ ของทุกปี โดยลูกหลานแม้อยู่ห่างไกลก็จะ
ทเ่ี ล้ียงดมู าตัง้ แต่เกดิ ยังต้องทำหนา้ ที่ชว่ ยเลือก เดินทางกลับมาแสดงความเคารพ ผู้สูงอายุจึง
ค่คู รองท่ีเป็นคนดีมาเป็นคู่ชีวิต บทบาททางสังคม เป็น เสมือนศูน ย์กลางของจิตใจสำหรับ
ของการเป็นพ่อแม่ในการอบรมเลี้ยงดูลูกนั้น ลูกหลาน เมื่อสังคมและครอบครัวยกย่อง
จงึ ไม่มที ีส่ น้ิ สุด ตราบทพ่ี ่อแมย่ ังมีชีวติ อยู่ ท่านเช่นนี้ ผู้สูงอายุจึงต้องวางตัวให้ดี ไม่ให้
แต่เมื่อพ่อแม่ก้าวไปสู่วัยชรา นับเป็น ลูกหลานตำหนิได้ ครองตัวให้เป็นผู้สูงอายุท่ีดี
การส้ินสุดบทบาทที่พึงกระทำต่อบุตร เพราะร่างกาย จะได้รับการยกย่อง และยอมรับจากสังคมและชุมชน
สงั ขารไดร้ ่วงโรยไปตามกาลเวลา ถงึ เวลานผ้ี ้ทู ี่เคย ไปที่ใดผคู้ นก็ยังเรียกขานวา่ ตา-ยาย หรอื ลุง-ป้า
เป็นหนมุ่ สาว เคยเป็นพ่อแม่ของลูกนอ้ ยกลายมาเป็น อนั เป็นลกั ษณะเฉพาะของสังคมไทยท่แี สดงถึง
ปู่ ย่า ตา ยาย และถูกกำหนดให้เป็นชนช้ัน การให้ความเคารพยกยอ่ ง
ใหม่ที่ระเบียบทางสังคมกำหนดให้ละเว้นการ ดังนั้นผู้สูงอายุจึงต้องครองตนท่ีอยู่ใน
งาน ที่ เค ย ท ำ เค ย มี ต ำแ ห น่ ง มี อ ำน าจ กรอบ ของ คุณ ธรรม ไม่กินเห ล้าเมายา
เกียรติยศ กลับลับหายไปเม่ือล่วงเลยมาเป็น เล่นการพนัน ไม่ประพฤติให้เสื่อมเสีย ไม่พูดมาก
กลุ่มวัยท่สี งั คมเรยี กวา่ ผสู้ งู อายุ ไร้สาระ ส่อเสียด ไม่ทำตัวจุ้นจ้าน ไม่ทำตัว
ให้ลกู หลานอับอายขายหน้า ไม่ทำตวั ให้ผู้อ่ืนดูถูก
เหยียดหยาม ต้องทำตัวให้เป็นแบบอย่างแก่
การพฒั นาองค์ความร้ดู า้ นเทคโนโลยสี วู่ ถิ ีชีวติ ใหม่ (New Normal) ของผสู้ ูงวัย 24
+
99
ลูกหลานและผู้คนอื่นๆ อีกท้ังยังต้องเป็น นอกจากนี้ ผู้สูงอายุยังมีบทบาทในฐานะ
ผู้เสียสละอุทิศตนเพ่ือชุมชน ที่สำคัญต้องมี ผผู้ ลิต ทำงานสรา้ งรายไดเ้ ลี้ยงดลู กู หลาน หรือ
จติ ใจดี เอ้ือเฟอ้ื เผื่อแผ่ แก่ผู้คนทั่วไป เคยเป็นกำลังสำคัญทางด้านเศรษฐกิจมาก่อน
ท่านจึงเป็นขุมทรัพย์ทางปัญญาแก่ชุมชน และ
ผ้สู งู อายุเปน็ ผู้มีศกั ดิ์ศรี สงั คม
ผ้สู งู อายุเป็นผู้ที่มศี ักดิ์ศรี เพราะเป็นผู้ทีม่ ี
ความประพฤติดี หมายถึง ผู้ท่ีทำตัวดีจนเป็นท่ี ความกตัญญูรู้คุณต่อบุพการี และผู้มี
ยอมรับของผู้อนื่ เชน่ ไม่เล่นการพนัน ไม่เท่ียวเตร่ บุญ คุณ ยังคงเป็น ค่านิ ยมอัน ดีงามของ
ไม่ทะเลาะวิวาทกับผู้ใด ไม่โกหก ไม่ทำตัว สังคมไทย ผู้สูงอายุต่างเชื่อว่าความกตัญญู
เป็นปัญหาแก่ใคร และยังเป็นผู้ที่ทำประโยชน์ ยงั คงดำรงอยู่ สิ่งนเี้ ป็นการตอบแทนทางสังคม
ให้กบั ครอบครัว และชุมชน ท่ีอาจหาได้ยากยิ่งในสังคมอื่น การแสดงออก
ผู้สูงอายุไทย โดยท่ัวไปเป็นคนไม่อยู่น่ิง ถึงความกตญั ญูไดแ้ ก่ บุตรหลานมารดนำ้ ดำหัว
ดูดายจะดูแลครอบครัว ทำงานในบ้านเท่าท่ี ในวันปีใหม่ สงกรานต์ ให้ความเคารพ เช่ือฟัง
จะทำได้ ด้านศาสนา ผู้สูงอายุสว่ นใหญ่เป็นผู้อยู่ คำสั่งสอน อุปการะด้วยการมอบทรัพย์สินเงนิ ทอง
ในศีลในธรรม เข้าวัด ฟังธรรม มีเมตตาธรรม เอาใจใส่สุขภาพ นอกจากนี้ยังแสดงออกได้
เอ้ืออาทรผู้ที่เดือดร้อน ไม่เบียดเบียนผู้ใด โดยการบวชทดแทนบุญคุณ ลูกหลานท่ีเป็น
สร้างบุญสร้างกุศล การที่ท่านเป็นผู้ท่ีสั่งสม หญิงอาจบวชชีพราหมณ์ให้พ่อแม่ สังคมไทย
ความดีงาม มีความประพฤติท่ีดี ทำตัวพลเมืองดี ถือว่าการไม่ทดแทนคุณ ไม่กตัญญูจัดเป็นบาป
ท ำ ห น้ า ท่ี ท า ง สั ง ค ม อ ย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง เช่ น น้ี ถกู สังคมตำหนิ ไมค่ วรเอาเป็นเย่ียงอย่าง
ผู้สูงอายุจึงได้รับการยกย่องจากผู้คน และ
เป็นอยู่อยา่ งมศี ักด์ศิ รใี นชมุ ชน และสงั คม ความภาคภมู ิใจของผสู้ งู อายุ
สังคมและครอบครวั ต้องสรา้ งความเชือ่ มั่น
ผสู้ งู อายมุ ีคุณค่าตอ่ สงั คม ให้ ผู้ สู ง อ า ยุ เกิ ด ค ว า ม ภ า ค ภู มิ ใ จ ท่ี ไ ด้ เป็ น
การเป็นผู้สูงอายุมีคุณ ค่าต่อสังคม ผู้สูงอายุ ด้วยการที่ลูกหลานให้ความเคารพ
เพราะทุกท่านได้ผ่านการทำความดีมาแล้ว ยกย่องเช่ือฟังสิ่งท่ีท่านอบรมสั่งสอน ร่วมกับ
อย่างน้อยท่ีสุด คือ การได้อบรมเลี้ย งดู ก า ร เปิ ด โ อ ก า ส ให้ ผู้ สู ง อ า ยุ ได้ ท ำ ง า น เป็ น
ลูกหลานจนเติบโตเป็นคนดี มีหน้าท่ีการงานดี สิ่งสำคัญที่ช่วยให้ผู้สูงอายุภูมิใจ ว่ายังคงเป็น
นอกจากนี้ผู้สูงอายุต่างก็มีประสบการณ์ชีวิต ก ำ ลั ง แ ร ง ง า น ให้ ค ร อ บ ค รั ว ไ ด้ เช่ น
มากมาย สามารถแยกแยะส่ิงใดถูกส่ิงใดผิด ช่วยลูกหลานค้าขาย ทำงานบ้าน เล้ียงหลาน
ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ค ว า ม รู้ เห ล่ า น้ี ย่ อ ม สื บ ส า น จักสาน ซ่อมแซมบ้าน หรือสนับสนุนให้เข้าร่วม
ภูมิปัญญาพ้ืนถ่ินต่อไปสู่คนรุ่นใหม่ ได้เป็นอยา่ งดี ในกิจกรรมสาธารณะ เป็นกรรมการชุมชน
ทั้งวัฒนธรรม ประเพณี พิธีกรรมต่างๆ.น้ัน กรรมการวัดก็เป็นการสร้างความภาคภูมิใจ
ต้องอาศัยประสบการณ์แห่งผู้รู้ คือ ผู้สูงอายุ ให้ว่าได้ช่วยเหลือผู้อ่ืนตลอดมา ไม่แตกต่างไป
ทกุ คนนนั่ เอง จากอดีต และช่วยลดความโดดเด่ียวได้
ทส่ี ำคัญคือ ช่วยเสริมสร้างกำลังใจ ให้ผู้สงู อายุ
เห็นความสำคัญของตนเอง มีชีวิตอยู่อย่าง
มศี ักดิศ์ รี
การพฒั นาองค์ความรดู้ า้ นเทคโนโลยีสูว่ ถิ ีชวี ิตใหม่ (New Normal) ของผสู้ งู วัย 25
+
99
การได้อยู่ร่วมกัน ทำให้ผู้สูงอายุไม่ การเปน็ คนทนั สมัย
รู้สึกโดดเดี่ยว ควรเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุได้รับรู้ข้อมูล
ข่าวสารอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้ผู้สูงอายุสามารถ
สั ง ค ม ภ า ย น อ ก อ า จ ม อ ง ว่ า ผู้ สู ง อ า ยุ ปรับตัวได้ให้เป็นคนทันสมัย รู้จักและใช้
มีชีวติ ท่ีโดดเด่ยี ว ขาดการดูแลเอาใจใส่มีความเหงา สิ่งอำนวยความสะดวก แต่งกายให้เหมาะกับวัย
สิ้นหวัง แต่สังคมไทยไม่เป็นเช่นน้ัน การที่ ให้ท่านได้อ่านหนังสือพิมพ์ ฟังวิทยุหรือ
ครอบครัวมีปู่ ยา่ ตา ยาย ยังอาศัยอยู่ดว้ ยกันน้ัน ชมโทรทัศน์ เพื่อติดตามข่าวสารด้านเศรษฐกิจ
ยังคงปรากฏให้เห็นไดท้ ั่วไป ในสังคมการไดอ้ ยู่ สังคม สุขภาพ การเมือง น่าสนใจว่าผู้สูงอายุ
ร่วมกันเช่นน้จี ะไม่ทำใหผ้ ู้สูงอายุรสู้ ึกโดดเดย่ี ว ได้กล่าวถึงความทันสมัยว่า คือการคิดและเดิน
ให้ทันโลกท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ซึ่ ง น อ ก จ า ก ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ท า ง สั ง ค ม ไม่ปล่อยให้เป็นคนตกข่าว การรับรู้ข้อมูล
ภายในบ้านแล้ว ผู้สูงอายุก็ยังมีเพ่ือนบ้าน ข่ า ว ส า ร จึ ง เป็ น ปั จ จั ย ห น่ึ ง ท่ี ส ำ คั ญ ส ำ ห รั บ
เพื่อนรุ่นน้อง เพื่อนร่วมอาชีพ เพ่ือนที่วัด ผ้สู งู อายุ
เพื่ อ น ส ภ า ก าแ ฟ แ ว ะ เวี ย น ม า พ บ กั น
ในสถานท่ีและเทศกาลต่างๆ ส่วนการที่ เช่อื มน่ั ตอ่ ชีวิตในปัจจุบนั
ผู้สูงอายุส่วนใหญ่อาจชอบอยู่อย่างเงียบๆ ลกู หลานและผ้ทู ี่เก่ียวข้องต้องช่วยสร้าง
ไม่ชอบ สังคม นั้นมิใช่เพ ราะความเหงา ความม่ันใจให้ผู้สูงอายุ ให้เชื่อม่ันว่าชีวิตความ
แต่เพราะท่านไม่ชอบวุ่นวายลูกหลาน เราจึง เป็ น อ ยู่ ใน ปั จ จุ บั น ข อ ง ท่ า น มี คุ ณ ค่ า
ควรหาแนวทางให้ผู้สูงอายุได้ทำในสิ่งต่างๆ มีความหมาย และมีความสุขกว่าในอดีต
ทุกวัน ไม่ปล่อยให้เวลาผ่านเลยโดยไม่ได้ทำ การสร้างทัศนคติเชิงบวกและมองโลกในแง่ดี
อะไร เช่นน้ี เสริมสร้างพลังบวกทางใจได้มาก แม้ว่า
สุขภาพของผู้สูงอายุจะอ่อนแอ ร่างกายจะ
การยอมรบั ตัวตน ทรดุ โทรมลงทุกขณะก็ตาม
ผู้ สู ง อ า ยุ ส า ม า ร ถ ด ำ ร ง ชี วิ ต อ ย่ า ง มี ผู้สูงอายุจะเกิดความสุข เม่ือเช่ือม่ันว่า
ความสุขได้ ด้วยการยอมรับสภาพของตนเอง ชีวิตในปัจจุบันดีกว่าในอดีต เช่น ไม่ต้อง
และด้วยการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ดังน้ันการ ทำงานเหน็ดเหนื่อยเพราะมีลูกหลานดูแล
แสดงออกด้วยการยกมือไหว้ เมื่อพบปะ มีเวลาพักผ่อนเต็มท่ี มีความสะดวกสบาย
ผู้สูงอายุในสถานที่ตา่ งๆ เป็นส่ิงที่พวกเราทุกคน มีเคร่ืองใช้ไฟฟ้าทันสมัย มีครอบครัวท่ีอบอุ่น
ในสังคมไทยควรกระทำต่อผู้สูงอายุ ร่วมไปกับ มีลูกหลานคอยดูแลใกล้ชิด มีเงินเก็บ มีฐานะ
การมองผู้สงู อายุดว้ ยทศั นคตเิ ชงิ บวก ทางการเงินดีกวา่ ในอดีตทีท่ ำงานหนัก รายได้นอ้ ย
ในบริบทของสังคมไทยเห็นว่าผู้สูงอายุ
คือผู้ที่มีวัยวุฒิ เวลาพูดคุยด้วยก็จะแสดง ผ้สู งู อายุทดี่ ี
ความอ่อนน้อม มากกว่าแสดงความแข็งกร้าว เพื่อให้ครอบครัว ชุมชนและสังคม
และจะทกั ทายแม้ไม่รจู้ ักกัน การยอมรับตวั ตน ได้เห็นถึงความสำคัญของผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุจึง
ผู้สงู อายใุ นลกั ษณะเชน่ นี้ เปน็ ปจั จยั หลักที่ชว่ ยให้ ต้องทำตัวให้เหมาะสมกับการเป็นผู้สูงอายุ
การปฏิสัมพันธ์ สือ่ สารกับผู้สูงอายุเป็นไปด้วยดี ทำตัวให้เหมาะสมกับวัย สร้างความน่าเช่ือถือ
ช่วยให้ผสู้ ูงอายดุ ำรงชีวิตได้อย่างมคี วามสุข
การพัฒนาองค์ความร้ดู ้านเทคโนโลยสี วู่ ิถชี วี ิตใหม่ (New Normal) ของผู้สูงวัย 26
+
99
โดยไม่พูดโกหก หลอกลวง พูดจริง และสำรวม สิ่งไม่ดีทั้งหลายก็ควรละท้ิงไม่ให้หลงเหลือ
ระวังในคำพูดอย่างมีสติ เป็นตัวอย่างที่ดีของ ในความทรงจำ เพราะมีแต่คอยบ่ันทอนขวัญ
ครอบครัว ชุมชน และสังคม ช่วยเหลืองาน กำลงั ใจ และสุขภาพรา่ งกาย
สาธารณะ เสียสละเพ่ือส่วนรวม ท้ังงานบุญ
หรือกิจกรรมทางศาสนา มีความเป็นผู้ใหญ่ มิติทางด้านสังคมของผู้สูงอายุ จึงมี
มี ค ว า ม ยุ ติ ธ ร ร ม เม ต ต า ก รุ ณ า มี ใจ ความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุ
เอ้ือเฟ้ื อเผ่ือแผ่ อยู่ในศีลธรรม ไม่ท ำตัว ให้อยู่ต่อไปอย่างมีความสุข และมีคุณภาพ
น่ารำคาญแก่สมาชิกครอบครัว ญาติมิตร ลำพังแต่การดูแลทางการแพทย์น้ันเป็นเพียง
เพ่ือนบ้าน ไม่กล่าวร้ายป้ายสีผู้อื่น ไม่พูดในสิ่ง ส่วนหนง่ึ ที่ผู้สงู อายจุ ะมีโอกาสไดพ้ บกับแพทย์
ที่ไม่ควรพูด ไม่ติฉินนินทาใคร ไม่จู้จี้ขี้บ่น พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ซ่ึงก็ต่อเมื่อมี
เป็นคนมีธรรมะ เข้าวัดฟังเทศน์ฟังธรรม ปัญหาสุขภาพ ก็เป็นเพียงช่วงระยะเวลาสั้นๆ
มจี ิตใจเยอื กเยน็ สงบ ไม่วุ่นวายกับใคร เท่านั้น แต่ผู้สูงอายุต้องอยู่ร่วมกับครอบครัว
และสังคมตลอดเวลา การดูแลตนเองทางสุขภาพ
ผู้สูงอายุกับการดูแลตนเอง ในมิติ จึงจะต้องรวมถึงด้านจิตใจ และความสัมพันธ์
ทางสงั คม ทางสังคมท่ีดี ไม่ใช่เฉพาะแต่การกิน การนอน
การใช้ยา แต่ต้องดูแลตนเอง ครองตัวให้เป็น
การดูแลผู้สูงอายุในมิติทางสังคมนี้ ผู้สูงอายุที่มีศักด์ิศรีอย่างมีคุณภาพ โดยสร้าง
เป็นองค์ประกอบหน่ึงของการดูแลสุขภาพ ความเชื่อถือจากสังคมภายนอก เป็นอาหารเสริม
แบบองค์รวม ท่ีไม่อาจแยกจากกันได้ระหว่าง เป็นยาบำรุง เป็นการเยียวยาทางสังคม ซ่ึงมี
มิติของร่างกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ พลังเพิ่มภูมิคุ้มกันให้ผู้สูงอายุสามารถยืนหยัด
การเผชิญชีวติ ของผสู้ ูงอายุน้นั ยอ่ มแตกต่างกันไป ตอ่ การมชี ีวติ ทด่ี ไี ด้อย่างสงา่ งาม
ตามภูมิหลัง และสภาวะสุขภาพ แต่ส่ิงสำคัญ
ที่ ผู้ สู ง อ า ยุ ต้ อ ง ด ำ ร ง อ ยู่ ไ ด้ โ ด ย ไ ม่ มี ค ว า ม การอยรู่ ่วมกนั จะเปน็ เครอื ขา่ ยทางสังคม
แตกต่างก็คือ การอยู่ร่วมกันทางสังคมอย่างมี ทช่ี ่วยให้ผู้สูงอายมุ ีปฏิสัมพนั ธ์ ช่วยเหลือซ่งึ กัน
ความสุข และมศี ักดิ์ศรี และกัน ความใกลช้ ิดระหว่างสมาชกิ ในครอบครัว
ญ าติ และผองเพ่ื อนจะช่วยให้ผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุกับการยอมรับจากสังคมนั้น เห็นคุณ ค่าของตนเอง ชื่นใจ ภูมิใจและ
จะต้องเกิดข้ึนมาจากพลังภายในและภายนอก มีความสขุ ท่ีลกู หลานและสงั คมยอมรับ ในดา้ น
โดยเฉพาะพลังจากภายใน ก็คือความมั่นใจ ก า ร เป็ น ตั ว ต น ห รื อ อั ต ลั ก ษ ณ์ ข อ ง ก า ร เป็ น
ความเช่ือม่ันที่จะสร้างแรงจูงใจและมองโลก ผสู้ ูงอายุที่ดีนัน้ จงึ ขึ้นอยกู่ ับการวางตัวให้อยใู่ นกรอบ
ในแงด่ ี โดยพิจารณาสิง่ ต่างๆ ตามความเป็นจริง ของสังคม วัฒนธรรม ทำในสิ่งท่ีควรทำ อีกทั้ง
และหลักพุทธศาสนาท่ีว่า การเกิด การแก่ การยกย่องสรรเสริญน้ัน เป็นรางวัลที่เสริมสร้าง
การเจ็บ การตาย ล้วนเป็นเร่ืองปกติธรรมดา พลังใจให้ผู้สูงอายุ มีชีวิตอยู่ต่อไปได้ด้วยความ
ท่ีสัตว์โลกทั้งหลายไม่อาจหลีกเล่ียงได้ จงมอง เชื่อมั่น ไม่ท้อแท้ ส้ินหวัง อีกต่อไป (รศ.ดร.
ตนเองอย่างผู้มศี กั ดิ์ศรี พิจารณาส่งิ ตา่ งๆ ทสี่ ่ังสม ปรีชา อุปโยคนิ , 2564, ออนไลน)์
มาในอดีต ส่ิงใดที่ดีๆ ก็ควรจดจำ เพ่ือเสริมสร้าง
กำลังใจให้ยืนหยัดตอ่ สู้ตอ่ ไป
การพฒั นาองค์ความร้ดู ้านเทคโนโลยสี ู่วิถีชวี ติ ใหม่ (New Normal) ของผูส้ งู วยั 27
+
99
ตัวอยา่ งผู้สงู อายุทอี่ ยูอ่ ย่างมคี วามสขุ
ท่มี า: www.manoottangwai.com ป้าลินจง ช่างภาพ Portrait
คุณปา้ ลินจง โกยะวาทิน (อายุ 75 ปี) หรือป้า
“พี่ดม” นักวิ่งรุ่นคุณ ปู่ ที่มีอายุมากท่ีสุด ลินจง เป็นช่างภาพในตำนาน ที่รักการ
ในประเทศไทย ถ่ายภาพพอร์ตเทรตมาต้ังแต่เด็ก และเป็น
คุณปู่อุดม มาศพงศ์ (อายุ 93 ปี) หรือที่เหล่า เจ้าของกิจการห้องภาพนครศิลป์ที่เป็นสตูดิโอ
คนสายนักว่ิงเรียกกันว่า “พี่ดม” เป็นนักว่ิง ถ่ายภ าพ บุคคลแห่ งแรกในจังห วัดสตูล
มาราธอนรุ่นปู่ ท่ีอายุมากที่สุดในประเทศไทย ปั จ จุ บั น ป้ า ลิ น จ ง ได้ จั ด ห้ อ ง ภ า พ นี้ ใ ห้ เป็ น
คุณปู่พิชิตการว่ิงมาราธอนมาแล้วกว่า 100 “พิพิธภัณฑ์แหล่งเรียนรู้ห้องถ่ายภาพรูปของพ่อ”
มาราธอน หนึ่งในเป้าหมายความฝันสูงสุดของ ใน ปี .พ .ศ . 2557.ป้ าลิ น จ งได้ รั บ รา งวั ล
ชีวิตคือ ตั้งใจจะอยู่ให้ถึง 120 ปี แบบไม่เป็น เกียรติยศ “ศิลปินนักถ่ายภาพไทย” จาก
ภาระของลกู หลาน สมาพันธส์ มาคมการถ่ายภาพแหง่ ประเทศไทย
จากพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี
กรมหมื่นสทุ ธนารีนาถ
ที่มา: www.mainstand.co.th
ปา้ เจี๊ยบ จากผูป้ ่วยมะเรง็ สู่นักกีฬาเอ็กซต์ รีมทีม
ชาตไิ ทย
ป้าเจี๊ยบ นงลักษณ์ ชัยฤทธิไชย (อายุ 63 ปี)
ช น ะ โ ร ค ม ะ เร็ ง ด้ ว ย ก า ร หั น ม า อ อ ก ก ำ ลั ง ก า ย
พ ร้อ ม หั ด เล่ น กี ฬ าเอ็ ก ซ์ ต รี ม ต าม ลู ก ช าย
จนกลายเป็นนักสเก็ตบอร์ดดาวน์ฮิลทีมชาติไทย
จุดเปลี่ยนนี้ ทำให้ป้าเจี๊ยบได้ค้นพบโลกใบใหม่
และเป็นแรงบัลดาลใจให้ใครหลายคนลุกขึ้นมา
ทม่ี า: https://workpointtoday.com/jeabsae-skateboard/ ทำสิ่งท่ีฝันได้เป็นอย่างดี ป้าเจี๊ยบมีแฮชแท็กสุด
เฟีย้ วทโ่ี ดนใจวัยรนุ่ #เฟ้ยี วๆ ไมต่ อ้ งเด๋ียวก่อน
การพฒั นาองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยสี ู่วิถชี ีวติ ใหม่ (New Normal) ของผสู้ ูงวัย 28
+
99
วิธอี ยูร่ ว่ มกบั ผสู้ ูงวยั อยา่ งมคี วามสุข
การก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ (Complete Aged Society) หรอื การท่ีสังคมไทย
จะมีประชากรในวัย 60 ปีข้ึนไปมากกว่ารอ้ ยละ 20 ในปีหน้าน้ี ประกอบกบั ความจำเป็นทางเศรษฐกิจ
และวิถีในการดำเนินชีวิตในปัจจุบัน ทำให้มีแนวโน้มท่ีจะเกิดครอบครัวขยายที่มีสมาชิกต่างช่วงวัย
มาอยู่ร่วมกันเพิ่มมากขึ้น แต่สิ่งท่ีมักเป็นปัญหาตามมาคือ ความไม่เข้าใจและเกิดเป็นความรู้สึกที่ไม่ดี
ต่อกนั ดว้ ยช่องว่างระหวา่ งวยั
สภาวะของการมาอยู่ร่วมเป็นครอบครัวเดียวกันแต่ไม่มีใจผูกพนั และรู้สกึ ถงึ ความเหินห่าง
ต่อกันเป็นเรื่องท่ีเกิดขึ้นได้บ่อยคร้ังในครอบครัวท่ีประกอบด้วยสมาชิกต่างช่วงวัย ไม่เพียงแต่พ่อแม่
กบั ลูกเท่านั้น แต่ยงั รวมถงึ ปู่ยา่ กับหลาน หรอื กลุ่มเครือญาตทิ ่มี ีความโยงใยกนั อีกด้วย ซ่ึงแตล่ ะช่วงวัย
ต่างก็มีคุณลักษณะและคุณค่าท่ียึดถือที่ถูกบ่มเพาะจากการเติบโตในสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
และสังคมท่ีแตกต่างกันตามยุคสมัย รวมถึงพละกำลังและความสมบูรณ์แข็งแรงของท้ังร่างกายและ
จิตใจทไี่ ม่เทา่ กันจนอาจเปน็ เร่อื งยากที่จะเข้าใจ
เมื่อคำนึงถึงประโยชน์และความจำเป็นที่ต้องอยู่ร่วมกัน ส่ิงสำคัญคือการท่ีสมาชิกทุกคน
สามารถใช้ชีวติ ภายในบ้านได้อย่างราบร่นื และมคี วามสุข โดยเฉพาะการดูแลเอาใจใสผ่ ู้สูงวัยภายในบา้ น
ซึง่ ถือว่าอยู่ในชว่ งบัน้ ปลายของชีวิต หลังจากที่ต้องเหนด็ เหนื่อยกับการทำงานเพ่ือก่อร่างสร้างตัวและ
เลยี้ งดลู กู ให้เติบโตจนสามารถดูแลตวั เองและสรา้ งครอบครวั ของตัวเองต่อไปได้ รวมทง้ั กำลังทำหน้าที่
สดุ ท้ายโดยการเปน็ ทพี่ ึ่งพงิ ใหก้ ับลกู หลานได้มโี อกาสตอบแทนพระคณุ บา้ งน้ัน จงึ เป็นหนา้ ทข่ี องสมาชิก
ทจ่ี ะตอ้ งเรียนรูแ้ ละปรับตวั เข้าหาผสู้ งู วัยดว้ ย
ดว้ ยเหตุน้ี ความสขุ ของผู้สูงอายอุ ันได้แก่ คุณพ่อ คณุ แม่ หรือคุณปู่คุณยา่ ทอี่ ยู่ภายในบ้าน
รว่ มกันกับเราด้วย การทำความเข้าใจในลักษณะนิสัย ความคิด ทัศนคติและประสบการณ์ท่ีมีต่อส่ิงต่างๆ
ตลอดจนความเสื่อมถอยและเปล่ียนแปลงท้ังทางร่างกายและจิตใจของผู้สูงวัย จึงเป็นส่ิงจำเป็น
เน่ืองจากปัจจัยเหล่านี้ยอ่ มส่งผลต่ออารมณ์ ความรสู้ ึกและการแสดงออกท่ีมักเต็มไปด้วยความวิตกกังวล
และห่วงใยตอ่ สิ่งตา่ งๆ มาก จนทำให้สมาชกิ เกิดความรำคาญใจและถอยหา่ งออกมา
เพ่ือให้บรรยากาศภายในครอบครัวท่ีประกอบด้วยสมาชิกจากหลากหลายช่วงวัยเป็นไปด้วย
ความเรยี บรอ้ ยและเป็นพื้นทท่ี ่ีน่าอยู่สำหรบั สมาชกิ ทกุ คน ไมเ่ กิดความรู้สึกแปลกแยกและรสู้ ึกเหินห่างต่อกัน
ตอ่ ไปน้ีเป็นขอ้ แนะนำถึง 7 วิธีที่จะทำให้ลูกหลาน สามารถอยู่ร่วมกับผูส้ ูงวัยภายในครอบครัวได้อย่าง
มคี วามสุข
1. ยอมรบั และเขา้ ใจในความตา่ ง
เน่ืองจากผู้สูงวัยเติบโตมาบนพื้นฐานและประสบการณ์ท่ีแตกต่างออกไป เม่ือใกล้ชิดกับ
คนรุ่นใหม่ท่ีมีลักษณ ะไม่ตรงกันจึงมักวิตกกังวลและคอยกำชับติดตามให้ทำตามท่ีตนเองยึดถื อ
บ่อยคร้ังหลงลืมและพูดย้ำหลายครั้งจนสมาชิกรู้สึกไม่เป็นส่วนตัว สิ่งท่ีทำได้คือ ตอบรับและทำตาม
คำแนะนำ หากมีส่วนไหนไม่เป็นความจริงก็ควรให้อภัยและปล่อยผ่านไปโดยไม่จำเป็นต้องโต้เถียง
จนรู้สกึ ไมด่ ีตอ่ กนั
การพัฒนาองค์ความรดู้ า้ นเทคโนโลยีสู่วิถีชีวิตใหม่ (New Normal) ของผสู้ ูงวัย 29
+
99
2. มองเหน็ คณุ คา่ และความสำคัญ
ผสู้ ูงวัยสว่ นมากท่ีพ้นจากชีวติ การทำงานแลว้ อาจรสู้ ึกหมดคณุ คา่ ทไ่ี ม่สามารถทำประโยชน์
ให้กับใครได้อีก จนไปบั่นทอนสภาพจิตใจและส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกายตามมา ซึ่งคนในครอบครัว
สามารถช่วยได้ด้วยการให้ความสำคัญโดยการขอคำแนะนำ รับฟังความเห็นหรือให้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
ในเรือ่ งตา่ งๆ รวมท้ังแสดงออกตอ่ กันดว้ ยความเคารพเพื่อสรา้ งบรรยากาศที่ดีให้กบั ครอบครวั
3. ใหค้ วามดแู ลเอาใจใส่
ความต้องการของผู้สูงวัยคือ การได้รับความดูแลเอาใจใส่จากคนรอบตัว ซ่ึงสมาชิก
ในครอบครัวสามารถเพิ่มพูนความรู้สึกและความสัมพันธ์ที่ดีได้โดยการถามไถ่สารทุกข์ สุกดิบ
และชวนพูดคุยถึงเรื่องต่างๆ คอยดูแลใกล้ชิดไม่ปล่อยให้อยู่โดยลำพัง ดูแลเร่ืองอาหารการกิน
ความสะอาดและการออกกำลังกาย พาไปตรวจสุขภาพและพบแพทย์ตามนัดหมาย รวมท้ังส่งมอบ
รอยยิม้ และเสียงหวั เราะใหก้ นั เสมอ
4. นำเสนอสง่ิ ที่เป็นประโยชน์
นอกจากลูกหลาน จะคอยรับฟังคำแนะนำจากผสู้ งู วัยในฐานะท่ีเคยอาบน้ำรอ้ นมากอ่ นแล้ว
คนรุ่นใหม่ก็สามารถให้คำแนะนำดีๆ กลับคืนไปให้ได้ด้วยเช่นกัน โดยเฉพาะองค์ความรู้สมัยใหม่
ที่เก่ียวข้องกับการดูแลรักษาสุขภาพร่างกายและจิตใจให้แข็งแรงอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นการดูแล
ช่วยเหลือตัวเองและการพักผ่อนอย่างเหมาะสม การเลือกกินอาหารท่ีมีประโยชน์ หรือแม้แต่การใช้
เทคโนโลยีเพื่อคลายเหงา
5. สนับสนนุ การมีชวี ติ ทด่ี ี
หน้าที่สำคัญอย่างหน่ึงของลูกหลาน คือ การสนับสนุนให้ผู้สูงวัยได้มีโอกาสริเริ่มทำ
กิจกรรมใหม่ๆ ท่ีสร้างความรู้สึกท่ีดีและมีคุณค่าต่อท้ังตนเองและผู้อ่ืนเพ่ือไม่ให้จมอยู่กับตัวเอง เรื่อง
ในอดีตหรือกังวลกับอนาคตที่ยังมาไม่ถึงมากจนเกินไป ซ่ึงทำได้โดยการอำนวยความสะดวกในการเดินทาง
ไปพบปะญาติและเพื่อนฝูง การท่องเท่ียวหรือปฏิบตั ิธรรม รวมท้ังกจิ กรรมอ่ืนๆท่ีสามารถทำร่วมกันได้
ทัง้ ครอบครัว
6. ไม่นำปญั หามารบกวนจติ ใจ
เป็นเร่ืองปกติท่ีผู้สูงวัยซ่ึงมักไม่มีภาระใดๆ ให้ต้องกังวลแล้ว นอกจากสุขภาพร่างกายจะ
หันมาให้ความสนใจกับความเป็นไปของลูกหลานได้อย่างเต็มท่ี หากเป็นไปได้ลูกหลานจึงควรดูแล
จัดการชีวิตของตัวเองให้ดี เพ่ือไม่ให้ผู้สูงอายุต้องวิตกกังวลและเข้ามายุ่งเกี่ยวกับปัญหาต่างๆ
โดยเฉพาะเร่ืองความขัดแย้งในครอบครัวและการแย่งชิงมรดกหรือสมบัติท่ีกระทบกระท่ังจนเกิด
ความไม่พอใจต่อกนั
7. หมนั่ แสดงความรกั ให้กนั
การแสดงความรักในครอบครัวมีหลายวิธีด้วยกัน ต้ังแต่วิธีท่ีไม่มีค่าใช้จ่ายและสามารถทำได้
ทุกวันอย่างการพูดคุยและบอกรัก การสัมผัสและโอบกอดเป็นประจำ หรือการดูแลเอาใจใส่ในการ
จดั เตรียมอาหารการกิน เคร่ืองมอื เคร่ืองใช้ท่ีช่วยอำนวยความสะดวก พาไปท่องเที่ยวหรือทานอาหาร
ในโอกาสพิเศษต่างๆ รวมถึงการทำตัวเป็นลูกหลานท่ีดีด้วยการเช่ือฟัง เคารพและให้เกียรติซ่ึงกัน
และกันเสมอ
การพฒั นาองค์ความร้ดู า้ นเทคโนโลยีสู่วถิ ีชีวติ ใหม่ (New Normal) ของผสู้ งู วยั 30
+
99
หากเลือกได้คงไม่มีใครต้องการให้ความสูงวัยเข้ามาเปลี่ยนแปลงสิ่งดีๆ ท่ีคุ้นเคยมาตลอด
60 ปีในชีวิต แต่เมื่อไม่มีใครฝืนกฎธรรมชาติข้อนี้ได้ก็เป็นหน้าท่ีของคนในครอบครัวที่จะต้องยอมรับ
และเข้าใจ พยายามท่ีจะปรับตัวเองเข้าหาความเปลี่ยนแปลงเพื่อที่จะทำให้ทุกคนสามารถใช้ชีวิต
รว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ (ผูจ้ ัดการ ออนไลน์, 2563, ออนไลน)์
รปู ที่ 9 7 วธิ อี ยู่รว่ มกับผ้สู ูงวัยภายในครอบครวั ได้อย่างมคี วามสุข
การพัฒนาองค์ความรู้ดา้ นเทคโนโลยีสวู่ ถิ ชี วี ติ ใหม่ (New Normal) ของผู้สูงวัย 31
+
การพัฒนาองค์ความร้ดู ้านเทคโนโลยสี วู่ ิถีชีวติ ใหม่ (New Normal) ของผสู้ ูงวัย 99
5. ผสู้ ูงวยั กับการใชเ้ ทคโนโลยี
5. ผสู้ งู วัยกับการใชเ้ ทคโนโลยีการดำรงชีวิตของผ้สู ูงวัยในโลกยุคดิจทิ ัล มีความยืดหยุ่น ด้วยระบบการชำระเงินแบบ
e-Payment เช่น Paypal.com และ Net bank ต่างๆ
เน่ืองจากเทคโนโลยีและนวัตกรรมต่างๆ เข้ามา
ท ำให้ ส ภ าพ แ ว ด ล้ อ ม ใน ก ารด ำรงชี วิ ต ผู้ใช้สามารถซ้ือสิ่งต่างๆทางออนไลน์ได้ โดย
5. ผสู้ ูงวยั กับการใช้เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงไป การเรียนรู้และปรับตัวให้เข้ากับ
ไมต่ อ้ งออกจากบา้ นเพ่ิมความสะดวกสบายในบ้าน
เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ เป็นส่ิงที่ต้อง 6. การใช้เทคโนโลยีในการเกษตร
5. ผ้สู ูงวยั กบั การใชเ้ ทคโนโลยีเรียนรู้ ผู้สูงวัยต้องพัฒนาทักษะใหม่อยู่เสมอเท ค โ น โ ล ยี น้ี แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ว่ า ก า ร ท ำ ได้ ทุ ก
ข้ันตอนเกี่ยวกับการเกษตร ด้วยการประดิษฐ์
ดังน้ันเทคโนโลยีที่มาอยู่ในชีวิตประจำวัน
ท่ีเกีย่ วข้องและต้องเรยี นรู้ ได้แก่ Mobile.App.ส ำห รั บ เก ษ ต ร ก ร พ ว ก เข า
5. ผูส้ งู วัยกับการใชเ้ ทคโนโลยี1. เทคโนโลยีในธุรกิจ ทุกวันนี้ธุรกิจ สามารถใช้ App.เช่น "FamGraze".เพ่ือให้
ทำงานได้เร็วขึ้นและแม่นยำยิ่งข้ึน ตัวอย่าง
มี ก ารแข่ งขั น กั น สู ง ด้ าน เจ้ าขอ งธุรกิ จ
ก็ต้องการลดต้นทุนแต่ยังคงคุณภาพในตัว เช่ น .App"FamGraze".ช่ ว ย ให้ เก ษ ต ร ก ร
5. ผู้สูงวัยกบั การใช้เทคโนโลยีสินค้าและบริการอยู่ การดึงเอาเทคโนโลยี จัดการหญ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน
โดยการแนะนำอาหารที่ถูกท่ีสุดสำหรับปศุสัตว์
มาใช้ในธุรกิจทำให้สามารถประหยัดต้นทุน
ทางธุรกิจได้ เม่ือเปรียบเทียบกับจำนวนเงิน ของตน.app.น้ีจะคำนวณปริมาณของหญ้า
5. ผู้สงู วัยกับการใช้เทคโนโลยีทีใ่ ชจ้ า้ งพนักงานและการมีความตรงต่อเวลาสงู
2. การใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร สัตว์ของคุณมีในเขตข้อมูล ช่วยให้คุณมีเวลา
มากข้นึ ในขณะทีอ่ ย่ใู นไร่
5. ผสู้ ูงวัยกับการใชเ้ ทคโนโลยีปัจจุบันเทคโนโลยีทำให้ข้อมูลการติดต่อสื่อสาร 7. การใช้เทคโนโลยีในการธนาคาร
ช่วยทำให้ธุรกรรมทางการเงินเป็นเร่ืองง่ายๆ
เป็นเร่อื งง่าย เราสามารถสื่อสารได้ท้ังภาพและเสียง
แม้จะอยู่ห่างไกลกัน ขอเพียงมีอุปกรณ์ส่ือสาร การโอน การถอน การชำระเงินค่าสินค้า
หรือโทรศพั ท์มือทดี่ กี ส็ ามารถทำได้ เราไม่ต้องพกเงนิ สดอกี ตอ่ ไป
3. การใช้เทคโนโลยีในความสัมพันธ์ 8. การใช้เทคโนโลยีในการควบคุม
ระหว่างมนุษย์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น App ธรรมชาติ ภัยธรรมชาติต่างๆ น้ำท่วม ไฟป่า
โทรศัพท์มือถือทำให้ผู้คนสามารถพบปะและ ภั ยแ ล้ง ท่ี ส่ งผ ลก ระท บ ต่ อ ชีวิต ม นุ ษ ย์
เช่ือมต่อกับได้ เครือข่ายทางสังคม เช่น เทคโนโลยีในปัจจุบันสามารถช่วยควบคุม
Facebook.com , Tagged.com ธรรมชาติ และพยากรณ์ภัยธรรมชาติต่างๆ
4. การใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ท่เี กิดข้ึนไดอ้ ยา่ งแม่นยำ
การประดิษฐ์เทคโนโลยีและ App บนอุปกรณ์ 9. การใช้เทคโนโลยีในการคมนาคม
เคล่ือนท่ีทำให้การเรียนรู้หาข้อมูลเพ่ือใช้ใน ขนส่ง เทคโนโลยีการขนสง่ มีการเปลี่ยนแปลง
การเรียนการสอน การศึกษาเรียนรู้ได้ง่ายข้ึน อยู่เสมอ ปัจจุบันเทคโนโลยีการขนส่งที่กำลัง
คุณสามารถเข้าถึงห้องสมุดแบบเต็มรูปแบบ เข้ามามีชื่อว่า Hyperloop.One.ท่ีสามารถ
ผ่ า น App.บ น อุ ป ก ร ณ์ เค ลื่ อ น ที่ ผ่ า น สร้างความเร็วได้ที่.1,200.กิโลเมตร/ช่ัวโมง
Smartphone หรอื iPad ได้ หรือเทียบง่ายๆ คือจากกรุงเทพไปจังหวัด
5. การใช้เทคโนโลยีในการซ้ือของ ลำพูนใช้เวลา 35 นาที ซึ่งไวกว่าเครื่องบินมาก
ออนไลน์ เทคโนโลยที ำใหก้ ารซื้อและขาย และทำให้เราประหยดั เวลาได้มากขึ้น
การพฒั นาองค์ความรูด้ ้านเทคโนโลยสี ู่วถิ ีชวี ิตใหม่ (New Normal) ของผู้สูงวยั 32
+
การพฒั นาองค์ความรดู้ า้ นเทคโนโลยสี วู่ ิถีชีวิตใหม่ (New Normal) ของผู้สูงวัย 99
เทคโนโลยีและนวตั กรรมเพื่อผูส้ ูงอายุ
1. หุ่นยนต์เดสท็อปนินจา เป็นนวัตกรรมหุ่นยนต์
สำหรับการดูแลผู้สูงอายุ ร่นุ จุฬาอารี สามารถควบคมุ ส่ังการ
ได้จากระยะไกล พร้อมอุปกรณ์วดั และบันทึก สัญญาณชีพต่างๆ
เช่น วัดความดัน โลหิ ต วัดคลื่นไฟฟ้ าหั วใจ วั ดชีพจร
วัดอุณหภูมิ เพ่ือวินิจฉัยอาการได้ ทันที (ผู้ประดิษฐ์ : คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั )
2. หุ่นยนต์ปิ่นโต เป็นหุ่นยนต์ใช้ส่งอาหารและ
เวชภัณฑ์จากระยะไกล ควบคุมด้วยระบบภาพสื่อสาร
ทางไกล (Telep.-.resence).ใช้ในสถานการณ์โควิด-19
เพ่ือลดความเสี่ยงการติดเชื้อระหว่าง เจ้าหน้าท่ีและผู้ป่วย
(ผ้ปู ระดษิ ฐ์.:.คณะวิศวกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั )
3. หุ่นยนต์แพทย์อัจฉริยะ Docto Sight เป็นหุ่นยนต์
ใช้ในการวินิจฉัย และรักษาผ่านระบบโทรเวชกรรม ทำงาน
เป็ น กิ จ วั ต ร โด ย ไม่ ต้ อ งใช้ ค น ค ว บ คุ ม .แ พ ท ย์ ห รื อ พ ย า บ า ล
สามารถใหค้ ำปรึกษากบั คนไขผ้ ่านตัวหุ่นยนต์.ห่นุ ยนต์สามารถ
วัดชีพจร วัดความดันเลือด วัดอัตราการเต้นของหัวใจ และช่วย
ลำเลียงยาและวัสดไุ ปยงั คนไข้เพ่ือลดความเสี่ยงในการตดิ เช้ือ
4. หุ่นยนต์กระจก เป็นหุ่นยนต์แท็บเล็ต ใช้สำหรับ
ส่ือสาร พูดคุยโต้ตอบโดยไม่ต้อง กดรับสาย และกดเรยี กขอ
ความช่วยเหลือ ใช้ในโรงพยาบาลในสถานการณ์โควิด-19
ชว่ ยลดความเส่ยี งในการตดิ เช้อื
การพัฒนาองค์ความรู้ดา้ นเทคโนโลยสี วู่ ิถชี ีวติ ใหม่ (New Normal) ของผ้สู ูงวยั 33
+
การพฒั นาองค์ความรดู้ า้ นเทคโนโลยสี ูว่ ิถชี ีวิตใหม่ (New Normal) ของผู้สูงวัย 99
นวัตกรรมเพ่อื ใหผ้ ู้สูงวยั มคี ุณภาพชวี ิตท่ีดขี ้นึ
1. วีลแชร์ที่ควบคุมด้วยใบหน้า (Face-Controlled Wheelchair) นวัตกรรมวีลแชร์
ทค่ี วบคุมการทำงานดว้ ยใบหน้าจะเขา้ มาช่วยควบคุมการเคล่ือนที่ของวีลแชรโ์ ดยไมต่ ้องออกแรงหมุน
ส่ิงประดิษฐ์สำหรับผู้ป่วยจะไม่มีแรงท่ีแขนหรือขาก็ยังสามารถทำให้วีลแชร์เคลื่อนท่ีได้อย่างสะดวก
เพียงแค่สแกนคำสั่งจากใบหน้า ทีมผู้วิจัยจาก.Miyazaki.University.เล่าว่าการสั่งการเคล่ือนที่
สามารถทำโดยการกระพริบตาหรือการยิงฟัน และวีลแชร์ยังมีระบบเซ็นเซอร์ท่ีทำให้รถหยุด
โดยอตั โนมัตเิ มือ่ พบว่ามีวัตถุกีดขวางอยู่ขา้ งหน้า (ภาพที่ 10)
2. เคร่ืองช่วงฟงั ขนาดจ๋ิว (Smart Hearing Aids) เครอ่ื งช่วยฟังตัวน้ชี ่ือว่า ReSound LiNX
มนั มีขนาดเลก็ มากสามารถเสียบในหูอยา่ งแนบเนียนโดยคนอ่ืนไม่สามารถสังเกตุเห็นได้ เคร่อื งช่วยฟัง
สามารถเช่ือมต่อกับโทรศัพท์มือถือ นอกจากช่วยการฟงั มันยังสามารถใช้ในการปรับความดังของเสียง
บอกเส้นทาง แจ้งสภาพอากาศและควบคุมการทำงานของเคร่ืองใช้ไฟฟ้าอ่ืนๆ ได้อีกด้วย
เหมาะสำหรบั ผสู้ งู อายุท่ีมีปัญหาเรือ่ งการได้ยิน
3..แขนหุ่นยนต์ผู้ช่วย (One-Armed.Helper.Bots).บริษัท.Toyota.ผู้ผลิต เพ่ืออำนวย
ความสะดวกกับผู้สูงอายุและคนพิการเพ่ือให้พวกเขาสามารถใช้ชีวิตโดยลำพังได้สะดวกมากข้ึน
แขนหุ่นยนต์นี้ช่วยเหลือในการหยิบสิ่งของต่างๆ การป้อนอาหาร การเปิด ปิดผ้าม่าน ปิดประตู มันมี
ความสูงปกติท่ี 2.7 ฟุต แต่สามารถยืดความยาวได้สูงสุด 4.3 ฟุต การควบคุมการทำงานของหุ่นยนต์
สามารถทำผ่านแท็บเลตหรือคอมพิวเตอร์ ผู้ดูแลหรือญาติยังสามารถสื่อสารส่ังการหุ่นยนต์ได้ด้วย
โดยผา่ นแอปแชท เชน่ Skype
4. ไม้เท้าแห่งอนาคต (Future-Forward Walking Sticks) ไม้เท้าตัวน้ีช่ือว่า Isowalk
พัฒนาเพื่อเพ่ิมความปลอดภัยและเพ่ิมความสะดวกสบายให้กับผู้สูงอายุ ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์
ควบคุมการทำงาน รูปร่างมีลักษณะเหมือนเท้าของมนุษย์ เพื่อช่วยให้การทรงตัวดีขึ้น สามารถ
เชื่อมต่อกับสมาร์ทโฟนเพ่ือควบคุมการทำงานต่างๆ ของโทรศัพท์บริเวณมือ ไม้เท้ายังสามารถใช้ในการ
ติดตามอาการปว่ ยหรือบาดเจ็บของผ้ใู ชด้ ้วยวา่ มีอาการดีขนึ้ ในระดบั ใด
5. ผ้าอ้อมผู้สูงอายุที่มีเซ็นเซอร์อัจฉริยะ (Smartly.Sensored.Diapers) ผ้าอ้อมอัจฉริยะ
จะส่งสัญญาณเตือนว่าถึงเวลาต้องเปลี่ยนผ้าอ้อมแล้ว ซึ่งช่วยให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุทำงานได้ง่ายข้ึน
University.of.Tokyo.ไดพ้ ัฒนาแผน่ เซน็ เซอร์ที่มีความบางและยดื หยุ่น แบบใช้งานเสร็จแลว้ ทง้ิ ซึง่ ไม่
ทำใหผ้ ู้ใช้เจบ็ หรอื ระคายเคอื งใด
6. กระปุกใส่ยาท่ีเชื่อมตอ่ กับคลาวด์ (Cloud-Connected Pill Containers) กระปุก
ใส่ยาช่ือว่า Easypill.ท่ีสามารถช่วยให้แพทย์สามารถเช็คการรับประทานยาของผู้ป่วยสูงอายุ
จากระยะไกลได้ กระปุกจะแจง้ เตือนผปู้ ่วยว่าถึงเวลาทานยาแล้วโดยใช้แสงกระพริบและนาฬกิ าดิจทิ ัล
และยงั บอกด้วยว่าตอ้ งทานในปริมาณเท่าไหร่ ฝาของบรรจุภัณฑ์เช่ือมต่อกับระบบ cloud ซ่ึงนั่นช่วย
ให้แพทย์ติดตามการใช้ยาของผู้ป่วยได้อย่างง่ายดาย และตั้งให้แจ้งเตือนครอบครัวได้ด้วย ลูก หลาน
จึงสามารถเชค็ ไดว้ ่าผูส้ ูงอายุทานยาตรงตามเวลาหรอื ไม่
การพฒั นาองค์ความรดู้ ้านเทคโนโลยสี วู่ ิถชี วี ติ ใหม่ (New Normal) ของผสู้ งู วยั 34
+
การพฒั นาองค์ความรดู้ ้านเทคโนโลยสี วู่ ถิ ีชวี ิตใหม่ (New Normal) ของผู้สูงวยั 99
7..หอ้ งอาบนำ้ อจั ฉรยิ ะ (Smart.Shower.Systems) พัฒนาเพ่ือสูงอายุและผทู้ ่ีมนี ้ำหนัก
ตัวมากผิดปกติโดยเฉพาะ นวัตกรรมนี้จะช่วยให้คนชราหรือผู้ป่วยสามารถอาบน้ำได้ด้วยตัวเองเพียง
แค่เข้าไปยืนในห้องน้ำพิเศษนี้ ระบบจะแยกเป็นสองส่วนคือระบบช่วยอาบน้ำและระบบทำให้ตัวแห้ง
โดยข้อดีอีกอย่างของเคร่ืองอาบน้ำน้ีคือไม่จำเป็นต้องสร้างห้องน้ำใหม่ ตัวกล่องอาบน้ำสามารถนำไป
วางแม้กระทง่ั ห้องน้ำท่ีไมใ่ หญ่โตในอพาตเมนท์ในลอนดอนได้ และสามารถทำให้ผใู้ ชง้ านเข้าไปใชง้ าน
ได้งา่ ยโดยระบบประตบู านเลอื่ น รวมทง้ั มรี ะบบควบคุมอณุ หภมู ิของนำ้ อกี ด้วย
(1) (2) (3)
(4) (5) (6)
(7)
รปู ที่ 10 นวตั กรรมเพ่ือใหผ้ ู้สูงวัยมีคุณภาพชีวติ ท่ีดีขนึ้
การพัฒนาองค์ความรูด้ ้านเทคโนโลยสี วู่ ถิ ีชวี ิตใหม่ (New Normal) ของผูส้ งู วยั 35
+
การพัฒนาองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยสี วู่ ิถีชวี ติ ใหม่ (New Normal) ของผู้สูงวัย 99
สอ่ื รายการโทรทัศนเ์ กี่ยวกับผสู้ งู วยั
ในปี 2563 มีสื่อมากมายหลายประเภท เช่น โทรทัศน์ วิทยุ สิ่งพิมพ์ และสื่อสังคม
ออนไลน์ที่เป็นช่องทางเผยแพร่เร่ืองราวเกี่ยวกับผู้สูงอายุ และเพื่อสร้างความตระหนักรู้ให้กับผู้สูงวัย
และสามารถใชช้ วี ติ อย่ใู นสงั คมดจิ ิทัลอย่างมคี วามสขุ ดงั นี้
ร า ย ก า ร ป๋ า ซ่ า พ า ซ่ิ ง ร า ย ก า ร ส่ ง เส ริ ม
ความสัมพันธข์ องสองรุ่น คือ รุ่นใหม่กับรุ่นเก่า เป็นรายการ
เรียลบิต้ีที่ไม่มีสคริปต์ของดารารุ่นใหญ่ 4 คน และดารารุ่นลูก
2 คน เพอื่ เปน็ ไกด์ผนู้ ำทางทอ่ งเทยี่ วต่างประเทศ
ท่มี า : https://www.facebook.com/overflowersth/
รายการชาญชรา เป็นรายการท่ี
มุ่งเน้นสาระท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้สูงอายุท้ังในมิติ
สังคม เศรษฐกิจ สุขภาพ สิ่งแวดล้อมเทคโนโลยี
และนวัตกรรมรวมทั้งการนำเสนอสิทธิ และ
สวัสดิการในด้านต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับผู้สูงอายุ
ทเี่ พ่งิ ไดร้ บั
ท่มี า : https://leather20.com
รายการสูงวัยวาไรตี้ เป็นรายการที่เปิดพื้นที่การแชร์
เร่ืองราวที่เป็นประโยชน์ แลกเปลี่ยนและเรียนรู้ เพื่อ
เตรียมพร้อมสำหรับการก้าวสู่ช่วงชีวิตของผู้สูงอายุ อาทิ
เรื่อง การเงิน สุขภาพ ไลฟ์สไตล์ การท่องเทยี่ ว ส่ิงแวดล้อม
และเทคโนโลยี เพ่ือช่วยออกแบบชีวิต ก้าวสู่ Smart Life
ไปดว้ ยกนั
ที่มา : https://www.altv.tv/AgedVariety%C2%A0
รายการคลังปัญญาผู้สูงอายุ 4 ภาค เป็น
รายการทเ่ี ปดิ โอกาสให้ผู้สงู อายุในแตล่ ะภาคมาถ่ายทอด
ภูมิปัญญา เช่น การนวดแผนไทย การทอผ้า การแสดง
การทำอาหาร การทำการเกษตร
การพัฒนาองค์ความรดู้ ้านเทคโนโลยสี ู่วถิ ีชีวติ ใหม่ (New Normal) ของผู้สูงวยั 36
+
การพฒั นาองค์ความรดู้ า้ นเทคโนโลยีสวู่ ถิ ีชวี ิตใหม่ (New Normal) ของผูส้ ูงวัย 99
สอื่ facebook
สูงวัยเป็น เพจที่ถ่ายทอดประเด็นการวิจัยและ
รวบรวมความรู้เก่ียวกับผู้สูงวัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต
ด ำ เนิ น โ ด ย มู ล นิ ธิ ส ถ า บั น วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า ผู้ สู งวั ย ไท ย
ผตู้ ดิ ตามมากกว่า 15,000 คน
ทีม่ า : https://www.facebook.com/thaitgri/photos
มนุษย์ต่างวัย เพจท่ีถ่ายทอด
เร่ืองราวของผู้สูงอายุผ่านทาง Facebook
YouTube และ Instagram มีสโลแกน ว่า
วัยหรือใจท่ีทำให้เราห่างกันค้นหาคำตอบของ
การอยู่ร่วมกัน ของคนต่างวัยไป กับ เรา
ดำเนินการโดย บริษัทบุญมีฤทธิ์มีเดีย จำกัด
ผตู้ ิดตามมากกวา่ 550,000 คน ทมี่ า : https://www.facebook.com/thaitgri
คุณยายแกะกล่อง เพจท่ีถา่ ยทอดเรื่องราวของบล็อกเกอร์
รุ่นใหญ่ คุณยายปราณี อดีตครูสอนภาษาอังกฤษ ร่วมกับหลานชายปัณ
-ปาณศานต์ ทำเพจเพ่ือนำเสนอเรื่องราวที่น่ารักของสินค้า ของท่ี
จำเป็นของผู้สูงวัยและของใช้ท่ีคนสมัยใหม่ไม่ค่อยรู้จักผู้ติดตาม
มากกวา่ 42,000 คน
การพัฒนาองค์ความรดู้ ้านเทคโนโลยีสูว่ ถิ ีชวี ิตใหม่ (New Normal) ของผู้สงู วัย 37
+
การพฒั นาองค์ความรู้ดา้ นเทคโนโลยสี วู่ ถิ ชี วี ิตใหม่ (New Normal) ของผู้สงู วัย 99
สอ่ื แอปพลเิ คชัน
Young.Happy.แ อ ป พ ลิ เค ชั น ที่ ส่ งเส ริม วิส าห กิ จ
เพื่อสังคมในกลุ่มผู้สูงอายุ เพ่ือให้ผู้สูงอายุมีพลังที่ตนเองมือใหม่หัดขาย
ของออนไลน์ที่จะพามารูจ้ ักต้งั แตต่ น้ วา่ ช่องทางท่ีมีดีอยา่ งไร
ที่มา : https://play.google.com/store/apps
Gold by DOP แอปพลิเคชันที่ช่วยเตรียมความพร้อม
ในการเข้าสู่วัยสูงอายุส่งเสริมความเข้าใจในการดำรงชีวิตให้กับ
ผู้ ดู แ ล ผู้ สู ง อ า ยุ แ ล ะ ผู้ ส น ใจ น ำ เส น อ ข้ อ มู ล ข่ า ว ส า ร ส า ร ะ น่ า รู้
การเข้าถึงสิทธ์ิและสวัสดิการของผู้สูงอายุผู้สูงอายุสามารถติดต่อ
ขอความช่วยเหลือในสถานการณ์ที่ฉุกเฉนิ ไดท้ นั ที
ดำเนินการโดย : กรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงการ
พฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์
ท่ีมา : https://www.facebook.com/thaitgri
แอปพลิเคชันน้ีเป็นแอปพลิเคชันเพื่อใช้ประเมินความเสี่ยงต่อ
ก า ร เกิ ด ก ลุ่ ม อ า ก า ร สู ง อ า ยุ แ ล ะ แ น ว ท า ง ก า ร จั ด ก า ร โด ย ก า ร พั ฒ น า
แอพพลิเคชั่นเพ่ือให้ใช้เป็นเคร่ืองมือสำหรับบุคลากรทางการแพทย์และ
สาธารณสขุ ในการช่วยวเิ คราะหข์ ้อมลู สภาพสุขภาพของผสู้ ูงอายุได้อย่างดยี ่ิงข้ึน
เพอ่ื นำไปใช้ในการเตรียมแผนการดูแลรักษา
ดำเนินการโดย : สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชสังวรณ์
เพือ่ ผู้สงู อายกุ รมการแพทย์
ท่ีมา : https://elderlysociety.com/application-for-elderly/
แอปพลิเคชันน้ีมีไว้สำหรับเพ่ือเรียกรถพยาบาลในพื้นท่ีซ่ึง
ใกล้ที่พักอาศัยให้มารับท่ีบ้าน เป็นอีกหน่ึงแอปพลิเคชันที่ผู้สูงอายุควรมี
ไว้ติดเครอื่ งวิธกี ารใชง้ านหลงั จากดาวน์โหลดแอพแลว้ เพยี งแค่กรอกขอ้ มูล
ส่วนตวั ท่ีอยู่และเบอร์โทรตดิ ต่อเอาไวซ้ ่ึงหากต้องการแจ้งเหตุก็เพียงแค่กด
ท่ีวงกลมสีแดงท่ีมีข้อความว่ากดเพื่อเรียกรถพยาบาลนอก จากนั้นแล้ว
แอปพลิเคชันนี้ยังมีคู่มือประถมพยาบาลเบ้ืองต้นพี่ให้คุณเอาไว้ใช้ยาม
ฉกุ เฉิน
ท่ีมา : https://elderlysociety.com/application-for-elderly/
การพฒั นาองค์ความรดู้ า้ นเทคโนโลยีสู่วถิ ีชวี ติ ใหม่ (New Normal) ของผูส้ งู วัย 38
+
การพัฒนาองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีสวู่ ถิ ีชีวิตใหม่ (New Normal) ของผู้สงู วัย 99
ส่ือ ยทู บู
“ยายชมภู” จากช่อง Chompoo Sangchan ยายชมภู อดีตพนักงานป๊ัม แต่ไปได้
ดิบได้ดีถึงต่างแดนและชอบการรีวิวอาหาร
แบบแซ่บถึงพริกถึงขิง ด้วยเสน่ห์ที่เป็น
เอกลักษณ์ของชาวอีสาน ทำให้แต่ละคลิป
เรียกเสยี งฮาไดท้ กุ ครง้ั ไป
“จเ้ี พก๊ ” จากช่อง Neophuket Food Channel อาม่าคุณแม่ ดเี จเพชรจ้า ทำกจิ กรรมล้ำๆ
สร้างรอยยิ้ม และเสียงหัวเราะให้ความสุข
กบั ผชู้ มทกุ คร้งั ไป
“เกษียณสำราญ” จากช่อง Happy Retire แก็งค์คณุ แม่ดารา 4 ท่าน มาร่วมกัน
“ป้าลินจง” จากชา่ งภาพ Portrait ทำคอนเทนตแ์ นวไลฟ์ผ้สู ูงวัย ชอปปิ้ง เท่ียว
กิน ไหวพ้ ระ แบบกันเอง สบายๆ
เป็นช่องที่ลูกชายทำให้คุณแม่แห่งเมือง
ภูเก็ตได้ถ่ายทอดสารพัดเมนูโบราณอาหาร
พื้นบ้าน พร้อมกับสูตรอาหารดีดี เพ่ือให้
อาหารไม่สูญหาย
การพัฒนาองค์ความรดู้ า้ นเทคโนโลยสี ูว่ ถิ ชี ีวิตใหม่ (New Normal) ของผ้สู งู วยั 39
+
การพฒั นาองค์ความรู้ดา้ นเทคโนโลยีสวู่ ถิ ชี ีวิตใหม่ (New Normal) ของผู้สงู วัย 99
6. ผู้ข้อควรระวังในการใช้เทคโนโลยขี องผสู้ งู วัย
กฎขอ้ ควรระวงั กอ่ นเข้าใชเ้ ครือขา่ ยในคอมพิวเตอร์มี 2 ข้อคือ
1. ถ้าคอมพวิ เตอรม์ ีโอกาสถูกขโมย ใหป้ ้องกันโดยการล็อค.(Lock).ขอ้ มูลตา่ งๆ
2. ถา้ ไฟล์มีโอกาสท่ีจะถกู ทำลาย ใหป้ อ้ งกนั ดว้ ยการสำรอง (Backup)
ในสังคมอินเทอร์เน็ตน้ันมีท้ังคนดีและคนไม่ดี เช่นเดียวกับสังคมทั่วไปผู้ท่ีไม่ระมัดระวัง
จงึ อาจถกู ล่อลวงไปในทางทีผ่ ิดหรือก่อให้เกิดอันตรายได้ ฉะนั้นผ้สู ูงวยั ควรเรียนรปู้ ญั หาและวธิ ีป้องกัน
ตนเองจากภยั อนั ตรายเหลา่ นจี้ ากผู้ใชอ้ ินเทอร์เนต็ ควรยึดถือปฏิบัติ ดังน้ี
1. ไม่ควรบอกข้อมูลส่วนตัว เช่น ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ เลขที่บัญชี ของตนให้แก่บุคคลอ่ืน
ท่ีรู้จักกันทางอินเทอรเ์ น็ต
2..หากพบข้อความหรือรูปภาพใดๆ บนอินเทอร์เน็ตท่ีมีลักษณะหยาบคายหรือ
ไม่เหมาะสมควรแจง้ ให้
หน่วยงาน บก.ปอท. (กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเก่ียวกบั อาชญากรรม
ทางเทคโนโลยี) ทราบทันที
3. ไม่ควรไปพบบุคคลใดก็ตามที่รู้จักทางอินเทอร์เน็ต แต่ควรไปพร้อมกับเพื่อน หรอื ญาติ
หรือลูกหลาน และควรไปพบกันในทส่ี าธารณะ
4. ไม่ส่งรูปหรอื สิ่งใดๆ ใหบ้ ุคคลท่ีรู้จักทางอินเทอร์เนต็
5. ไมต่ อบคําถามหรือต่อความกับผทู้ สี่ ่ือข้อความหยาบคาย
6..ควรเคารพต่อข้อตกลงในการใช้อินเทอร์เน็ต เช่น กำหนดระยะเวลาในการใช้
อินเทอรเ์ นต็ เวบ็ ไซต์
การพัฒนาองค์ความร้ดู ้านเทคโนโลยสี ู่วิถีชวี ติ ใหม่ (New Normal) ของผูส้ ูงวัย 40
+
การพฒั นาองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีส่วู ิถชี ีวิตใหม่ (New Normal) ของผสู้ งู วยั 99
แนวทางการปอ้ งกัน
1) บตั รเครดติ และการแอบอ้าง
- ให้หมายเลยบตั รเครดิตเฉพาะบริษัททีท่ ่านไว้วางไดเ้ ทา่ นน้ั
- ใชเ้ ฉพาะเวบ็ ไซต์ท่ีมรี ะบบรกั ษาความปลอดภัย เช่น https:/
- ใชร้ หัสผา่ นอย่างนอ้ ย 10 ตัวอกั ขระ (ควรผสมกันระหว่างตวั อักษรและตัวเลข)
- ใช้รหสั ผ่านทแี่ ตกต่างกนั ในแตล่ ะระบบหรือเว็บไซต์
2) การปัองกันข้อมูลส่วนบุคคล พจิ ารณาอย่างรอบคอบก่อนการใหข้ ้อมลู สว่ นตวั
3) การป้องกันการติดตามการท่องเว็บไซต์ ใช้โปรแกรม เช่น SurfSecret เพ่ือป้องกันการติดตามการ
ท่องเว็บไซต์ โปรแกรมจะทำงานคล้ายกับโปรแกรมป้องกันไวรัส และลบข่าวสาร/โฆษณาท่ีเกิดข้ีน
เมอ่ื ผู้ใชท้ อ่ งเว็บไซต์
4) การหลกี เลีย่ งสแปมเมล
5) การป้องกนั ระบบคอมพวิ เตอร์และเครือขา่ ย ใชไ้ ฟรว์ อลล์ (Firewall) ทเี่ ปน็ อาร์ดแวร์หรือ
ซอฟตแ์ วรเ์ พ่ือทำหน้าทเี่ ป็นยามประตตู รวจสอบการเข้าระบบ
6) การป้องกนั ไวรัสคอมพิวเตอร์
แนวทางการใชไ้ อทอี ย่างปลอดภัยสำหรับผสู้ ูงอายุ
การใช้งานไอทีเป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ และส่งผลกระทบต่อผู้สูงอายุ
โดยเฉพาะอย่างย่ิงการใช้งานไอทีผ่านสมาร์ทโฟนที่มักมีแอพพลิเคชั่นจำนวนมาก ให้เลอื กติดต้ังได้ฟรี
ภายใต้เงื่อนไขบางประการ ซ่ึงหลายคนมกั ละเลยในการอ่านเงื่อนไขเหล่านี้ การใช้ไอทีอย่างปลอดภัยนั้น
ผูส้ งู อายงุ านจำเปน็ ต้องเข้าใจในประเดน็ ต่างๆ ดงั นี้
• ศกึ ษาเง่อื นไขและข้อตกลง ก่อนการติดต้ังหรอื ใชง้ านไอที
• มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ และความสามารถในการใชไ้ อที เพือ่ ใหใ้ ช้งานได้อย่างถูกต้อง และมี
ประสทิ ธิภาพ
• ไม่ใชบ่ ัญชีผูใ้ ชร้ ว่ มกับผู้อนื่ เน่ืองจากไม่สามารถควบคุมความปลอดภยั ได้ และเส่ียงต่อการร่วั ไหล
ของรหสั ผ่านและข้อมูลสว่ นตวั
• สำรองข้อมลู อย่างสม่ำเสมอ และเก็บไวห้ ลายแหล่ง โดยเมื่อมีเหตุการณ์ท่ีทำให้ไฟล์ข้อมูเสียหาย
เชน่ ข้อมูลโดนไวรสั ทำลาย เครื่องคอมพวิ เตอร์เสียหาย สามารถนำข้อมูลที่สำรองไว้มาใช้งานได้
• ตดิ ต้ังซอฟต์แวร์เท่าทจ่ี ำเป็น และไม่ตดิ ตง้ั โปรแกรม ทดี่ าวนโ์ หลดจากแหล่งทไ่ี มน่ ่าเชอ่ื ถือ
เพื่อป้องกนั มัลแวรท์ แ่ี ฝงมากับโปรแกรม
• เขา้ ใจกฎ กติกา และมารยาททางสังคมในการใชง้ านไอที ซึ่งเป็นสิ่งจำเปน็ ในการใช้งานไอที
เพราะจะชว่ ยป้องกนั ปัญหาต่างๆ ทีอ่ าจเกิดขึ้นได้โดยไม่ต้ังใจ เชน่ การเรียนรู้การใช้อักษรย่อ
การใชส้ ัญลกั ษณต์ ่างๆ
• หลกี เลีย่ งการใชง้ านเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสมหรือไม่แน่ใจวา่ เป็นของหนว่ ยงานใด
การพฒั นาองค์ความรดู้ า้ นเทคโนโลยีสวู่ ถิ ีชีวิตใหม่ (New Normal) ของผสู้ ูงวัย 41
+
การพฒั นาองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีสวู่ ถิ ีชีวติ ใหม่ (New Normal) ของผสู้ ูงวัย 99
• ปรับปรุงระบบปฏิบัติการและโปรแกรมต่างๆ ให้ทันสมัยอยู่เสมอ เช่น โปรแกรมแก้ไข
จุดบกพร่องของระบบปฏิบัติการท่เี รยี กวา่ อพั เดท หรือ แพทช์ โปรแกรมปอ้ งกันไวรัสซ่ึงโปรแกรม
จะมีการเพิ่มเติมความสามารถในการป้องกันไวรัสใหม่ๆ ทำให้อุปกรณ์และข้อมูลใช้งานได้
อยา่ งปลอดภัย
• สังเกตส่ิงผิดปกติที่เกิดจากการใช้งาน เช่น มีโปรแกรมแปลกปลอมปรากฏขึ้นได้รับอีเมล
จากคนที่ไม่รู้จัก หรือเข้าเว็บไซต์ที่คุณเคยแต่มีบางส่วนของ.URL.หรือหน้าเว็บท่ีเปล่ียนไป
ให้ตรวจสอบและหาข้อมลู เพม่ิ เติม จนกวา่ จะม่ันใจกอ่ นการใช้งาน
• ระวงั การใช้งานไอทีเม่ืออยู่ในที่สาธารณะ เช่น ไมเ่ ชอื่ มตอ่ .WIFI.โดยอัตโนมัติ ไม่จดจอใช้งาน
โทรศัพท์เคล่ือนท่ีโดยไม่สนใจสิ่งที่เกิดข้ึนรอบตัว ซึ่งอาจตกเป็นเหย่ือมิจฉาชีพหรือทำให้เกิด
อุบตั เิ หตุได้
การพัฒนาองค์ความรดู้ ้านเทคโนโลยีสู่วิถชี วี ติ ใหม่ (New Normal) ของผ้สู ูงวัย 42
+
การพฒั นาองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีสู่วถิ ชี วี ิตใหม่ (New Normal) ของผูส้ ูงวยั 99
บรรณานุกรม
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์, สํานักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ. 2547.
พระราชบัญญัตผิ สู้ งู อายุ พ.ศ. 2546. กรงุ เทพฯ : เจ เอส การพิมพ์.
กระทรวงสาธารณสุข. 2564. วิธีปฏิบัตหิ ากใชห้ น้ากากผา้ .คลงั ความร้สู ุขภาพ.
เขมรัฐ ทรงอยู่. 2558. "New Normal" หรือ "ความปกติในรูปแบบใหม่". นิตยสารการเงินธนาคาร
ฉบบั เดือนพฤษภาคม 2558.
จิตติยา สมบัติบูรณ์. 2562. ความสุขของผู้สูงอายุไทยในยุค Thailand 4.0. วารสารวิทยาลัยพยาบาล
พระปกเกลา้ จันทบรุ ี ปีท่ี 30 (น. 219 – 228).
ชมพูนุท พรหมภักด์ิ. 2556. บทความทางวิชาการการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย. สำนักวิชาการ
สำนักงานเลขาธิการวฒุ ิสภา. ปีที่ 3 ฉบับท่ี 16. หน้า 1-7.
ชำนาญ เชาวกีรติพงศ์. 2534. แนวคิดเก่ียวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย. เอกสารประกอบการ
สอนวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี องไทย. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสโุ ขทยธรรมาธิราช.
ธรรมนูญ โรจนะบุรานนท์. 2531. นโยบายและผลกระทบทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อการพัฒนา
ประเทศ, ธรรมชาติวิทยา. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พช์ วนพมิ พ์.
ธรี ยทุ ธ วไิ ลวลั ย.์ 2564. การใชเ้ จลล้างมือแอลกอฮอลล.์
ปรีชา อุปโยคิน และคณะ. 2541. ไม้ใกล้ฝั่ง สถานภาพและบทบาทของผู้สูงอายุ. โครงการศึกษาวิจัยครบ
วงจรเร่ืองผสู้ ูงอายใุ นประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล.
ผดุ งยศ ดวงมาลา. 2523. การสอนวิทยาศาสตรระดั บมั ธยมศึ กษา. คณ ะศึ กษาศาสตร
มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์.
มาลี บุญศิริพันธ์. 2563. นิยามของวิถีชวี ิตใหม่ (New Normal). ราชบณั ฑิตยสภา.
เยน็ ใจ เลาหวณิช. 2530. ความหมายของเทคโนโลยี. วารสารประชากรศกึ ษา, 20(3), หน้า 11-12.
ราชบัณฑิตยสถาน.2546 . ความหมายของเทคโนโลยี. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542.
กรงุ เทพฯ : นานมีบคุ๊ ส์ พับลิเคช่ันส.์
วรรษมน จันทรเบญจกุล. 2564. ขั้นตอนการล้างมือให้สะอาดปราศจากโรค. โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
สภากาชาดไทย.
สำนักงานสถติ แิ ห่งชาติ. (2557). การสำรวจประชากรผู้สงู อายุในประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: เท็กซ์ แอนด์ เจอร์
นัล พบั ลเิ คชน่ั .
สิปปนนท์ เกตุทัต. 2541. รายงานผลการสัมนาเร่ือง แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 8, หนทางสู่
ความหวังและอนาคตของชาต.ิ กรุงเทพ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ.
สุพาพร เทพยสุวรรณ . 7 วิธีอยู่ร่วมกับผู้สูงวัยอย่างมีความสุข (ออนไลน์ ). เข้าถึงได้จาก
https://mgronline.com/qol/detail/9630000071266, 12 ก.ค. 2563.
การพฒั นาองค์ความรู้ดา้ นเทคโนโลยสี ู่วถิ ชี ีวิตใหม่ (New Normal) ของผ้สู งู วัย 43
+
การพฒั นาองค์ความรดู้ า้ นเทคโนโลยสี ู่วถิ ีชวี ิตใหม่ (New Normal) ของผู้สูงวัย 99
ขอขอบคณุ
ท่ปี รกึ ษา พลู สิทธ์ิ ผอู้ ำนวยการสำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 4
นางรชธร
คณะผจู้ ดั ทำ
กลุ่มการวจิ ัยและการพัฒนาระบบเครือขา่ ย สำนักงานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 4
1. นางสาวขนษิ ฐา ตรากลาง หวั หน้ากลมุ่ การวจิ ยั และการพฒั นาระบบเครือขา่ ย
2. นางสาวปยิ ะนนั ท์ โอปนพนั ธ์ุ นักพัฒนาสงั คมปฏิบัติการ
3. นางสาวชตุ ภิ า บุตรสินธ์ุ นักพัฒนาสังคมปฏบิ ตั ิการ
4. นางสาวอารยา จา่ โนนสูง นกั พัฒนาสงั คม
5. นางสาวณภัทร แสวงผล พนักงานบรกิ าร
6. นางฉววี รรณ สงั กัดกลาง พนักงานบริการ