The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับตนเองและครอบครัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เจอร์เนส แบงค์, 2022-06-03 23:02:07

กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับตนเองและครอบครัว

กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับตนเองและครอบครัว

กฎหมายแพง่ เกี่ยวกับตนเองและครอบครวั

เนื้อหาประกอบดว้ ย

- กฎหมายเกี่ยวกบั ตนเอง เชน่ บุคคล ทรพั ย์สิน ละเมิด
- กฎหมายครอบครวั และมรดก เชน่ หม้นั สมรส และมรดก

กฎหมายแพ่งเกีย่ วกบั ตนเองและครอบครัว

ความรเู้ บื้องต้นเกย่ี วกบั กฎหมายแพง่

• กฎหมายแพง่ ถือเป็นกฎหมายเอกชน มีความเก่ยี วข้องในชีวติ ของเราทกุ คน
• ในคดีแพ่งน้ัน สามารถยอมความกันได้ ขึ้นอยู่การตกลงของคู่กรณี ซึ่งต่าง

จากกฎหมายอาญา เพราะแม้คกู่ รณจี ะไม่เอาความ กฎหมายก็ลงโทษได้
• เนอ้ื หาในประมวลกฎหมายแพง่ จะว่าด้วยเรอ่ื งต่าง ๆ ดงั น้ี

บุคคล ครอบครัว ทรพั ย์สิน นติ กิ รรม สัญญา

กฎหมายแพง่ เก่ยี วกบั ตนเองและครอบครัว

กฎหมายว่าดว้ ยเร่ืองบคุ คล

กฎหมายทเี่ ก่ียวกบั บคุ คล ได้แก่

- กฎหมายที่รับรองให้เรามีสภาพบุคคล คือ ให้เราเป็นผู้มีความสามารถและ
สามารถใช้สทิ ธิ หนา้ ท่ี และความรับผดิ ชอบตา่ งๆ ตามกฎหมายได้

- สภาพบุคคลเริ่มต้ังแต่เมื่อคลอดจากครรภ์มารดาแล้วอยู่รอดเป็นทารกและ
ส้ินสุดลงเม่ือตาย ทารกที่อยู่ในครรภ์มารดายังไม่มีฐานะเป็นบุคคล แต่กฎหมายจะ
คมุ้ ครองเป็นพเิ ศษผู้ใดทาลายย่อมมคี วามผดิ ฐานทาให้แท้งลูก

- นติ บิ ุคคลเร่มิ ตน้ เมอ่ื จดทะเบยี นและส้นิ สุดเมือ่ จดทะเบยี นเลิก

กฎหมายแพง่ เกย่ี วกบั ตนเองและครอบครัว

กฎหมายว่าดว้ ยเรื่องบคุ คล

กฎหมายจาแนกบคุ คลออกเป็น ๒ ประเภท ดังนี้

• บุคคลธรรมดา บุคคลธรรมดา นิตบิ ุคคล
• นิตบิ คุ คล
คือ บุคคลที่กฎหมายบัญญัติรับรองให้มีสภาพ
คือ มนุษย์ท่ีคลอดจากครรภ์มารดาแล้วอยรู่ อด เป็นบุคคลได้ แม้ไม่ใช่บุคคล เช่น กระทรวง
เป็นทารก และสภาพบุคคลสน้ิ สุดลงเมอ่ื ตาย กรม องค์การมหาชน บริษัท สมาคม สหกรณ์
กลุ่มเกษตรกร กองทรพั ย์สนิ มูลนธิ ิ

กฎหมายแพ่งเกีย่ วกบั ตนเองและครอบครัว

กฎหมายว่าด้วยเรอื่ งบคุ คล

๑. การกาหนดตัวบุคคล กฎหมายมีวิธีการกาหนดตัวบุคคลเพื่อให้เกิด

ความชัดเจนว่าใครเป็นใคร และมีบทบาททางกฎหมายในสังคมได้เพียงใด
ซึ่งสิ่งทนี่ ามาใช้กาหนดตวั บุคคล ได้แก่

๑. ชอื่ บคุ คล ๒. ภูมลิ าเนา ๓. สถานะ ๔. ความสามารถ
ตามพระราชบญั ญัติ คือ ที่อยู่ประจา ความเป็นอยู่ เช่น คือ บุคคลมสี ิทธิและ
ชอ่ื บุคคล พ.ศ. ๒๕๐๕ และแนน่ อน ปรากฎใน สญั ชาติ การสมรส ความรบั ผดิ ชอบทาง
ทะเบียนบา้ น กฎหมายเพียงใด
ผู้เยาว์ บุตร

กฎหมายแพ่งเก่ียวกับตนเองและครอบครัว

กฎหมายวา่ ด้วยเรอ่ื งบคุ คล

อธบิ ายเพ่มิ เตมิ เรือ่ ง ความสามารถของบคุ คล แบง่ ได้ ๓ กรณี

๑. ผูเ้ ยาว์

- ผูเ้ ยาว์ คือ ผ้ทู ่ียังไม่บรรลุนติ ภิ าวะ
- ผเู้ ยาวบ์ รรลุนติ ภิ าวะเมอ่ื มีอายุ ๒๐ ปบี ริบูรณห์ รือทาการสมรสจดทะเบียนอยา่ งถกู ตอ้ ง
- ผู้เยาว์ มีผู้ดูแลเรียกว่า ผู้แทนโดยชอบธรรม คาวา่ ผูแ้ ทนโดยชอบธรรมแบง่ เป็น ๒ อย่าง คือ
ผู้ใช้อานาจปกครอง คอื บิดา มารด และผู้ปกครอง คือ กรณผี ใู้ ช้อานาจปกครองถูกถอนจะมีการตงั้ ข้นึ มาใหม่

กฎหมายแพ่งเก่ยี วกบั ตนเองและครอบครัว

กฎหมายวา่ ด้วยเรอ่ื งบคุ คล

อธบิ ายเพิม่ เตมิ เรอ่ื ง ความสามารถของบคุ คล แบ่งได้ ๓ กรณี

๑. ผู้เยาว์ (ตอ่ )

-ผู้เยาว์ทานิติกรรมใด ต้องได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน หากปราศจากความยนิ ยอม
จากผูแ้ ทนโดยชอบธรรม ถอื เป็นโมฆยี ะ

- นิติกรรมท่ีผู้เยาว์ทาเองได้โดยไม่ต้องขอคายินยอม เช่น รับการให้โดยเสน่หา เจ้าหนี้ปลดหนี้ให้ผู้เยาว์
โดยไม่มีเงือ่ นไข รับรองบตุ ร สมรส กระทาการสมแก่ฐานานรุ ูปแห่งตน

- ผ้เู ยาวอ์ าจทาพินยั กรรมไดเ้ ม่อื อายุ ๑๕ ปี ทาพินยั กรรมก่อน ๑๕ ปเี ปน็ โมฆะ

กฎหมายแพ่งเกยี่ วกบั ตนเองและครอบครวั

กฎหมายว่าด้วยเร่ืองบคุ คล

อธบิ ายเพ่ิมเตมิ เร่ือง ความสามารถของบุคคล แบง่ ได้ ๓ กรณี

๒. คนไร้ความสามารถ

- คนไร้ความสามารถ คือ บุคคลวิกลจริต ซึ่งไม่มีสติสัมปชัญญะ บ้าถาวร ต้องเป็นศาลส่ังเท่าน้ัน จึงจะ
ไร้ความสามารถ หากคนวกิ ลจริตไมถ่ ูกศาลสงั่ ก็ทานิติกรรมได้ตามปกติ ต้องให้ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา

- คนไรค้ วามสามารถ จัดอยู่ในความดแู ลของคนทีศ่ าลส่งั เรียกวา่ ผ้อู นบุ าล
- คนไรค้ วามสามารถทานติ กิ รรมอะไรไม่ไดเ้ ลย เปน็ โมฆยี ะทั้งหมด
- คนไร้ความสามารถทาพนิ ัยกรรม และ สมรส จะเป็นโมฆะ

กฎหมายแพ่งเกย่ี วกบั ตนเองและครอบครวั

กฎหมายวา่ ดว้ ยเรอ่ื งบคุ คล

อธิบายเพ่มิ เตมิ เรือ่ ง ความสามารถของบุคคล แบ่งได้ ๓ กรณี

๓. คนเสมือนไร้ความสามารถ

- คนเสมือนไร้ความสามารถ คือ ไม่ถึงกับวิกลจริต แต่มีกายพิการ จิตฟั่นเฟือน ประพฤติสุรุ่ยสุร่าย
ตดิ สุรายาเมา จนหรือจัดกจิ การไปในทางทอี่ าจจะเส่ือมเสียแก่ทรพั ยส์ ินของตนเองหรอื ครอบครวั

- ผดู้ ูแลคนเสมือนไร้ความสามารถเรยี กว่า ผพู้ ิทักษ์
- คนเสมือนไรค้ วามสามารถทานิตกิ รรมเองไดท้ วั่ ไป โดยมีผลสมบรู ณ์

กฎหมายแพ่งเกยี่ วกบั ตนเองและครอบครัว

กฎหมายวา่ ด้วยเรื่องบคุ คล

๒. หลกั ฐานแสดงตวั บุคคล

- พระราชบัญญัติบัตรประจาตัวประชาชน (ฉบับท่ี ๓)
พ.ศ. ๒๕๕๔

- กาหนดให้บุคคลสัญชาติไทยอายุต้ังแต่ ๗ ปีบริบูรณ์
ขึน้ ไป แต่ไมเ่ กิด ๗๐ ปบี รบิ ูรณ์ ต้องมบี ัตรประจาตวั ประชาชน

เพื่อเป็นเอกสารสาคัญในการใช้พิสูจน์ตัวบุคคล
ภมู ลิ าเนา และสถานะบางอยา่ งของบุคคล

กฎหมายแพ่งเกยี่ วกบั ตนเองและครอบครวั

กฎหมายเรอ่ื งทรพั ยส์ นิ

๑. ความหมายของทรัพย์สนิ

- ทรพั ย์ คือ วัตถุมรี ปู ร่าง ไม่จาเปน็ ตอ้ งใหญห่ รอื เล็ก
- ทรัพย์สิน คือ ทรัพย์และวัตถุไม่มีรูปร่าง ซ่ึงอาจมี
ราคาและอาจถือเอาได้ กาหนดวิธีได้มา ตลอดจนรับรอง
สทิ ธิต่าง ๆ ในสิง่ นัน้

นอกจากนี้ทรพั ยส์ นิ ยงั รวมถึงสทิ ธิตา่ ง ๆ เช่น
สทิ ธิบัตร ลิขสทิ ธิ์ กรรมสทิ ธ์ิ เป็นตน้

กฎหมายแพ่งเกยี่ วกับตนเองและครอบครวั

๒. ประเภทของทรัพยส์ ิน กฎหมายเร่อื งทรัพย์สิน

กฎหมายได้แบ่งทรัพย์สินและประโยชน์เก่ียวกับ ๒.๑ สังหาริมทรพั ย์
ทรพั ย์สินออกเป็นหลายประเภท ทสี่ าคญั ได้แก่
• ทรัพย์สินที่สามารถเคลอ่ื นย้ายได้ ไม่ติดอยู่กบั พน้ื ดิน
๒.๑ สงั หารมิ ทรัพย์ • รถยนต์ เครอื่ งใช้ในครัวเรือน เสื้อผ้า เคร่อื งประดับ
๒.๒ อสงั หาริมทรพั ย์ • สิทธิในสังหาริมทรัพย์ เช่น สิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ ก็จัดว่า

เปน็ สังหารมิ ทรพั ย์ดว้ ยเช่นกัน

กฎหมายแพง่ เกย่ี วกบั ตนเองและครอบครวั

๒. ประเภทของทรัพย์สนิ กฎหมายเร่อื งทรพั ย์สนิ

กฎหมายได้แบ่งทรัพย์สินและประโยชน์เก่ียวกับ อสงั หาริมทรัพย์ คือ ทรัพย์เคล่ือนทไี่ มไ่ ด้ ได้แก่
ทรัพยส์ ินออกเปน็ หลายประเภท ท่ีสาคัญ ไดแ้ ก่ - ที่ดินและทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินมีลักษณะเป็น

๒.๒ อสังหารมิ ทรัพย์ การถาวร เช่น บา้ น ไมย้ นื ตน้ อายุเกิน ๓ ปี
- ทรัพยท์ ีป่ ระกอบเป็นอันเดียวกับที่ดิน เช่น กรวด

หนิ ดนิ ทราย แร่ธาตุ ทอง ดบี ุก
- ทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับท่ีดิน เช่น สิทธิจานอง

สทิ ธเิ กบ็ กิน สิทธอิ าศัย สิทธิเหนือพืน้ ดนิ

กฎหมายแพ่งเก่ียวกับตนเองและครอบครวั

สาระน่ารู้ กฎหมายเรอื่ งทรัพยส์ ิน

“สังหาริมทรัพยช์ นดิ พิเศษ”

สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ หมายถึง ทรัพย์ท่ี
กฎหมายได้กาหนดให้ลักษณะพิเศษกว่าสังหาริมทรัพย์
ท่ัวไป ได้แก่

- เรือกาปัน่ มีระวางตงั้ แต่ ๖ ตันขน้ึ ไป
- เรือกลไฟ หรือเรอื ยนตร์ ะวางต้งั แต่ ๕ ตนั ขึ้นไป
- แพ และสัตวพ์ าหนะ ชา้ ง ม้า ววั ควาย ลา ลอ่

กฎหมายแพง่ เกยี่ วกับตนเองและครอบครัว

๓. สทิ ธใิ นทรัพย์สนิ กฎหมายเร่อื งทรัพยส์ ิน

คือ ประโยชนที่บุคคลมีอยู่ในทรัพย์สิน ซึง่ สิทธิที่สาคัญ ๑. ได้มาโดยบทบญั ญัตขิ องกฎหมาย
ไดแ้ ก่ กรรมสิทธิ์ หมายถึง สิทธิในการเป็นเจ้าครอง มีสิทธิ เช่น พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ กฎหมายโอนสาธารณ
ครอบครองในทรัพย์นั้น สามารถใช้สอย จ่ายโอน ขัดขวาง
มิให้ผู้อืน่ มายงุ่ ในทรพั ยไ์ ด้ สมบตั แิ ผน่ ดินหรือท่ธี รณสี งฆ์
๒. ไดม้ าโดยผลของนิตกิ รรมและสัญญา
บุคคลมีสทิ ธใิ นทรพั ยม์ าจาก ๒ กรณี ดงั นี้
เช่น ได้โดยการรับมรดก ซื้อทรัพย์สินตามสัญญาซอ้ื ขาย
๑. บทบัญญัติกฎหมาย ผูเ้ ชา่ ได้สทิ ธิตามสัญญาเชา่
๒. โดยผลของนติ กิ รรม

กฎหมายแพง่ เก่ียวกบั ตนเองและครอบครัว

กฎหมายเร่ืองละเมิด

หลกั ของละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชยว์ า่ - ละเมิดเป็นกฎหมายท่ีป้องกันการก่อความเสียหายแก่
“ผใู้ ดกระทาต่อบุคคลอื่นโดยผดิ กฎหมายใหเ้ ขาได้รับ สิทธแิ ละเสรภี าพของผอู้ น่ื
- การละเมิดบางกรณีอาจเป็นความผิดทางอาญาด้วย เช่น
ความเสียหายไม่ว่าแก่ชีวิต ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ การทาให้ทรัพย์สินของผู้อ่ืนเสียหายโดยเจตนา มีสิทธิ
ทรัพย์สิน หรือสิทธิอยา่ งใดอย่างหน่ึง จะโดยจงใจหรือโดย เรียกร้องค่าเสียหายและอาจฟ้องให้ผู้กระทาผิดได้รับโทษ
ประมาทเลินล่อก็ตาม ผู้นั้นได้ชื่อว่าทาละเมิด จะต้องใช้ค่า ทางอาญาดว้ ย
สนิ ไหมทดแทนใหแ้ ก่ฝ่ายที่ไดร้ ับความเสยี หาย”

กฎหมายแพ่งเก่ยี วกบั ตนเองและครอบครวั

๑ การหมั้น กฎหมายเกยี่ วกับครอบครวั

คอื การทาสญั ญาระหว่างชายกบั หญงิ วา่ จะสมรสกัน
โดยฝา่ ยชายได้มอบของหม้นั ไว้ใหแ้ ก่ฝ่ายหญิงเพื่อเปน็ ประกนั

หมัน้ ทง้ั ฝา่ ยชายและหญงิ อายคุ รบ ๑๗ ปบี ริบรู ณ์ ตอ้ งมีหากผเู้ ยาวต์ อ้ งได้รับความยินยอม

ของหมนั้ จะตกเป็นสินส่วนตัวของฝ่ายหญิง

การผิดสญั ญาหมน้ั สามารถเรียกค่าทดแทนได้ แตจ่ ะให้ศาลบังคบั สมรสไม่ได้

กฎหมายแพง่ เกี่ยวกับตนเองและครอบครวั

กฎหมายเกยี่ วกับครอบครวั

๑ การหมนั้ (ต่อ)

- การหม้ันเป็นโมฆะ เมื่อท้ัง ๒ ฝ่ายหรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอายุไม่ถึง ๑๗ ปีบริบูรณ์
- การหมนั้ เป็นโมฆยี ะ เมอื่ ผเู้ ยาว์หมัน้ โดยไมไ่ ดร้ บั ยนิ ยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม
- การหม้ันจะสมบูรณ์เมื่อฝ่ายชายได้ส่งมอบหรือโอนของหม้ันให้แก่หญิง ในวัน
หมัน้ หากใหใ้ นวนั อ่นื ไมถ่ อื วา่ เป็นของหมั้น
- การผิดสัญญาหม้ัน ถ้าฝ่ายชายผิด หญิงไม่ต้องคืนของหมั้น แต่ถ้าฝ่ายหญิงผิด
หญิงตอ้ งคืนของหม้ัน

กฎหมายแพ่งเกีย่ วกับตนเองและครอบครัว

กฎหมายเก่ยี วกบั ครอบครวั

๒ การสมรส

- การสมรสจะทาไดก้ ต็ อ่ เมื่อชายและหญิงมอี ายุ ๑๗ ปี หากตา่ กวา่ นี้ต้องศาลสงั่
หากฝ่าฝืนถอื วา่ เปน็ โมฆยี ะ
- การสมรสตอ้ งจดทะเบยี น ถ้าจัดงานแต่งแตไ่ มจ่ ดทะเบียนถอื วา่ ไมม่ ีการสมรส
- การสมรสห้ามเปน็ คนวิกลจริตหรอื คนไร้ความสามารถ มฉิ ะน้ันเป็นโมฆะ
- ห้ามเปน็ ญาติสืบสายโลหติ กนั โดยตรง มฉิ ะนนั้ เป็นโมฆะ
- ผู้รับบุตรบญุ ธรรมและบุตรบุญธรรม สมรสกนั ได้เม่อื เลกิ ความสมั พันธด์ า้ นบตุ รกัน
- ชายหรือหญงิ จะทาการสมรสในขณะที่มคี สู่ มรสอยู่แล้วไมไ่ ด้

กฎหมายแพ่งเกีย่ วกับตนเองและครอบครวั

กฎหมายเก่ียวกับครอบครวั

๒ การสมรส (ตอ่ )

- หญิงทเ่ี คยสมรสแลว้ จะสมรสใหม่ได้ตอ่ เมอื่ การสมรสคร้งั ก่อนสิ้นสดุ ลงไม่นอ้ ยกวา่ ๓๑๐ วัน
ยกเวน้ ในกรณีตอ่ ไปน้ีสามารถสมรสได้

๑. คลอดบตุ ร ๒. สมรส ๓. มใี บรบั รอง ๔. มคี าส่งั ศาล
แล้วระหว่างน้นั กับคู่สมรสเดมิ แพทยว์ า่ ไมม่ ี ใหส้ มรสได้

บุตร

กฎหมายแพ่งเกย่ี วกับตนเองและครอบครัว

กฎหมายเกี่ยวกบั ครอบครัว
๓ ความสมั พนั ธท์ างครอบครวั

เมอ่ื ชายหญงิ ทาการจดทะเบียนสมรสกนั แลว้ ยอ่ มมคี วามสมั พันธ์ทางกฎหมาย ดังนี้
๑. ต้องอยู่กนิ กันฉันสามภี รรยา อปุ การะช่วยเหลอื กนั ตามฐานะของตน

๒. ถา้ มศี าลใหฝ้ า่ ยหน่ึงเป็นคนไรค้ วามสามารถอีกฝ่ายต้องเป็นผอู้ นบุ าล

๓. ถ้าฝ่ายหน่ึงวิกลจรติ อกี ฝา่ ยตอ้ งอปุ การะเลยี้ งดหู รอื ทาการตามสมควร

กฎหมายแพง่ เก่ยี วกบั ตนเองและครอบครวั

๔ ความสมั พนั ธท์ างทรพั ยส์ ิน กฎหมายเก่ยี วกบั ครอบครัว

กฎหมายกาหนดทรพั ย์สนิ ระหว่างสามแี ละภรรยา ๑. สินสว่ นตัว
ออกเป็น ๒ ประเภท ดงั น้ี
- ทรัพย์สินท่ีฝ่ายใดฝา่ ยหนึ่งมอี ย่กู ่อนสมรส
๑. สินส่วนตวั - ทรัพยส์ ินเครือ่ งใชส้ อยส่วนตวั ตามสมควรแกฐ่ านะ
- ทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงได้รับมาโดยมรดกหรือโดย
๒. สนิ สมรส เสนห่ า และมรดกมไิ ด้ระบุว่าให้เปน็ สนิ สมรส
- ของหม้ัน ถือเปน็ สนิ ส่วนตัวของฝา่ ยหญิง

การเอาสินส่วนตัวไปแลกเปล่ียนทรัพย์อ่ืนมา หรือได้มา
ทดแทนสนิ สว่ นตวั ใหถ้ ือวา่ สงิ่ ของเหล่านั้นเป็นสนิ ส่วนตัว

กฎหมายแพ่งเกย่ี วกับตนเองและครอบครัว

๔ ความสัมพันธท์ างทรพั ยส์ นิ (ตอ่ ) กฎหมายเกีย่ วกบั ครอบครวั

กฎหมายกาหนดทรพั ย์สินระหวา่ งสามแี ละภรรยา ๒. สินสมรส
ออกเป็น ๒ ประเภท ดังนี้
- ทรัพย์สนิ ที่ไดม้ าระหว่างสมรส
๑. สนิ สว่ นตวั - ทรพั ย์สินทีไ่ ดม้ าโดยพินัยกรรมระบุให้เป็นสินสมรส
- ดอกผลของสนิ ส่วนตัวถอื เป็นสินสมรส
๒. สนิ สมรส กรณีตวั อยา่ งนา่ สนใจ
เอาสินสมรสไปซ้ือล็อตเตอรี่ ถ้าถูกรางวัล เงินนั้นเป็น
สนิ สมรส เป็นทรัพยท์ ไี่ ด้มาระหว่างการสมรส
ควรจา

ถ้ามีขอ้ สงสยั ให้สันนิษฐานไว้กอ่ นว่าเปน็ สนิ สมรส

กฎหมายแพง่ เกย่ี วกับตนเองและครอบครวั

กฎหมายเก่ยี วกบั ครอบครัว

๔ ความสมั พนั ธท์ างทรพั ยส์ ิน (ตอ่ ) ปจั จัยทที่ าใหก้ ารสมรสส้ินสดุ ลง มดี งั นี้

กรณกี ารสมรสสิ้นสุด ทรพั ย์สนิ จดั การ ? ๑. การตาย ๒. สมรสโมฆะหรอื โมฆียะ
จัดการโดยแบ่งสินสมรสให้เท่ากัน สมรสส้ินสุดลง โดยสิ้นสุดเม่ือ ๓. การหยา่
เม่ือคู่สมรสฝ่าย ศาลมีคาส่ังเพิก มี ๒ กรณี คือ
ทัง้ ๒ ฝ่าย ใดฝา่ ยหน่ึงตาย ถอนเท่าน้นั - โดยสมคั รใจ
ถ้าฝ่ายใดนาสินสมรสไปใช้โดย
- คาส่ังศาล
ปราศจากความยินยอมของอีกฝ่าย ให้
นาสนิ สว่ นตวั มาชดเชย

กฎหมายแพง่ เกยี่ วกบั ตนเองและครอบครัว

กฎหมายเกี่ยวกบั ครอบครวั

๕ ความสัมพันธร์ ะหว่างบดิ ามารดากับบตุ ร

๑. บุตรทช่ี อบ ๒. บุตรนอก ๓. บตุ ร
ด้วยกฎหมาย กฎหมายท่ีบดิ า บญุ ธรรม

รับรอง

กฎหมายแพง่ เกยี่ วกับตนเองและครอบครวั

กฎหมายเกยี่ วกบั ครอบครวั

๕ ความสมั พันธ์ระหว่างบดิ ามารดากับบตุ ร (ตอ่ )

บุตรทชี่ อบดว้ ยกฎหมาย บุตรนอกกฎหมายทบ่ี ดิ ารบั รอง

- บุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย คือ บุตรท่ี คือ บิดามารดาไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน
เกิดจากบิดามารดาซึง่ จดทะเบียนสมรสกัน ไม่ได้จดภายหลัง ไม่ได้รับรองบุตร แต่บิดา
ตามกฎหมาย รับรองโดยพฤติการณ์ คือ กิริยาอาการ
รั บ ร อ ง ว่ า เ ป็ น บุ ต ร อ ย่ า ง เ ปิ ด เ ผ ย แ ก่
- มีฐานะและมีสิทธิตามกฎหมาย สาธารณชน
กาหนด เชน่ สิทธกิ ารรบั มรดก

กฎหมายแพง่ เกยี่ วกับตนเองและครอบครวั

กฎหมายเกยี่ วกบั ครอบครัว

๕ ความสัมพันธร์ ะหว่างบดิ ามารดากับบตุ ร (ตอ่ )

บุตรบตุ รธรรม

- ผ้ทู ี่จะรบั ผอู้ ื่นเปน็ บตุ รบญุ ธรรมต้องมีอายุไม่ตา่ กวา่ ๒๕ ปีบรบิ รู ณ์ และตอ้ งแก่กวา่ ผู้ท่ีจะรบั เป็นบุตรบญุ
ธรรมอยา่ งนอ้ ย ๑๕ ปี การรบั บตุ รบญุ ธรรมจะสมบูรณเ์ มอ่ื จดทะเบียนตามกฎหมาย
- ถา้ ผ้จู ะรบั บตุ รบญุ ธรรมหรือผจู้ ะเป็นบตุ รบุญธรรมมีคสู่ มรส ตอ้ งไดร้ บั ความยินยอมจากคู่สมรสอกี ฝ่าย
- บตุ รบญุ ธรรมจะเป็นบุตรบุญธรรมของคนอื่นไม่ได้ เว้นแตค่ ่สู มรสเทา่ น้นั
- บตุ รธรรมตามกฎหมาย สามารถรบั มรดกของผรู้ ับบญุ ธรรมได้

กฎหมายแพง่ เกีย่ วกับตนเองและครอบครวั

กฎหมายเกยี่ วกบั ครอบครวั

๕ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งบดิ ามารดากบั บตุ ร (ตอ่ )

สิทธแิ ละหนา้ ทข่ี องบดิ ามารดา

• เป็นผูใ้ ชอ้ านาจการปกครองบุตร มสี ทิ ธใิ นการกาหนดที่อยู่ของบตุ ร และมี
สทิ ธทิ าโทษบตุ รตามสมควร

• ให้การอุปการะเลยี้ งดู และให้การศึกษาตามสมควร
• ถ้าบุตรมีเงนิ ได้ บดิ ามารดามีสทิ ธนิ ามาใชเ้ ป็นคา่ เลี้ยงดอู ปุ การะเลี้ยงดูและ

การศกึ ษาของบตุ ร สว่ นที่เหลือต้องมอบให้แก่บตุ รภายหลัง

กฎหมายแพ่งเก่ียวกบั ตนเองและครอบครัว

กฎหมายเก่ยี วกบั ครอบครวั

๕ ความสมั พนั ธ์ระหว่างบดิ ามารดากับบตุ ร (ตอ่ ) สาระนา่ รู้ “คดอี ทุ ลมุ ”

สทิ ธิและหนา้ ทขี่ องบตุ ร คอื คดีซึ่งตอ้ งหา้ มทางกฎหมายแพง่
และพาณิชย์ว่า ผู้ใดจะฟอ้ งบพุ การี
• มีสทิ ธใิ ชช้ ื่อสกลุ ของบดิ า เวน้ แตไ่ มป่ รากฏบดิ า ใหใ้ ชส้ กลุ มารดาแทน ของตนเปน็ คดแี พง่ หรือคดอี าญามไิ ด้
• มีสิทธิได้รับการอุปการะเลี้ยงดู และได้รับการศึกษาตามสมควรจากบิดา

มารดา
• ตอบแทนคุณบิดามารดา และบุตรจะฟ้องบิดามารดาของตนในคดีแพ่ง

หรืออาญาไมไ่ ด้ ตอ้ งขอให้พนกั งานอยั การยกคดขี น้ึ กลา่ วให้

กฎหมายแพง่ เก่ียวกับตนเองและครอบครวั

กฎหมายเก่ียวกับมรดก

๑ ความหมายของมรดก

กองมรดกของผู้ตาย ได้แก่ ทรัพย์สินทุกชนิดของ
ผู้ตาย ตลอดท้ังสทิ ธิหนา้ ทีแ่ ละความรบั ผิดตา่ ง ๆ

เว้นแต่ตามกฎหมายหรือว่าโดยสภาพแล้ว เป็นการ
เฉพาะตัวของผู้ตายโดยแท้ เช่น สิทธิการเข้าสอบ
ความสามารถในการเลน่ ดนตรี ซงึ่ ทาแทนผตู้ ายไม่ได้

กฎหมายแพง่ เก่ียวกบั ตนเองและครอบครัว

กฎหมายเก่ยี วกบั มรดก

๒ ทายาทของเจ้ามรดก ๑. ทายาทโดยธรรม แบ่งเป็นประเภทญาติ

มรดกตกทอดผา่ นทายาท ๒ ประเภท คอื และคสู่ มรส ซ่ึงประเภทญาติ มี ๖ ลาดบั ดังน้ี

- ตกทอดผา่ นพินัยกรรม เรียกวา่ ผรู้ ับพนิ ยั กรรม ๑.ผูส้ ืบสันดาน

- ตกทอดผ่านสิทธติ ามกฎหมาย เรียกวา่ ทายาทโดยธรรม ๒.บิดามารดา

๓.พ่ีน้องรว่ มบดิ ามารดาเดียวกนั

ผรู้ ับพินัยกรรม ๔.พนี่ อ้ งรว่ มบิดาหรอื มารดาเดียวกัน
ทายาทโดยธรรม ๕.ปยู่ ่าตายาย
๖.ลุงป้านา้ อา

กฎหมายแพง่ เกี่ยวกับตนเองและครอบครัว

กฎหมายเกยี่ วกับมรดก

๒ ทายาทของเจา้ มรดก (ตอ่ ) สาระนา่ รู้ “กรณมี รดกไมต่ กแกท่ ายาท”

๒. ผรู้ ับพินัยกรรม - แผ่นดิน คือ ถ้าเจ้ามรดกไม่ไดท้ าพนิ ัยกรรม ไมไ่ ด้ต้งั
มูลนิธิ ไม่มที ายาท มีทายาทแต่เสียสิทธใิ นทรัพย์มรดก
- ผู้มีสิทธิได้รับมรดกตามที่พินัยกรรมระบุไว้ หลงั จากชาระหน้ี มรดกตกแกแ่ ผน่ ดิน
อาจไมม่ ีความเกยี่ วขอ้ งทางเครอื ญาตกิ ับเจา้ มรดก
- วดั คอื มรดกของภิกษุท่ีไดม้ รี ะหว่างบวช หลังชาระ
- หากผู้ตายยกมาดกให้กับทายาทตาม หน้ีพระ มรดกตอ่ แกว่ ัด
พินัยกรรมทั้งหมด ทายาทโดยธรรม จะไม่มีสิทธิ
ไดร้ ับมรดกเลย

กฎหมายแพง่ เกีย่ วกับตนเองและครอบครวั

ติวเข้มเตมิ เตม็ ความรู้

๑. บุคคลผ้มู สี ญั ชาติไทยทมี่ อี ายเุ ท่าไร จะตอ้ งทาบตั รประจาตวั ประชาชน
ก. ๗ ปบี รบิ ูรณ์ขนึ้ ไป แต่ไมเ่ กนิ 60 ปบี รบิ รู ณ์
ข. ๗ ปีบริบูรณข์ น้ึ ไป แตไ่ ม่เกิน 70 ปบี รบิ ูรณ์
ค. ๗ ปบี ริบรู ณข์ ึน้ ไป แตไ่ มเ่ กิน 75 ปบี รบิ รู ณ์
ง. ๗ ปบี ริบรู ณข์ ึน้ ไป แต่ไมเ่ กนิ 80 ปีบรบิ รู ณ์

เฉลยขอ้ สอบ
ขอ้ ข. ๗ ปีบริบรู ณข์ ้นึ ไป แตไ่ มเ่ กิน 70 ปีบริบรู ณ์

กฎหมายแพง่ เก่ยี วกับตนเองและครอบครัว

ตวิ เข้มเตมิ เตม็ ความรู้

๒. การหมั้นทง้ั ๒ ฝ่ายจะตอ้ งมีอายกุ ป่ี บี รบิ รู ณ์ขนึ้ ไป
ก. ๑๖ ปีบริบูรณข์ ้ึนไป
ข. ๑๗ ปบี ริบูรณ์ขึน้ ไป
ค. ๑๘ ปบี ริบูรณ์ขึน้ ไป
ง. ๑๙ ปบี ริบูรณ์ข้ึนไป

เฉลยข้อสอบ
ขอ้ ข. ๑๗ ปบี รบิ รู ณ์ขึน้ ไป

กฎหมายแพง่ เก่ยี วกบั ตนเองและครอบครวั

ติวเขม้ เตมิ เตม็ ความรู้

๓. การสมรสในข้อใดเปน็ โมฆียะ
ก. สมรสกบั คนไรค้ วามสามารถ
ข. สมรสซ้อน
ค. สมรสกอ่ นอายุ ๑๗ ปบี ริบูรณ์
ง. สมรสกบั ญาตสิ บื สายโลหิตกนั โดยตรง

เฉลยขอ้ สอบ
ขอ้ ค. สมรสก่อนอายุ ๑๗ ปีบรบิ รู ณ์

กฎหมายแพ่งเกย่ี วกบั ตนเองและครอบครวั

ติวเขม้ เติมเตม็ ความรู้

๔. ขอ้ ใดทคี่ นไรค้ วามสามารถกระทาแลว้ มผี ลเปน็ โมฆะ
ก. ทาพนิ ยั กรรม
ข. ทาสญั ญาซอื้ ขาย
ค. ทาสัญญาเช่าทรพั ย์
ง. ให้โดยเสนห่ า

เฉลยข้อสอบ
ข้อ ก. ทาพินัยกรรม

กฎหมายแพ่งเก่ยี วกบั ตนเองและครอบครวั

ตวิ เข้มเติมเตม็ ความรู้

๕. ข้อใดที่ผ้เู ยาว์สามารถทาเองไดโ้ ดยไม่ต้องรบั ความยินยอมจากผแู้ ทนโดยชอบธรรม
ก. ทาพนิ ัยกรรมเมอ่ื อายุ ๑๔ ปี
ข. ทาสญั ญาซื้อขาย
ค. ทาสญั ญาเช่าทรพั ย์
ง. จดทะเบียนรับรองบตุ ร

เฉลยข้อสอบ
ขอ้ ง. จดทะเบยี นรับรองบุตร

กฎหมายแพง่ เกย่ี วกับตนเองและครอบครัว

ตวิ เข้มเตมิ เตม็ ความรู้

๖. ขอ้ ใดถือเป็นอสังหารมิ ทรัพย์
ก. ต้นข้าวที่ปลูกบนพนื้ ดนิ
ข. รถยนต์
ค. เสาทว่ี างไวเ้ ตรยี มปลกู บา้ น
ง. ต้นมะม่วงในสวน

เฉลยข้อสอบ
ขอ้ ง. ต้นมะมว่ งในสวน

กฎหมายแพ่งเก่ียวกับตนเองและครอบครวั

ตวิ เขม้ เติมเตม็ ความรู้

๗. ข้อใดถือเป็นสนิ ส่วนตัว
ก. ของหมัน้
ข. ดอกผลของสินส่วนตัว
ค. บา้ นทซ่ี ้อื ด้วยเงนิ สินสมรส
ง. รางวัลท่ี ๑ ของสลากกินแบง่ รฐั บาลทซ่ี อ้ื ระหว่างสมรส

เฉลยข้อสอบ
ข้อ ก. ของหมนั้

กฎหมายแพ่งเกยี่ วกบั ตนเองและครอบครัว

ติวเขม้ เตมิ เตม็ ความรู้

๘. ผ้ทู จ่ี ะรับผูอ้ นื่ เปน็ บตุ รบุญธรรมต้องมีอายุไม่ตา่ กวา่ กปี่ ี
ก. อายุไม่ตา่ กว่า ๑๕ ปี
ข. อายไุ มต่ ่ากวา่ ๒๐ ปี
ค. อายไุ มต่ ่ากวา่ ๒๕ ปี
ง. อายไุ มต่ า่ กวา่ ๓๐ ปี

เฉลยข้อสอบ
ข้อ ค. อายไุ มต่ า่ กวา่ ๒๕ ปี

กฎหมายแพ่งเกีย่ วกับตนเองและครอบครวั

ติวเขม้ เตมิ เตม็ ความรู้

๙. บุตรในขอ้ ใดไม่สามารถรบั มรดกของบิดาได้
ก. บุตรบญุ ธรรม
ข. บตุ รชอบด้วยกฎหมาย
ค. บุตรนอกกฎหมาย
ง. สามารถรบั ไดท้ ุกประเภท

เฉลยข้อสอบ
ขอ้ ค. บุตรนอกกฎหมาย

กฎหมายแพ่งเกี่ยวกบั ตนเองและครอบครวั

ตวิ เข้มเตมิ เตม็ ความรู้

๑๐. เด็กท่เี กดิ ภายในเวลาก่ีวนั นบั แต่วันทกี่ ารสมรสสนิ้ สดุ ลง กฎหมายสนั นิษฐานวา่ เป็นบุตร
ชอบดว้ ยกฎหมายของชายผู้เคยเป็นสามี
ก. 120 วนั
ข. 310 วนั
ค. 320 วัน
ง. 360 วนั

เฉลยข้อสอบ
ข้อ ข. 310 วัน


Click to View FlipBook Version