งานแมกกาซีน เรื่อง ส่วนประกอบของดอกดาวเรือง
จัดทำโดย
นายสุวิศิษฏ์ สิทธิโรจน์ ชั้น ม.5 ห้อง 341 เลขที่ 41
แผนการเรียน วิทย์-คณิต
เสนอ
อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครูชำนาญการ [คศ.2] สาขาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
คำนำ
ใบงานแมกกาซีนฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะและส่วน
ประกอบโครงสร้างของดอกดาวเรือง โดยอาศัยความรู้จากบท
เรียน การสืบพันธุ์ของพืชดอก (Reproduction of Flowering
Plant) ผู้จัดทำหวังว่าแมกกาซีนฉบับนี้จะสามารถทำให้ผู้อ่านมี
ความเข้าใจในองค์ประกอบของดอกดาวเรืองมากยิ่งขึ้น ซึ่ง
แมกกาซีนฉบับนี้มีประโยชน์ต่อผู้อ่านโดยเป็นแหล่งศึกษา
โครงสร้างและหน้าที่ของดอกดาวเรืองอย่างละเอียด อีกทั้งยังเป็น
ประโยชน์ต่อผู้จัดทำเนื่องจากเป็นการทบทวนบทเรียนไปในตัวด้วย
สุดท้ายนี้ขอขอบพระคุณอาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ เป็นอย่าง
ยิ่ง ที่เป็นผู้ให้ความรู้และให้คำแนะนำสำหรับการทำแมกกาซีน
ทำให้แมกกาซีนมีความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น
สุวิศิษฏ์ สิทธิโรจน์
ผู้จัดทำ
28 พฤศจิกายน 2565
*หมายเหตุ: เนื่องจากพันธุ์ดาวเรืองที่ผู้จัดทำนำมาศึกษาเป็นพันธุ์ sovereign
ซึ่งเป็นพันธุ์ที่มีเพียงแค่ดอกวงนอก จึงขอใช้รูปภาพและข้อมูลของดอกวงใน
จากอินเทอร์เน็ต โดยจะอ้างอิ้งข้อมูลต่างๆ ในบรรณานุกรมภายหลัง*
สารบัญ
ข้อมูลทั่วไปของดอกดาวเรือง ................................................ 1
ข้อมูลเบื้องต้นของโครงสร้างดอกดาวเรือง ............................ 2
ลักษณะทางสัณฐานภายนอกและกายวิภาคภายใน .................. 3
ภาพประกอบโครงสร้างข้อมูลพฤกษศาสตร์ดาวเรือง ............. 5
ภาพถ่ายโดยรวมของสัณฐานภายนอก ................................... 6
ภาพถ่ายโดยรวมของกายวิภาคภายใน ................................... 7
บรรณานุกรมและเอกสารอ้างอิง ............................................ 8
ภาคผนวก ............................................................................ 9
ข้อมูลทั่วไปของดอกดาวเรือง
ชื่อวิทยาศาสตร์: Tagetes erecta L.
ชื่อวงศ์: Asteraceae / Compositae
ชื่อสามัญ: African marigold, American marigold
ชื่ออื่น: คำปู้จู้หลวง (ภาคเหนือ), พอทู (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), บ่
วงซิ่วเก็ก (จีนแต้จิ๋ว), ว่านโซ่วจวี๋ (จีนกลาง), บ่วงลิ่วเก็ก เฉาหู่ย้ง,
กิมเก็ก (จีน) เป็นต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์:
ดาวเรืองเป็นไม้ดอกต้นสูง 25-60 ซม. ใบเป็นรูปหอก ปลายแหลม
ขอบหยัก ดอกเป็นช่อกระจุกเดี่ยวที่ปลายยอด ดอกวงนอกกลีบ
ดอกเป็นรูปรางน้ำ โคนเป็นหลอดเล็ก ปลายแผ่ ดอกวงในกลีบ
ดอกเป็นหลอดมีหลายสี เช่น สีส้ม เหลืองทอง ขาว และสองสีใน
ดอกเดียวกัน และมีทั้งดอกชั้นเดียวและดอกซ้อน พันธุ์ที่ใช้ปลูก
เช่น Panther , Red Brocade, Midas Touch, Petite Gold
ประโยชน์และสรรพคุณ:
ดอกและรากมีรสขมเผ็ดเล็กน้อย มีฤทธิ์เป็นยาเย็น ออกฤทธิ์
ต่อปอดและตับ
ลำต้นช่วยแก้อาการจุกเสียด และอาการปวดท้อง
รากใช้เป็นยาระบาย
หน้าที่ 1
ข้อมูลเบื้องต้นของโครงสร้างดอกดาวเรือง
เป็นดอกมีสมมาตรรัศมี
เป็นดอกช่อ ชนิด ดอกรวม
ประกอบไปด้วยดอกย่อย 2 ชนิด
ได้แก่
ดอกวงนอก (Ray floret)
เป็น ดอกไม่สมบูรณ์เพศ
(ขาดเกสรเพศผู้)
ดอกวงใน (Disc floret)
เป็น ดอกครบส่วน
มีชนิดรังไข่ คือ Inferior ovary
(รังไข่ใต้วงกลีบ)
ภาพเกสรเพศผู้และเพศเมีย ของ
ดอกวงใน (Disc floret)
(ภาพจากอินเทอร์เน็ต)
หน้าที่ 2
ลักษณะทางสัณฐานภายนอกของดอกดาวเรือง
กลีบดอก(วงนอก): มีได้ 1-2 กลีบ มีได้หลายสี เช่น สีเหลือง สีส้ม
ติดกับหลอดกลีบดอก (corolla tube)
กลีบดอก(วงใน): มีได้ 3-5 กลีบ มีได้หลายสี เช่น สีเหลือง สีส้ม อยู่
เหนือดอกวงนอก ติดกับหลอดกลีบดอก (corolla tube)
กลีบเลี้ยง: เป็นกลีบสีเขียว มีได้หลายจำนวณ
ฐานรองดอก: อยู่ระหว่างก้านดอกและกลีบเลี้ยง มีสีเขียวอ่อน
ก้านดอกย่อย: เป็นสีเขียว เรียวสั้น อยู่บริเวณโคนดอก
กลีบดอก
(pedal)
กลีบเลี้ยง ฐานรองดอก
(sepal) (receptacle)
หลอดกลีบดอก ก้านดอกย่อย (pedicle)
(corolla tube)
สัณฐานภายนอกของดอกวงนอก(ภาพจากการศึกษาจริง)
สัณฐานภายนอกของดอกวงใน(ภาพจากอินเทอร์เน็ต)
หน้าที่ 3
ลักษณะทางกายวิภาคภายในของดอกดาวเรือง
เกสรเพศเมีย(กลีบดอกทั้งสอง): มี 1 อัน มีสีคล้ายกลีบดอกของ
มัน ก้านเกสรเพศเมียค่อนข้างยาว ยอดเกสรเพศเมียมีขนาดใหญ่
เกสรเพศผู้(ดอกวงใน): มีได้ 3-5 อัน เป็นสีน้ำตาลแดง ติดอยู่บน
ฐานกลีบดอก
ภาพเกสรเพศเมียของดอกวงนอก
(ภาพจากการศึกษาจริง)
ภาพของเกสรเพศผู้และ
เพศเมีย ของดอกวงใน
(Disc floret)
(ภาพจากอินเทอร์เน็ต)
หน้าที่ 4
ภาพประกอบโครงสร้างข้อมูลพฤกษศาสตร์ดาวเรือง
กลีบเลี้ยง
ฐานรองดอก
ก้านดอกย่อย
(ภาพจากการศึกษาจริง)
กลีบดอก
(ภาพจากอินเทอร์เน็ต)
เกสรเพศเมีย
หน้าที่ 5
ภาพถ่ายโดยรวมของสัณฐานภายนอก
กลีบดอก
(pedal)
กลีบเลี้ยง ฐานรองดอก
(sepal) (receptacle)
หลอดกลีบดอก ก้านดอกย่อย (pedicle)
(corolla tube)
สัณฐานภายนอกของดอกวงนอก(ภาพจากการศึกษาจริง)
กลีบดอก
ฐานรองดอก ก้านดอกย่อย
หน้าที่ 6
ภาพถ่ายโดยรวมของกายวิภาคภายใน
กายวิภาคภายในของดอกวงใน (ภาพจากอินเทอร์เน็ต)
รังไข่ชนิดใต้วงกลีบ กายวิภาคภายในของดอกวงนอก
(Inferior ovary)
ยอดเกสรเพศเมีย (Stigma) (ภาพจากการศึกษาจริง)
ก้านชูเกสรเพศเมีย
(Style)
หน้าที่ 7
บรรณานุกรม
หน้า 1 - shorturl.at/nDLOW (medthai.com)
- shorturl.at/ampG0 (science.sut.ac.th)
- shorturl.at/svY02 (technologychaoban.com)
หน้า 2 - https://www.youtube.com/watch?
v=NYl6t8zaNCE
- shorturl.at/svY02 (technologychaoban.com)
-shorturl.at/rILX3 (Google Sites)
หน้า 3 - https://www.youtube.com/watch?
v=NYl6t8zaNCE
- shorturl.at/svY02 (technologychaoban.com)
- shorturl.at/rILX3 (Google Sites)
หน้า 4 - https://www.youtube.com/watch?
v=NYl6t8zaNCE
- shorturl.at/rILX3 (Google Sites)
หน้า 5 - https://www.youtube.com/watch?
v=NYl6t8zaNCE
หน้า 7 - https://www.youtube.com/watch?
v=NYl6t8zaNCE
เอกสาร ชื่อ บทที่ 2 การสืบพันธุ์ชื่อดอก
[Reproduction of Flowering Plant]
หน้าที่ 8
ภาคผนวก
คลิปวิดีโอขณะที่ทำการศึกษา
ลิ้งค์: https://youtu.be/gKNLt1j14ps
หน้าที่ 9
ภาคผนวก
ภาพขณะทำแมกกาซีน
ภาพขณะผ่าดอกดาวเรือง
ภาพขณะตัดต่อคลิปวิดีโอ
ภาพขณะอธิภายส่วนต่างๆ
ของดอกดาวเรือง
หน้าที่ 10
THANK
YOU
for your support